โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

ประเทศฟิลิปปินส์

ดัชนี ประเทศฟิลิปปินส์

ฟิลิปปินส์ (Philippines; Pilipinas) หรือชื่อทางการว่า สาธารณรัฐฟิลิปปินส์ (Republic of the Philippines; Republika ng Pilipinas) เป็นประเทศเอกราชที่เป็นหมู่เกาะในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ตั้งอยู่ในมหาสมุทรแปซิฟิกตะวันตก ประกอบด้วยเกาะ 7,641 เกาะ ซึ่งจัดอยู่ในเขตภูมิศาสตร์ใหญ่ 3 เขตจากเหนือจรดใต้ ได้แก่ ลูซอน, วิซายัส และมินดาเนา เมืองหลวงของประเทศคือมะนิลา ส่วนเมืองที่มีประชากรมากที่สุดคือนครเกซอน ทั้งสองเป็นส่วนหนึ่งของเมโทรมะนิลา ฟิลิปปินส์มีอาณาเขตติดต่อกับทะเลจีนใต้ทางทิศตะวันตก ทะเลฟิลิปปินทางทิศตะวันออก และทะเลเซเลบีสทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ โดยมีพรมแดนทางทะเลร่วมกับไต้หวันทางทิศเหนือ ปาเลาทางทิศตะวันออก มาเลเซียและอินโดนีเซียทางทิศใต้ และเวียดนามทางทิศตะวันตก ฟิลิปปินส์ตั้งอยู่ในแถบวงแหวนไฟและใกล้กับเส้นศูนย์สูตร ทำให้มีแนวโน้มสูงที่จะประสบภัยจากแผ่นดินไหวและไต้ฝุ่น แต่ก็ทำให้มีทั้งทรัพยากรธรรมชาติที่อุดมสมบูรณ์และความหลากหลายทางชีวภาพอย่างยิ่งเช่นกัน ฟิลิปปินส์มีเนื้อที่ประมาณ 300,000 ตารางกิโลเมตร (115,831 ตารางไมล์) และมีประชากรประมาณ 100 ล้านคน นับเป็นประเทศที่มีประชากรมากที่สุดเป็นอันดับที่ 8 ในเอเชีย และเป็นประเทศที่มีประชากรมากที่สุดเป็นอันดับที่ 12 ของโลก นอกจากนี้ ณ ปี..

260 ความสัมพันธ์: บรรษัทแพร่ภาพกระจายเสียงอังกฤษชาวสเปนบีกันพ.ศ. 2064พ.ศ. 2108พ.ศ. 2441พ.ศ. 2489พ.ศ. 2529พ.ศ. 2530พระเจ้าเฟลีเปที่ 2 แห่งสเปนพลังงานความร้อนใต้พิภพพะยูนพายุหมุนเขตร้อนกลุ่ม 77กลุ่มภาษาบีโคลกลุ่มเกาะกล้วยไม้กองทุนการเงินระหว่างประเทศการพลัดถิ่นการจ้างทำกระบวนการธุรกิจการทำลายป่าการท่องเที่ยวการปฏิวัติพลังประชาชนการประชุมสุดยอดเอเชียตะวันออกภาวะเศรษฐกิจถดถอยภาษาภาษาฟิลิปีโนภาษากาปัมปางันภาษากินาไรอาภาษามากินดาเนาภาษามาราเนาภาษาราชการภาษาวาไรภาษาสเปนภาษาอังกฤษภาษาอาหรับภาษาอินโดนีเซียภาษาอีโลกาโนภาษาฮีลีไกโนนภาษาตากาล็อกภาษาปัญจาบภาษาปังกาซีนันภาษาแต้จิ๋วภาษาเกาหลีภาษาเตาซุกภาษาเซบัวโนภูมิอากาศภูเขาไฟภูเขาไฟตาอัลมรสุม...มรดกโลกมหาสมุทรแปซิฟิกมะนิลามินดาเนามนุษย์รัฐเดี่ยวรายชื่อประเทศเรียงตามจำนวนประชากรรายการประเทศเรียงตามผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศ (ราคาตลาด)รายนามประธานาธิบดีฟิลิปปินส์ลาตินอเมริกาลูปังฮีนีรังวิกฤตการณ์การเงินในเอเชีย พ.ศ. 2540วิกิแมเปียวิซายัสวงศ์งูเหลือมวงแหวนไฟศาสนาอิสลามศาสนาฮินดูศาสนาคริสต์สกุลบัวผุดสมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้สหรัฐสหราชอาณาจักรสหประชาชาติสังกะสีสัตว์เลื้อยคลานสัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้ำนมสามเหลี่ยมปะการังสารกึ่งตัวนำสารานุกรมบริตานิกาสาธารณรัฐสาธารณรัฐฟิลิปปินส์ที่ 1สุลต่านสงครามโลกครั้งที่สองสงครามเจ็ดปีหมู่เกาะโมลุกกะหอสมุดรัฐสภาอันดับวานรอากาปุลโกอาโดโบอินทรีอุทยานธรรมชาติพืดหินปะการังตุบบาตาฮาอุทยานแห่งชาติแม่น้ำใต้ดินปูเวร์โตปรินเซซาอีเห็นข้างลายองค์การการค้าโลกองค์การอาหารและการเกษตรแห่งสหประชาชาติฮ่องกงผลิตภัณฑ์ในประเทศเบื้องต้นจระเข้น้ำเค็มจักรวรรดิสเปนจังหวัดบาตังกัสจังหวัดบาตาอันจังหวัดบาตาเนสจังหวัดบูลาคันจังหวัดบูลูบุนดูคินจังหวัดบูคิดโนนจังหวัดบีลีรันจังหวัดกีมารัสจังหวัดมัสบาเตจังหวัดมารินดูเคจังหวัดรีซัลจังหวัดลัมบักนางโคมโปสเตลาจังหวัดลากูนาจังหวัดลาอูนีโยนจังหวัดอักลันจังหวัดอัลไบจังหวัดอันตีเคจังหวัดอาบราจังหวัดอาปาเยาจังหวัดอีฟูเกาจังหวัดอีซาเบลาจังหวัดอีโลอีโลจังหวัดฮีลากังลาเนาจังหวัดฮีลากังอากูซันจังหวัดฮีลากังอีโลโคสจังหวัดฮีลากังดาเบาจังหวัดฮีลากังคามารีเนสจังหวัดฮีลากังซัมบวงกาจังหวัดฮีลากังซามาร์จังหวัดฮีลากังซูรีเกาจังหวัดคันลูรังมินโดโรจังหวัดคันลูรังมีซามิสจังหวัดคันลูรังดาเบาจังหวัดคันลูรังเนโกรสจังหวัดคาบีเตจังหวัดคากายันจังหวัดคามีกินจังหวัดคาลิงกาจังหวัดคาตันดัวเนสจังหวัดคาปิซจังหวัดคาปูลูอังดีนากัตจังหวัดคีรีโนจังหวัดตาร์ลักจังหวัดตีโมกลาเนาจังหวัดตีโมกอากูซันจังหวัดตีโมกอีโลโคสจังหวัดตีโมกดาเบาจังหวัดตีโมกคามารีเนสจังหวัดตีโมกซัมบวงกาจังหวัดตีโมกซูรีเกาจังหวัดตีโมกโคตาบาโตจังหวัดตีโมกเลเตจังหวัดซอร์โซโกนจังหวัดซัมบวงกาซีบูไกจังหวัดซัมบาเลสจังหวัดซามาร์จังหวัดซารังกานีจังหวัดซุลตันคูดารัตจังหวัดซูลูจังหวัดซีลางังมินโดโรจังหวัดซีลางังมีซามิสจังหวัดซีลางังดาเบาจังหวัดซีลางังซามาร์จังหวัดซีลางังเนโกรสจังหวัดซีคีฮอร์จังหวัดปัมปังกาจังหวัดปังกาซีนันจังหวัดปาลาวันจังหวัดนูเวบาบิซคายาจังหวัดนูเวบาเอซีฮาจังหวัดโบโฮลจังหวัดโรมโบลนจังหวัดโคตาบาโตจังหวัดเบงเก็ตจังหวัดเลเตจังหวัดเอาโรราจังหวัดเคโซนจังหวัดเซบูธนาคารพัฒนาเอเชียธนาคารโลกทวีปยุโรปทวีปอเมริกาทวีปเอเชียทองคำทองแดงทะเลฟิลิปปินทะเลจีนใต้ทะเลซูลูทะเลเซเลบีสทาร์เซียร์ฟิลิปปินทุนสำรองระหว่างประเทศดอลลาร์สหรัฐความร่วมมือทางเศรษฐกิจเอเชีย-แปซิฟิกงูเห่าประธานาธิบดีประเทศญี่ปุ่นประเทศฝรั่งเศสประเทศมาเลเซียประเทศสิงคโปร์ประเทศสเปนประเทศอินโดนีเซียประเทศอุตสาหกรรมใหม่ประเทศจีนประเทศที่เป็นเกาะประเทศปาเลาประเทศแอฟริกาใต้ประเทศโปรตุเกสประเทศไทยประเทศไต้หวันประเทศเกาหลีใต้ประเทศเม็กซิโกประเทศเยอรมนีประเทศเวียดนามประเทศเนเธอร์แลนด์ปิโตรเลียมป่าดิบชื้นนกอินทรีฟิลิปปินนาขั้นบันไดบานาเวนิกเกิลน่านน้ำอาณาเขตแผนการโคลัมโบแผ่นดินไหวโรมันคาทอลิกโรดรีโก ดูแตร์เตโครงการกูเทนแบร์กโปรเตสแตนต์เฟอร์ดินานด์ มาเจลลันเกาะบอร์เนียวเกาะลูซอนเกาะซูลาเวซีเกซอนซิตีเมโทรมะนิลาเอกราชเอเชียตะวันออกเอเชียตะวันออกเฉียงใต้เอเชียใต้เขตบริหารคอร์ดิลเยราเขตบีโคลเขตกิตนางลูโซนเขตกิตนางคาบีซายาอันเขตมีมาโรปาเขตลัมบักนางคากายันเขตอีโลโคสเขตฮีลากังมินดาเนาเขตดาเบาเขตคันลูรังคาบีซายาอันเขตคารากาเขตคาลาบาร์โซนเขตตังไวนางซัมบวงกาเขตซีลางังคาบีซายาอันเขตปกครองตนเองในมินดาเนามุสลิมเขตโซกซาร์เจนเดอะนิวยอร์กไทมส์เงินตราเปลือกโลกเปโซฟิลิปปินส์.ph12 มิถุนายน25 มีนาคม4 กรกฎาคม ขยายดัชนี (210 มากกว่า) »

บรรษัทแพร่ภาพกระจายเสียงอังกฤษ

ริษัทแพร่ภาพกระจายเสียงอังกฤษราชบัณฑิตยสถาน.

ใหม่!!: ประเทศฟิลิปปินส์และบรรษัทแพร่ภาพกระจายเสียงอังกฤษ · ดูเพิ่มเติม »

ชาวสเปน

วสเปน (Spanish people หรือ Spaniards; españoles) มีสองความหมาย ความหมายทั่วไปคือ คนพื้นเมืองที่อยู่ส่วนใดส่วนหนึ่งของประเทศสเปน นอกจากนั้นยังมีความหมายด้านกฎหมาย คือบุคคลที่ถือสัญชาติสเปน ในประเทศสเปนนั้นมีชนเผ่าและผู้นับถือศาสนาที่หลากหลาย สะท้อนถึงประวัติศาสตร์ความซับซ้อนของประเทศ ภาษาอย่างเป็นทางการคือ ภาษาสเปน (คาสตีล) ซึ่งเป็นภาษาของสเปนแถบเหนือ-กลาง แต่ละท้องถิ่นมีภาษาเฉพาะกลุ่ม ภาษาที่พูดในสเปนนั้นเป็นกลุ่มภาษาโรมานซ์ (ยกเว้นภาษาบาสก์) ส่วนชาวสเปนนอกประเทศสเปนที่อพยพออกไปจากสเปนนั้น โดยมากมักอยู่ในลาตินอเมริก.

ใหม่!!: ประเทศฟิลิปปินส์และชาวสเปน · ดูเพิ่มเติม »

บีกัน

มืองบีกัน ที่ตั้งเมืองบีกันในจังหวัดอีโลโกสซูร์ บีกัน (อีโลกาโน: Bigan; Vīgân) เป็นเมืองมรดกโลกในประเทศฟิลิปปินส์ เมืองโบราณบีกันจัดเป็นหนึ่งในเมืองที่สวยที่สุด ตั้งอยู่ทางตะวันตกของเกาะลูซอน ในจังหวัดอีโลโกสซูร์ (Ilocos Sur) ทางตอนเหนือของฟิลิปปินส์ ได้รับการขึ้นทะเบียนเป็นมรดกโลกเมื่อวันที่ 2 ธันวาคม ค.ศ. 1999 เป็นเมืองที่ยังคงรักษาเอกลักษณ์ของสถาปัตยกรรมสมัยอาณานิคมของสเปนไว้ได้อย่างดี ผังเมืองเป็นรูปแบบเมืองการค้าของยุโรปในเอเชีย ที่มีการผสมผสานวัฒนธรรมจีนและวัฒนธรรมยุโรปได้อย่างกลมกลืน ตัวเมืองตั้งอยู่บริเวณปากแม่น้ำอาบรา (Abra) ติดกับทะเลจีนใต้ บริเวณที่เป็นเขตอนุรักษ์ทางประวัติศาสตร์ตั้งอยู่ระหว่างแม่น้ำ 2 สาย คือ แม่น้ำโกวันเตส (Govantes) และแม่น้ำเมสตีโซ (Mestizo) มีโบราณสถานที่เป็นโบสถ์เก่าแก่สมัยอาณานิคม เช่น มหาวิหารบีกัน (Cathedral of Vigan) เมืองบีกันมีประชากร 47,246 คน.

ใหม่!!: ประเทศฟิลิปปินส์และบีกัน · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2064

ทธศักราช 2064 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: ประเทศฟิลิปปินส์และพ.ศ. 2064 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2108

ทธศักราช 2108 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: ประเทศฟิลิปปินส์และพ.ศ. 2108 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2441

ทธศักราช 2441 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1898 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: ประเทศฟิลิปปินส์และพ.ศ. 2441 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2489

ทธศักราช 2489 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1946 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคารตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: ประเทศฟิลิปปินส์และพ.ศ. 2489 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2529

ทธศักราช 2529 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1986 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพุธตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: ประเทศฟิลิปปินส์และพ.ศ. 2529 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2530

ทธศักราช 2530 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1987 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดีตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: ประเทศฟิลิปปินส์และพ.ศ. 2530 · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าเฟลีเปที่ 2 แห่งสเปน

ระเจ้าเฟลีเปที่ 2 แห่งสเปน (Felipe II de España; พ.ศ. 2070-พ.ศ. 2141) ทรงสืบเชื้อสายมาจาก ราชวงศ์ฮับสบูร์กแห่งออสเตรีย ทรงดำรงฐานะเป็นทั้งกษัตริย์แห่งสเปนและโปรตุเกส โดยทรงเป็นกษัตริย์แห่งโปรตุเกสในพระนาม พระเจ้าฟีลีเปที่ 1 (Filipe I) รัชสมัยของพระองค์เป็นช่วงเวลาที่สเปนสามารถดำรงฐานะความเป็นชาติมหาอำนาจที่ทรงอิทธิพลทางทะเลมากที่สุดในโลก ซึ่งเป็นผลมาจากการดำเนินนโยบายขยายอำนาจของสเปนในรัชสมัยของพระอง.

ใหม่!!: ประเทศฟิลิปปินส์และพระเจ้าเฟลีเปที่ 2 แห่งสเปน · ดูเพิ่มเติม »

พลังงานความร้อนใต้พิภพ

อน้ำพุ่งขึ้นมาจากโรงไฟฟ้าพลังงานความร้อนใต้พิภพใน Nesjavellir ประเทศไอซ์แลนด์ พลังงานความร้อนใต้พิภพ หรือ พลังงานอุณหธรณี เป็นการนำเอาพลังงานความร้อนที่อยู่ใต้ดินขึ้นมาใช้ ความร้อนดังกล่าวอยู่ในแกนกลางของโลกเกิดขึ้นมาตั้งแต่โลกกำเนิดขึ้น อุณหภูมิอาจสูงถึง 5,000 องศาเซลเซียส ความร้อนดังกล่าวทำให้น้ำที่เก็บกักอยู่ในโพรงหิน ร้อนมีอุณหภูมิอาจสูงถึง 370 องศาเซลเซียส ความดันภายในโลก ดันน้ำขึ้นมาผิวดิน กลายเป็นไอ ลอยขึ้นไปบนชั้นบรรยากาศ แล้วตกลงมาเป็นฝนหรือหิมะ แล้วไหลกลับลงไปใต้ดินนำความร้อนขึ้นมาอีก พลังงานนี้จึงถูกเรียกว่า พลังงานหมุนเวียน เราสูบน้ำร้อนนี้ขึ้นมาใช้ให้ความอบอุ่นแก่บ้านเรือนในประเทศหนาว ละลายหิมะตามถนนหนทาง ปรุงอาหาร ให้ความร้อนในเรือนกระจกเพื่อปลูกผักสวนครัว และที่จะกล่าวถึงมากที่สุดในหัวข้อนี้ ก็คือ การนำมาผลิตกระแสไฟฟ้.

ใหม่!!: ประเทศฟิลิปปินส์และพลังงานความร้อนใต้พิภพ · ดูเพิ่มเติม »

พะยูน

ูน เป็นสัตว์ป่าสงวนชนิดหนึ่ง ตามพระราชบัญญัติสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า พ.ศ. 2535 เป็นสัตว์ป่าสงวนชนิดเดียวที่เป็นสัตว์น้ำ เป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมที่อาศัยอยู่ในทะเลเขตอบอุ่น มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Dugong dugon อยู่ในอันดับพะยูน (Sirenia).

ใหม่!!: ประเทศฟิลิปปินส์และพะยูน · ดูเพิ่มเติม »

พายุหมุนเขตร้อน

รนแบนด์โดยรอบ, และลักษณะของพายุหมุนเขตร้อน ที่สามารถมองเห็นได้อย่างชัดเจนจากอวกาศ พายุหมุนเขตร้อน คือ ระบบพายุที่พัฒนามาจากศูนย์กลางของหย่อมความกดอากาศต่ำ, ลมแรง และการจัดเกลียวของพายุฝนฟ้าคะนอง ทั้งนี้ขึ้นกับสถานที่และความรุนแรง ซึ่งเกิดขึ้นบริเวณเขตร้อนของโลก ซึ่งมีชื่อเรียกต่างๆ กัน เช่น พายุเฮอร์ริเคน, พายุโซนร้อน, พายุไซโคลน, พายุดีเปรสชันเขตร้อน และพายุไซโคลนอย่างง่าย โดยทั่วไปรูปแบบพายุหมุนเขตร้อนจะมีขนาดใหญ่ขึ้นกับความสัมพันธ์กับน้ำอุ่น โดยพายุจะได้รับพลังงานผ่านการระเหยของน้ำบริเวณพื้นผิวมหาสมุทร ซึ่งในที่สุดน้ำเหล่านั้นจะควบแน่นอีกครั้งและเข้าไปอยู่ในกลุ่มเมฆและฝน เมื่ออากาศชื้นและความเย็นอิ่มตัว ซึ่งแหล่งพลังงานนี้จะแตกต่างกับพายุหมุนละติจูดกลาง ตัวอย่างเช่น นอร์อิสเทิร์น และพายุลมยุโรป ซึ่งได้รับพลังพลักดันหลักจากความแตกต่างของอุณหภูมิในแนวนอน โดยลมหมุนวนรอบอย่างรุนแรงของพายุหมุนเขตร้อนนั้นเป็นผลมาจากการอนุรักษ์โมเมนตัมเชิงมุม ซึ่งเกิดจากสภาวะการหมุนรอบตัวเองของโลก ขณะที่อากาศไหลเข้ามาสู่แกนกลางของการหมุน ผลที่ตามมา คือ พายุมักไม่ค่อยเกิดขึ้นภายใน 5° จากศูนย์สูตร พายุหมุนเขตร้อนโดยทั่วไปเส้นผ่านศูนย์กลางอยู่ที่ 100 - 4,000 กิโลเมตร คำว่า พายุหมุน (หรือไซโคลน) หมายถึง พายุหมุนตามธรรมชาติ ซึ่งลมจะพัดหมุนทวนเข็มนาฬิกาในซีกโลกเหนือ และจะพัดหมุนตามเข็มนาฬิกาในซีกโลกใต้ ซึ่งทิศทางตรงข้ามการของการไหลเวียนลม เป็นผลมาจากคอริโอลิส ส่วนคำว่า เขตร้อน หมายถึง แหล่งกำเนิดของพายุทางภูมิศาสตร์ ซึ่งเป็นรูปแบบพิเศษของทะเลในเขตร้อน นอกจากลมแรงและฝนตก พายุหมุนเขตร้อนมีความสามารถในการสร้างคลื่นสูง และก่อให้เกิดความเสียหายจากน้ำขึ้นจากพายุ และทอร์นาโด ซึ่งมักจะลดลงอย่างรวดเร็วในช่วงที่พายุอยู่บนแผ่นดิน เนื่องจากถูกตัดขาดจากแหล่งพลังงานหลักของมัน จากเหตุผลนี้ ทำให้บริเวณชายฝั่งทะเล มักมีความเสี่ยงที่จะเกิดความเสียหายจากพายุหมุนเขตร้อนมากกว่า เมื่อเทียบกับในแผ่นดิน อย่างไรก็ตามในแผ่นดินเองก็เกิดความเสียหายได้จากน้ำท่วมบนแผ่นดิน จากฝนตกหนัก และน้ำขึ้นจากพายุสามารถก่อให้เกิดน้ำท่วมบนแผ่นดินได้กว้างถึง 40 กิโลเมตร จากชายฝั่งทะเล แม้ว่าพายุหมุนเขตร้อนจะส่งผลกระทบต่อประชากรมนุษย์มหาศาล แต่พายุยังสามารถช่วยบรรเทาภาวะภัยแล้งได้ พวกมันยังพาพลังงานความร้อนออกไปจากเขตร้อน ข้ามผ่านไปยังละติจูดในเขตอบอุ่น ซึ่งอาจมีบทบาทสำคัญในการปรับเปลี่ยนสภาวะภูมิอากาศในระดับภูมิภาคและระดับโลก.

ใหม่!!: ประเทศฟิลิปปินส์และพายุหมุนเขตร้อน · ดูเพิ่มเติม »

กลุ่ม 77

กลุ่ม 77 (Group of 77) ที่สหประชาชาติ เป็นแนวร่วม (coalition) ประเทศกำลังพัฒนาอย่างหลวม ๆ ซึ่งออกแบบเพื่อส่งเสริมผลประโยชน์ทางเศรษฐกิจร่วมกัน และเสริมสมรรถภาพการเจรจาร่วมในสหประชาชาติ องค์การนี้มีสมาชิกก่อตั้ง 77 ประเทศ แต่ในเดือนพฤศจิกายน 2556 องค์การมีสมาชิกเพิ่มเป็น 134 ประเทศ ในปี 2559 ประเทศไทยเป็นประธาน กลุ่มนี้ก่อตั้งเมื่อวันที่ 15 มิถุนายน 2507 โดย "ปฏิญญาร่วมเจ็ดสิบเจ็ดประเทศ" ซึ่งออกที่การประชุมสหประชาชาติว่าด้วยการค้าและพัฒนา (UNCTAD) มีการประชุมใหญ่ครั้งแรกในกรุงแอลเจียร์ ประเทศแอลจีเรีย ในปี 2510 ซึ่งมีการรับกฎบัตรแอลเจียร์และเริ่มพื้นฐานสำหรับโครงสร้างสถาบันถาวร มีกฎบัตรกลุ่ม 77 ในกรุงโรม (องค์การอาหารและการเกษตรแห่งสหประชาชาติ) เวียนนา (องค์การพัฒนาอุตสาหกรรมสหประชาชาติ) ปารีส (ยูเนสโก) ไนโรบี (โครงการสิ่งแวดล้อมแห่งสหประชาชาติ) และกลุ่ม 24 ในกรุงวอชิงตัน ดี.ซี.

ใหม่!!: ประเทศฟิลิปปินส์และกลุ่ม 77 · ดูเพิ่มเติม »

กลุ่มภาษาบีโคล

กลุ่มภาษาบีโคล (ฟิลิปีโนและBikol) เป็นภาษาตระกูลออสโตรนีเซีย ใช้ในประเทศฟิลิปปินส์ โดยเฉพาะคาบสมุทรบีโคลบนเกาะลูซอน.

ใหม่!!: ประเทศฟิลิปปินส์และกลุ่มภาษาบีโคล · ดูเพิ่มเติม »

กลุ่มเกาะ

กลุ่มเกาะมะริด ในประเทศพม่า กลุ่มเกาะ (archipelago หรือ island group) เป็นหมู่เกาะที่โยงกันเป็นโซ่หรือเป็นกลุ่ม คำว่า archipelago มาจากภาษากรีก ἄρχι ("หลัก") และ πέλαγος ("ทะเล") ผ่านกลุ่มเกาะอิตาลี ในภาษาอิตาลี ซึ่งอาจเป็นไปได้ว่าหลักจากประเพณีความเก่าแก่ กลุ่มเกาะ (จากภาษากรีกสมัยกลาง ἀρχιπέλαγος) เป็นชื่อเฉพาะของทะเลอีเจียน และภายหลัง การใช้ได้เปลี่ยนเป็นหมายถึงหมู่เกาะอีเจียน (เพราะทะเลดังกล่าวมีชื่อเสียงกันว่ามีเกาะอยู่เป็นจำนวนมาก) ปัจจุบัน ใช้หมายถึงกลุ่มเกาะใด ๆ หรือ บางครั้ง ทะเลที่บรรจุเกาะกระจัดกระจายกันจำนวนมาก เช่น ทะเลอีเจียน กลุ่มเกาะอาจพบห่างไกลในแหล่งน้ำหรืออยู่ใกล้กับผืนดินขนาดใหญ่ก็ได้ ตัวอย่างเช่น สกอตแลนด์มีเกาะมากกว่า 700 เกาะล้อมแผ่นดินใหญ่ซึ่งประกอบกันขึ้นเป็นกลุ่มเกาะ กลุ่มเกาะนี้มักมีภูเขาไฟ ก่อตัวขึ้นตามหมู่เกาะโค้งที่เกิดจากเขตมุดตัวของเปลือกโลกหรือจุดศูนย์รวมความร้อน แต่ยังอาจเกิดจากการกัดเซาะ การทับถมและความสูงของพื้นที่ดิน ประเทศสมัยใหม่ขนาดใหญ่ที่สุดห้าประเทศที่ส่วนใหญ่เป็นกลุ่มเกาะ ได้แก่ อินโดนีเซีย ญี่ปุ่น ฟิลิปปินส์ นิวซีแลนด์และสหราชอาณาจักร รัฐกลุ่มเกาะขนาดใหญ่ที่สุดในโลกตามพื้นที่ คือ อินโดนีเซีย กลุ่มเกาะที่มีเกาะมากที่สุดอยู่ในทะเล Archipelago ในฟินแลน.

ใหม่!!: ประเทศฟิลิปปินส์และกลุ่มเกาะ · ดูเพิ่มเติม »

กล้วยไม้

กล้วยไม้ หรือ เอื้อง เป็นพืชดอกที่มีความหลากหลายมากที่สุดกลุ่มหนึ่ง โดยมีประมาณ 899 สกุล และมีประมาณ 27,000 ชนิดที่มีการยอมรับ คิดเป็น 6–11% ของพืชมีเมล็ด มีการค้นพบราวๆ 800 ชนิดทุกๆปี มีสกุลใหญ่ๆคือ Bulbophyllum (2,000 ชนิด), Epidendrum (1,500 ชนิด), Dendrobium (1,400 ชนิด) และ Pleurothallis (1,000 ชนิด) สายพันธุ์ของกล้วยไม้ที่ขึ้นและเติบโตในป่าเรียกว่า กล้วยไม้ป่า กล้วยไม้จัดอยู่ในกลุ่มพืชใบเลี้ยงเดี่ยว อยู่ในวงศ์กล้วยไม้ (Orchidaceae) สามารถแบ่งตามลักษณะการเติบโตได้ดังนี้.

ใหม่!!: ประเทศฟิลิปปินส์และกล้วยไม้ · ดูเพิ่มเติม »

กองทุนการเงินระหว่างประเทศ

ัญลักษณ์ของ IMF กองทุนการเงินระหว่างประเทศ (International Monetary Fund) หรือ ไอเอ็มเอฟ (IMF) เป็นองค์กรที่รัฐบาลของกลุ่มประเทศพันธมิตรได้ร่วมก่อตั้งขึ้น มีฐานะเป็นทบวงการชำนาญพิเศษของสหประชาชาติ โดยมีข้อบังคับว่าประเทศที่จะเป็นสมาชิกธนาคารโลก และจะต้องเป็นสมาชิกของ IMF ด้วย เริ่มเปิดดำเนินการในเดือนมีนาคม ปี..

ใหม่!!: ประเทศฟิลิปปินส์และกองทุนการเงินระหว่างประเทศ · ดูเพิ่มเติม »

การพลัดถิ่น

ียนแสดงการอพยพของชาวไอริช ราว ค.ศ. 1868 การพลัดถิ่น (Diaspora) คำว่า “Diaspora” มาจากภาษากรีก “διασπορά” ที่แปลว่า “การหว่าน” เป็นคำที่หมายถึงการโยกย้ายของประชากรที่มีชาติพันธุ์เดียวกันเป็นกลุ่มใหญ่ ที่อาจจะเกิดจากการถูกบังคับให้ทำการโยกย้าย หรือ เลือกที่จะโยกย้ายถิ่นฐานโดยความตั้งใจของตนเองจากถิ่นฐานที่อยู่เดิมไปตั้งถิ่นฐานและเป็นพลเมืองในดินแดนใหม่ที่มักจะไกลจากถิ่นฐานที่ตั้งอยู่เดิม “การพลัดถิ่น” แตกต่างจากวัฒนธรรมของผู้เร่ร่อน และใกล้เคียงกับการเป็นผู้ลี้ภัย (Refugee) มากกว่า แต่การลี้ภัยอาจจะเป็นการโยกย้ายไปตั้งถิ่นฐานอย่างถาวรในดินแดนใหม่หรือไม่ก็ได้ คำว่า “การพลัดถิ่น” แตกต่างจากการลี้ภัยที่หมายถึงกลุ่มผู้ที่พลัดจากบ้านเกิดเมืองนอนที่ไปตั้งถิ่นฐานอยู่ในดินแดนใหม่อย่างเป็นการถาวร คำนี้นิยมใช้กับการอพยพของชนกลุ่มใหญ่ที่อาจจะมีสาเหตุมาจากการบังคับให้โยกย้าย หรือจากปัญหาทางเศรษฐกิจที่ทำให้มีความจำเป็นต้องไปหาที่ตั้งถิ่นฐานใหม่ก็ได้ ความเปลี่ยนแปลงทางสังคม การวิวัฒนาการทางวัฒนธรรมของผู้พลัดถิ่นที่ไปตั้งถิ่นฐานอยู่ในดินแดนอื่น ก็อาจจะแตกต่างไปจากการวิวัฒนาการของชนกลุ่มเดียวกันในบ้านเกิดเมืองนอนที่ทิ้งมา การรักษาวัฒนธรรม ประเพณี นอกจากนั้นปัจจัยต่างๆ ของแต่ละกลุ่มก็จะต่างระดับกันไป แต่แนวโน้มโดยทั่วไปแล้วความผูกพันทางวัฒนธรรมของกลุ่มผู้พลัดถิ่นมักจะดำเนินไปในรูปของการต่อต้านความเปลี่ยนแปลงของภาษาและในการรักษาประเพณีการปฏิบัติทางศาสนาเช่นที่เคยทำกันมาในประเทศบ้านเกิดอย่างเหนียวแน่นโดยเฉพาะในชั่วคนรุ่นแรก.

ใหม่!!: ประเทศฟิลิปปินส์และการพลัดถิ่น · ดูเพิ่มเติม »

การจ้างทำกระบวนการธุรกิจ

การจ้างทำกระบวนการธุรกิจ (business process outsourcing) คือการจ้างผู้อื่นให้ทำหน้าที่หรือกระบวนการทางธุรกิจให้แทน โดยให้ทำการแทนในขอบเขตความรับผิดชอบตามที่ได้ตกลงกันไว้ ส่วนใหญ่กระบวนการธุรกิจที่จ้างบริษัทอื่นให้ทำแทนนั้นมักจะเป็นกระบวนการที่ไม่ใช่ธุรกิจหลัก เช่นงานด้านบริหารทรัพยากรมนุษย์ในบริษัท ประเทศที่เป็นศูนย์กลางของธุรกิจนี้ คือ อินเดีย จีน และมาเลเซี.

ใหม่!!: ประเทศฟิลิปปินส์และการจ้างทำกระบวนการธุรกิจ · ดูเพิ่มเติม »

การทำลายป่า

การทำลายป่าฝนอะเมซอน จากภาพถ่ายดาวเทียม จะเห็นถนนในป่ามีลักษณะเป็นรูปก้างปลา ("fishbone" pattern) การทำลายป่า คือ สภาวะของป่าตามธรรมชาติที่ถูกทำลายโดยการตัดไม้และการเผาป่า เกิดขึ้นได้จากหลายสาเหตุ เช่น การนำต้นไม้และถ่านไม้มาใช้หรือจำหน่ายเป็นโภคภัณฑ์ ในระหว่างที่ทำการเลี้ยงสัตว์ เพาะปลูก และตั้งถิ่นฐาน บนพื้นที่ว่าง การตัดไม้โดยไม่ปลูกทดแทนด้วยจำนวนที่เพียงพอ ก่อให้เกิดความเสียหายต่อที่อยู่อาศัย ต่อความหลากหลายทางชีวภาพ และปัญหาความแห้งแล้ง ซึ่งส่งผลเสียต่อการกักเก็บก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ในบรรยากาศโดยพืช พื้นที่ป่าที่ถูกทำลายโดยมากจะเกิดความเสียหายจากการพังทลายของหน้าดิน และพื้นที่มักด้อยคุณภาพลงจนกลายเป็นที่ดินที่ทำประโยชน์มิได้.

ใหม่!!: ประเทศฟิลิปปินส์และการทำลายป่า · ดูเพิ่มเติม »

การท่องเที่ยว

การท่องเที่ยว หมายถึงการเดินทางเพื่อพักผ่อนหย่อนใจหรือเพื่อความสนุกสนานตื่นเต้นหรือเพื่อหาความรู้ องค์กรการท่องเที่ยวของสหประชาชาติ (World Tourism Organization) กำหนดไว้ว่า การท่องเที่ยวหมายถึงการเดินทาง โดยระยะทางมากกว่า 40 กิโลเมตรจากบ้าน เพื่อจุดประสงค์ในการพักผ่อนหย่อนใ.

ใหม่!!: ประเทศฟิลิปปินส์และการท่องเที่ยว · ดูเพิ่มเติม »

การปฏิวัติพลังประชาชน

การปฏิวัติพลังประชาชน (หรือ การปฏิวัติเอ็ดซา และการปฏิวัติฟิลิปปินส์ พ.ศ. 2529) เป็นชุดการเดินขบวนในประเทศฟิลิปปินส์ที่เกิดขึ้นระหว่าง..

ใหม่!!: ประเทศฟิลิปปินส์และการปฏิวัติพลังประชาชน · ดูเพิ่มเติม »

การประชุมสุดยอดเอเชียตะวันออก

การประชุมสุดยอดเอเชียตะวันออก (East Asia Summit ย่อว่า EAS) เป็นการประชุมสุดยอดของผู้นำประเทศในภูมิภาคเอเชียตะวันออก จำนวน 16 ประเทศ โดยมีกลุ่มประเทศอาเซียนเป็นศูนย์กลาง.

ใหม่!!: ประเทศฟิลิปปินส์และการประชุมสุดยอดเอเชียตะวันออก · ดูเพิ่มเติม »

ภาวะเศรษฐกิจถดถอย

ในวิชาเศรษฐศาสตร์ ภาวะเศรษฐกิจถดถอย (recession) เป็นการหดตัวของวัฏจักรธุรกิจซึ่งส่งผลให้เกิดการชะลอโดยรวมของกิจกรรมทางเศรษฐกิจ ตัวชี้วัดเศรษฐกิจมหภาคอย่างผลิตภัณฑ์ในประเทศเบื้องต้น (GDP) รายจ่ายการลงทุน กําลังผลิตของภาคอุตสาหกรรม รายได้ครัวเรือน กำไรธุรกิจและเงินเฟ้อลดลง ส่วนการล้มละลายและอัตราการว่างงานเพิ่มขึ้น ในสหราชอาณาจักร นิยามว่าเป็นการเติบโตทางเศรษฐกิจเป็นลบสองไตรมาสติดต่อกัน โดยทั่วไปภาวะเศรษฐกิจถดถอยเกิดเมื่อมีรายจ่ายลดลงอย่างกว้างขวาง (การเปลี่ยนแปลงอุปทานเป็นลบ) ซึ่งอาจเกิดจากหลายเหตุการณ์อย่างวิกฤตการเงิน การเปลี่ยนแปลงการค้าภายนอก และการเปลี่ยนแปลงอุปสงค์เป็นลบ หรือการแตกของภาวะเศรษฐกิจฟองสบู่ รัฐบาลปกติสนองต่อภาวะเศรษฐกิจถดถอยด้วยการใช้นโยบายเศรษฐกิจมหภาคแบบขยายตัว เช่น การพิ่มอุปสงค์เงิน (นโยบายการคลัง) การเพิ่มรายจ่ายภาครัฐและการลดการเก็บภาษี (นโยบายการเงิน).

ใหม่!!: ประเทศฟิลิปปินส์และภาวะเศรษฐกิจถดถอย · ดูเพิ่มเติม »

ภาษา

ษาในความหมายอย่างกว้าง หมายถึง การพูดอะไรก็ได้ที่เป็นภาษาเช่น สวัสดี คน สวย ให้ พี่ ไป ส่ง ป่าว เป็นราก...

ใหม่!!: ประเทศฟิลิปปินส์และภาษา · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาฟิลิปีโน

ษาฟิลิปปินส์ หรือ ภาษาฟิลิปีโน (Filipino) เป็นภาษาประจำชาติและภาษาราชการภาษาหนึ่งของประเทศฟิลิปปินส์คู่กับภาษาอังกฤษ กำหนดเมื่อ พ.ศ. 2530 ภาษานี้เป็นสำเนียงมาตรฐานของภาษาตากาล็อก เมื่อ 13 พฤศจิกายน พ.ศ. 2480 สถาบันภาษาแห่งชาติเลือกภาษาตากาล็อกซึ่งเป็นภาษาท้องถิ่นที่มีการใช้เป็นภาษาเขียนมากที่สุดมาเป็นพื้นฐานของภาษาประจำชาติภาษาใหม่ใน พ.ศ. 2504 ภาษานี้เป็นที่รู้จักในชื่อ ปิลิปีโน และเปลี่ยนชื่อเป็นภาษาฟิลิปปินส์เมื่อ พ.ศ. 2515.

ใหม่!!: ประเทศฟิลิปปินส์และภาษาฟิลิปีโน · ดูเพิ่มเติม »

ภาษากาปัมปางัน

ษากาปัมปางัน เป็นภาษาหนึ่งที่ใช้พูดในประเทศฟิลิปปิน.

ใหม่!!: ประเทศฟิลิปปินส์และภาษากาปัมปางัน · ดูเพิ่มเติม »

ภาษากินาไรอา

ษากีนาไรอา อยู่ในตระกูลวิซายัน มีผู้พูดในจังหวัดอันตีเกและอีโลอีโล ประเทศฟิลิปปินส์ จากอิทธิพลของสื่อและพื้นที่ที่ใกล้เคียงกัน ผู้พูดภาษากีนาไรอาจะเข้าใจภาษาฮีลีไกโนนได้ แต่ภาษากีนาไรอาไม่ใช่สำเนียงของภาษาฮีลีไกโนน เป็นเพียงภาษาที่ใกล้เคียงกันเท่านั้น.

ใหม่!!: ประเทศฟิลิปปินส์และภาษากินาไรอา · ดูเพิ่มเติม »

ภาษามากินดาเนา

ภาษามากินดาเนา เป็นภาษาตระกูลออสโตรนีเซียน ใช้พูดเป็นส่วนใหญ่ในจังหวัดมากินดาเนา ประเทศฟิลิปปินส์ และมีกระจายอยู่ในส่วนอื่น ๆ ของเกาะมินดาเนาเช่น ซัมโบวังกา ดาเวา และจังหวัดอื่น ๆ เช่น จังหวัดนอร์ทโกตาบาโต จังหวัดเซาท์โกตาบาโต จังหวัดซารังกานี จังหวัดซัมโบอังกาเดลซูร์ และจังหวัดซัมโบอังกาซิบูไก รวมทั้งในมะนิลาด้วย หมวดหมู่:ภาษาในประเทศฟิลิปปินส์.

ใหม่!!: ประเทศฟิลิปปินส์และภาษามากินดาเนา · ดูเพิ่มเติม »

ภาษามาราเนา

ภาษามาราเนา เป็นภาษาตระกูลออสโตรนีเซียน ใช้พูดในจังหวัดลาเนา เดล นอริเต และ ลาเนา เดล ซุร ในฟิลิปปินส์ มาราเนา.

ใหม่!!: ประเทศฟิลิปปินส์และภาษามาราเนา · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาราชการ

ษาทางการ หรือ ภาษาราชการ คือภาษาที่มีการกำหนดให้เป็นภาษาหลักในการติดต่อสื่อสารภายในประเทศและเขตแดนที่ติดต่อกับประเทศนั้น บางครั้งภาษาท้องถิ่นถูกเข้าใจผิดว่าเป็นภาษาทางการเพราะมีการใช้การติดต่อกับทางส่วนการปกครองของท้องที่นั้น ในขณะที่ประเทศส่วนใหญ่มีภาษาทางการ 1 ภาษา บางประเทศมีภาษาทางการ 2 ภาษาขึ้นไป เช่น เบลเยียม แคนาดา ฟินแลนด์ สวิตเซอร์แลนด์ ฯลฯ ขณะเดียวกันบางประเทศไม่มีภาษาทางการ เช่น สหรัฐอเมริกา สวีเดน ฯลฯ ภาษาทางการของบางประเทศที่อยู่ภายใต้อาณานิคม เช่น ภาษาอังกฤษ และ ภาษาฝรั่งเศส ถูกใช้เป็นภาษาทางการ ถึงแม้ว่าไม่ใช่ภาษาที่มีการใช้เป็นหลักในประเทศนั้นๆ ในประเทศไอร์แลนด์ ภาษาไอร์แลนด์ (ไอริช) เป็นภาษาทางการและเป็นภาษาประจำชาติของประเทศ แต่มีผู้ใช้ภาษาไอร์แลนด์น้อยกว่า 1 ใน 3 ของประชากรประเทศ ขณะที่ผู้คนส่วนมากใช้ภาษาอังกฤษเป็นภาษาหลัก ในบางประเทศมีการโต้เถียงอย่างรุนแรง ในประเด็นที่ว่าควรใช้ภาษาใดเป็นภาษาทางการของประเทศ สำหรับประเทศไทยนั้น ใช้ภาษาไทยมาตรฐาน เป็น "ภาษากลาง" ที่ได้พัฒนารูปแบบขึ้นมาจากภาษาไทยถิ่นกลางมาโดยลำดับ จนมีลักษณะเฉพาะที่แตกต่างจากภาษาไทยถิ่นกลางอื่นๆ เรียกอีกอย่างว่าเป็นภาษาหนังสือ เป็นภาษาที่ใช้ในเอกสารราชการ การประชุมที่เป็นทางการ หนังสือ และตำราต่างๆ โดยปรากฏแนวการพัฒนาเป็นภาษากลางตั้งแต่สมัยรัชกาลที่ 5.

ใหม่!!: ประเทศฟิลิปปินส์และภาษาราชการ · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาวาไร

ษาวาไร (Waray), ซามาร์-เลเต หรือ ซามาร์ เป็นภาษาที่ใช้พูดในจังหวัดซามาร์, นอร์เทิร์นซามาร์, อีสเทิร์นซามาร์, เลเต และบีลีรันในฟิลิปปินส์ จัดอยู่ในภาษาตระกูลวิซายัน มีความเกี่ยวข้องกับภาษาเซบูและใกล้เคียงกับภาษาฮีลีไกโนน.

ใหม่!!: ประเทศฟิลิปปินส์และภาษาวาไร · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาสเปน

ษาสเปน (Spanish; สเปน: español) หรือ ภาษาคาสตีล (Castilian; สเปน: castellano) เป็นภาษาในกลุ่มภาษาไอบีเรียนโรมานซ์ หนึ่งในภาษาทางการ 6 ภาษาขององค์การสหประชาชาติ และภาษาที่มีผู้พูดเป็นภาษาแม่มากที่สุดในโลกรองจากภาษาจีนกลาง รวมทั้งยังเป็นภาษาราชการขององค์การระหว่างประเทศทางเศรษฐกิจและการเมืองที่สำคัญอีกหลายองค์การอีกด้วย เช่น สหภาพยุโรป สหภาพแอฟริกา องค์การรัฐอเมริกา องค์การรัฐไอบีเรียอเมริกา ข้อตกลงการค้าเสรีอเมริกาเหนือ และสหภาพชาติอเมริกาใต้ เป็นต้น มีผู้พูดภาษาสเปนเป็นภาษาที่หนึ่งและภาษาที่สองเป็นจำนวนระหว่าง 450-500 ล้านคนEl País.

ใหม่!!: ประเทศฟิลิปปินส์และภาษาสเปน · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาอังกฤษ

ษาอังกฤษ หรือ ภาษาอังกฤษใหม่ เป็นภาษาในกลุ่มภาษาเจอร์แมนิกตะวันตกที่ใช้ครั้งแรกในอังกฤษสมัยต้นยุคกลาง และปัจจุบันเป็นภาษาที่ใช้กันแพร่หลายที่สุดในโลก ประชากรส่วนใหญ่ในหลายประเทศ รวมทั้ง สหราชอาณาจักร สหรัฐอเมริกา แคนาดา ออสเตรเลีย ไอร์แลนด์ นิวซีแลนด์ และประเทศในแคริบเบียน พูดภาษาอังกฤษเป็นภาษาที่หนึ่ง ภาษาอังกฤษเป็นภาษาแม่ที่มีผู้พูดมากที่สุดเป็นอันดับสามของโลก รองจากภาษาจีนกลางและภาษาสเปน มักมีผู้เรียนภาษาอังกฤษเป็นภาษาที่สองอย่างกว้างขวาง และภาษาอังกฤษเป็นภาษาราชการของสหภาพยุโรป หลายประเทศเครือจักรภพแห่งชาติ และสหประชาชาติ ตลอดจนองค์การระดับโลกหลายองค์การ ภาษาอังกฤษเจริญขึ้นในราชอาณาจักรแองโกล-แซ็กซอนอังกฤษ และบริเวณสกอตแลนด์ตะวันออกเฉียงใต้ในปัจจุบัน หลังอิทธิพลอย่างกว้างขวางของบริเตนใหญ่และสหราชอาณาจักรตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 17 จนถึงกลางคริสต์ศตวรรษที่ 20 ผ่านจักรวรรดิอังกฤษ และรวมสหรัฐอเมริกาด้วยตั้งแต่กลางคริสต์ศตวรรษที่ 20 ภาษาอังกฤษได้แพร่หลายทั่วโลก กลายเป็นภาษาชั้นนำของวจนิพนธ์ระหว่างประเทศและเป็นภาษากลางในหลายภูมิภาค ในประวัติศาสตร์ ภาษาอังกฤษกำเนิดจากการรวมภาษาถิ่นหลายภาษาที่สัมพันธ์อย่างใกล้ชิด ซึ่งปัจจุบันเรียกรวมว่า ภาษาอังกฤษเก่า ซึ่งผู้ตั้งนิคมนำมายังฝั่งตะวันออกของบริเตนใหญ่เมื่อคริสต์ศตวรรษที่ 5 คำในภาษาอังกฤษจำนวนมากสร้างขึ้นบนพื้นฐานรากศัพท์ภาษาละติน เพราะภาษาละตินบางรูปแบบเป็นภาษากลางของคริสตจักรและชีวิตปัญญาชนยุโรปDaniel Weissbort (2006).

ใหม่!!: ประเทศฟิลิปปินส์และภาษาอังกฤษ · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาอาหรับ

ษาอาหรับ (العربية; Arabic Language) เป็นภาษากลุ่มเซมิติก ที่มีผู้พูดมากที่สุด ซึ่งมีความสัมพันธ์ที่ใกล้ชิดพอควรกับภาษาฮีบรูและภาษาอราเมอิก โดยพัฒนามาจากภาษาเดียวกันคือภาษาเซมิติกดั้งเดิม ภาษาอาหรับสมัยใหม่ถือว่าเป็นภาษาขนาดใหญ่ แบ่งเป็นสำเนียงย่อยได้ถึง 27 สำเนียง ในระบบ ISO 639-3 ความแตกต่างของการใช้ภาษาพบได้ทั่วโลกอาหรับ โดยมีภาษาอาหรับมาตรฐานซึ่งใช้ในหมู่ผู้นับถือศาสนาอิสลาม ภาษาอาหรับสมัยใหม่มาจากภาษาอาหรับคลาสสิกซึ่งเป็นภาษาเดียวที่เหลืออยู่ในภาษากลุ่มอาหรับเหนือโบราณ เริ่มพบในพุทธศตวรรษที่ 11 และกลายเป็นภาษาทางศาสนาของศาสนาอิสลามตั้งแต่พุทธศตวรรษที่ 12 เป็นภาษาของคัมภีร์อัลกุรอาน และภาษาของการนมาซและบทวิงวอนของชาวมุสลิมทั่วโลก ชาวมุสลิมจะเริ่มศึกษาภาษาอาหรับตั้งแต่ยังเด็ก เพื่ออ่านอัลกุรอานและทำการนมาซ ภาษาอาหรับเป็นแหล่งกำเนิดของคำยืมจำนวนมากในภาษาที่ใช้โดยมุสลิมและภาษาส่วนใหญ่ในยุโรป ภาษาอาหรับเองก็มีการยืมคำจากภาษาเปอร์เซียและภาษาสันสกฤตด้วย ในช่วงยุคกลาง ภาษาอาหรับเป็นภาษาหลักในการขับเคลื่อนวัฒนธรรมโดยเฉพาะทางวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และปรัชญา จึงทำให้ภาษาในยุโรปจำนวนมากยืมคำไปจากภาษาอาหรับ โดยเฉพาะภาษาสเปนและภาษาโปรตุเกส ทั้งนี้เพราะอารยธรรมอาหรับเคยแผ่ขยายไปถึงคาบสมุทรไอบีเรี.

ใหม่!!: ประเทศฟิลิปปินส์และภาษาอาหรับ · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาอินโดนีเซีย

ษาอินโดนีเซีย (Bahasa Indonesia; Indonesian language) เป็นภาษาทางการของประเทศอินโดนีเซีย และเป็นภาษาที่น่าสังเกตในหลายด้าน เริ่มต้นด้วยการที่ชาวอินโดนีเซียส่วนใหญ่พูดภาษาอินโดนีเซียเป็นภาษาที่สอง และส่วนน้อยที่พูดเป็นภาษาแม่ในบางนัย ภาษานี้เป็นภาษาที่ค่อนข้างใหม่ เนื่องจากเกิดขึ้นอย่างเป็นทางการในปี พ.ศ. 2488 และเป็นภาษาที่เปลี่ยนแปลงตลอดเวลา เนื่องจากเกิดคำที่ยืมมาจากภาษาอื่น ๆ อยู่ตลอด ชื่อท้องถิ่นของภาษาอินโดนีเซียคือ บาฮาซาอินโดนีเซีย (Bahasa Indonesia) และชื่อนี้ก็นำมาใช้ในภาษาอังกฤษในบางโอก.

ใหม่!!: ประเทศฟิลิปปินส์และภาษาอินโดนีเซีย · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาอีโลกาโน

ษาอีโลกาโนเป็นภาษาที่มีผู้พูดมากเป็นลำดับสามในฟิลิปปินส์ เป็นภาษาตระกูลออสโตรนีเซียนซึ่งใกล้เคียงกับภาษาอินโดนีเซีย ภาษามลายู ภาษาฟิจิ ภาษาเมารี ภาษาฮาวาย ภาษามาลากาซี ภาษาซามัว ภาษาตาฮิติ ภาษาชาร์โมโร ภาษาเตตุมและภาษาไปวัน.

ใหม่!!: ประเทศฟิลิปปินส์และภาษาอีโลกาโน · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาฮีลีไกโนน

ษาฮีลีไกโนน (ฟิลิปีโนและHiligaynon) เป็นภาษาตระกูลออสโตรนีเซียใช้พูดในวิซายาตะวันตก ประเทศฟิลิปปินส์ ส่วนใหญ่อยู่ในจังหวัดอีโลอีโลและเนโกรส และจังหวัดอื่น ๆ ในเกาะปาไน เช่น คาปิซ, อันตีเก, อักลัน และกีมารัส มีผู้พูด 7 ล้านคน ใช้เป็นภาษาแม่ และใช้เป็นภาษาที่สองอีก 4 ล้านคน.

ใหม่!!: ประเทศฟิลิปปินส์และภาษาฮีลีไกโนน · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาตากาล็อก

ษาตากาล็อก เป็นหนึ่งในภาษาหลักของสาธารณรัฐฟิลิปปินส์ เป็นหนึ่งในตระกูลภาษาออสโตรนีเซียน มีความสัมพันธ์กับภาษาอินโดนีเซีย ภาษามลายู ภาษาฟิจิ ภาษาเมารี ภาษาฮาวาย ภาษามาลากาซี ภาษาซามัว ภาษาตาฮีตี ภาษาชามอร์โร ภาษาเตตุม และตระกูลภาษาออสโตรนีเซียนในไต้หวันเป็นภาษาประจำชาติและภาษาราชการคู่กับภาษาอังกฤษในประเทศฟิลิปปินส์ ใช้เป็นภาษากลางภายในประเทศ มีผู้พูดราว 85 ล้านคน ในทางธุรกิจนิยมใช้ภาษาอังกฤษมากกว.

ใหม่!!: ประเทศฟิลิปปินส์และภาษาตากาล็อก · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาปัญจาบ

ษาปัญจาบ หรือ ปัญจาบี หรือ ปัญชาพี (อักษรคุรมุขี: ਪੰਜਾਬੀ Paṁjābī,อักษรชาห์มุขี: پنجابی Panjābī) เป็นภาษาของชาวปัญจาบ และภูมิภาคปัญจาบของประเทศอินเดีย และประเทศปากีสถาน ภาษาปัญจาบเป็นภาษากลุ่มอินโด-ยุโรเปียน ในกลุ่มย่อยอินโด-อิเรเนียน เป็นภาษากลุ่มอินโด-ยุโรเปียนภาษาเดียวที่เป็นภาษาวรรณยุกต์ ซึ่งวรรณยุกต์เกิดจากการออกเสียงพยัญชนะชุดต่าง ๆ ด้วยเสียงสูงต่ำที่ต่างกัน ในเรื่องของความซับซ้อนของรูปศัพท์ เป็นภาษาที่ใช้คำประกอบ (agglutinative language) และมักจะเรียงคำตามลำดับ 'ประธาน กรรม กิริยา' ชาวปัญจาบได้ถูกแบ่งระหว่างอินเดียและปากีสถานระหว่างการแบ่งอินเดียเมื่อพ.ศ. 2490 อย่างไรก็ดี ภาษาและวัฒนธรรมปัญจาบมักเป็นปัจจัยที่ทำให้ชาวปัญจาบอยู่รวมกันไม่ว่าจะสัญชาติหรือศาสนาใด มีชาวปัญจาบอพยพจำนวนมากในหลายประเทศเช่น สหรัฐ ออสเตรเลีย อังกฤษ แคนาดา ภาษาปัญจาบเป็นภาษาศักดิ์สิทธิ์ของชาวสิกข์ที่ใช้เขียนวรรณกรรมทางศาสนา เป็นภาษาที่ใช้ในดนตรีภันคระที่แพร่หลายในเอเชียใต้.

ใหม่!!: ประเทศฟิลิปปินส์และภาษาปัญจาบ · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาปังกาซีนัน

ษาปังกาซีนัน (ฟิลิปีโนและPangasinan) เป็นภาษาตระกูลออสโตรนีเซียน สาขามาเลโย-พอลินีเชียน มีผู้พูดราว 1.5 ล้านคนในจังหวัดปังกาซีนัน ทางภาคตะวันตกของเกาะลูซอน คำว่าปังกาซีนันแปลว่าแผ่นดินเกลือหรือแหล่งบรรจุเกลือ เรียงประโยคแบบกริยา-ประธาน-กรรม.

ใหม่!!: ประเทศฟิลิปปินส์และภาษาปังกาซีนัน · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาแต้จิ๋ว

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: ประเทศฟิลิปปินส์และภาษาแต้จิ๋ว · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาเกาหลี

ษาเกาหลี (한국어 หรือ 조선말, ดูในส่วนชื่อ) เป็นภาษาที่ส่วนใหญ่พูดใน ประเทศเกาหลีใต้ และ ประเทศเกาหลีเหนือ ซึ่งใช้เป็นภาษาราชการ และมีคนชนเผ่าเกาหลีที่อาศัยอยู่ในประเทศจีนพูดโดยทั่วไป(ในจังหวัดปกครองตนเองชนชาติเกาหลีเหยียนเปียน มณฑลจี๋หลิน ซึ่งมีพรมแดนติดกับเกาหลีเหนือ) ทั่วโลกมีคนพูดภาษาเกาหลี 78 ล้านคน รวมถึงกลุ่มคนในอดีตสหภาพโซเวียต สหรัฐอเมริกา แคนาดา บราซิล ญี่ปุ่น และเมื่อเร็ว ๆ นี้ก็มีผู้พูดใน ฟิลิปปินส์ ด้วย การจัดตระกูลของภาษาเกาหลีไม่เป็นที่ยอมรับกันโดยทั่วไป แต่คนส่วนมากมักจะถือเป็นภาษาเอกเทศ นักภาษาศาสตร์บางคนได้จัดกลุ่มให้อยู่ใน ตระกูลภาษาอัลไตอิกด้วย ทั้งนี้เนื่องจากภาษาเกาหลีมีวจีวิภาคแบบภาษาคำติดต่อ ส่วนวากยสัมพันธ์หรือโครงสร้างประโยคนั้น เป็นแบบประธาน-กรรม-กริยา (SOV) อักษรเกาหลี เรียกว่าอักษรฮันกึล ใช้แทนเสียงของแต่ละพยางค์ นอกจากนี้ใช้ยังตัวอักขระแบบจีนเรียกว่าอักษรฮันจา ในการเขียนด้วย ในขณะที่คำศัพท์ที่ใช้กันส่วนใหญ่เป็นคำภาษาเกาหลีแท้ โดยที่มีคำศัพท์มากกว่า 50% มาจากภาษาจีนทั้งทางตรงและทางอ้อม.

ใหม่!!: ประเทศฟิลิปปินส์และภาษาเกาหลี · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาเตาซุก

ษาเตาซุก (Wikang Tausug; Tausug language) หรือ ภาษาซูก (เตาซุก: Bahasa Sūg) อยู่ในตระกูลวิซายัน มีผู้พูดในจังหวัดซูลู ประเทศฟิลิปปินส์ มีผู้พูดในมาเลเซียและอินโดนีเซียด้ว.

ใหม่!!: ประเทศฟิลิปปินส์และภาษาเตาซุก · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาเซบัวโน

ษาเซบู (Cebuano; Sebwano; เซบู: Sinugboanon) เป็นภาษาตระกูลออสโตรนีเซียน มีผู้พูดในฟิลิปปินส์ 18 ล้านคน ชื่อในภาษาอังกฤษมาจากชื่อเกาะเซบู รวมกับปัจจัยจากภาษาสเปน -ano หมายถึง ที่เกี่ยวกับเชื้อชาต.

ใหม่!!: ประเทศฟิลิปปินส์และภาษาเซบัวโน · ดูเพิ่มเติม »

ภูมิอากาศ

การแบ่งประเภทของภูมิอากาศทั่วโลก ภูมิอากาศ (climate) เป็นการวัดอย่างหนึ่งของรูปแบบค่าเฉลี่ยของการเปลี่ยนแปลงของอุณหภูมิ ความชื้น ความกดอากาศ หยาดน้ำฟ้า(ฝน ลูกเห็บ หิมะ) ปริมาณอนุภาคในบรรยากาศ และตัวแปรทางอุตุนิยมวิทยาอื่นในภูมิภาคหนึ่งๆในช่วงระยะเวลานาน ภูมิอากาศแตกต่างจากลมฟ้าอากาศ (weather) ที่นำเสนอสภาพขององค์ประกอบเหล่านี้และการแปรผันในเวลาสั้นๆในพื้นที่ที่กำหนด ภูมิอากาศของภูมิภาคหนึ่งเกิดจาก "ระบบภูมิอากาศ" ซึ่งประกอบด้วยห้าองค์ประกอบ ได้แก่ บรรยากาศ (atmosphere) อุทกบรรยากาศ (hydrosphere) เยือกแข็ง (cryosphere) เปลือกโลก (lithosphere) และ ชีวมณฑล (biosphere).

ใหม่!!: ประเทศฟิลิปปินส์และภูมิอากาศ · ดูเพิ่มเติม »

ภูเขาไฟ

ูเขาไฟโบรโมและภูเขาไฟสิเมรุบนเกาะชวา ประเทศอินโดนีเซีย ภูเขาไฟ เป็นธรณีสัณฐานที่หินหนืดปะทุผ่านขึ้นมายังพื้นผิวของดาวเคราะห์ ภูเขาไฟมักเกิดขึ้นใกล้กับแนวรอยต่อระหว่างแผ่นเปลือกโลก อย่างไรก็ตาม ยังมีภูเขาไฟที่เป็นข้อยกเว้น เรียกว่า จุดร้อนภูเขาไฟ (Volcanic Hotspot) วิชาที่ศึกษาเกี่ยวกับภูเขาไฟ เรียกว่า วิทยาภูเขาไฟ (vulcanology หรือ volcanology).

ใหม่!!: ประเทศฟิลิปปินส์และภูเขาไฟ · ดูเพิ่มเติม »

ภูเขาไฟตาอัล

ูเขาไฟตาอัล ภูเขาไฟตาอัล (Taal Volcano) เป็นกลุ่มภูเขาไฟอยู่บนเกาะลูซอน ประเทศฟิลิปปินส์ มีลักษณะเป็นแอ่งภูเขาไฟรูปกระจาดอยู่บนเกาะเล็ก ๆ กลางทะเลสาบตาอัล อยู่ทางตอนใต้ของเกาะลูซอน ในเขตจังหวัดบาตังกัส ห่างจากกรุงมะนิลา 50 กิโลเมตร เนื่องจากมีลักษณะเป็นแอ่งภูเขาไฟโผล่ขึ้นกลางทะเลสาบ บางครั้งจึงเรียกภูเขาไฟนี้ว่า "เกาะภูเขาไฟ" (Volcano Island) เนื่องจากภูเขาไฟนี้ยังมีการปะทุอย่างรุนแรงอยู่เสมอ และมีผู้เสียชีวิตเป็นจำนวนมาก จึงถูกกำหนดเป็นสถานที่ห้ามประชาชนตั้งถิ่นฐาน การปะทุครั้งรุนแรงที่สุดเกิดขึ้นในปี..

ใหม่!!: ประเทศฟิลิปปินส์และภูเขาไฟตาอัล · ดูเพิ่มเติม »

มรสุม

กลุ่มเมฆและฝนที่เกิดจากมรสุม ภาพแสดงกลุ่มเมฆมรสุม มรสุม เป็นการหมุนเวียนส่วนหนึ่งของลมที่พัดตามฤดูกาล คือ ลมประจำฤดู เป็นลมแน่ทิศและสม่ำเสมอ สาเหตุใหญ่ ๆ เกิดจากความแตกต่างระหว่างอุณหภูมิของพื้นดิน และพื้นน้ำในฤดูหนาวอุณหภูมิของพื้นดินเย็นกว่า อุณหภูมิของน้ำในมหาสมุทร อากาศเหนือพื้นน้ำจึงมีอุณหภูมิสูงกว่า และลอยตัวขึ้นสู่เบื้องบน อากาศเหนือทวีปซึ่งเย็นกว่าไหลไปแทนที่ ทำให้เกิดเป็นลมพัดออกจากทวีป พอถึงฤดูร้อนอุณหภูมิของดินภาคพื้นทวีปร้อนกว่าน้ำในมหาสมุทร เป็นเหตุให้เกิดลมพัดในทิศทางตรงข้าม ลมมรสุมที่มีกำลังแรงจัดที่สุดได้แก่ ลมมรสุมที่เกิดในบริเวณภาคใต้ และภาคตะวันออกเฉียงใต้ของทวีปเอเชีย การเปลี่ยนแปลงฤดูกาลในชั้นบรรยากาศ และวัฎจักรของฝน เนื่องจากความไม่เท่ากันของการรับและคายความร้อนของพื้นดินและน้ำ โดยทั่วไปแล้วเป็นคำที่ใช้บรรยายช่วงฤดูกาลเปลี่ยนแปลงที่มีฝนตก ในระดับโลกสามารถที่จะจำแนกมรสุมได้เป็น มรสุมแอฟริกันตะวันตก และ มรสุมเอเชียออสเตรเลีย คำว่า “มรสุม” ถูกใช้เป็นครั้งแรกในภาษาอังกฤษ ในอินเดียของบริเตน (ปัจจุบันคือ อินเดีย บังกลาเทศ และ ปากีสถาน) เพื่อสื่อถึงลมประจำฤดูกาลที่พัดจากอ่าวเบงกอล และทะเลอาหรับนำพาฝนคะนองเข้าไปสู่บริเวณอินเดียของบริเตน คำว่า "มรสุม" หรือ monsoon ในภาษาอังกฤษ มาจากคำว่า موسم ในภาษาอารบิก แปลว่า ฤดูกาล.

ใหม่!!: ประเทศฟิลิปปินส์และมรสุม · ดูเพิ่มเติม »

มรดกโลก

ตราสัญลักษณ์ แหล่งมรดกโลก หรือ มรดกโลก (World Heritage Site; Patrimoine Mondial) คือสถานที่ อันได้แก่ ป่าไม้ อนุสาวรีย์ สิ่งก่อสร้างต่างๆ รวมไปถึงเมือง ซึ่งคัดเลือกโดยองค์การยูเนสโกตั้งแต่ปี พ.ศ. 2515 เพื่อเป็นการบ่งบอกถึงคุณค่าของสิ่งที่มนุษยชาติ หรือธรรมชาติได้สร้างขึ้นมา และควรจะปกป้องสิ่งเหล่านั้นได้อย่างไร เพื่อให้ได้ตกทอดไปถึงอนาคต ในปัจจุบัน (กรกฎาคม 2560) มีมรดกโลกทั้งหมด 1073 แห่ง ใน 167 ประเทศทั่วโลก ซึ่งแบ่งเป็นมรดกโลกทางวัฒนธรรม 832 แห่ง มรดกโลกทางธรรมชาติ 206 แห่ง และอีก 35 แห่งเป็นแบบผสมทั้งสองประเภท, UNESCO World Heritage Sites official sites.

ใหม่!!: ประเทศฟิลิปปินส์และมรดกโลก · ดูเพิ่มเติม »

มหาสมุทรแปซิฟิก

มหาสมุทรแปซิฟิก (Pacific Ocean) ตั้งชื่อโดย เฟอร์ดินานด์ มาเจลลัน ว่า Mare Pacificum เป็นภาษาละติน แปลว่า peaceful sea ภาษาฝรั่งเศส pacifique (ปาซีฟีก) หมายถึง "สงบสุข" เป็นผืนน้ำที่กว้างใหญ่ที่สุดในโลก มีพื้นน้ำประมาณ 165,000,000 ตารางกิโลเมตร หรือ 1 ใน 3 ของพื้นที่ผิวทั้งหมดของโลก ความยาวในแนวลองจิจูดมีระยะทางประมาณ 15,500 กิโลเมตร จากทะเลเบริงในเขตอาร์กติกที่อยู่ทางเหนือจรดริมฝั่งทะเลรอสส์ในแอนตาร์กติกาที่อยู่ทางใต้ มหาสมุทรแปซิฟิกมีด้านที่กว้างที่สุดตามแนวตะวันออก-ตะวันตก อยู่ ณ บริเวณละติจูด 5 องศาเหนือ ด้วยความยาวประมาณ 19,800 กิโลเมตร จากอินโดนีเซียถึงชายฝั่งโคลอมเบีย สุดเขตด้านตะวันตก คือ ช่องแคบมะละกา จุดที่ลึกที่สุดในโลก คือ ร่องลึกมาเรียนา (Mariana Trench) อยู่ในมหาสมุทรแปซิฟิก จุดที่ลึกที่สุดวัดได้ 10,911 เมตร มหาสมุทรแปซิฟิก ความเค็มประมาณ 33-37 ส่วนต่อพันส่วน กระแสน้ำที่สำคัญของมหาสมุทรแปซิฟิก คือ กระแสน้ำเย็นฮัมโบลต์ (เปรู) กระแสน้ำอุ่นศูนย์สูตร กระแสน้ำเย็นแคลิฟอร์เนีย กระแสน้ำอุ่นอะแลสกา และกระแสน้ำอุ่นคุโระชิโอะ (กุโรชิโว) มหาสมุทรแปซิฟิกมีเกาะอยู่ประมาณ 25,000 เกาะ (มากกว่าเกาะในมหาสมุทรอื่น ๆ ที่เหลือรวมกัน) ส่วนใหญ่อยู่ใต้เส้นศูนย์สูตร ริมมหาสมุทรประกอบด้วยทะเลจำนวนมาก ที่สำคัญ คือ ทะเลเซเลบีส ทะเลคอรัล ทะเลจีนตะวันออก ทะเลญี่ปุ่น ทะเลจีนใต้ ทะเลซูลู ทะเลแทสมัน และทะเลเหลือง ทางด้านตะวันตก ช่องแคบมะละกาเป็นจุดเชื่อมต่อระหว่างมหาสมุทรแปซิฟิกกับมหาสมุทรอินเดีย ส่วนทางด้านตะวันออก ช่องแคบมาเจลลันเชื่อมต่อระหว่างมหาสมุทรแปซิฟิกกับ มหาสมุทรแอตแลนติก.

ใหม่!!: ประเทศฟิลิปปินส์และมหาสมุทรแปซิฟิก · ดูเพิ่มเติม »

มะนิลา

มะนิลา (Manila; Maynila) เป็นเมืองหลวงของประเทศฟิลิปปินส์ ตั้งอยุ่บนชายฝั่งตะวันออกของอ่าวมะนิลา (Manila Bay) บนเกาะลูซอนซึ่งเป็นเกาะที่ใหญ่ที่สุดและตั้งอยู่ทางเหนือสุดของฟิลิปปินส์ บางส่วนของเมืองมีความยากจน อย่างไรก็ดี มะนิลาเป็นเมืองที่มีชนชาติรวมกันอยู่มากมาย และเป็นศูนย์กลางทางเศรษฐกิจ วัฒนธรรม การศึกษา และอุตสหากรรมของประเทศ มะนิลาคือศูนย์กลางของเขตมหานครที่มีประชากรมากกว่า 10 ล้านคน เขต เมโทรมะนิลา (Metro Manila) เป็นมหานครที่ใหญ่กว่า ประกอบด้วยเมืองและเทศบาล 17 แห่ง เฉพาะเมืองมะนิลาเองเป็นเมืองที่มีประชากรมากที่สุดเป็นอันดับ 2 มีประชากรประมาณ 1.5 ล้านคน เมืองเดียวที่มีประชากรมากกว่าคือเมืองเกซอนซิตี (Quezon City) ชานเมืองและอดีตเมืองหลวง มะนิลาตั้งอยูที่ 14°35' เหนือ 121°0' ตะวันออก.

ใหม่!!: ประเทศฟิลิปปินส์และมะนิลา · ดูเพิ่มเติม »

มินดาเนา

มินดาเนา (Mindanao) เป็นเกาะที่ใหญ่ที่สุดอันดับ 2 และตั้งอยู่ทางตะวันออกสุดของประเทศฟิลิปปินส์ มีลักษณะภูมิประเทศที่มีรูปร่างคล้ายสามเหลี่ยม ชายฝั่งเว้าแหว่ง มีอ่าวขนาดใหญ่และเล็กจำนวนมาก มีเทือกเขาซึ่งมียอดเขาหลายแห่งที่มีความสูงมากกว่า 1,500 เมตร ยอดสูงสุดชื่อ อาโป สูง 2,954 เมตร มีระบบแม่น้ำหลัก 2 ระบบ คือ ระบบแม่น้ำอากูซันทางตะวันออก และระบบแม่น้ำมินดาเนาทางใต้และกลาง ผลิตผลสำคัญ ได้แก่ ข้าวโพด ข้าวเจ้า มะพร้าว ไม้ซุง กาแฟ ป่านอะบากา ศาสนาอิสลามได้เผยแผ่เข้าไปในเกาะ ในคริสต์ศตวรรษที่ 16 เฟอร์ดินานด์ มาเจลลัน ซึ่งเดินเรือให้แก่กษัตริย์สเปนได้เดินทางมาถึงเกาะนี้ ใน..

ใหม่!!: ประเทศฟิลิปปินส์และมินดาเนา · ดูเพิ่มเติม »

มนุษย์

มนุษย์ (ภาษาละตินแปลว่า "คนฉลาด" หรือ "ผู้รู้") เป็นสปีชีส์เดียวที่ยังมีชีวิตอยู่ในสกุล Homo ในทางกายวิภาค มนุษย์สมัยใหม่ถือกำเนิดขึ้นในทวีปแอฟริการาว 200,000 ปีที่แล้ว และบรรลุความนำสมัยทางพฤติกรรม (behavioral modernity) อย่างสมบูรณ์เมื่อราว 50,000 ปีที่แล้ว เชื้อสายมนุษย์แยกออกจากบรรพบุรุษร่วมสุดท้ายกับชิมแพนซี สิ่งมีชีวิตที่ใกล้ชิดที่สุด เมื่อราว 5 ล้านปีที่แล้วในแอฟริกา ก่อนจะวิวัฒนาการไปเป็นออสตราโลพิเธซีน (Australopithecines) และสุดท้ายเป็นสกุล Homo สปีชีส์ โฮโม แรก ๆ ที่อพยพออกจากแอฟริกา คือ Homo erectus, Homo ergaster ร่วมกับ Homo heidelbergensis ซึ่งถูกมองว่าเป็นบรรพบุรุษสายตรงของมนุษย์สมัยใหม่ Homo sapiens ยังเดินหน้าตั้งถิ่นฐานในทวีปต่าง ๆ โดยมาถึงยูเรเซียระหว่าง 125,000-60,000 ปีที่แล้ว ทวีปออสเตรเลียราว 40,000 ปีที่แล้ว ทวีปอเมริการาว 15,000 ปีที่แล้ว และเกาะห่างไกล เช่น ฮาวาย เกาะอีสเตอร์ มาดากัสการ์และนิวซีแลนด์ระหว่าง..

ใหม่!!: ประเทศฟิลิปปินส์และมนุษย์ · ดูเพิ่มเติม »

รัฐเดี่ยว

แผนที่แสดงประเทศที่เป็นรัฐเดี่ยว รัฐเดี่ยว (unitary state) เป็นรัฐซึ่งปกครองเป็นหน่วยเดี่ยว โดยรัฐบาลกลางอยู่ในระดับสูงสุด และเขตการบริหารใด ๆ (ซึ่งเป็นหน่วยงานบริหารระดับย่อยของรัฐ) สามารถใช้อำนาจได้เฉพาะตามที่รัฐบาลกลางเลือกจะมอบหมายให้ทำการแทนเท่านั้น รัฐจำนวนมากในโลกมีรูปแบบรัฐเป็นรัฐเดี่ยว รัฐเดี่ยวตรงข้ามกับรัฐสหพันธ์ (หรือสหพันธรัฐ) ในรัฐเดี่ยว รัฐบาลกลางอาจจัดตั้งหรือยุบหน่วยงานบริหารระดับย่อยของรัฐ และอำนาจของหนวยงานเหล่านี้อาจถูกขยายเพิ่มเติมหรือย่อลงได้ แม้อำนาจทางการเมืองในรัฐเดี่ยวอาจมีการมอบหมายให้ทำการแทนผ่านการมอบอำนาจปกครองสู่รัฐบาลท้องถิ่นโดยบทกฎหมาย หากรัฐบาลกลางยังอยู่ในระดับสูงสุด ซึ่งอาจยกเลิกนิติกรรมของรัฐบาลที่ได้รับมอบอำนาจหรือตัดทอนอำนาจของรัฐบาลท้องถิ่นก็ได้ สหราชอาณาจักรเป็นตัวอย่างหนึ่งของรัฐเดี่ยว สกอตแลนด์ เวลส์ และไอร์แลนด์เหนือ ซึ่ง ร่วมกับแคว้นอังกฤษ เป็นสี่ประเทศอันประกอบขึ้นเป็นสหราชอาณาจักร มีอำนาจที่ได้รับมอบซึ่งปกครองตนเองระดับหนึ่ง โดบทั้งสกอตแลนด์ เวลส์และไอร์แลนด์เหนือ ต่างมีฝ่ายบริหารและนิติบัญญัติของตนเอง แต่อำนาจที่ได้รับมอบทั้งหมดล้วนแต่เป็นที่รัฐบาลกลางของอังกฤษมอบหมายให้ทำการแทนทั้งสิ้น ยิ่งไปกว่านั้น รัฐบาลที่ได้รับมอบอำนาจไม่อาจคัดค้านการเห็นชอบตามรัฐธรรมนูญของพระราชบัญญัติที่รัฐสภาออก และอำนาจของรัฐบาลที่ได้รับมอบอำนาจนั้น รัฐบาลกลาง (หมายถึง รัฐสภาพร้อมด้วยรัฐบาลอันประกอบด้วยคณะรัฐมนตรี ซึ่งมีนายกรัฐมนตรีเป็นหัวหน้า) สามารถเพิกถอนหรือลดย่อลงได้ ตัวอย่างเช่น รัฐสภาไอร์แลนด์เหนือเคยถูกพักไว้สี่ครั้ง โดยอำนาจได้ถ่ายโอนไปยังสำนักไอร์แลนด์เหนือของรัฐบาลกลาง ยูเครนเป็นอีกตัวอย่างหนึ่งของรัฐเดี่ยว สาธารณรัฐไครเมียในประเทศมีระดับการปกครองตนเองและมีคณะรัฐมนตรีและสภานิติบัญญัติปกครอง ในต้นคริสต์ทศวรรษ 1990 สาธารณรัฐดังกล่าวยังได้มีตำแหน่งประธานาธิบดีซึ่งถูกยุบไปเพราะการโน้มเอียงแบ่งแยกซึ่งเจตนาจะโอนไครเมียให้แก่รัสเซีย หมวดหมู่:ระบอบการปกครอง หมวดหมู่:ภูมิศาสตร์การเมือง.

ใหม่!!: ประเทศฟิลิปปินส์และรัฐเดี่ยว · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อประเทศเรียงตามจำนวนประชากร

แผนที่ประเทศเรียงตามจำนวนประชากร ประมาณการเมื่อปี 2010 นี่คือรายชื่อประเทศเรียงตามจำนวนประชากร ประกอบด้วยรัฐเอกราชและเขตปกครองพิเศษตามมาตรฐาน ISO 3166-1 ดินแดนซึ่งประกอบขึ้นเป็นรัฐเอกราชโดยแบ่งแยกมิได้จะถูกนับว่าเป็นส่วนหนึ่งของรัฐเอกราชด้วยเช่นกัน แต่ไม่รวมไปถึงองค์กรระหว่างประเทศ อย่างเช่น สหภาพยุโรป ซึ่งมิได้มีสถานะเป็นรัฐเอกราชและเขตปกครองพิเศษซึ่งไม่มีประชากรอยู่อาศัยอย่างถาวร อย่างเช่น การอ้างสิทธิ์ของหลายประเทศเหนือแอนตาร์กติกา ประมาณการประชากรทั่วโลกคิดเป็น คน ตัวเลขซึ่งใช้ในรายชื่อดังกล่าวตั้งอยู่บนประมาณการล่าสุดของสำนักงานสถิติแห่งชาตินั้น ๆ ที่สามารถยึดถือเอาได้ แต่ถ้าหากไม่มีสถิติที่สามารถถือเอาได้ ตัวเลขจะนำมาจากประมาณการเมื่อวันที่ 1 กรกฎาคม..

ใหม่!!: ประเทศฟิลิปปินส์และรายชื่อประเทศเรียงตามจำนวนประชากร · ดูเพิ่มเติม »

รายการประเทศเรียงตามผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศ (ราคาตลาด)

ทความนี้เป็นการจัดอันดับประเทศตามผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศ (gross domestic product หรือ GDP) ซึ่งเป็นมูลค่าตลาดของสินค้า หรือบริการขั้นสุดท้ายที่ผลิตภายในประเทศในแต่ละปี โดยค่า GDP ที่ได้นำเสนอนี้ได้ประเมินโดยใช้สกุลเงินดอลลาร์สหรัฐ ณ อัตราแลกเปลี่ยนตามตลาด หรือที่รัฐบาลได้ประกาศไว้.

ใหม่!!: ประเทศฟิลิปปินส์และรายการประเทศเรียงตามผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศ (ราคาตลาด) · ดูเพิ่มเติม »

รายนามประธานาธิบดีฟิลิปปินส์

กษัตริย์แห่งสเปน (พ.ศ. 2108 – 2441) และ ประธานาธิบดีแห่งสหรัฐอเมริกา (พ.ศ. 2441 – 2489) ได้ดำรงตำแหน่งเป็นประมุขแห่งรัฐของประเทศฟิลิปปินส์ ก่อนที่จะได้รับเอกราชเมื่อวันที่ 4 กรกฎาคม พ.ศ. 2489.

ใหม่!!: ประเทศฟิลิปปินส์และรายนามประธานาธิบดีฟิลิปปินส์ · ดูเพิ่มเติม »

ลาตินอเมริกา

นแดนลาตินอเมริกา ลาตินอเมริกา (América Latina; Amérique Latine; Latinoamérica, América Latina) คือ กลุ่มประเทศในทวีปอเมริกากลางและอเมริกาใต้ ที่พูดภาษากลุ่มโรมานซ์ เป็นหลัก ได้แก.

ใหม่!!: ประเทศฟิลิปปินส์และลาตินอเมริกา · ดูเพิ่มเติม »

ลูปังฮีนีรัง

ลูปังฮีนีรัง (Lupang Hinirang) คือชื่อของเพลงชาติฟิลิปปินส์ ทำนองประพันธ์ขึ้นเมื่อ..

ใหม่!!: ประเทศฟิลิปปินส์และลูปังฮีนีรัง · ดูเพิ่มเติม »

วิกฤตการณ์การเงินในเอเชีย พ.ศ. 2540

ประเทศที่ได้รับผลกระทบโดยตรงจากวิกฤตการณ์ทางการเงินในเอเชีย พ.ศ. 2540 วิกฤตการณ์การเงินในเอเชี..

ใหม่!!: ประเทศฟิลิปปินส์และวิกฤตการณ์การเงินในเอเชีย พ.ศ. 2540 · ดูเพิ่มเติม »

วิกิแมเปีย

วิกิแมเปีย (WikiMapia) เป็นโครงการที่จัดตั้งขึ้น เพื่อรวมการใช้งานแบบวิกิพีเดีย และ กูเกิลแมป เข้าด้วยกัน โดยใช้ เว็บ 2.0 เป็นโครงการที่ริเริ่มโดย Alexandre Koriakine และ Evgeniy Saveliev เมื่อวันที่ 24 พฤษภาคม ค.ศ. 2006 โครงการวิกิแมเปีย ไม่เกี่ยวข้องกับ วิกิพีเดีย หรือ มูลนิธิวิกิมีเดีย แต่มีข้อความระบุไว้บนเว็บไซต์ว่า "ได้รับแรงบันดาลใจจากวิกิพีเดีย".

ใหม่!!: ประเทศฟิลิปปินส์และวิกิแมเปีย · ดูเพิ่มเติม »

วิซายัส

หมู่เกาะวิซายัส‎ (Visayas, Visayan Islands; วิซายัส: Kabisay-an; Kabisayaan) เป็นหนึ่งในสามหมู่เกาะหลักของประเทศฟิลิปปินส์ ร่วมกับลูซอนและมินดาเนา ประกอบด้วยเกาะหลายแห่ง ซึ่งล้อมรอบด้วยทะเลวิซายัส แต่หมู่เกาะเหล่านั้นก็ถูกจัดให้อยู่ในพื้นที่ริมตะวันออกเฉียงเหนือของทะเลซูลู ประชากรหลัก ๆ คือชาววิซายัส เกาะหลักที่สำคัญ เช่น โบโฮล, เซบู, เลย์เต, เนโกรส, ปาไนย์ และซามาร์ ภูมิภาคนี้อาจรวมพื้นที่จังหวัดมัสบาเต, จังหวัดรอมบลอน และจังหวัดปาลาวันเข้าไปด้วย เนื่องจากประชากรส่วนใหญ่เป็นชาววิซายัส และใกล้ชิดกับภาษาวิซายัสมากกว่าภาษาหลักของเกาะลูซอน ในหมู่เกาะวิซายัสมีเขตการปกครองหลัก 3 เขต ได้แก่ คันลูรังคาบีซายาอัน (ประชากร 7.1 ล้านคน), กิตนางคาบีซายาอัน (6.8 ล้านคน) และซีลางังคาบีซายาอัน (4.1 ล้านคน).

ใหม่!!: ประเทศฟิลิปปินส์และวิซายัส · ดูเพิ่มเติม »

วงศ์งูเหลือม

วงศ์งูเหลือม (Python) เป็นวงศ์ของงูไม่มีพิษขนาดใหญ่ นับเป็นงูที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในโลกที่ยังคงสืบเผ่าพันธุ์มาจนถึงปัจจุบัน ใช้ชื่อวงศ์ว่า Pythonidae มีลักษณะโดยรวม คือ มีกระดูกพรีแมคซิลลามีฟันยกเว้นในสกุล Aspidites ที่ไม่มี กระดูกแมคซิลลาเรียงตัวกันตามยาว ช่องเปิดตาอยู่ตรงรอยต่อระหว่างกระดูกฟรอนทัลกับกระดูกพาไรทัล ขากรรไกรมีกระดูกโคโรนอยด์ มีกระดูกของรยางค์ต่อระหว่างกระดูกฟรอนทัลกับกระดูกพาไรทัล ขากรรไกรล่างมีกระดูกโคโรนอยด์ มีกระดูกของรยางค์ขาคู่หลังที่ยังลดรูปไม่หมดและเป็นแท่งขนาดเล็กที่มองเห็นได้ทางช่องเปิดทวารร่วม มีกระดูกเชิงกรานขนาดเล็กที่ยังลดรูปไม่หมดฝังอยู่ในกล้ามเนื้อของลำตัว มีปอดข้างซ้ายใหญ่ มีท่อนำไข่มั้งสองข้างเจริญเท่ากัน มีแอ่งรับคลื่นความร้อนกระจายอยู่บริเวณขอบปากบนและล่าง เป็นงูขนาดใหญ่และไม่มีพิษ จึงมีกล้ามเนื้อที่แข็งแรงและเรี่ยวแรงพละกำลังมาก จึงใช้วิธีการรัดเหยื่อจนกระดูกหักและขาดใจตายจึงกลืนกินเข้าไปทั้งตัว ล่าเหยื่อด้วยการรอให้เข้ามาใกล้แล้วจึงเข้ารัด มีการกระจายพันธุ์ในหลายภูมิประเทศทั้งป่าดิบชื้น, ทะเลทราย ไปจนเกาะแก่งต่าง ๆ กลางทะเล หรือในชุมชนเมือง ส่วนใหญ่อาศัยอยู่ใกล้แหล่งน้ำ พบตั้งแต่ทะเลทรายซาฮาราในทวีปแอฟริกา, เอเชียใต้, เอเชียตะวันออก และเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ จนถึงออสเตรเลีย มีขนาดตั้งแต่ 30 เซนติเมตร จนถึงกว่า 10 เมตร แต่มีขนาดโดยเฉลี่ยประมาณ 1 เมตร หากินทั้งบนบก, ในน้ำ และบนต้นไม้ โดยกินสัตว์เลือดอุ่นจำพวกสัตว์ปีกและสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมเป็นหลัก ขยายพันธุ์ด้วยการวางไข่ ตัวเมียจะเป็นผู้ดูแลไข่ด้วยการกกจนกระทั่งฟักเป็นตัว ปริมาณไข่ขึ้นอยู่กับอายุและความแข็งแรงของตัวเมีย มีทั้งหมด 8 สกุล 26 ชนิด เป็นงูที่มนุษย์รู้จักและคุ้นเคยเป็นอย่างดี คือ งูหลาม (Python bivittatus) และงูเหลือม (P. reticulatus) ซึ่งเป็นงูที่มีขนาดใหญ่และยาวที่สุดในโลก ในประเทศไทยพบ 3 ชนิด คือ งูหลาม, งูเหลือม และงูหลามปากเป็ด (P. curtus) หลายชนิดนิยมเลี้ยงเป็นสัตว์เลี้ยง และมีราคาแพงอย่างยิ่งในตัวที่มีสีสันหรือลวดลายแปลกไปจากธรรมชาติ ซึ่งสามารถเพาะขยายพันธุ์กันได้ในที่เลี้ยง เช่น งูหลามบอล (P. regius) หลายชนิดใช้เนื้อ, กระดูกและหนังเป็นประโยชน์ได้ เช่น ใช้ทำเครื่องดนตรีบางประเภท หรือทำเป็นอุปกรณ์ใช้งาน เช่น กระเป๋า, รองเท้า, เข็มขัด หรือทำเครื่องรางของขลัง.

ใหม่!!: ประเทศฟิลิปปินส์และวงศ์งูเหลือม · ดูเพิ่มเติม »

วงแหวนไฟ

แผนที่วงแหวนไฟ การปะทุของภูเขาไฟเซนต์เฮเลนส์ เมื่อวันที่ 22 กรกฎาคม ค.ศ. 1980 วงแหวนไฟ (Ring of Fire) เป็นบริเวณในมหาสมุทรแปซิฟิกที่เกิดแผ่นดินไหวและภูเขาไฟระเบิดบ่อยครั้ง มีลักษณะเป็นเส้นเกือกม้า ความยาวรวมประมาณ 40,000 กิโลเมตร และวางตัวตามแนวร่องสมุทร แนวภูเขาไฟและบริเวณขอบแผ่นเปลือกโลก โดยมีภูเขาไฟที่ตั้งอยู่ภายในวงแหวนไฟทั้งหมด 452 ลูก และเป็นพื้นที่ที่มีภูเขาไฟคุกกรุ่นอยู่กว่าร้อยละ 75 ของภูเขาไฟคุกรุ่นทั้งโลก ซึ่งบางครั้งจะเรียกว่า circum-Pacific belt หรือ circum-Pacific seismic belt แผ่นดินไหวประมาณร้อยละ 90 ของแผ่นดินไหวที่เกิดขึ้นทั่วโลกและกว่าร้อยละ 80 ของแผ่นดินไหวขนาดใหญ่ เกิดขึ้นในบริเวณวงแหวนไฟ นอกจากวงแหวนไฟ ยังมีแนวแผ่นดินไหวอีก 2 แห่ง ได้แก่ แนวเทือกเขาอัลไพน์ ซึ่งมีแนวต่อมาจากเกาะชวาสู่เกาะสุมาตรา ผ่านเทือกเขาหิมาลัย และทะเลเมดิเตอร์เรเนียน แนวแผ่นดินไหวแห่งนี้มีแผ่นดินไหวเกิดขึ้นร้อยละ 17 ของทั้งโลก และอีกแห่งคือ แนวกลางมหาสมุทรแอตแลนติก ซึ่งมีแผ่นดินไหวเกิดขึ้นร้อยละ 5-6 ของทั้งโลก วงแหวนไฟเป็นผลมาจากการเคลื่อนที่และการชนกันของแผ่นเปลือกโลก แบ่งเป็นส่วนวงแหวนทางตะวันออก มีผลมาจากแผ่นนัซกาและแผ่นโกโกส ที่มุดตัวลงใต้แผ่นอเมริกาใต้ ส่วนของแผ่นแปซิฟิกที่ติดกับแผ่นฮวนเดฟูกา ซึ่งมุดตัวลงแผ่นอเมริกาเหนือ ส่วนทางตอนเหนือที่ติดกับทางตะวันตกเฉียงเหนือของแผ่นแปซิฟิก มุดตัวลงใต้บริเวณหมู่เกาะอะลูเชียนจนถึงทางใต้ของประเทศญี่ปุ่น และส่วนใต้ของวงแหวนไฟเป็นส่วนที่มีความซับซ้อนของแผ่นเปลือกโลก มีแผ่นเปลือกโลกขนาดเล็กมากมายที่ติดกับแผ่นแปซิฟิก ซึ่งเริ่มตั้งแต่หมู่เกาะมาเรียนา ประเทศฟิลิปปินส์ เกาะบูเกนวิลล์ ประเทศตองกา และประเทศนิวซีแลนด์ แนววงแหวนไฟยังมีแนวต่อไปเป็นแนวแอลไพน์ ซึ่งเริ่มต้นจากเกาะชวา เกาะสุมาตราของอินโดนีเซีย รอยเลื่อนที่มีชื่อเสียงที่ตั้งบนวงแหวนไฟนี้ ได้แก่ รอยเลื่อนแซนแอนเดรอัสในรัฐแคลิฟอร์เนีย สหรัฐอเมริกา ซึ่งมีการเกิดแผ่นดินไหวขนาดเล็กอยู่เป็นประจำ รอยเลื่อนควีนชาร์ลอตต์ ทางชายฝั่งตะวันตกของหมู่เกาะควีนชาร์ลอตต์ รัฐบริติชโคลัมเบีย ประเทศแคนาดา ซึ่งทำให้เกิดแผ่นดินไหวขนาดใหญ่ 3 ครั้ง ได้แก่ แผ่นดินไหวแมกนิจูด 7.0 เมื่อ..

ใหม่!!: ประเทศฟิลิปปินส์และวงแหวนไฟ · ดูเพิ่มเติม »

ศาสนาอิสลาม

นาอิสลาม (Islam) เป็นศาสนาเอกเทวนิยมและศาสนาอับราฮัม บัญญัติไว้ในคัมภีร์อัลกุรอาน คัมภีร์ศักดิ์สิทธิ์ของอิสลามซึ่งสาวกถือว่าเป็นพระวจนะคำต่อคำของพระเป็นเจ้า (อัลลอฮฺ) และสำหรับสาวกส่วนใหญ่ เป็นคำสอนและตัวอย่างเชิงบรรทัดฐาน (เรียกว่า สุนัต และประกอบด้วยหะดีษ) ของมุฮัมมัด (ประมาณ 570–8 มิถุนายน 632)เป็นศาสดา (นบี) องค์สุดท้ายของพระเป็นเจ้า สาวกของศาสนาอิสลาม เรียกว่า มุสลิม มุสลิมเชื่อว่า พระเจ้าเป็นหนึ่งและหาที่เปรียบไม่ได้ และจุดประสงค์ของการดำรงอยู่ คือ เพื่อรักและรับใช้พระเป็นเจ้า มุสลิมยังเชื่อว่า ศาสนาอิสลามเป็นบรรพศรัทธาฉบับสมบูรณ์และเป็นสากลที่สุดซึ่งได้ประจักษ์มาหลายครั้งก่อนหน้านั้น ผ่านศาสดาซึ่งรวมอาดัม โนอาห์ อับราฮัม โมเสส และพระเยซู พวกเขายึดมั่นว่า สารและวิวรณ์ถูกแปลผิดหรือเปลี่ยนแปลงบางส่วนตามกาลดู.

ใหม่!!: ประเทศฟิลิปปินส์และศาสนาอิสลาม · ดูเพิ่มเติม »

ศาสนาฮินดู

ัญลักษณ์ “โอม” สัญลักษณ์ของศาสนาฮินดู หมายถึงพระตรีมูรติ เทพเจ้าผู้เป็นใหญ่ทั้ง 3 ศาสนาฮินดู (Hinduism) หรือ สนาตนธรรม เป็นศาสนาแบบพหุเทวนิยมที่พัฒนาการต่อมาจากศาสนาพราหมณ์ จึงมักเรียกรวมกันว่าศาสนาพราหมณ์-ฮินดู ไม่ปรากฏแน่ชัดว่าใครเป็นศาสดา มีพระเวทเป็นคัมภีร์หลัก มีศาสนิกชนมากเป็นอันดับที่ 3 ของโลก มีจำนวนประมาณ 900 ล้านคน ศาสนานี้นับถือเทพเจ้าหลายองค์ เรียกว่า "พหุเทวนิยม" เทพเจ้าแต่ละองค์ในแต่ละยุคสมัย มีบทบาท และตำนานต่างกันไป ในแต่ละท้องถิ่นยังมีความเชื่อเกี่ยวกับเทพเจ้าองค์หนึ่งๆ แตกต่างกันไปด้วย โดยทั่วไปถือว่าชาวฮินดูเชื่อว่ามีเทพเจ้าสูงสุด ที่ได้อวตารแยกร่างออกมาเป็น 3 องค์ เรียกว่า "ตรีมูรติ" คือ.

ใหม่!!: ประเทศฟิลิปปินส์และศาสนาฮินดู · ดูเพิ่มเติม »

ศาสนาคริสต์

นาคริสต์ (Christianity) ราชบัณฑิตยสถานเรียกว่า คริสต์ศาสนาราชบัณฑิตยสถาน, พจนานุกรมศัพท์ศาสนาสากล อังกฤษ-ไทย ฉบับราชบัณฑิตยสถาน, พิมพ์ครั้งที่ 3, ราชบัณฑิตยสถาน, 2548, หน้า 156 เป็นศาสนาประเภทเอกเทวนิยม ที่มีพื้นฐานมาจากชีวิตและการสอนของพระเยซูตามที่ปรากฏในพระวรสารในสารบบ (canonical gospel) และงานเขียนพันธสัญญาใหม่อื่น ๆ ผู้นับถือศาสนาคริสต์เรียกว่าคริสต์ศาสนิกชนหรือคริสตชน คริสตชนเชื่อว่าพระเยซูเป็นพระบุตรพระเป็นเจ้า และเป็นพระเจ้าผู้มาบังเกิดเป็นมนุษย์และเป็นพระผู้ช่วยให้รอด ด้วยเหตุนี้ คริสตชนจึงมักเรียกพระเยซูว่า "พระคริสต์" หรือ "พระเมสสิยาห์" Briggs, Charles A. The fundamental Christian faith: the origin, history and interpretation of the Apostles' and Nicene creeds. C. Scribner's sons, 1913.

ใหม่!!: ประเทศฟิลิปปินส์และศาสนาคริสต์ · ดูเพิ่มเติม »

สกุลบัวผุด

กุลบัวผุด หรือ Rafflesia เป็นสกุลของพืชเบียนที่เป็นพืชมีดอก มีสมาชิกประมาณ 28 สปีชีส์ พบในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ในอินโดนีเซีย มาเลเซีย ไทย และฟิลิปปิน.

ใหม่!!: ประเทศฟิลิปปินส์และสกุลบัวผุด · ดูเพิ่มเติม »

สมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้

ทำเนียบเลขาธิการอาเซียน ที่ประเทศอินโดนีเซีย สมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (Association of South East Asian Nations) หรือ อาเซียน (ASEAN) เป็นองค์การทางภูมิรัฐศาสตร์และเศรษฐกิจในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ มีประเทศสมาชิกทั้งหมด 10 ประเทศ ได้แก่ กัมพูชา ไทย บรูไน พม่า ฟิลิปปินส์ มาเลเซีย ลาว เวียดนาม สิงคโปร์ และอินโดนีเซีย อาเซียนมีพื้นที่ราว 4,479,210 ตารางกิโลเมตร มีประชากรราว 625 ล้านคน ในปี..

ใหม่!!: ประเทศฟิลิปปินส์และสมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ · ดูเพิ่มเติม »

สหรัฐ

หรัฐอเมริกา (United States of America) โดยทั่วไปเรียก สหรัฐ (United States) หรือ อเมริกา (America) เป็นสหพันธ์สาธารณรัฐ ประกอบด้วยรัฐ 50 รัฐ และหนึ่งเขตปกครองกลาง ห้าดินแดนปกครองตนเองสำคัญ และเกาะเล็กต่าง ๆ โดย 48 รัฐและเขตปกครองกลางตั้งอยู่ ณ ทวีปอเมริกาเหนือระหว่างประเทศแคนาดาและเม็กซิโก รัฐอะแลสกาอยู่มุมตะวันตกเฉียงเหนือของทวีปอเมริกาเหนือ มีเขตแดนติดต่อกับประเทศแคนาดาทางทิศตะวันออกและข้ามช่องแคบเบริงจากประเทศรัสเซียทางทิศตะวันตก และรัฐฮาวายเป็นกลุ่มเกาะในมหาสมุทรแปซิฟิกกลาง ดินแดนของสหรัฐกระจายอยู่ตามมหาสมุทรแปซิฟิกและทะเลแคริบเบียน ครอบคลุมเขตเวลาเก้าเขต ภูมิศาสตร์ ภูมิอากาศและสัตว์ป่าของประเทศหลากหลายอย่างยิ่ง สหรัฐมีพื้นที่ขนาด 9.8 ล้านตารางกิโลเมตร มีประชากรราว 326 ล้านคน ทำให้มีพื้นที่ขนาดใหญ่เป็นอันดับที่ 4 ของโลก และมีประชากรมากเป็นอันดับที่ 3 ของโลก เป็นประเทศซึ่งมีความหลากหลายทางเชื้อชาติและวัฒนธรรม และเป็นที่พำนักของประชากรเข้าเมืองใหญ่สุดในโลกAdams, J.Q., and Pearlie Strother-Adams (2001).

ใหม่!!: ประเทศฟิลิปปินส์และสหรัฐ · ดูเพิ่มเติม »

สหราชอาณาจักร

หราชอาณาจักรบริเตนใหญ่และไอร์แลนด์เหนือ หรือโดยทั่วไปรู้จักกันว่า สหราชอาณาจักร และ บริเตน (Britain) เป็นรัฐเอกราชตั้งอยู่นอกชายฝั่งตะวันตกเฉียงเหนือของยุโรปภาคพื้นทวีป ประเทศนี้ประกอบด้วยเกาะบริเตนใหญ่ ส่วนตะวันออกเฉียงเหนือของเกาะไอร์แลนด์ และเกาะที่เล็กกว่าจำนวนมาก ไอร์แลนด์เหนือเป็นเพียงส่วนเดียวของสหราชอาณาจักรที่มีพรมแดนทางบกติดต่อกับรัฐอื่น คือ ประเทศไอร์แลนด์ นอกเหนือจากนี้แล้ว สหราชอาณาจักรล้อมรอบด้วยมหาสมุทรแอตแลนติกทางทิศตะวันตกและเหนือ ทะเลเหนือทางทิศตะวันออก ช่องแคบอังกฤษทางทิศใต้ และทะเลไอร์แลนด์ทางทิศตะวันตก รูปแบบการปกครองเป็นแบบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญโดยมีระบบรัฐสภา เมืองหลวง คือ กรุงลอนดอน ประกอบด้วยสี่ประเทศ คือ ประเทศอังกฤษ สกอตแลนด์ เวลส์ และไอร์แลนด์เหนือ สามประเทศหลังนี้ได้รับการถ่ายโอนการบริหาร โดยมีอำนาจแตกต่างกัน ตั้งอยู่ในเมืองหลวงของประเทศนั้น ๆ คือ เอดินบะระ คาร์ดิฟฟ์ และเบลฟัสต์ตามลำดับ ส่วนเกิร์นซีย์ เจอร์ซีย์ และเกาะแมนเป็นบริติชคราวน์ดีเพนเดนซี และมิใช่ส่วนหนึ่งของสหราชอาณาจักร สหราชอาณาจักรมีดินแดนโพ้นทะเล 14 แห่ง ซึ่งเป็นสิ่งที่เหลืออยู่ของจักรวรรดิอังกฤษ ซึ่งขณะที่รุ่งเรืองที่สุดในช่วงปลายคริสต์ศตวรรษที่ 19 และต้นคริสต์ศตวรรษที่ 20 นั้น ครอบคลุมพื้นดินของโลกเกือบหนึ่งในสี่ และเป็นจักรวรรดิใหญ่ที่สุดในประวัติศาสตร์ อิทธิพลของอังกฤษยังสามารถพบเห็นได้จากความแพร่หลายของภาษา วัฒนธรรมและระบบกฎหมายในอดีตอาณานิคมหลายแห่ง สหราชอาณาจักรเป็นประเทศพัฒนาแล้ว และมีเศรษฐกิจใหญ่เป็นอันดับที่ 7 ของโลก ตามค่าผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศ ณ ราคาตลาด และเศรษฐกิจใหญ่เป็นอันดับที่ 8 ของโลก ตามความเท่าเทียมของอำนาจซื้อ สหราชอาณาจักรเป็นประเทศอุตสาหกรรมประเทศแรกในโลก และเป็นมหาอำนาจอันดับหนึ่งของโลกระหว่างคริสต์ศตวรรษที่ 19 และต้นคริสต์ศตวรรษที่ 20 สหราชอาณาจักรยังถูกกล่าวขานว่าเป็นมหาอำนาจและยังมีอิทธิพลทางเศรษฐกิจ วัฒนธรรม ทหาร วิทยาศาสตร์และการเมืองระหว่างประเทศค่อนข้างมากอยู่ สหราชอาณาจักรได้รับรองว่าเป็นรัฐอาวุธนิวเคลียร์และมีรายจ่ายทางทหารมากเป็นอันดับที่ 4 ของโลก สหราชอาณาจักรเป็นสมาชิกถาวรของคณะมนตรีความมั่นคงแห่งสหประชาชาตินับแต่สมัยประชุมแรกใน..

ใหม่!!: ประเทศฟิลิปปินส์และสหราชอาณาจักร · ดูเพิ่มเติม »

สหประชาชาติ

หประชาชาติ (United Nations; ตัวย่อ: UN) หรือ องค์การสหประชาชาติ เป็นองค์การระหว่างประเทศซึ่งมีความมุ่งหมายที่แถลงไว้เพื่ออำนวยความสะดวกแก่ความร่วมมือในกฎหมายระหว่างประเทศ ความมั่นคงระหว่างประเทศ การพัฒนาเศรษฐกิจ กระบวนการทางสังคม สิทธิมนุษยชน และการบรรลุสันติภาพโลก สหประชาชาติก่อตั้งขึ้นใน..

ใหม่!!: ประเทศฟิลิปปินส์และสหประชาชาติ · ดูเพิ่มเติม »

สังกะสี

ังกะสี (Zinc) คือธาตุที่มีหมายเลขอะตอม 30 และสัญลักษณ์คือ Zn สังกะสีอยู่ในตารางธาตุหมู่ 12 ชื่อในภาษาอังกฤษมาจากภาษาเยอรมันว่า Zink เป็นธาตุประเภทโลหะที่มีความไวต่อปฏิกิริยาเคมีพอสมควรกับออกซิเจนและธาตุที่ไม่ใช่โลหะ สังกะสีเมื่อทำปฏิกิริยากับกรดเจือจางจะปล่อยก๊าซไฮโดรเจนออก ธาตุชนิดนี้เป็นโลหะธาตุที่มีลักษณะที่เป็นสีเงิน มันวาว เป็นที่นิยมนำมาใช้ในภาคอุตสาหกรรมมากมาย เพื่อเป็นโลหะโครงสร้างหรือโลหะผสมกับโลหะอื่นสำหรับประยุกต์ใช้งานในด้านต่างๆ นอกจากนั้น สังกะสียังเป็นแร่ธาตุชนิดหนึ่งที่สามารถพบได้ในร่างกายมนุษย์ และสัตว์ เนื่องจากจัดเป็นแร่ที่ร่างกายต้องการชนิดหนึ่ง.

ใหม่!!: ประเทศฟิลิปปินส์และสังกะสี · ดูเพิ่มเติม »

สัตว์เลื้อยคลาน

ัตว์เลื้อยคลาน (reptile) จัดอยู่ในไฟลัมสัตว์มีแกนสันหลัง โดยคำว่า Reptilia มาจากคำว่า Repera ที่มีความหมายว่า "คลาน" เป็นสัตว์มีกระดูกสันหลังที่จัดเป็นสัตว์ในกลุ่มแรก ๆ ของโลกที่มีการดำรงชีวิตบนบกอย่างแท้จริง สัตว์เลื้อยคลานในยุคดึกดำบรรพ์ที่รอดชีวิตจากการสูญพันธุ์และยังดำรงชีวิตในปัจจุบัน มีจำนวนมากถึง 7,000 ชนิดชนิดของสัตว์เลื้อยคลาน, สัตววิทยา, บพิธ-นันทพร จารุพันธุ์, สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, 2547, หน้า 364 กระจายอยู่ทั่วโลกทั้งชนิดอาศัยในแหล่งน้ำและบนบก จัดเป็นกลุ่มของสัตว์ที่ประสบความสำเร็จในการปรับเปลี่ยนสภาพร่างกายในการเอาตัวรอดจากเหตุการณ์หินอุกกาบาตพุ่งชนโลกมามากกว่า 100 ล้านปีมาแล้ว ในยุคจูแรสซิกที่อยู่ในมหายุคมีโซโซอิก ซึ่งมีอายุของยุคที่ยาวนานถึง 100 ล้านปี จัดเป็นยุคที่สัตว์เลื้อยคลานมีวิวัฒนาการจนถึงขีดสุด มีสัตว์เลื้อยคลานมากมายหลากหลายขนาด ตั้งแต่กิ้งก่าตัวเล็ก ๆ จนถึงไทรันโนซอรัส เร็กซ์ซึ่งเป็นไดโนเสาร์กินเนื้อขนาดใหญ่ ที่มีจำนวนมากมายครอบครองพื้นที่ทั่วทุกแห่งในโลก ยุคจูแรสซิกจึงถือเป็นยุคของสัตว์เลื้อยคลานอย่างแท้จริง ต่อมาภายหลังเกิดเหตุการณ์อุกกาบาตพุ่งชนโลก ทำให้กลุ่มสัตว์บกที่อาศัยในยุคจูแรสซิก เกิดล้มตายและสูญพันธุ์อย่างกะทันหันโดยไม่ทราบสาเหตุของการสูญพันธุ์ที่ชัดเจนและแน่นอน.

ใหม่!!: ประเทศฟิลิปปินส์และสัตว์เลื้อยคลาน · ดูเพิ่มเติม »

สัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้ำนม

ัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้ำนม (Mammalia) จัดอยู่ในไฟลัมสัตว์มีแกนสันหลัง โดยคำว่า Mammalia มาจากคำว่า Mamma ที่มีความหมายว่า "หน้าอก" เป็นกลุ่มของสัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้ำนม ที่มีการวิวัฒนาการและพัฒนาร่างกายที่ดีหลากหลายประการ รวมทั้งมีระบบประสาทที่เจริญก้าวหน้า สามารถดำรงชีวิตได้ในทุกสภาพสิ่งแวดล้อมสัตววิทยา (สัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้ำนม), บพิธ-นันทพร จารุพันธุ์, สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, 2547, หน้า 411 มีขนาดของร่างกายและรูปพรรณสัณฐานที่แตกต่างกันออกไป รวมถึงการทำงานของระบบต่าง ๆ ภายในร่างกาย ที่มีการปรับเปลี่ยนไปตามลักษณะของสายพันธุ์ มีลักษณะเด่นคือมีต่อมน้ำนมที่มีเฉพาะในเพศเมียเท่านั้น เพื่อผลิตน้ำนมเพื่อใช้เลี้ยงลูกวัยแรกเกิด เป็นสัตว์เลือดอุ่น มีขนเป็นเส้น ๆ (hair) หรือขนอ่อน (fur) ปกคลุมทั่วทั้งร่างกาย เพื่อเป็นการรักษาอุณหภูมิในร่างกาย ยกเว้นสัตว์น้ำที่ไม่มีขน สัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้ำนม ไม่จัดอยู่ในประเภทสัตว์กลุ่มใหญ่ คือมีจำนวนประชากรประมาณ 4,500 ชนิด ซึ่งถือว่าเป็นปริมาณน้อยมากเมื่อเทียบกับนก ที่มีประมาณ 9,200 ชนิด และปลาอีกประมาณ 20,000 ชนิด รวมทั้งแมลงอีกประมาณ 800,000 ชนิด ส่วนใหญ่เป็นสัตว์บก เช่น สุนัข ช้าง ลิง เสือ สิงโต จิงโจ้ เม่น หนู ฯลฯ สำหรับสัตว์น้ำที่จัดเป็นเลี้ยงลูกด้วยน้ำนม ได้แก่ โลมา วาฬ มานาทีและพะยูน แต่สำหรับสัตว์ปีกประเภทเดียวที่เลี้ยงลูกด้วยน้ำนมคือค้างคาว ซึ่งกระรอกบินและบ่างนั้น ไม่จัดอยู่ในประเภทของสัตว์ปีก เนื่องจากใช้ปีกในการร่อนไปได้เพียงแค่ระยะหนึ่งเท่านั้น สัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้ำนมส่วนใหญ่ออกลูกเป็นตัว ยกเว้นตุ่นปากเป็ดและอีคิดนาเท่านั้นที่ออกลูกเป็น.

ใหม่!!: ประเทศฟิลิปปินส์และสัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้ำนม · ดูเพิ่มเติม »

สามเหลี่ยมปะการัง

มเหลี่ยมปะการัง (Coral triangle) เป็นพื้นที่หนึ่งในทะเลและมหาสมุทรแปซิฟิกในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เป็นแนวปะการังที่เชื่อมต่อติดกันเป็นรูปสามเหลี่ยมระหว่างน่านน้ำของหลายประเทศ ครอบคลุมพื้นที่ของทะเลประเทศฟิลิปปินส์, มาเลเซีย, อินโดนีเซีย, ปาปัวนิวกินี, หมู่เกาะโซโลมอน และติมอร์เลสเต คิดเป็นพื้นที่ 5.7 ล้านตารางกิโลเมตร ปะการังในสามเหลี่ยมปะการัง คิดเป็นสัดส่วนถึง 1 ใน 3 ของจำนวนปะการังที่มีทั้งหมดในโลก และมีความหลากหลายทางชีววิทยาและชนิดพันธุ์ของปลามากถึงร้อยละ 35 ของปลาที่อาศัยในแนวปะการังทั่วทั้งโลก จากความหลากหลายเช่นนี้ทำให้ได้รับการขนานนามว่าเป็น "ป่าแอมะซอนแห่งทะเล" ในปี..

ใหม่!!: ประเทศฟิลิปปินส์และสามเหลี่ยมปะการัง · ดูเพิ่มเติม »

สารกึ่งตัวนำ

รกึ่งตัวนำ (semiconductor) คือ วัสดุที่มีคุณสมบัติในการนำไฟฟ้าอยู่ระหว่างตัวนำและฉนวน เป็นวัสดุที่ใช้ทำอุปกรณ์อิเล็คทรอนิกส์ มักมีตัวประกอบของ germanium, selenium, silicon วัสดุเนื้อแข็งผลึกพวกหนึ่งที่มีสมบัติเป็นตัวนำ หรือสื่อไฟฟ้าก้ำกึ่งระหว่างโลหะกับอโลหะหรือฉนวน ความเป็นตัวนำไฟฟ้าขึ้นอยู่กับอุณหภูมิ และสิ่งไม่บริสุทธิ์ที่มีเจือปนอยู่ในวัสดุพวกนี้ ซึ่งอาจเป็นธาตุหรือสารประกอบก็มี เช่น ธาตุเจอร์เมเนียม ซิลิคอน ซีลีเนียม และตะกั่วเทลลูไรด์ เป็นต้น วัสดุกึ่งตัวนำพวกนี้มีความต้านทานไฟฟ้าลดลงเมื่ออุณหภูมิสูงขึ้น ซึ่งเป็นลักษณะตรงข้ามกับโลหะทั้งปวง ที่อุณหภูมิ ศูนย์ เคลวิน วัสดุพวกนี้จะไม่ยอมให้ไฟฟ้าไหลผ่านเลย เพราะเนื้อวัสดุเป็นผลึกโควาเลนต์ ซึ่งอิเล็กตรอนทั้งหลายจะถูกตรึงอยู่ในพันธะโควาเลนต์หมด (พันธะที่หยึดเหนี่ยวระหว่างอะตอม) แต่ในอุณหภูมิธรรมดา อิเล็กตรอนบางส่วนมีพลังงาน เนื่องจากความร้อนมากพอที่จะหลุดไปจากพันธะ ทำให้เกิดที่ว่างขึ้น อิเล็กตรอนที่หลุดออกมาเป็นสาเหตุให้สารกึ่งตัวนำ นำไฟฟ้าได้เมื่อมีมีสนามไฟฟ้ามาต่อเข้ากับสารนี้ สารกึ่งตัวนำไม่บริสุทธิ์ เป็นสารที่เกิดขึ้นจากการเติมสารเจือปนลงไปในสารกึ่งตัวนำแท้ เช่น ซิลิกอน หรือเยอรมันเนียม เพื่อให้ได้สารกึ่งตัวนำที่มีสภาพการนำไฟฟ้าที่ดีขึ้น สารกึ่งตัวนำไม่บริสุทธิ์นี้แบ่งออกเป็น 2 ประเภทคือ สารกึ่งตัวนำประเภทเอ็น (N-Type) และสารกึ่งตัวนำประเภทพี (P-Type).

ใหม่!!: ประเทศฟิลิปปินส์และสารกึ่งตัวนำ · ดูเพิ่มเติม »

สารานุกรมบริตานิกา

รานุกรมบริตานิกา (Encyclopædia Britannica) เป็นสารานุกรมภาษาอังกฤษ ตีพิมพ์โดยบริษัท Encyclopædia Britannica, Inc.

ใหม่!!: ประเทศฟิลิปปินส์และสารานุกรมบริตานิกา · ดูเพิ่มเติม »

สาธารณรัฐ

รณรัฐ (Republic) เป็นระบอบการปกครองที่ประเทศถูกพิจารณาว่าเป็น "กิจสาธารณะ" (res publica) มิใช่ธุระหรือทรัพย์สินส่วนตัวของผู้ปกครอง และที่ตำแหน่งหน้าที่ของรัฐได้รับเลือกตั้งโดยตรงหรือโดยอ้อม หรือได้รับแต่งตั้ง มิใช่ได้รับทอด ในสมัยใหม่ นิยามทั่วไปที่เข้าใจง่ายของสาธารณรัฐ คือ ระบอบการปกครองที่ประมุขแห่งรัฐมิใช่พระมหากษัตริย์ ปัจจุบัน รัฐเอกราช 135 จาก 206 รัฐใช้คำว่า "สาธารณรัฐ" เป็นส่วนหนึ่งชื่ออย่างเป็นทางการ ทั้งสาธารณรัฐสมัยใหม่และสมัยโบราณแตกต่างกันอย่างมากทั้งในอุดมการณ์และองค์ประกอบ ในสมัยคลาสสิกและสมัยกลาง ต้นแบบของทุกสาธารณรัฐ คือ สาธารณรัฐโรมัน ซึ่งหมายถึงกรุงโรมในระหว่างสมัยที่มีพระมหากษัตริย์กับสมัยที่มีจักรพรรดิ ประเพณีการเมืองสมัยกลางและสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาอิตาลีปัจจุบันที่เรียกว่า "มนุษยนิยมพลเมือง" (civic humanism) นั้น บางครั้งถูกมองว่าได้รับมาจากนักสาธารณรัฐนิยมโรมันโดยตรง อย่างไรก็ดี นักประพันธ์โรมันที่ได้รับอิทธิพลจากกรีก อย่างพอลิเบียสและคิเคโร บางครั้งใช้คำดังกล่าวเป็นคำแปลของคำภาษากรีกว่า politeia ซึ่งอาจหมายถึงระบอบโดยทั่วไป แต่ยังสามารถใช้กับระบอบบางประเภทโดยเจาะจงซึ่งมิได้สอดคล้องพอดีกับสาธารณรัฐโรมัน สาธารณรัฐมิได้เทียบเท่ากับประชาธิปไตยคลาสสิก เช่น เอเธนส์ แต่มีลักษณะความเป็นประชาธิปไตย ในสาธารณรัฐสมัยใหม่ เช่น สหรัฐอเมริกา ฝรั่งเศส รัสเซีย และอินเดีย ฝ่ายบริหารมีความชอบธรรมจากทั้งโดยรัฐธรรมนูญและการออกเสียงเลือกตั้งของประชาชน มงแต็สกีเยอรวมประชาธิปไตยทั้งสองแบบ ซึ่งประชาชนทุกคนมีส่วนร่วมในการปกครอง และอภิชนาธิปไตยหรือคณาธิปไตย ซึ่งมีคนเพียงส่วนน้อยเท่านั้นที่ปกครอง เป็นระบอบการปกครองแบบสาธารณรัฐ ส่วนใหญ่สาธารณรัฐมักเป็นรัฐเอกราช แต่ยังมีหน่วยต่ำกว่ารัฐที่เรียกว่า สาธารณรัฐ หรือมีการปกครองที่ถูกอธิบายว่า "เป็นสาธารณรัฐ" โดยธรรมชาติเช่นกัน ตัวอย่างเช่น มาตรา 4 ของรัฐธรรมนูญแห่งสหรัฐอเมริกา "ประกันว่าทุกรัฐในสหภาพนี้มีระบอบการปกครองแบบสาธารณรัฐ" เขตการปกครองของสหภาพโซเวียตถูกอธิบายว่าเป็นสาธารณรัฐ และสองในนั้น คือ สาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตยูเครนและเบลารุส มีที่นั่งของตนในสหประชาชาติ ขณะที่รัฐธรรมนูญแห่งสหภาพโซเวียตอธิบายสหภาพว่าเป็น "รัฐเดี่ยว สหพันธ์และพหุชาติ" ที่จริงแล้วเป็นรัฐเดี่ยวเพราะพรรคคอมมิวนิสต์แห่งสหภาพโซเวียตใช้อำนาจในรูปรวมศูนย์เหนือสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตซึ่งปกครองตนเองแต่ในนาม.

ใหม่!!: ประเทศฟิลิปปินส์และสาธารณรัฐ · ดูเพิ่มเติม »

สาธารณรัฐฟิลิปปินส์ที่ 1

รณรัฐฟิลิปปินส์ที่ 1 (Primera República Filipina; Unang Republika ng Pilipinas) หรือ สาธารณรัฐมาโลโลส (República de Malolos; Republica ng Malolos) เป็นสาธารณรัฐอายุสั้น จัดตั้งขึ้นโดยรัฐบาลปฏิวัติในฟิลิปปินส์ จัดตั้งขึ้นอย่างเป็นทางการโดยการประกาศใช้รัฐธรรมนูญมาโลโลสเมื่อ 23 มกราคม..

ใหม่!!: ประเทศฟิลิปปินส์และสาธารณรัฐฟิลิปปินส์ที่ 1 · ดูเพิ่มเติม »

สุลต่าน

ลต่านเมห์เหม็ดที่ 2 แห่งจักรวรรดิออตโตมันกับขันทีอีกสองแบบ สุลต่าน หรือภาษาอาหรับเรียก สุลฏอน (Sultan, سلطان) เป็นชื่อตำแหน่งในหมู่ชนอิสลาม ซึ่งมีความหมายในทางประวัติศาสตร์มากมาย รากคำมาจากภาษาอาหรับซึ่งมีความหมายว่า "ความแข็งแกร่ง" "อำนาจ" หรือ "การปกครอง" มาจากคำนามกริยาว่า سلطة หมายถึง "อำนาจ" ต่อมาใช้เป็นชื่อตำแหน่งของผู้ปกครองประเทศมุสลิมซึ่งมีอำนาจปกครองอย่างเบ็ดเสร็จ (ไม่จำเป็นต้องเชื่อฟังผู้ปกครองอื่นใดที่เหนือกว่า) บางครั้งก็ใช้เรียกผู้ปกครองแว่นแคว้นที่มีอำนาจภายในระบอบการปกครอง ต่อมายังพัฒนาความหมายไปอีกมากมายในหลายบริบท ราชวงศ์หรือดินแดนที่ปกครองโดยสุลต่าน จะเรียกชื่อว่า รัฐสุลต่าน หรือ Sultanate (سلطنة).

ใหม่!!: ประเทศฟิลิปปินส์และสุลต่าน · ดูเพิ่มเติม »

สงครามโลกครั้งที่สอง

งครามโลกครั้งที่สอง (World War II หรือ Second World Warคำว่าสงครามโลกครั้งที่สองในภาษาอังกฤษนั้น ในเอกสารประวัติศาสตร์อย่างเป็นทางการของสหราชอาณาจักรและชาติตะวันตกใช้คำว่า "Second World War" ส่วนในสหรัฐใช้คำว่า "World War II" (ย่อเป็น "WWII" หรือ "WW2") ซึ่งเอกสารประวัติศาสตร์อย่างเป็นทางการในประเทศส่วนใหญ่มักจะใช้ภาษาอังกฤษว่า "Second World War" (เช่น Zweiter Weltkrieg ในภาษาเยอรมัน; Segunda Guerra mundial ในภาษาสเปน; Seconde Guerre mondiale ในภาษาฝรั่งเศส) แต่ทั้งสองคำนี้โดยทั่วไปแล้วสามารถใช้แทนกันได้; แม้ในประวัติศาสตร์การทหารอย่างเป็นทางการ คำว่า "Second World War" ถูกสร้างขึ้นโดย แฟรงก์ บี. เคลล็อก รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศสหรัฐอเมริกา; ส่วนคำว่า "World War II" พบใช้เป็นครั้งแรกในนิตยสาร ไทมส์ เมื่อวันที่ 12 มิถุนายน ค.ศ. 1939 ซึ่งเป็นผู้ประดิษฐ์คำว่า "World War I" ขึ้นในอีกสามเดือนต่อมา; มักย่อเป็น WWII หรือ WW2) เป็นสงครามทั่วโลกกินเวลาตั้งแต่ปี 1939 ถึง 1945 ประเทศส่วนใหญ่ในโลกมีส่วนเกี่ยวข้อง รวมทั้งรัฐมหาอำนาจทั้งหมด แบ่งเป็นพันธมิตรทางทหารคู่สงครามสองฝ่าย คือ ฝ่ายสัมพันธมิตรและฝ่ายอักษะ เป็นสงครามที่กว้างขวางที่สุดในประวัติศาสตร์ มีทหารกว่า 100 ล้านนายจากกว่า 30 ประเทศเข้าร่วมโดยตรง สงครามนี้มีลักษณะเป็น "สงครามเบ็ดเสร็จ" คือ ประเทศผู้ร่วมสงครามหลักทุ่มขีดความสามารถทางเศรษฐกิจ อุตสาหกรรมและวิทยาศาสตร์ทั้งหมดเพื่อความพยายามของสงคราม โดยลบเส้นแบ่งระหว่างทรัพยากรของพลเรือนและทหาร ประเมินกันว่าสงครามมีมูลค่าราว 1 ล้านล้านดอลลาร์สหรัฐ ประเมินกันว่ามีผู้เสียชีวิตระหว่าง 50 ถึง 85 ล้านคน ด้วยประการทั้งปวง สงครามโลกครั้งที่สองจึงนับว่าเป็นสงครามขนาดใหญ่ที่สุด ใช้เงินทุนมากที่สุด และมีผู้เสียชีวิตสูงสุดในประวัติศาสตร์มนุษยชาติ จักรวรรดิญี่ปุ่นซึ่งมีเป้าหมายครอบงำทวีปเอเชียและแปซิฟิกและทำสงครามกับจีนมาตั้งแต่ปี 1937 แล้ว แต่โดยทั่วไปถือว่าสงครามโลกครั้งที่สองเริ่มตั้งแต่การบุกครองโปแลนด์ของเยอรมนีในวันที่ 1 กันยายน 1939 นำไปสู่การประกาศสงครามต่อเยอรมนีของประเทศฝรั่งเศสและสหราชอาณาจักร ตั้งแต่ปลายปี 1939 ถึงต้นปี 1941 ในการทัพและสนธิสัญญาต่าง ๆ ประเทศเยอรมนีพิชิตหรือควบคุมยุโรปภาคพื้นทวีปได้ส่วนใหญ่ และตั้งพันธมิตรอักษะกับอิตาลีและญี่ปุ่น ภายใต้สนธิสัญญาโมโลตอฟ–ริบเบนทรอพเมื่อเดือนสิงหาคม 1939 เยอรมนีและสหภาพโซเวียตแบ่งแลผนวกดินแดนประเทศเพื่อนบ้านยุโรปของตน ได้แก่ โปแลนด์ ฟินแลนด์ โรมาเนียและรัฐบอลติก สงครามดำเนินต่อส่วนใหญ่ระหว่างชาติฝ่ายอักษะยุโรปและแนวร่วมสหราชอาณาจักรและเครือจักรภพบริติช โดยมีการทัพอย่างการทัพแอฟริกาเหนือและแอฟริกาตะวันออก ยุทธการที่บริเตนซึ่งเป็นการสู้รบทางอากาศ การทัพทิ้งระเบิดเดอะบลิตซ์ การทัพบอลข่าน ตลอดจนยุทธการที่แอตแลนติกที่ยืดเยื้อ ในเดือนมิถุนายน 1941 ชาติอักษะยุโรปบุกครองสหภาพโซเวียต เปิดฉากเขตสงครามภาคพื้นดินที่ใหญ่ที่สุดในประวัติศาสตร์ ซึ่งทำให้กำลังทหารสำคัญของฝ่ายอักษะตกอยู่ในสงครามบั่นทอนกำลัง ในเดือนธันวาคม 1941 ญี่ปุ่นโจมตีสหรัฐและอาณานิคมยุโรปในมหาสมุทรแปซิฟิก และพิชิตมหาสมุทรแปซิฟิกตะวันตกส่วนมากได้อย่างรวดเร็ว การรุกของฝ่ายอักษะยุติลงในปี 1942 หลังญี่ปุ่นปราชัยในยุทธนาวีที่มิดเวย์ใกล้กับฮาวายที่สำคัญ และเยอรมนีปราชัยในแอฟริกาเหนือและจากนั้นที่สตาลินกราดในสหภาพโซเวียต ในปี 1943 จากความปราชัยของเยอรมนีติด ๆ กันที่เคิสก์ในยุโรปตะวันออก การบุกครองอิตาลีของฝ่ายสัมพันธมิตรซึ่งนำให้อิตาลียอมจำนน จนถึงชัยของฝ่ายสัมพันธมิตรในมหาสมุทรแปซิฟิก ฝ่ายอักษะเสียการริเริ่มและต้องล่าถอยทางยุทธศาสตร์ในทุกแนวรบ ในปี 1944 ฝ่ายสัมพันธมิตรบุกครองฝรั่งเศสในการยึดครองของเยอรมนี ขณะเดียวกันกับที่สหภาพโซเวียตยึดดินแดนที่เสียไปทั้งหมดคืนและบุกครองเยอรมนีและพันธมิตร ระหว่างปี 1944 และ 1945 ญี่ปุ่นปราชัยสำคัญในทวีปเอเชียในภาคกลางและภาคใต้ของจีนและพม่า ขณะที่ฝ่ายสัมพันธมิตรก่อความเสียหายต่อกองทัพเรือญี่ปุ่นและยึดหมู่เกาะแปซิฟิกตะวันตกที่สำคัญ สงครามในยุโรปยุติลงหลังกองทัพแดงยึดกรุงเบอร์ลินได้ และการยอมจำนนอย่างไม่มีเงื่อนไขของเยอรมนีเมื่อวันที่ 8 สิงหาคม 1945 แม้จะถูกโดดเดี่ยวและตกอยู่ในสภาพเสียเปรียบอย่างยิ่ง ญี่ปุ่นยังปฏิเสธที่จะยอมจำนน กระทั่งมีการทิ้งระเบิดนิวเคลียร์สองลูกถล่มญี่ปุ่น และการบุกครองแมนจูเรีย จึงได้นำไปสู่การยอมจำนนอย่างเป็นทางการของญี่ปุ่นเมื่อวันที่ 2 กันยายน 1945 สงครามยุติลงด้วยชัยชนะของฝ่ายสัมพันธมิตร ผลของสงครามได้เปลี่ยนแปลงการวางแนวทางการเมืองและโครงสร้างสังคมของโลก สหประชาชาติถูกสถาปนาขึ้น เพื่อส่งเสริมความร่วมมือระหว่างประเทศและเพื่อป้องกันความขัดแย้งในอนาคต สหรัฐอเมริกากับสหภาพโซเวียตก้าวเป็นอภิมหาอำนาจของโลกอันเป็นคู่ปรปักษ์กัน นำไปสู่ความขัดแย้งบนเวทีแห่งสงครามเย็น ซึ่งได้ดำเนินต่อมาอีก 46 ปีหลังสงคราม ขณะเดียวกัน การยอมรับหลักการการกำหนดการปกครองด้วยตนเอง เร่งให้เกิดการเคลื่อนไหวเพื่อเรียกร้องเอกราชในทวีปเอเชียและทวีปแอฟริกา พร้อม ๆ กับที่หลายประเทศได้มุ่งหน้าฟื้นฟูเศรษฐกิจซึ่งอุตสาหกรรมได้รับความเสียหายระหว่างสงคราม และบูรณาการทางการเมืองได้เกิดขึ้นทั่วโลกในความพยายามที่จะรักษาเสถียรภาพความสัมพันธ์หลังสงคราม.

ใหม่!!: ประเทศฟิลิปปินส์และสงครามโลกครั้งที่สอง · ดูเพิ่มเติม »

สงครามเจ็ดปี

ำหรับสงครามเจ็ดปีในความหมายอื่น อ่าน สงครามเจ็ดปี (แก้ความกำกวม) สงครามเจ็ดปี (Seven Years' War) หรือ สงครามไซลีเซียครั้งที่ 3 (Third Silesian War) เป็นสงครามที่เกิดขึ้นระหว่างปี..

ใหม่!!: ประเทศฟิลิปปินส์และสงครามเจ็ดปี · ดูเพิ่มเติม »

หมู่เกาะโมลุกกะ

หมู่เกาะโมลุกกะ (Moluccas) หรือ หมู่เกาะมาลูกู (Maluku Islands) เป็นหมู่เกาะในประเทศอินโดนีเซีย และเป็นส่วนหนึ่งของกลุ่มเกาะมลายู ตั้งอยู่บนแผ่นเปลือกโลกออสเตรเลีย ทางด้านตะวันออกของเกาะซูลาเวซี (เซเลบีส) ทางด้านตะวันตกของเกาะนิวกินี และทางเหนือของติมอร์ ในอดีตนั้น ชาวจีนและชาวยุโรปเรียกหมู่เกาะนี้ว่า หมู่เกาะเครื่องเทศ พื้นที่ส่วนใหญ่ของเกาะเป็นภูเขา บางส่วนยังเป็นภูเขาไฟที่ยังคุกรุ่นอยู่ และมีสภาพภูมิอากาศที่ชื้น พืชพรรณอุดมสมบูรณ์ แม้จะอยู่บนเกาะที่เล็ก แคบ และล้อมรอบด้วยทะเล อาทิ ป่าฝน สาคู ข้าว และเครื่องเทศต่าง ๆ (เช่น ลูกจันทน์เทศ กานพลู และดอกจันทน์เทศ) ถึงแม้ว่าชาวเมลานีเซียนจะเป็นประชากรส่วนใหญ่แต่เดิมโดยเฉพาะบนเกาะบันดา แต่ก็ถูกสังหารในช่วงศตวรรษที่ 17 การอพยพเข้ามาของชาวมลายูในช่วงต้นของศตวรรษที่ 20 ในช่วงที่ชาวดัตช์ปกครองอยู่ และต่อเนื่องมาจนถึงยุคที่เป็นประเทศอินโดนีเซียแล้ว ในทางการเมือง หมู่เกาะโมลุกกะเป็นจังหวัดหนึ่งในอินโดนีเซียตั้งแต่ปี พ.ศ. 2493 ถึงปี พ.ศ. 2542 มาลูกูเหนือและฮัลมาเฮรากลางถูกแยกออกเป็นอีกจังหวัดหนึ่ง ดังนั้น หมู่เกาะนี้จึงถูกแบ่งออกเป็น 2 จังหวัด คือ มาลูกู (Maluku) และมาลูกูเหนือ (North Maluku) ระหว่างปี 2542 ถึง 2545 เป็นช่วงที่เกิดความขัดแย้งระหว่างชาวมุสลิมกับชาวคริสต์ แต่ก็เพิ่งกลับมาสงบสุขเมื่อไม่กี่ปีที่ผ่านม.

ใหม่!!: ประเทศฟิลิปปินส์และหมู่เกาะโมลุกกะ · ดูเพิ่มเติม »

หอสมุดรัฐสภา

หอสมุดรัฐสภาอเมริกัน หอสมุดรัฐสภา (Library of congress) สถาบันด้านวัฒนธรรมที่เก่าแก่ที่สุดของสหรัฐอเมริกาและเป็นหอสมุดแห่งชาติ ก่อตั้งเมื่อปี..

ใหม่!!: ประเทศฟิลิปปินส์และหอสมุดรัฐสภา · ดูเพิ่มเติม »

อันดับวานร

อันดับวานร หรือ อันดับไพรเมต (Primate) เป็นอันดับของสัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้ำนม อันได้แก่ สัตว์จำพวกลีเมอร์, ลิง และลิงไม่มีหาง ซึ่งรวมถึงมนุษย์ด้วย มีชื่อสามัญเรียกกันโดยทั่วไปว่า ไพรเมต จึงกล่าวได้ว่าสามารถพบไพรเมตได้ทั่วโลก โดยไพรเมตที่ไม่ใช่มนุษย์ ส่วนใหญ่จะอยู่ในแอฟริกา, ตอนล่างของทวีปเอเชีย, อเมริกากลาง และอเมริกาใต้ แต่จะพบไพรเมตอยู่เพียงไม่กี่ชนิดในแถบตอนเหนือของทวีปเอเชีย จนถึงตอนเหนือของญี่ปุ่น หรือตอนเหนือของอเมริกา และเม็กซิโก โดยที่ไม่พบในทวีปยุโรป และทวีปออสเตรเลีย โดยใช้ชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Primates.

ใหม่!!: ประเทศฟิลิปปินส์และอันดับวานร · ดูเพิ่มเติม »

อากาปุลโก

อากาปุลโก (Acapulco) หรือที่รู้จักกันอย่างเป็นทางการในชื่อ อากาปุลโกเดคัวเรซ (Acapulco de Juárez) เป็นเมือง เทศบาล และท่าเรือที่สำคัญในรัฐเกร์เรโร บนชายฝั่งมหาสมุทรแปซิฟิกของประเทศเม็กซิโก อยู่ห่างออกไป 300 กิโลเมตรทางทิศตะวันตกเฉียงใต้จากกรุงเม็กซิโกซิตี อากาปุลโกตั้งอยู่บนอ่าวลึกทรงครึ่งวงกลมและได้เป็นท่าเรือตั้งแต่ยุคอาณานิคมในช่วงต้นของประวัติศาสตร์ของเม็กซิโก เป็นท่าเรือสำหรับการขนส่งและล่องเรือระหว่างปานามากับแซนแฟรนซิสโก รัฐแคลิฟอร์เนีย สหรัฐอเมริกา อากาปุลโกเป็นเมืองที่ใหญ่ที่สุดในรัฐ ซึ่งมีขนาดใหญ่กว่าเมืองหลวงของรัฐที่ชื่อชิลปันซิงโกเสียอีก อากาปุลโกยังเป็นเมืองชายหาดและรีสอร์ตที่ใหญ่ที่สุดของเม็กซิโกอีกด้วย เมืองนี้เป็นที่รู้จักกันดีในฐานะหนึ่งในรีสอร์ตชายหาดที่เก่าแก่และมีชื่อเสียงมากที่สุดของเม็กซิโก ซึ่งเริ่มมีความโดดเด่นในปี 1950 ในฐานะสถานที่พักผ่อนยอดนิยมสำหรับดาราฮอลลีวูดและมหาเศรษฐี อากาปุลโกยังคงเป็นที่ที่มีชื่อเสียงในเรื่องสถานบันเทิงยามค่ำคืนและยังคงดึงดูดนักท่องเที่ยวจำนวนมาก ถึงแม้ว่าส่วนใหญ่ในขณะนี้เป็นนักท่องเที่ยวที่มาจากเม็กซิโกเอง บริเวณรีสอร์ตแบ่งออกเป็นสองส่วน ตอนเหนือของอ่าวเป็นพื้นที่ "ดั้งเดิม" ที่มีชื่อเสียงในกลางศตวรรษที่ 20 และตอนใต้เต็มไปด้วยโรงแรมหรูหราสูงใหญ่แห่งใหม่ที่เพิ่มขึ้นในภายหลัง ชื่อ "อากาปุลโก" มาจากคำในภาษานาอวตล์ (Nahuatl) ว่า Aca-Pol-co หมายถึง "ที่ต้นกก/ต้นอ้อถูกทำลายหรือล้างออกไป" ชื่อ "de Juárez" ถูกเพิ่มขึ้นเป็นชื่ออย่างเป็นทางการในปี 1885 เพื่อเป็นเกียรติกับเบนีโต คัวเรซ (Benito Juárez) อดีตประธานาธิบดีของเม็กซิโก ตราประทับของเมืองจะแสดงให้เห็นต้นกกหรืออ้อที่ถูกหัก.

ใหม่!!: ประเทศฟิลิปปินส์และอากาปุลโก · ดูเพิ่มเติม »

อาโดโบ

อาโดโบ (adobo) เป็นอาหารฟิลิปปินส์ที่ได้รับความนิยมปรุงจากเนื้อสัตว์หรืออาหารทะเลหมักด้วยน้ำส้มสายชูและกระเทียม ทอดในน้ำมันจนเป็นสีน้ำตาล คำว่า "อาโดโบ" มาจากภาษาสเปน แต่วิธีการทำอาหารเป็นของชนพื้นเมืองชาวฟิลิปปินส์ เมื่อสเปนเอาชนะฟิลิปปินส์ในช่วงปลายคริสต์ศตวรรษที่ 16 และต้นคริสต์ศตวรรษที่ 17 ชาวสเปนจึงรู้จักขั้นตอนการทำอาหารพื้นเมืองที่เกี่ยวข้องกับน้ำส้มสายชูซึ่งเรียกว่า อาโดโบ ซึ่งเป็นภาษาสเปนหมายถึงการปรุงรสหรือหมัก แม้ว่าอาโดโบของฟิลิปปินส์และสเปนมีลักษณะบางอย่างร่วมกัน แต่พวกเขาจะอ้างถึงสิ่งที่มีที่มาต่างกัน อาโดโบของฟิลิปปินส์ได้รับการอธิบายในภาษาสเปนว่าเป็นอาหารที่ปรุงโดยการหมัก แต่อาโดโบสำหรับชาวฟิลิปปินส์มีลักษณะเฉพาะกว่า โดยทั่วไปหมายถึงอาหารที่ปรุงด้วยเนื้อหมูหรือไก่หรือรวมกันเคี่ยวให้สุกอย่างช้า ๆ ในซอสถั่วเหลือง น้ำส้มสายชู กระเทียมบด ใบกระวาน และพริกไทยดำและมักมีสีน้ำตาลจากการทอดหรืออบในกระทะDavidson, Alan and Tom Jaine.

ใหม่!!: ประเทศฟิลิปปินส์และอาโดโบ · ดูเพิ่มเติม »

อินทรี

อินทรี เป็นนกจำพวกนกล่าเหยื่อขนาดใหญ่ ในวงศ์ Accipitridae อันดับ Accipitriformes (วงศ์และอันดับเดียวกับ เหยี่ยว) มีโครงสร้างทางกายภาพที่แข็งแรง ประกอบด้วยโครงกระดูก กล้ามเนื้อ ส่วนต่าง ๆ ขน และกรงเล็บเป็นหลัก จัดอยู่ในประเภทนกที่ล่าเหยื่อเป็นอาหาร มีขนาด ปีก และ หาง ที่กว้าง ลักษณะปลายปีกแหลมหรือปีกแตก จะงอยปากงองุ้มเป็นตะขอ อินทรีเป็นนกที่มีลักษณะสวยงาม แข็งแรง สายตาคม บินเร็ว โจมตีแม่นยำ มองเห็นเป้าหมายได้จากระยะไกล มีเพดานบินตั้งแต่พื้นราบจนถึงความสูง 2,100 เมตร และจัดได้ว่าเป็นสัตว์ที่มีสายตาดีที่สุดในโลก อีกทั้งยังถือเป็นนกหรือสัตว์ปีกที่มีอายุยืนยาวที่สุดในโลกอีกด้วย โดยมีอายุได้มากถึง 70 ปี ส่วนใหญ่จะมีสีเข้มและสร้างรังบนหน้าผาที่สูงชัน อินทรีเป็นนกที่มีขนาดใหญ่และแข็งแรง เป็นนกที่กินเนื้อเป็นอาหาร ซึ่งได้แก่ ปลา, งู, สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม ขนาดเล็กเช่น หนู และเป็นนกนักล่าซึ่งล่านกด้วยกัน และไข่นกที่มีขนาดเล็กกว่าเป็นอาหาร อินทรีพบอาศัยกระจัดกระจายอยู่ตามพื้นที่เขตต่าง ๆ ทั่วทุกแห่งในโลก ยกเว้นพื้นที่ในทวีปแอนตาร์กติก ที่มีอากาศหนาวเย็น ในประเทศไทย มีอินทรีอยู่ด้วยกันจำนวนหนึ่ง อาทิ นกออก (Haliaeetus leucogaster), อินทรีหัวนวล (H. leucoryphus), อินทรีดำ (Ictinaetus malaiensis), อินทรีปีกลาย (Clanga clanga) เป็นต้น เนื่องจากเป็นนกขนาดใหญ่ น่าเกรงขาม และบินได้สูงและกว้างไกล ทำให้มีความสง่างาม ในเชิงของการเป็นสัญลักษณ์แล้ว อินทรีถูกมนุษย์ใช้ในเชิงสัญลักษณ์เป็นระยะเวลายาวนาน ในหลายวัฒนธรรมของทุกมุมโลก เช่น เป็นสัตว์ในป่าหิมพานต์ชนิดหนึ่งของไทย หรือ สหรัฐอเมริกาได้ใช้อินทรีหัวขาว (Haliaeetus leucocephalus) เป็นสัญลักษณ์ของประเทศ เป็นต้น.

ใหม่!!: ประเทศฟิลิปปินส์และอินทรี · ดูเพิ่มเติม »

อุทยานธรรมชาติพืดหินปะการังตุบบาตาฮา

อุทยานธรรมชาติพืดหินปะการังตุบบาตาฮา (Bahurang Tubbataha; Tubbataha Reefs Natural Park) คือ พื้นที่คุ้มครองแห่งหนึ่งของฟิลิปปินส์ ตั้งอยู่บริเวณใจกลางทะเลซูลู เขตสงวนพันธุ์นกและสัตว์ทะเลประกอบด้วย เกาะรูปวงแหวนที่เกิดจากหินปะการังใหญ่ 2 เกาะ (ชื่อเกาะวงแหวนเหนือและใต้) และปะการังเจสซี บีซลีย์ ที่เล็กกว่าครอบคลุมพื้นที่ทั้งหมด 97,030 เฮกตาร์ (239,800 เอเคอร์; 371.6 ตารางไมล์) เขตเกาะปะการังตั้งอยู่ 150 กิโลเมตร ทางตะวันออกเฉียงใต้ของเมืองปูเวร์โตปรินเซซา (Puerto Princesa City) เมืองหลักของจังหวัดปาลาวัน เกาะที่ไม่มีใครอยู่อาศัยและปะการังเป็นส่วนหนึ่งของเทศบาลเกาะคากายันซิลโย (Cagayancillo) จังหวัดปาลาวัน ตั้งอยู่ราว 130 กิโลเมตร ทางตะวันออกเฉี่ยงเหนือของปะการัง ในเดือนธันวาคม..

ใหม่!!: ประเทศฟิลิปปินส์และอุทยานธรรมชาติพืดหินปะการังตุบบาตาฮา · ดูเพิ่มเติม »

อุทยานแห่งชาติแม่น้ำใต้ดินปูเวร์โตปรินเซซา

ปากทางเข้าถ้ำ หินงอกหินย้อยบริเวณปากถ้ำ อุทยานแห่งชาติแม่น้ำใต้ดินปูเวร์โตปรินเซซา (Puerto Princesa Subterranean River National Park; Pambansang Liwasang Ilog sa Ilalim ng Lupa ng Puerto Princesa) เป็นอุทยานแห่งชาติของประเทศฟิลิปปินส์ ได้รับการจัดตั้งเป็นอุทยานแห่งชาติเมื่อปี..

ใหม่!!: ประเทศฟิลิปปินส์และอุทยานแห่งชาติแม่น้ำใต้ดินปูเวร์โตปรินเซซา · ดูเพิ่มเติม »

อีเห็นข้างลาย

อีเห็นข้างลาย หรือ อีเห็นธรรมดา หรือ มูสังหอม ในภาษาใต้ (Asian palm civet) เป็นอีเห็นขนาดเล็ก สีขนตามลำตัวเป็นสีเทาเข้มจนเกือบดำ ยกเว้นบริเวณรอบจมูก หู ขา และปลายหางมีสีดำมีลายสีขาวพาดขวางบริเวณหน้าผาก หลังมีจุดเล็ก ๆ สีดำเรียงตัวเป็นแนวยาว 3 เส้น จากไหล่ถึงโคนหาง หางมีความยาวพอ ๆ กับลำตัว ขนปลายหางบางตัวอาจมีสีขาว มีต่อมน้ำมันและจะส่งกลิ่นออกมาเมื่อเวลาตกใจ ซึ่งต่อมน้ำมันนี้จะแตกต่างจากชะมดหรืออีเห็นชนิดอื่น ๆ ตัวเมียมีเต้านม 3 คู่ มีความยาวลำตัวและหัว 43–71 เซนติเมตร ความยาวหาง 40.6–66 เซนติเมตร น้ำหนัก 2–5 กิโลกรัม อีเห็นข้างลายมีการกระจายพันธุ์ที่กว้างขวางมาก โดยพบตั้งแต่รัฐชัมมูและกัศมีร์ และภาคใต้ของอินเดีย, ศรีลังกา, เนปาล, รัฐสิกขิม, ภูฏาน, พม่า, ไทย, ลาว, กัมพูชา, เวียดนาม, มาเลเซีย, สิงคโปร์, ฟิลิปปินส์, เกาะสุมาตรา, เกาะชวา, เกาะบอร์เนียว, เกาะซูลาเวซี และหมู่เกาะซุนดาน้อย และมีชนิดย่อยมากถึง 30 ชนิด (ดูในตาราง) มีพฤติกรรมมักอาศัยและหากินตามลำพัง สามารถปรับตัวให้อยู่ในสภาพแวดล้อมที่หลากหลายได้ ตั้งแต่ ป่าดิบชื้น, ป่าดิบแล้ง ไปจนถึงชายป่าที่ใกล้กับพื้นที่เกษตรกรรมของมนุษย์ กินอาหารได้ทั้งพืชและสัตว์ เช่น สัตว์ขนาดเล็กจำพวกแมลง และน้ำหวานของเกสรดอกไม้ ออกหากินในเวลากลางคืน นอนหลับในเวลากลางวัน ใช้เวลาส่วนมากตามพื้นดินและจะใช้เวลาน้อยมากอยู่บนต้นไม้ ออกลูกครั้งละ 2–4 ตัว โดยจะเลี้ยงลูกอ่อนไว้ตามโพรงไม้หรือโพรงหิน อีเห็นข้างลายไม่ได้ถูกจัดเป็นสัตว์ป่าคุ้มครองตามพระราชบัญญัติสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า พุทธศักราช 2546 ปัจจุบันทางสวนสัตว์เชียงใหม่ได้มีโครงการในการเพาะเลี้ยงอีเห็นข้างลาย เพื่อผลิต "กาแฟขี้ชะมด" ซึ่งเป็นกาแฟที่ได้จากมูลของอีเห็นข้างลาย มีราคาซื้อขายที่สูงมาก และในการเพาะเลี้ยงเพื่อใช้ประโยชน์ในการนี้ที่จังหวัดตรังโดยเอกชนด้วยหน้า 27, อะเมซซิง..."กาแฟขี้ชะมดตรัง" โดย มนตรี สังขาว.

ใหม่!!: ประเทศฟิลิปปินส์และอีเห็นข้างลาย · ดูเพิ่มเติม »

องค์การการค้าโลก

องค์การการค้าโลก (World Trade Organization, WTO) เป็นองค์การนานาชาติสังกัดองค์การสหประชาชาติ (UN) ทำหน้าที่เกี่ยวข้องกับข้อตกลงทางด้านการค้าระหว่างชาติ เป็นเวทีสำหรับการเจรจาต่อรอง ตกลงและขจัดข้อขัดแย้งในเงื่อนไขและกฎเกณฑ์ทางการค้าและการบริการระหว่างประเทศสมาชิก องค์การการค้าโลกจัดตั้งขึ้นแทนความตกลงทั่วไปว่าด้วยการค้าและภาษีศุลกากร เมื่อวันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2538 สำนักงานใหญ่ตั้งอยู่ที่นครเจนีวา ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ ปัจจุบันมีสมาชิก 164 ประเทศและดินแดน องค์การการค้าโลกมีงบประมาณปี..

ใหม่!!: ประเทศฟิลิปปินส์และองค์การการค้าโลก · ดูเพิ่มเติม »

องค์การอาหารและการเกษตรแห่งสหประชาชาติ

ตราสัญลักษณ์ประจำองค์การอาหารและการเกษตรแห่งสหประชาชาติ องค์การอาหารและการเกษตรแห่งสหประชาชาติ (Food and Agriculture Organization of the United Nations หรือ FAO) เป็นหน่วยงานพิเศษของสหประชาชาติที่มีเป้าหมายในการพัฒนามาตรฐานอาหารและสารอาหาร รวบรวม วิเคราะห์ และเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารด้านโภชนาการ อาหาร การเกษตร ป่าไม้และประมง ให้ประเทศต่าง ๆ เพื่อนำไปใช้เป็นข้อมูลประกอบการกำหนดนโยบายการเกษตร โดยสำนักงานเศรษฐกิจการเกษตรเป็นหน่วยงานหลักของประเทศไทย ทำหน้าที่รวบรวมข้อมูลด้านการเกษตร โดยเฉพาะด้านการผลิต ตามการร้องขอของ FAO เพื่อนำข้อมูลดังกล่าวไปวิเคราะห์และเผยแพร่ต่อไป โดยที่ผ่านมาสำนักงานเศรษฐกิจการเกษตรได้ตอบแบบสอบถามของ FAO ในเรื่องปุ๋ย ซึ่งเป็นปัจจัยการผลิตที่สำคัญสำหรับภาคเกษตร รวมถึงพยายามลดปริมาณผู้ยากไร้ขาดอาหาร ก่อตั้งในปี พ.ศ. 2488 (ค.ศ. 1945) ในเมือง ควิเบกซิตี รัฐควิเบก ประเทศแคนาดา และในปี พ.ศ. 2490 ได้ย้ายสำนักงานใหญ่มาที่ วอชิงตัน ดี.ซี. และในปัจจุบันสำนักงานใหญ่อยู่ที่โรม ประเทศอิตาลี นับจากปัจจุบัน (พ.ศ. 2549) มีสมาชิก 190 ประเทศทั่วโลก.

ใหม่!!: ประเทศฟิลิปปินส์และองค์การอาหารและการเกษตรแห่งสหประชาชาติ · ดูเพิ่มเติม »

ฮ่องกง

องกง (Hong Kong; 香港) มีชื่ออย่างเป็นทางการว่า เขตบริหารพิเศษฮ่องกงแห่งสาธารณรัฐประชาชนจีน (Hong Kong Special Administrative Region of the People's Republic of China) เป็นเขตปกครองตนเองริมฝั่งทางใต้ของประเทศจีน ในทางภูมิศาสตร์มีสามเหลี่ยมปากแม่น้ำจูเจียงและทะเลจีนใต้โอบรอบ ฮ่องกงเป็นที่รู้จักในสกายไลน์ (skyline) ขยายและท่าเรือธรรมชาติลึก มีเนื้อที่ 1,104 กม.

ใหม่!!: ประเทศฟิลิปปินส์และฮ่องกง · ดูเพิ่มเติม »

ผลิตภัณฑ์ในประเทศเบื้องต้น

accessdate.

ใหม่!!: ประเทศฟิลิปปินส์และผลิตภัณฑ์ในประเทศเบื้องต้น · ดูเพิ่มเติม »

จระเข้น้ำเค็ม

ระเข้น้ำเค็ม หรือ จระเข้น้ำกร่อย หรือ ไอ้เคี่ยม หรือ จระเข้ทองหลาง(Saltwater crocodile, Estuarine crocodile) เป็นสัตว์เลื้อยคลานขนาดใหญ่ในอันดับจระเข้ชนิดหนึ่ง ในวงศ์ Crocodylidae เป็นจระเข้ 1 ใน 3 ชนิดที่พบได้ในประเทศไทย (อีก 2 ชนิด คือ จระเข้น้ำจืดและตะโขง) มีลักษณะทั่วไปคล้ายจระเข้น้ำจืด จุดที่แตกต่างกันคือ ขาคู่หลังมีลักษณะแข็งแรงกว่าขาคู่หน้าและมีเพียง 4 นิ้วมีพังผืดระหว่างนิ้วตีนมากกว่าจระเข้น้ำจืด จะงอยปากยาวและส่วนปลายค่อนข้างแหลม มีฟันประมาณ 60 ซี่ ลักษณะแตกต่างจากจระเข้น้ำจืดคือไม่มีเกล็ด 4 เกล็ดที่ท้ายทอย ปากยาวกว่าจระเข้น้ำจืดอย่างเห็นได้ชัด มีสันเล็ก ๆ ยื่นจากลูกตาไปตามความยาวของส่วนหัวจนถึงตำแหน่งของปุ่มจมูก หรือที่เรียกว่าก้อนขี้หมา สีลำตัวออกเหลืองอ่อนหรือสีขาว และมีการเรียงตัวที่ส่วนหาง ดูคล้ายตาหมากรุก ตัวผู้มีความยาวหางยาวกว่าตัวเมีย แต่ลำตัวของตัวผู้ผอมเพรียวกว่าแต่โดยรวมแล้วขนาดลำตัวของตัวเมียจะเล็กกว่าเมื่อเทียบกันตัวต่อตัว และระยะห่างของโหนกหลังตาจะกว้างกว่าหัวของตัวผู้ดูป้อมสั้น ตัวเมียจะดูหัวยาวเรียว จระเข้น้ำเค็มจัดว่าเป็นสายพันธุ์จระเข้ที่ใหญ่ที่สุดในโลก โตเต็มที่ได้ถึง 4-5 เมตร พบกระจายพันธุ์ตั้งแต่ภูมิภาคเอเชียใต้จนถึงเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และประเทศออสเตรเลียทางตอนเหนือ บริเวณนอร์เทิร์นเทร์ริทอรี มักอาศัยอยู่ในป่าโกงกางหรือป่าชายเลนในที่ที่เป็นน้ำกร่อยหรือน้ำเค็ม ตัวผู้จะถึงวัยเจริญพันธุ์เมื่ออายุ 16 ปี ตัวเมียอายุ 10 ปี แต่จะให้ไข่ที่สมบูรณ์เมื่ออายุ 12 ปี มีขนาดยาว 2.2 เมตร มีการผสมพันธุ์ในฤดูร้อนและวางไข่ในฤดูฝน ครั้งละ 25-90 ฟอง การวางไข่จะใช้เวลาประมาณ 20-25 นาที ใช้ระยะเวลาในการฟักไข่ประมาณ 80 วัน ขนาดของไข่จระเข้น้ำเค็มจะใหญ่กว่าจระเข้น้ำจืดเล็กน้อย มีน้ำหนักประมาณ 110-120 กรัม จระเข้น้ำเค็มมีอุปนิสัยดุร้ายมาก สามารถโจมตีสัตว์ที่โดยปกติไม่ใช่อาหารได้ เช่น มนุษย์ เป็นต้น โดยเฉพาะอย่างยิ่งในบางถิ่นของออสเตรเลียที่ขึ้นชื่ออย่างยิ่งในเรื่องการโจมตีมนุษย์ของจระเข้น้ำเค็ม อีกทั้งมีการกัดของกรามได้อย่างรุนแรงมากที่สุดในโลก โดยมีแรงมากถึง 1,700 ปอนด์ และสามารถกระโดดงับเหยื่อได้ ซึ่งไม่น่าเป็นไปได้ในสัตว์เลื้อยคลายขนาดใหญ่เช่นนี้ จนกระทั่งมีชื่อเรียกในภาษาอังกฤษว่า "Man Eater" ซึ่งในสวนสัตว์บางแห่งได้ใช้ความสามารถพิเศษอันนี้หลอกล่อให้จระเข้กระโดดงับเหยื่อที่แขวนล่อไว้เพื่อแสดงแก่ผู้ที่มาเยี่ยมชม ในทางอุตสาหกรรม หนังของจระเข้น้ำเค็มมีคุณสมบัติเหมาะสมในการทำเครื่องหนังมากกว่าจระเข้น้ำจืด เพราะมีหนังที่เหนียวทนทานกว่า จึงนิยมเลี้ยงกันเป็นสัตว์เศรษฐกิจ แต่ทว่าด้วยความที่ต้องใช้ระยะเวลานานในการจระเข้จะโตและให้ผลผลิตที่ดีได้ จึงนิยมผสมข้ามสายพันธุ์กับจระเข้สายพันธุ์อื่นเพื่อให้ได้จระเข้ลูกผสมที่จะให้ผลผลิตที่เร็วกว.

ใหม่!!: ประเทศฟิลิปปินส์และจระเข้น้ำเค็ม · ดูเพิ่มเติม »

จักรวรรดิสเปน

ักรวรรดิสเปน (Imperio Español, Spanish Empire) เป็นหนึ่งในจักรวรรดิที่ใหญ่ที่สุดในประวัติศาสตร์โลก และเป็นหนึ่งในจักรวรรดิโลก (global empire) จักรวรรดิแรก ที่มีดินแดนและอาณานิคมในยุโรป, อเมริกา, เอเชีย และ โอเชียเนีย มาตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 15 ส่วนอาณานิคมในแอฟริกาเป็นดินแดนที่ได้มาในตอนปลายของคริสต์ศตวรรษที่ 20 สเปนก่อตัวขึ้นเป็นสหอาณาจักรในปี..

ใหม่!!: ประเทศฟิลิปปินส์และจักรวรรดิสเปน · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดบาตังกัส

ังหวัดบาตังกัส (Lalawigan ng Batangas) เป็นจังหวัดในเขตคาลาบาร์โซน ประเทศฟิลิปปินส์ มีเมืองหลักชื่อเดียวกันกับชื่อจังหวัด มีอาณาเขตติดต่อกับจังหวัดคาบีเต และลากูนา ทางทิศเหนือ และติดกับจังหวัดเคโซนทางทิศตะวันออก จังหวัดบาตังกัสติดกับทะเลจีนใต้ทางทิศตะวันตก และมีเกาะมินโดโรอยู่ทางทิศใต้ บาตังกัสตั้งอยู่ใกล้กับเมโทรมะนิลา และมีแหล่งท่องเที่ยวที่สำคัญ ได้แก่ ภูเขาไฟตาอัล และเมืองมรดกตาอัล นอกจากนี้ยังชายหาดและจุดดำน้ำหลายแห่ง ได้แก่ อะนิเลา, เกาะซอมเบรโร, เกาะลิกโป, หาดซัมปากีตา, มาตาบุงไกย์, ปุนตาฟือโก, กาลาตากัน และไลย์ยา บาตังกัสซิตี มีท่าเรือทะเลที่ใหญ่เป็นอันดับที่สองของประเทศ และมีการพัฒนาทางอุตสาหกรรมอย่างก้าวกระโดดในตัวเมือง.

ใหม่!!: ประเทศฟิลิปปินส์และจังหวัดบาตังกัส · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดบาตาอัน

ังหวัดบาตาอัน (Lalawigan ng Bataan; กาปัมปางัน: Lalawigan ning Bataan) เป็นจังหวัดในเขตกิตนางลูโซนของประเทศฟิลิปปินส์ มีเมืองหลักคือบาลังกา ครอบคลุมพื้นที่ส่วนใหญ่ของคาบสมุทรบาตาอันของเกาะลูซอน จังหวัดบาตาอันมีอาณาเขตติดต่อกับจังหวัดซัมบาเลสและปัมปังกาทางทิศเหนือ, ติดกับทะเลจีนใต้ทางทิศตะวันตก, ติดกับอ่าวซูบิกทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือ และติดกับอ่าวมะนิลาทางทิศตะวันออก เหตุการณ์สำคัญทางประวัติศาสตร์ที่เกิดขึ้นที่จังหวัดแห่งนี้ คือ สงครามบาตาอัน ซึ่งเกิดขึ้นก่อนการบุกยึดของกองทัพบกจักรวรรดิญี่ปุ่นในสงครามโลกครั้งที่สอง.

ใหม่!!: ประเทศฟิลิปปินส์และจังหวัดบาตาอัน · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดบาตาเนส

ังหวัดบาตาเนส (อีวาตัน: Probinsya nu Batanes; อีโลกาโน: Probinsia ti Batanes; Lalawigan ng Batanes) เป็นจังหวัดหมู่เกาะของเขตลัมบักนางคากายัน ประเทศฟิลิปปินส์ และเป็นจังหวัดที่อยู่เหนือสุด มีพื้นที่และประชากรน้อยที่สุดของประเทศ เมืองหลักคือบัสโก ซึ่งตั้งอยู่บนเกาะบาตัน หมู่เกาะนี้ อยู่ห่างจากเกาะลูซอนไปทางทิศเหนือ และอยู่ห่างจากเกาะไต้หวันไปทางทิศใต้ จังหวัดนี้แยกจากหมู่เกาะบาบูยันของจังหวัดคากายันโดยช่องแคบบาลินตัง และแยกจากไต้หวันโดยช่องแคบบาชี.

ใหม่!!: ประเทศฟิลิปปินส์และจังหวัดบาตาเนส · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดบูลาคัน

ังหวัดบูลาคัน (ตากาล็อก: Lalawigan ng Bulacan; กาปัมปางัน: Lalawigan ning Bulacan) (PSGC:; '''ISO''': PH-BUL) เป็นจังหวัดในเขตกิตนางลูโซนบนเกาะลูซอน ประเทศฟิลิปปินส์ อยู่ห่างจากมะนิลาไปทางทิศเหนือประมาณ และเป็นส่วนหนึ่งของเขตพิเศษวงแหวนตัวเมืองเมโทรลูซอน จังหวัดบูลาคันก่อตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 15 สิงหาคม..

ใหม่!!: ประเทศฟิลิปปินส์และจังหวัดบูลาคัน · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดบูลูบุนดูคิน

ังหวัดบูลูบุนดูคิน (Lalawigang Bulubundukin) เป็นจังหวัดที่ไม่มีทางออกสู่ทะเลในเขตบริหารคอร์ดิลเยรา เกาะลูซอน ประเทศฟิลิปปินส์ มีเมืองหลักคือบอนต็อก จังหวัดนี้มักรู้จักกันในชื่อ จังหวัดเมาต์เทน เนื่องจากพื้นที่ส่วนใหญ่เป็นแนวเทือกเขาคอร์ดิลเยราเซนทรัล ซึ่งอยู่ทางตอนบนของเกาะลูซอน จังหวัดเมาต์เทน เคยเป็นชื่อจังหวัดในอดีตที่ครอบคลุมพื้นที่จังหวัดในเขตบริหารคอร์ดิลเยราในปัจจุบัน อดีตจังหวัดแห่งนั้นจัดตั้งโดยคณะกรรมาธิการฟิลิปปินในปี..

ใหม่!!: ประเทศฟิลิปปินส์และจังหวัดบูลูบุนดูคิน · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดบูคิดโนน

ังหวัดบูคิดโนน (เซบัวโน: Lalawigan sa Bukidnon) เป็นจังหวัดที่ไม่มีทางออกสู่ทะเลในเขตฮีลากังมินดาเนา ประเทศฟิลิปปินส์ เมืองศูนย์กลางคือมาไลบาไล ในปี..

ใหม่!!: ประเทศฟิลิปปินส์และจังหวัดบูคิดโนน · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดบีลีรัน

ังหวัดบีลีรัน (เซบัวโน: Lalawigan sa Biliran; วาไร: Probinsya han Biliran; Lalawigan ng Biliran) เป็นจังหวัดเกาะในเขตซีลางังคาบีซายาอัน ประเทศฟิลิปปินส์ และเป็นหนึ่งในจังหวัดที่เล็กและใหม่ที่สุดของประเทศ ก่อนหน้านี้เคยเป็นส่วนหนึ่งของจังหวัดเลเต และถูกจัดตั้งเป็นจังหวัดใหม่ในปี..

ใหม่!!: ประเทศฟิลิปปินส์และจังหวัดบีลีรัน · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดกีมารัส

ังหวัดกีมารัส (ฮีลีไกโนน: Kapuoran sang Guimaras; กินาไรอา: Probinsiya kang Guimaras; Lalawigan ng Guimaras) เป็นเกาะจังหวัดในเขตคันลูรังคาบีซายาอัน ประเทศฟิลิปปินส์ และเป็นหนึ่งในจังหวัดที่เล็กที่สุดของประเทศ เมืองหลักคือจอร์แดน โดยตัวจังหวัดตั้งอยู่ริมอ่าวปาไนย์ และตั้งอยู่ระหว่างเกาะปาไนย์และเนโกรส ทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือคือจังหวัดอีโลอีโล และทางตะวันออกเฉียงใต้คือจังหวัดคันลูรังเนโกรส พื้นที่ทั้งหมดของเกาะอยู่ในเขตเมโทรอีโลอีโล-กีมารัส ซึ่งเป็น 1 ใน 12 มหานครของฟิลิปปินส์ ตัวจังหวัดประกอบด้วยเกาะหลักคือเกาะกีมารัส เกาะอื่น ๆ ได้แก่ อีนัมปูลูกัน, กีวาโนน, ปาโนโบโลน, นาตุนกา, นาดูเลา กีมารัส หรือชื่อในอดีต ฮีมัลอัส เคยเป็นส่วนหนึ่งของจังหวัดอีโลอีโลจนถึงวันที่ 22 พฤษภาคม..

ใหม่!!: ประเทศฟิลิปปินส์และจังหวัดกีมารัส · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดมัสบาเต

ังหวัดมัสบาเต (มัสบาเต: Probinsya san Masbate; ฮีลีไกโนน: Kapuoran sang Masbate; เซบัวโน: Lalawigan sa Masbate; บีโคล: Probinsya kan Masbate; Lalawigan ng Masbate) เป็นจังหวัดเกาะในประเทศฟิลิปปินส์ ตั้งอยู่เกือบกึ่งกลางของประเทศ เมืองหลักมัสบาเตซิตี จังหวัดประกอบด้วยสามเกาะหลัก ได้แก่ เกาะมัสบาเต, เกาะตีเคา และเกาะบูรีอัส มัสบาเตอยู่บริเวณจุดเชื่อมต่อของเกาะวิซายัสและเกาะลูซอน สำหรับในแง่ของการปกครอง มัสบาเตจะอยู่ในเขตบีโคลของหมู่เกาะลูซอน แต่จะมีความสัมพันธ์แน่นแฟ้นกับกลุ่มเกาะวิซายัสมากกว.

ใหม่!!: ประเทศฟิลิปปินส์และจังหวัดมัสบาเต · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดมารินดูเค

ังหวัดมารินดูเค (Marinduque) เป็นจังหวัดที่เป็นเกาะในเขตมีมาโรปา ประเทศฟิลิปปินส์ มีศูนย์กลางอยู่ที่เทศบาลโบอัค ตั้งอยู่ระหว่างอ่าวตายาบัสทางทิศเหนือ กับทะเลซีบูยันทางทิศใต้ และตั้งอยู่ใกล้กับคาบสมุทรบอนด็อกของจังหวัดเคโซนทางทิศตะวันออก เกาะมินโดโรทางทิศตะวันตก และเกาะจังหวัดโรมโบลนทางทิศใต้ พื้นที่บางส่วนของช่องแคบเกาะเวิร์ด ศูนย์กลางความหลากหลายทางชีวภาพทางทะเลของโลก ก็อยู่ในน่านน้ำของจังหวัดนี้ ในปี..

ใหม่!!: ประเทศฟิลิปปินส์และจังหวัดมารินดูเค · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดรีซัล

ังหวัดรีซัล (Lalawigan ng Rizal) เป็นจังหวัดในเขตคาลาบาร์โซน ประเทศฟิลิปปินส์ อยู่ห่างจากมะนิลาไปทางทิศตะวันออก ชื่อจังหวัดตั้งชื่อตามโฮเซ รีซัล หนึ่งในวีรบุรุษแห่งฟิลิปปินส์ จังหวัดรีซัลมีอาณาเขตติดต่อกับเมโทรมะนิลาทางทิศตะวันตก, จังหวัดบูลาคันทางทิศเหนือ, จังหวัดเคโซนทางทิศตะวันออก และจังหวัดลากูนาทางทิศตะวันออกเฉียงใต้ จังหวัดตั้งอยู่บนชายฝั่งตอนเหนือของลากูนาเดอเบย์ ซึ่งเป็นทะเลสาบที่ใหญ่ที่สุดของประเทศ และตั้งอยู่ทางตอนใต้ของเทือกเขาเซียร์รามาเดร ศาลากลางจังหวัดอยู่ที่เมืองแอนติโปโล ในขณะที่ปาซิกเป็นเมืองหลักอย่างเป็นทางการ แม้ว่าปาซิกจะอยู่ในเขตเมโทรมะนิลา ซึ่งอยู่นอกเขตควบคุมของจังหวัดรีซัลก็ตาม.

ใหม่!!: ประเทศฟิลิปปินส์และจังหวัดรีซัล · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดลัมบักนางโคมโปสเตลา

ังหวัดลัมบักนางโคมโปสเตลา (เซบัวโน: Kawalogang Kompostela) หรือ ดาเบาเดโอโร เป็นจังหวัดในเขตดาเบา ประเทศฟิลิปปินส์ มักถูกเรียกสั้น ๆ ว่า โคมบัล เคยเป็นส่วนหนึ่งของจังหวัดฮีลากังดาเบา จนกระทั่งได้รับการจัดตั้งในปี..

ใหม่!!: ประเทศฟิลิปปินส์และจังหวัดลัมบักนางโคมโปสเตลา · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดลากูนา

ังหวัดลากูนา (Lalawigan ng Laguna; Provincia de Laguna) เป็นจังหวัดในเขตคาลาบาร์โซน บนเกาะลูซอน ประเทศฟิลิปปินส์ เมืองหลักคือซันตาครูซ และตั้งอยู่ทางทิศตะวันออกเฉียงใต้ของเมโทรมะนิลา มีอาณาเขตติดต่อกับจังหวัดรีซัลทางทิศเหนือ, จังหวัดเคโซนทางทิศตะวันออก, จังหวัดบาตังกัสทางทิศใต้ และจังหวัดคาบีเตทางทิศตะวันตก ในปี..

ใหม่!!: ประเทศฟิลิปปินส์และจังหวัดลากูนา · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดลาอูนีโยน

ังหวัดลาอูนีโยน (อีโลกาโน: Probinsia ti La Union; ปังกาซีนัน: Luyag na La Union) เป็นจังหวัดหนึ่งของประเทศฟิลิปปินส์ ตั้งอยู่ในเขตอีโลโคสบนเกาะลูซอน เมืองหลักคือเมืองซันเฟร์นันโด ซึ่งยังถือเป็นเมืองหลักของเขตอีโลโคสอีกด้ว.

ใหม่!!: ประเทศฟิลิปปินส์และจังหวัดลาอูนีโยน · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดอักลัน

ังหวัดอักลัน (Akean) (เสียงอ่านภาษาอักลัน) (อักลัน: Probinsiya it Aklan; ฮีลีไกโนน: Kapuoran sang Aklan; Lalawigan ng Aklan) เป็นจังหวัดในเขตคันลูรังคาบีซายาอัน ประเทศฟิลิปปินส์ เมืองหลักคือคาลีโบ ตั้งอยู่ทางตะวันตกเฉียงเหนือของเกาะปาไนย์ มีอาณาเขตติดต่อกับจังหวัดอันตีเค‎ทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ และจังหวัดคาปิซทางทิศตะวันออก จังหวัดอักลันติดกับทะเลซีบูยันและจังหวัดโรมโบลนทางทิศเหนือ.

ใหม่!!: ประเทศฟิลิปปินส์และจังหวัดอักลัน · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดอัลไบ

ังหวัดอัลไบ (Lalawigan ng Albay; Provincia de Albay) เป็นจังหวัดในเขตบีโคล ทางตะวันออกเฉียงใต้ของเกาะลูซอน ประเทศฟิลิปปินส์ เมืองหลักคือเลกาซปี ซึ่งยังเป็นศูนย์กลางการบริหารของเขตอีกด้วย เมืองนี้ตั้งอยู่ทางทิศใต้ของภูเขาไฟมาโยน ซึ่งกรวยภูเขาไฟสลับชั้นแห่งนี้ นับได้ว่าเป็นสัญลักษณ์ของจังหวัด และเมื่อขึ้นไปข้างบน สามารถมองเห็นทัศนียภาพรอบ ๆ ที่สวยงามได้ จังหวัดอัลไบ ถูกเพิ่มใน World Network of Biosphere Reserves ของยูเนสโก ในเดือนมีนาคม..

ใหม่!!: ประเทศฟิลิปปินส์และจังหวัดอัลไบ · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดอันตีเค

ังหวัดอันตีเค (กินาไรอา: Probinsiya kang Antique; ฮีลีไกโนน: Kapuoran sang Antique; Lalawigan ng Antique) เป็นจังหวัดในเขตคันลูรังคาบีซายาอัน ประเทศฟิลิปปินส์ เมืองหลักคือซันโฮเซเดอบูเวนาบิสตา ซึ่งเป็นเมืองที่มีประชากรมากที่สุดในจังหวัด ตัวจังหวัดตั้งอยู่ทางภาคตะวันตกของเกาะปาไนย์ มีอาณาเขตติดต่อกับจังหวัดอักลัน จังหวัดคาปิซ‎ และจังหวัดอีโลอีโล ทางทิศตะวันออก และติดกับทะเลซูลูทางทิศตะวันตก จังหวัดแห่งนี้เป็นถิ่นฐานของชนพื้นเมืองอีไรนัน-บูกิดโนน ซึ่งเป็นผู้ใช้ภาษากินาไรอา และยังสร้างนาขั้นบันไดซึ่งมีอยู่เพียงแห่งเดียวบนเกาะวิซายัสอีกด้ว.

ใหม่!!: ประเทศฟิลิปปินส์และจังหวัดอันตีเค · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดอาบรา

ังหวัดอาบรา (อีโลกาโน: Probinsia ti Abra; Lalawigan ng Abra) เป็นจังหวัดที่ไม่มีทางออกสู่ทะเลในเขตบริหารคอร์ดิลเยราของประเทศฟิลิปปินส์ เมืองหลักคือบันเกด มีอาณาเขตติดต่อกับจังหวัดฮีลากังอีโลโคสทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือ, จังหวัดอาปาเยาทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือ, จังหวัดคาลิงกาทางทิศตะวันออก, จังหวัดบูลูบุนดูคินทางทิศตะวันออกเฉียงใต้ และจังหวัดตีโมกอีโลโคสทางทิศตะวันตกเฉียงใต้.

ใหม่!!: ประเทศฟิลิปปินส์และจังหวัดอาบรา · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดอาปาเยา

ังหวัดอาปาเยา (อีโลกาโน: Probinsia ti Apayao) เป็นจังหวัดที่ไม่มีทางออกสู่ทะเลในเขตบริหารคอร์ดิลเยรา ประเทศฟิลิปปินส์ เมืองหลักคือคาบูเกา อาณาเขตติดต่อกับจังหวัดคากายันทางทิศเหนือและตะวันออก, จังหวัดอาบราและฮีลากังอีโลโคสทางทิศตะวันตก และจังหวัดคาลิงกาทางทิศใต้ ก่อนปี..

ใหม่!!: ประเทศฟิลิปปินส์และจังหวัดอาปาเยา · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดอีฟูเกา

ังหวัดอีฟูเกา (อีฟูเกา: Probinsia ti Ifugao; Lalawigan ng Ifugao) เป็นจังหวัดไม่มีทางออกสู่ทะเลในเขตบริหารคอร์ดิลเยรา เกาะลูซอน ประเทศฟิลิปปินส์ เมืองหลักคือลากาเว มีอาณาเขตติดต่อกับจังหวัดเบงเก็ตทางทิศตะวันตก จังหวัดบูลูบุนดูคินทางทิศเหนือ จังหวัดอีซาเบลาทางทิศตะวันออก และจังหวัดนูเวบาบิซคายาทางทิศใต้ จังหวัดนี้เป็นที่ตั้งของนาขั้นบันไดฟิลิปปินคอร์ดิลเยราและนาขั้นบันไดบานาเว ซึ่งเป็นแหล่งท่องเที่ยวสำคัญของจังหวัด เชื่อกันว่านาขั้นบันไดเหล่านี้มีอายุประมาณ 2,000 ปี อย่างไรก็ตาม จากการวิจัยโดยใช้การหาอายุจากคาร์บอนกัมมันตรังสี นาขั้นบันไดมีอายุน้อยกว่านั้น ในปี..

ใหม่!!: ประเทศฟิลิปปินส์และจังหวัดอีฟูเกา · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดอีซาเบลา

ังหวัดอีซาเบลา (อีโลกาโน: Probinsia ti Isabela; Lalawigan ng Isabela) เป็นจังหวัดที่ใหญ่เป็นอันดับที่สองของประเทศฟิลิปปินส์ และเป็นจังหวัดที่ใหญ่ที่สุดบนเกาะลูซอน เมืองหลักคืออีลากัน ตั้งอยู่ในเขตลัมบักนางคากายัน อยู่ติดกับจังหวัดคากายันทางทิศเหนือ, ติดกับจังหวัดกาลิงกาทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือ, ติดกับจังหวัดเมาน์เทนทางทิศตะวันตก, ติดกับจังหวัดอีฟูเกาและนูเวบาบิซคายาทางทิศตะวันตกเฉียงใต้, ติดกับจังหวัดคีรีโนและเอาโรรา‎ทางทิศใต้ และติดกับทะเลฟิลิปปินทางทิศตะวันออก ผลผลิตทางเกษตรกรรมที่สำคัญได้แก่ ข้าว และข้าวโพด ในปี..

ใหม่!!: ประเทศฟิลิปปินส์และจังหวัดอีซาเบลา · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดอีโลอีโล

ังหวัดอีโลอีโล (ฮีลีไกโนน: Kapuoran sang Iloilo; กินาไรอา: Probinsiya kang Iloilo; Lalawigan ng Iloilo) เป็นจังหวัดในเขตคันลูรังคาบีซายาอัน ประเทศฟิลิปปินส์ ครอบคลุมพื้นที่ทางตะวันออกเฉียงใต้ของเกาะปาไนย์ มีอาณาเขตติดต่อกับจังหวัดอันตีเคทางทิศตะวันตก ติดกับจังหวัดคาปิซทางทิศเหนือ ติดกับช่องแคบจีนโตโตโลทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือ ติดกับช่องแคบกีมารัสทางทิศตะวันออก และติดกับช่องแคบอีโลอีโลและอ่าวปาไนย์ทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ ไม่ไกลจากชายฝั่งของจังหวัดอีโลอีโล เป็นที่ตั้งของเกาะจังหวัดกีมารัส ซึ่งเคยเป็นส่วนหนึ่งของจังหวัดอีโลอีโล เมืองหลักของจังหวัดอีโลอีโลมีชื่อเดียวกันกับชื่อจังหวัด คือ อีโลอีโลซิตี ซึ่งยังเป็นนครอิสระ ไม่ขึ้นกับรัฐบาลประจำจังหวัด สำหรับในปี..

ใหม่!!: ประเทศฟิลิปปินส์และจังหวัดอีโลอีโล · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดฮีลากังลาเนา

ังหวัดฮีลากังลาเนา (เซบัวโน: Amihanang Lanao, มาราเนา: Ranao Pangotaraan) เป็นจังหวัดในเขตฮีลากังมินดาเนา ประเทศฟิลิปปินส์ เมืองศูนย์กลางคือตูโบด ในปี..

ใหม่!!: ประเทศฟิลิปปินส์และจังหวัดฮีลากังลาเนา · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดฮีลากังอากูซัน

ังหวัดฮีลากังอากูซัน (บูตูอาโนน: Probinsya hong Agusan del Norte; เซบัวโน: Amihanang Agusan) เป็นจังหวัดในเขตคารากา ประเทศฟิลิปปินส์ มีเมืองหลักชื่อว่าคาบัดบารัน อาณาเขตติดต่อกับจังหวัดฮีลากังซูรีเกาทางทิศเหนือ ติดกับจังหวัดตีโมกซูรีเกาทางทิศตะวันออก ติดกับจังหวัดตีโมกอากูซันทางทิศตะวันออกเฉียงใต้ ติดกับจังหวัดคันลูรังมีซามิสทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ และติดกับอ่าวบูตูอันทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือ ตอนกลางของจังหวัดเป็นจุดกำเนิดของแม่น้ำอากูซัน ซึ่งเป็นแม่น้ำที่ยาวอันดับที่สามของประเทศ ปากแม่น้ำตั้งอยู่ที่อ่าวบูตูอัน ภูมิประเทศรอบ ๆ แม่น้ำเป็นที่ราบ ส่วนภูเขาปรากฏในพื้นที่ทางตะวันออกเฉียงเหนือและตะวันตก จังหวัดมีทะเลสาบที่ใหญ่เป็นอันดับที่ 4 ของประเทศ ชื่อว่า ทะเลสาบมาอีนิต ตั้งอยู่ทางตอนเหนือใกล้กับเขตจังหวัดฮีลากังซูรีเก.

ใหม่!!: ประเทศฟิลิปปินส์และจังหวัดฮีลากังอากูซัน · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดฮีลากังอีโลโคส

ังหวัดฮีลากังอีโลโคส (อีโลกาโน: Makin-amianan nga Ilocos) เป็นจังหวัดในเขตอีโลโคสของประเทศฟิลิปปินส์ เมืองหลักคือลาวัก อยู่ทางมุมตะวันตกเฉียงเหนือของเกาะลูซอน และเป็นจังหวัดบ้านเกิดของอดีตประธานาธิบดีฟิลิปปินส์ เฟอร์ดินานด์ มาร์กอส ผู้ใช้กฎหมายเบ็ดเสร็จในช่วงครึ่งหลังของการดำรงตำแหน่ง แต่ได้รับความนิยมน้อยในจังหวัดของเขา นอกจากนี้ ฮีลากังอีโลโคสยังเป็นจุดหมายการท่องเที่ยวภาคเหนือ โดยเป็นที่ตั้งของโรงแรมฟอร์ตอิโลคอนเดียและเมืองปาก.

ใหม่!!: ประเทศฟิลิปปินส์และจังหวัดฮีลากังอีโลโคส · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดฮีลากังดาเบา

ังหวัดฮีลากังดาเบา (เซบัวโน: Amihanang Dabaw) เป็นจังหวัดในเขตดาเบา ประเทศฟิลิปปินส์ เมืองศูนย์กลางคือตากุม โดยจังหวัดฮีลากังดาเบานั้น มีพื้นที่ครอบคลุมถึงเกาะซามัลในอ่าวดาเบาด้วย ในช่วงก่อนปี..

ใหม่!!: ประเทศฟิลิปปินส์และจังหวัดฮีลากังดาเบา · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดฮีลากังคามารีเนส

ังหวัดฮีลากังคามารีเนส (Hilagang Camarines) เป็นจังหวัดในเขตบีโคล เกาะลูซอน ประเทศฟิลิปปินส์ เมืองหลักคือดาเอ็ต อาณาเขตติดต่อกับจังหวัดเคโซนทางทิศตะวันตก ติดกับจังหวัดตีโมกคามารีเนสทางทิศใต้ และติดกับทะเลฟิลิปปินทางทิศเหนือ.

ใหม่!!: ประเทศฟิลิปปินส์และจังหวัดฮีลากังคามารีเนส · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดฮีลากังซัมบวงกา

ังหวัดฮีลากังซัมบวงกา (เซบัวโน: Amihanang Zamboanga, Subanon: Utara Sembwangan, Chavacano: Provincia de Zamboanga del Norte) เป็นจังหวัดในเขตตังไวนางซัมบวงกา เกาะมินดาเนา ประเทศฟิลิปปินส์ เมืองศูนย์กลางคือดีโปโลก มีอาณาเขตติดต่อกับจังหวัดตีโมกซัมบวงกาและจังหวัดซัมบวงกาซีบูไกทางทิศใต้ ติดกับจังหวัดคันลูรังมีซามิสทางทิศตะวันออก และติดกับทะเลซูลูทางทิศตะวันตก ฮีลากังซัมบวงกาเป็นจังหวัดที่มีพื้นที่มากที่สุดในเขตตังไวนางซัมบวงกา โดยมีพื้นที่ 7,301.00 ตารางกิโลเมตร และมีประชากรมากเป็นอันดับที่ 26 ของประชากร.

ใหม่!!: ประเทศฟิลิปปินส์และจังหวัดฮีลากังซัมบวงกา · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดฮีลากังซามาร์

ังหวัดฮีลากังซามาร์ (วาไร: Norte san Samar; Hilagang Samar) เป็นจังหวัดในเขตซีลางังคาบีซายาอัน ประเทศฟิลิปปินส์ ตั้งอยู่ทางตอนเหนือของเกาะซามาร์ เมืองศูนย์กลางคือคาตาร์มัน (จังหวัดฮีลากังซามาร์)‎ มีอาณาเขตติดกับจังหวัดซามาร์และซีลางังซามาร์ทางทิศใต้ ติดกับช่องแคบซันเบร์นาร์ดิโนและจังหวัดซอร์โซโกนทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือ ติดกับทะเลฟิลิปปินทางทิศตะวันออก และติดกับทะเลซามาร์ทางทิศตะวันตก.

ใหม่!!: ประเทศฟิลิปปินส์และจังหวัดฮีลากังซามาร์ · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดฮีลากังซูรีเกา

ังหวัดฮีลากังซูรีเกา (ซูริเกานอน: Probinsya nan Surigao del Norte; เซบัวโน: Amihanang Surigao; สเปน: Provincia de Surigao del Norte) เป็นจังหวัดในเขตคารากา เกาะมินดาเนา ประเทศฟิลิปปินส์ มีเมืองหลักชื่อว่าซูรีเกาซิตี ตัวจังหวัดประกอบด้วยเกาะซีอาร์เกา, เกาะบูคัสแกรนเดในทะเลฟิลิปปิน และพื้นที่ปลายสุดทางตะวันออกเฉียงเหนือของมินดาเนา มีอาณาเขตติดต่อกับจังหวัดฮีลากังอากูซันและจังหวัดตีโมกซูรีเกาทางทิศใต้ จังหวัดฮีลากังซูรีเกาเป็นจังหวัดที่อยู่เกือบเหนือสุดของมินดาเนา และเป็นศูนย์กลางการขนส่งที่สำคัญระหว่างวิซายัสและมินดาเนา โดยจะมีเรือข้ามฟากให้บริการผ่านทางช่องแคบซูรีเก.

ใหม่!!: ประเทศฟิลิปปินส์และจังหวัดฮีลากังซูรีเกา · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดคันลูรังมินโดโร

ังหวัดคันลูรังมินโดโร (Kanlurang Mindoro, Mindoro Occidental) เป็นจังหวัดในเขตมีมาโรปา ประเทศฟิลิปปินส์ ครอบคลุมพื้นที่ทางตะวันตกของเกาะมินโดโร เมืองศูนย์กลางคือมัมบูเรา แต่เมืองที่มีประชากรมากที่สุดคือซันโฮเซ ในปี..

ใหม่!!: ประเทศฟิลิปปินส์และจังหวัดคันลูรังมินโดโร · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดคันลูรังมีซามิส

ังหวัดคันลูรังมีซามิส (เซบัวโน: Kasadpang Misamis; Subanen: Sindepan Mis'samis) เป็นจังหวัดในเขตฮีลากังมินดาเนา ประเทศฟิลิปปินส์ มีเมืองศูนย์กลางคือโอโรคีเวตา ผู้ที่ตั้งถิ่นฐานตั้งแต่แรกเริ่มในจังหวัดนี้คือชาวซูบาโนน ซึ่งเป็นเป้าหมายของกลุ่มโจรสลัดจากจังหวัดลาเนา ชื่อจังหวัด บ้างก็มีที่มาจากสถานที่ตั้งฐานของชาวสเปนที่อ่าวปังกีล บ้างก็เพี้ยนมาจากคำว่า คูยามิส ซึ่งเป็นชื่อชนิดของมะพร้าว.

ใหม่!!: ประเทศฟิลิปปินส์และจังหวัดคันลูรังมีซามิส · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดคันลูรังดาเบา

ังหวัดคันลูรังดาเบา เป็นจังหวัดลำดับที่ 81 ของประเทศฟิลิปปินส์ ถือเป็นจังหวัดที่ใหม่ที่สุดของประเทศ ตั้งอยู่ในเขตดาเบา เกาะมินดาเนา เมืองศูนย์กลางคือเมืองมาลีตา ติดกับอ่าวดาเบาทางทิศตะวันออก และมีการใช้น่านน้ำทางทิศใต้ร่วมกับจังหวัดซูลาเวซีเหนือของประเทศอินโดนีเซีย การเลือกตั้งครั้งแรกภายในจังหวัด เกิดขึ้นเมื่อวันที่ 9 พฤษภาคม..

ใหม่!!: ประเทศฟิลิปปินส์และจังหวัดคันลูรังดาเบา · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดคันลูรังเนโกรส

ังหวัดคันลูรังเนโกรส (ฮีลีไกโนน: Negros Nakatundan; เซบัวโน: Kasadpang Negros; Kanlurang Negros) หรือ จังหวัดออกซิเดนทัลเนโกรส หรือ จังหวัดเนโกรสตะวันตก เป็นจังหวัดในเขตคันลูรังคาบีซายาอัน ประเทศฟิลิปปินส์ ครอบคลุมพื้นที่ทางตะวันตกเฉียงเหนือของเกาะเนโกรส ส่วนอีกครึ่งหนึ่งของเกาะเป็นจังหวัดซีลางังเนโกรส จังหวัดคันลูรังเนโกรสรู้จักกันในชื่อ "ชามน้ำตาลแห่งฟิลิปปินส์" เนื่องจากปริมาณน้ำตาลกว่าครึ่งหนึ่งของประเทศ มาจากจังหวัดนี้ คันลูรังเนโกรสอยู่ใกล้กับจังหวัดเนโกรสและจังหวัดอีโลอีโลทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือ ภาษาที่ใช้กันเป็นส่วนใหญ่คือภาษาฮีลีไกโนน ศาสนาหลักคือโรมันคาทอลิก เมืองศูนย์กลางคือบาโคโลด ซึ่งยังเป็นเมืองที่มีประชากรมากที่สุดในจังหวัด และปกครองอย่างเป็นอิสระจากรัฐบาลจังหวัด ในปี..

ใหม่!!: ประเทศฟิลิปปินส์และจังหวัดคันลูรังเนโกรส · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดคาบีเต

ังหวัดคาบีเต (Lalawigan ng Kabite; ชาบากาโน: Provincia de Cavite) เป็นจังหวัดในประเทศฟิลิปปินส์ ตั้งอยู่ทางชายฝั่งตอนใต้ของอ่าวมะนิลาในเขตคาลาบาร์โซน เกาะลูซอน อยู่ห่างจากมะนิลาไปทางทิศใต้ และเป็นหนึ่งในจังหวัดที่มีการพัฒนาอุตสาหกรรมอย่างก้าวกระโดด เนื่องจากอยู่ใกล้กับเมโทรมะนิลา ในปี..

ใหม่!!: ประเทศฟิลิปปินส์และจังหวัดคาบีเต · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดคากายัน

ังหวัดคากายัน (อีโลกาโน: Probinsia ti Cagayan, ฟิลิปีโน: Lalawigan ng Cagayan) เป็นจังหวัดในเขตลัมบักนางคากายันของประเทศฟิลิปปินส์ ตั้งอยู่ทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือของเกาะลูซอน และยังรวมพื้นที่ของหมู่เกาะบาบูยันทางทิศเหนือ จังหวัดคากายันอยู่ติดกับจังหวัดฮีลากังอีโลโคสและอาปาเยาทางทิศตะวันตก และติดกับจังหวัดกาลิงกาและอีซาเบลาทางทิศใต้ เมืองหลักคือตูเกกาเรา จังหวัดมีพื้นที่ 9,295.75 ตารางกิโลเมตร ซึ่งคิดเป็นร้อยละ 3 ของพื้นที่ทั้งประเทศ ทำให้เป็นจังหวัดที่ใหญ่เป็นอันดับที่สองของเขตลัมบักนางคากายัน สำหรับในปี..

ใหม่!!: ประเทศฟิลิปปินส์และจังหวัดคากายัน · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดคามีกิน

ังหวัดคามีกิน (เซบัวโน: Lalawigan sa Camiguin) เป็นจังหวัดที่เป็นเกาะในประเทศฟิลิปปินส์ ตั้งอยู่ในทะเลโบโฮล อยู่ห่างจากชายฝั่งมินดาเนา 10 กิโลเมตร ตั้งอยู่ในภูมิภาคฮีลากังมินดาเนา และเคยเป็นส่วนหนึ่งของจังหวัดซีลางังมีซามิส จังหวัดคามีกิน เป็นจังหวัดที่มีพื้นที่และประชากรน้อยเป็นอันดับที่ 2 ของประเทศ รองจากจังหวัดบาตาเน.

ใหม่!!: ประเทศฟิลิปปินส์และจังหวัดคามีกิน · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดคาลิงกา

ังหวัดคาลิงกา (อีโลกาโน: Probinsia ti Kalinga; Lalawigan ng Kalinga) เป็นจังหวัดที่ไม่มีทางออกสู่ทะเลในเขตบริหารคอร์ดิลเยรา เกาะลูซอน ประเทศฟิลิปปินส์ มีเมืองหลักคือตาบุก โดยจังหวัดคาลิงกาแยกตัวออกจากจังหวัดคาลิงกา-อาปาเยาในปี..

ใหม่!!: ประเทศฟิลิปปินส์และจังหวัดคาลิงกา · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดคาตันดัวเนส

ังหวัดคาตันดัวเนส เป็นเกาะจังหวัดในเขตบีโคล เกาะลูซอน ประเทศฟิลิปปินส์ และเป็นเกาะที่ใหญ่เป็นอันดับที่ 12 ของประเทศ มีเมืองหลักคือบีรัก ตั้งอยู่ทางทิศตะวันออกของจังหวัดตีโมกคามารีเนส โดยมีช่องแคบมาเคดาคั่นอยู่ ในปี..

ใหม่!!: ประเทศฟิลิปปินส์และจังหวัดคาตันดัวเนส · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดคาปิซ

ังหวัดคาปิซ (ฮีลีไกโนน: Kapuoran sang Capiz; Lalawigan ng Capiz) เป็นจังหวัดในเขตคันลูรังคาบีซายาอัน ประเทศฟิลิปปินส์ มีเมืองหลักคือโรซัส และตั้งอยู่ทางตะวันทางออกเฉียงเหนือของเกาะปาไนย์ มีอาณาเขตติดต่อกับจังหวัดอักลันทางทิศเหนือ จังหวัดอันตีเค‎ทางทิศตะวันตก และจังหวัดอีโลอีโล‎ทางทิศใต้ คาปิซมีพื้นที่ติดกับทะเลซีบูยันทางทิศเหนือ จังหวัดคาปิซเป็นแหล่งของหอยกระจกที่ใช้ในการตกแต่งอุปกรณ์ต่าง ๆ และยังได้รับฉายา "เมืองแห่งอาหารทะเลของฟิลิปปินส์" และติด 15 อันดับแรก สถานที่ที่คนไปเยี่ยมเยือนมากที่สุดในประเทศ คาปิซมีหินปะการังที่มีชื่อเสียง ตั้งอยู่ที่ โบสถ์ซันตาโมนีคา ในเมืองปาไนย์ และยังเป็นที่ตั้งของระฆังโบสถ์ที่ใหญ่ที่สุดในทวีปเอเชี.

ใหม่!!: ประเทศฟิลิปปินส์และจังหวัดคาปิซ · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดคาปูลูอังดีนากัต

ังหวัดคาปูลูอังดีนากัต (เซบัวโน: Mga Isla sa Dinagat; ซูรีเกา: Mga Puyo nan Dinagat) เป็นจังหวัดหมู่เกาะในเขตคารากา ประเทศฟิลิปปินส์ ตั้งอยู่ทางตอนใต้ของอ่าวเลเต มีอาณาเขตติดต่อกับจังหวัดเลเตทางทิศตะวันตก และติดกับเกาะมินดาเนาทางทิศใต้ เกาะที่สำคัญคือเกาะดีนากัต มีความยาวแนวเหนือ-ใต้ประมาณ จังหวัดนี้ถูกจัดตั้งขึ้นในปี..

ใหม่!!: ประเทศฟิลิปปินส์และจังหวัดคาปูลูอังดีนากัต · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดคีรีโน

ังหวัดคีรีโน (อีโลกาโน: Probinsia ti Quirino) เป็นจังหวัดที่ไม่มีทางออกสู่ทะเลในเขตลัมบักนางคากายันของประเทศฟิลิปปินส์ ตั้งชื่อตามเอลปิดิโอ กีริโน ประธานาธิบดีฟิลิปปินส์คนที่ 6 เมืองหลักคือคาบาร์โรกิส จังหวัดคีรีโน มีอาณาเขตติดต่อกับจังหวัดเอาโรรา‎ทางทิศตะวันออกเฉียงใต้, จังหวัดนูเวบาบิซคายาทางทิศตะวันตก และจังหวัดอีซาเบลาทางทิศเหนือ จังหวัดคีรีโนเคยเป็นส่วนหนึ่งของจังหวัดนูเวบาบิซคายา จนถึงปี..

ใหม่!!: ประเทศฟิลิปปินส์และจังหวัดคีรีโน · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดตาร์ลัก

ังหวัดตาร์ลัก (กาปัมปางัน: Lalawigan ning Tarlac; อีโลกาโน: Probinsia ti Tarlac; ปังกาซีนัน: Luyag na Tarlac; Lalawigan ng Tarlac) เป็นจังหวัดไม่มีทางออกสู่ทะเลในเขตกิตนางลูโซน ประเทศฟิลิปปินส์ มีอาณาเขตติดต่อกับจังหวัดปังกาซีนันทางทิศเหนือ, จังหวัดนูเวบาเอซีฮาทางทิศตะวันออก, จังหวัดซัมบาเลสทางทิศตะวันตก และจังหวัดปัมปังกาทางทิศใต้ ภายในจังหวัดแบ่งเขตการปกครองออกเป็น เขตรัฐสภา 3 เขต, เทศบาล 17 แห่ง และเมืองตาร์ลัก ซึ่งเป็นเมืองหลัก ตัวจังหวัดตั้งอยู่ใจกลางเกาะลูซอน มีพื้นที.

ใหม่!!: ประเทศฟิลิปปินส์และจังหวัดตาร์ลัก · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดตีโมกลาเนา

ตีโมกลาเนา (Timog Lanaw) หรือ ลาเนาเดลซูร์ (Lanao del Sur) เป็นจังหวัดหนึ่งของประเทศฟิลิปปินส์ ตั้งอยู่ในเขตปกครองตนเองในมินดาเนามุสลิมทางภาคใต้ของประเทศ จังหวัดนี้มีอาณาเขตจรดจังหวัดฮีลากังลาเนาทางทิศเหนือ จังหวัดบูคิดโนนทางทิศตะวันออก จังหวัดมากินดาเนาและจังหวัดโคตาบาโตทางทิศใต้ ส่วนทางทิศตะวันตกเฉียงใต้จรดอ่าวอิลลานาซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของอ่าวโมโร เมืองหลักของจังหวัดคือมาราวี ภายในพื้นที่จังหวัดตีโมกลาเนาเป็นที่ตั้งของทะเลสาบลาเนาซึ่งเป็นทะเลสาบที่ใหญ่ที่สุดในเกาะมินดาเนา บทร้องสวดมหากาพย์ดาราเงน ของกลุ่มชนมาราเนาในจังหวัดนี้ได้รับการขึ้นทะเบียนจากองค์การการศึกษา วิทยาศาสตร์ และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติให้เป็นมรดกทางวัฒนธรรมที่จับต้องไม่ได้ตั้งแต่ปี..

ใหม่!!: ประเทศฟิลิปปินส์และจังหวัดตีโมกลาเนา · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดตีโมกอากูซัน

ังหวัดตีโมกอากูซัน (บูตัวนอน: Probinsya hong Agusan del Sur; เซบัวโน: Habagatang Agusan) เป็นจังหวัดในเขตคารากา ประเทศฟิลิปปินส์ มีเมืองหลักชื่อว่าโปรสเปอรีดัด มีอาณาเขตติดต่อกับจังหวัดฮีลากังอากูซัน, ตีโมกซูรีเกา, ซีลางังดาเบา, ลัมบักนางโคมโปสเตลา, ฮีลากังดาเบา, บูคิดโนน และซีลางังมีซามิส ชื่อ "อากูซัน" เพี้ยนมาจากสำเนียงภาษาถิ่นที่ออกเสียงว่า อากาซัน แปลว่า "ดินแดนที่น้ำไหล" ซึ่งสื่อถึงแม่น้ำอากูซัน มีความยาว 250 กิโลเมตร และไหลลงสู่อ่าวบูตูอัน เป็นแม่น้ำที่ใหญ่เป็นอันดับที่สามของประเทศ และเป็นเส้นทางเดินเรือของชาวสเปนไปยังพื้นที่ตอนในของมินดาเนาตะวันออกเฉียงเหนือ.

ใหม่!!: ประเทศฟิลิปปินส์และจังหวัดตีโมกอากูซัน · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดตีโมกอีโลโคส

ังหวัดตีโมกอีโลโคส (อีโลกาโน: Makin-abagatan nga Ilocos) เป็นจังหวัดหนึ่งของเขตอีโลโคส เกาะลูซอน ประเทศฟิลิปปินส์ มีเมืองหลักคือเมืองวีกัน ซึ่งตั้งอยู่ปากแม่น้ำเมสตีโซ จังหวัดตีโมกอีโลโคสมีอาณาเขตติดต่อกับจังหวัดฮีลากังอีโลโคสและอาบราทางทิศเหนือ, ติดกับจังหวัดเมาน์เทนทางทิศตะวันออก, ติดกับจังหวัดลาอูนีโยนและเบงแกตทางทิศใต้ และติดกับทะเลจีนใต้ทางทิศตะวันตก จังหวัดตีโมกอีโลโคส ก่อตั้งโดยชาวสเปนนามว่า Juan de Salcedo ในปี..

ใหม่!!: ประเทศฟิลิปปินส์และจังหวัดตีโมกอีโลโคส · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดตีโมกดาเบา

ังหวัดตีโมกดาเบา (เซบัวโน: Habagatang Dabaw) เป็นจังหวัดในเขตดาเบา ประเทศฟิลิปปินส์ มีเมืองศูนย์กลางและเมืองใหญ่สุดคือดีโกส มีอาณาเขตติดกับนครอิสระดาเบาทางทิศเหนือ ติดกับจังหวัดคันลูรังดาเบาทางทิศใต้ ติดกับจังหวัดโคตาบาโต‎ ซุลตันคูดารัต ตีโมกโคตาบาโต และซารังกานีทางทิศตะวันตก ส่วนทางทิศตะวันออกติดกับอ่าวดาเบา ภูมิประเทศของจังหวัดประกอบด้วยหาดทราย เกาะ ทุ่งเกษตรกรรม ภูเขา หุบเขา ป่า และแม่น้ำลำธาร โดยภูเขาที่สูงที่สุดในจังหวัดคือภูเขาอาโป ซึ่งสูง 2,954 เมตรจากระดับน้ำทะเล.

ใหม่!!: ประเทศฟิลิปปินส์และจังหวัดตีโมกดาเบา · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดตีโมกคามารีเนส

ังหวัดตีโมกคามารีเนส (Timog Camarines) เป็นจังหวัดในเขตบีโคล เกาะลูซอน ประเทศฟิลิปปินส์ เมืองหลักคือปีลี มีอาณาเขตติดต่อกับจังหวัดฮีลากังคามารีเนสและเคโซนทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือ และติดกับจังหวัดอัลไบทางทิศใต้ ส่วนทางทิศตะวันออกมีเกาะจังหวัดคาตันดัวเนสในช่องแคบมาเคดา จังหวัดตีโมกคามารีเนสเป็นจังหวัดที่ใหญ่ที่สุดในเขตบีโคล ทั้งในแง่ของประชากรและพื้นที่ มีพื้นที่ครอบคลุมนครอิสระอย่างนากา ศูนย์กลางในด้านต่าง ๆ ของภูมิภาค และนครอีรีกา ศูนย์กลางของย่านรีนโคนาดา ภายในจังหวัดมีทะเลสาบบูฮี ซึ่งสามารถพบปลาขนาดเล็กอย่าง Sinarapan (Mistichthys luzonensis) จังหวัดนี้ยังมีการใช้ภาษาอีซาโรกอักตา ซึ่งเป็น 1 ใน 3 ภาษาที่ใกล้สูญพันธุ์ของประเท.

ใหม่!!: ประเทศฟิลิปปินส์และจังหวัดตีโมกคามารีเนส · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดตีโมกซัมบวงกา

ังหวัดตีโมกซัมบวงกา (Chavacano: Provincia de Zamboanga del Sur; เซบัวโน: Probinsya sa Zamboanga del Sur; Subanen: S'helatan Sembwangan/Sembwangan dapit Shelatan; Iranun: Pagabagatan a Diambangan) เป็นจังหวัดในเขตตังไวนางซัมบวงกา เกาะมินดาเนา ประเทศฟิลิปปินส์ เมืองศูนย์กลางคือปากาดีอัน ส่วนซัมบวงกาซิตีถือเป็นเมืองอิสระที่ปกครองแยกจากตัวจังหวัด ตีโมกซัมบวงกามีอาณาเขตติดต่อกับจังหวัดฮีลากังซัมบวงกาทางทิศเหนือ ติดกับจังหวัดซัมบวงกาซีบูไกทางทิศตะวันตก ติดกับจังหวัดคันลูรังมีซามิสทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือ ติดกับจังหวัดฮีลากังลาเนาทางทิศตะวันออก และติดกับอ่าวโมโรทางทิศใต้.

ใหม่!!: ประเทศฟิลิปปินส์และจังหวัดตีโมกซัมบวงกา · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดตีโมกซูรีเกา

ังหวัดตีโมกซูรีเกา (ซูรีเกา: Probinsya nan Surigao del Sur; เซบัวโน: Habagatang Surigao) เป็นจังหวัดในเขตคารากา ประเทศฟิลิปปินส์ มีเมืองหลักชื่อว่า ตันดัก จังหวัดนี้ตั้งอยู่ทางชายฝั่งตะวันออกของเกาะมินดาเนา ติดกับทะเลฟิลิปปินทางทิศตะวันออก มีร่องลึกฟิลิปปินส์ซึ่งเป็นหนึ่งในร่องลึกที่ลึกที่สุดในโลก ส่วนทางทิศตะวันตกมีแนวเทือกเขาดีวาตา ซึ่งเป็นพรมแดนธรรมชาติที่กั้นออกจากจังหวัดอื่น ๆ สถานที่ท่องเที่ยวที่สำคัญ ได้แก่ น้ำตกตีนุยอัน หรือ "น้ำตกไนแอการาน้อยแห่งฟิลิปปินส์" เป็นน้ำตกขนาดใหญ่สามชั้น สูง 55 เมตร กว้าง 95 เมตร.

ใหม่!!: ประเทศฟิลิปปินส์และจังหวัดตีโมกซูรีเกา · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดตีโมกโคตาบาโต

ังหวัดตีโมกโคตาบาโต (ฮิลิกายนอน: Bagatnan nga Kotabato; เซบัวโน: Habagatang Kotabato; Maguindanaon: Kuta Wato Saut) เป็นจังหวัดในเขตโซกซาร์เจน ประเทศฟิลิปปินส์ มีเมืองศูนย์กลางคือโคโรนาดัล มีอาณาเขตติดต่อกับจังหวัดซุลตันคูดารัตทางทิศเหนือและตะวันตก ติดกับจังหวัดซารังกานีทางทิศใต้และตะวันออกเฉียงเหนือ ติดกับจังหวัดตีโมกดาเบาทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือ และติดกับอ่าวซารังกานีทางทิศตะวันออกเฉียงใต้ เฮเนรัลซันโตส ซึ่งตั้งอยู่ริมอ่าวซารังกานี เป็นเมืองที่มีประชากรมากที่สุดในภูมิภาค แต่ปกครองอย่างเป็นอิสระจากตัวจังหวัด จังหวัดตีโมกโคตาบาโตเคยครอบคลุมพื้นที่ของจังหวัดซารังกานีจนกระทั่งถูกแยกตัวออกมาในปี..

ใหม่!!: ประเทศฟิลิปปินส์และจังหวัดตีโมกโคตาบาโต · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดตีโมกเลเต

ังหวัดตีโมกเลเต (เซบัวโน: Habagatang Leyte, Timog Leyte) เป็นจังหวัดในเขตซีลางังคาบีซายาอัน ประเทศฟิลิปปินส์ เมืองหลักคือมาอาซีน ตีโมกเลเตเคยเป็นส่วนหนึ่งของจังหวัดเลเตก่อนที่จะได้รับการจัดตั้งจังหวัดใหม่ ตีโมกเลเตมีพื้นที่ครอบคลุมถึงเกาะลีมาซาวา สถานที่ซึ่งเชื่อว่ากันว่าเป็นแหล่งกำเนิดโรมันคาทอลิกในฟิลิปปินส์ จังหวัดนี้มีประชากรน้อยเป็นอันดับที่สองของภูมิภาค โดยมีประชากร 421,750 คนในปี..

ใหม่!!: ประเทศฟิลิปปินส์และจังหวัดตีโมกเลเต · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดซอร์โซโกน

ังหวัดซอร์โซโกน (บีโคล: Probinsya kan Sorsogon; Lalawigan ng Sorsogon) เป็นจังหวัดในเขตบีโคล ประเทศฟิลิปปินส์ และเป็นจังหวัดใต้สุดของเกาะลูซอน แบ่งการปกครองออกเป็น 14 เทศบาลและ 1 นคร เมืองหลักคือซอร์โซโกนซิตี มีอาณาเขตติดต่อกับจังหวัดอัลไบทางทิศเหนือ ซอร์โซโกนอยู่ทางตอนปลายของคาบสมุทรบีโคล และอยู่ใกล้กับเกาะซามาร์และเกาะตี.

ใหม่!!: ประเทศฟิลิปปินส์และจังหวัดซอร์โซโกน · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดซัมบวงกาซีบูไก

ังหวัดซัมบวงกาซีบูไก (เซบัวโน: Lalawigan sa Zamboanga Sibugay, Chavacano: Provincia de Zamboanga Sibugay) เป็นจังหวัดในเขตตังไวนางซัมบวงกา เกาะมินดาเนา ประเทศฟิลิปปินส์ เมืองศูนย์กลางคืออีปีล มีอาณาเขตติดต่อกับจังหวัดฮีลากังซัมบวงกาทางทิศเหนือ ติดกับจังหวัดตีโมกซัมบวงกาทางทิศตะวันออก และติดกับซัมบวงกาซิตีทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ ส่วนทางทิศใต้ติดกับอ่าวซีบูเกย์ ซัมบวงกาซีบูไกเป็นจังหวัดที่ถูกจัดตั้งเป็นลำดับที่ 79 ของประเทศ โดยถูกแยกออกจากจังหวัดตีโมกซัมบวงกาในปี..

ใหม่!!: ประเทศฟิลิปปินส์และจังหวัดซัมบวงกาซีบูไก · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดซัมบาเลส

ังหวัดซัมบาเลส (ตากาล็อก: Lalawigan ng Zambales; ซัมบัล: Probinsya nin Zambales; กาปัมปางัน: Lalawigan ning Zambales; ปังกาซีนัน: Luyag na Zambales) เป็นจังหวัดในเขตกิตนางลูโซน เกาะลูซอน ประเทศฟิลิปปินส์ เมืองหลักคืออีบา มีอาณาเขตติดต่อกับจังหวัดปังกาซีนันทางทิศเหนือและตะวันออกเฉียงเหนือ, จังหวัดตาร์ลักทางทิศตะวันออก, จังหวัดปัมปังกาทางทิศตะวันออกเฉียงใต้, จังหวัดบาตาอันทางทิศใต้ และทะเลจีนใต้ทางทิศตะวันตก จังหวัดมีพื้นที่ (รวมนครอิสระโอลองกาโป) ซึ่งมากเป็นอันดับที่ 2 ของเขตกิตนางลูโซน รองจากจังหวัดนูเวบาเอซีฮา จังหวัดซัมบาเลสมีชื่อเสียงในด้านมะม่วง ซึ่งเพาะปลูกในช่วงเดือนมกราคม-เมษายน จังหวัดซัมบาเลสไม่มีสนามบินพาณิชย์ แต่สนามบินที่ใกล้ที่สุดคือท่าอากาศยานนานาชาติคลาร์กในจังหวัดปัมปังกา ส่วนท่าอากาศยานนานาชาติซูบิกเบย์ ซึ่งตั้งอยู่ที่จุดซูบิ เขตเมืองท่าปลอดภาษีซูบิกเบย์ ไม่มีการใช้งานเชิงพาณิชย์แล้ว.

ใหม่!!: ประเทศฟิลิปปินส์และจังหวัดซัมบาเลส · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดซามาร์

ังหวัดซามาร์ หรือชื่อเดิม จังหวัดคันลูรังซามาร์ เป็นจังหวัดในเขตซีลางังคาบีซายาอัน ประเทศฟิลิปปินส์ เมืองหลักคือคัตบาโลกัน มีอาณาเขตติดต่อกับจังหวัดฮีลากังซามาร์, จังหวัดซีลางังซามาร์, จังหวัดเลเต และอ่าวเลเต ซึ่งจังหวัดซามาร์สามารถเชื่อมต่อกับจังหวัดเลเตผ่านทางสะพานซันฮัวนิโค ในปี..

ใหม่!!: ประเทศฟิลิปปินส์และจังหวัดซามาร์ · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดซารังกานี

ังหวัดซารังกานี (เซบัวโน: Lalawigan sa Sarangani) เป็นจังหวัดในเขตโซกซาร์เจน ประเทศฟิลิปปินส์ เมืองศูนย์กลางคืออาลาเบล ตัวจังหวัดมีแนวชายฝั่งติดกับอ่าวซารังกานีและทะเลเซเลบีส ความยาว 230 กิโลเมตร ซารังกานีเป็นจังหวัดที่อยู่ใต้สุดของมินดาเนา และเป็นส่วนหนึ่งของย่านการพัฒนาโซกซาร์เจน โดยมีถนนลาดยางอย่างดีเชื่อมต่อกับท่าอากาศยานนานาชาติและท่าเรือใหญ่ของนครเฮเนรัลซันโตส จังหวัดซารังกานีถูกแยกออกเป็นสองส่วน แบ่งโดยอ่าวซารังกานีและเฮเนรัลซันโตส เคยเป็นส่วนหนึ่งของจังหวัดตีโมกโคตาบาโตจนถึง 1992.

ใหม่!!: ประเทศฟิลิปปินส์และจังหวัดซารังกานี · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดซุลตันคูดารัต

ังหวัดซุลตันคูดารัต (ฮิลิกายนอน: Kapuoran sang Sultan Kudarat; กินาไรอา: Probinsya kang Sultan Kudarat; Maguindanaon: Dalapa sa Sultan Kudarat) เป็นจังหวัดในเขตโซกซาร์เจน ประเทศฟิลิปปินส์ เมืองศูนย์กลางคืออีซูลัน และเมืองศูนย์กลางทางพาณิชยกรรมมีชื่อว่าตาคูโรง จังหวัดซุลตันคูดารัตเคยเป็นส่วนหนึ่งของจักรวรรดิจังหวัดโคตาบาโต จนกระทั่งถูกแยกตัวออกมากเมื่อวันที่ 22 พฤศจิกายน..

ใหม่!!: ประเทศฟิลิปปินส์และจังหวัดซุลตันคูดารัต · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดซูลู

ซูลู (ฟิลิปีโนและSulu) หรือ ซูก (เตาซุก: Sūg) เป็นจังหวัดเกาะปกครองตนเองของประเทศฟิลิปปินส์ ตั้งอยู่ในเขตปกครองตนเองในมุสลิมมินดาเนา (ARMM) เมืองหลวง คือ โฮโล และกินพื้นที่กลุ่มเกาะกลางของกลุ่มเกาะซูลู ระหว่างบาซีลันกับตาวี-ตาวี เป็นที่ตั้งของรัฐสุลต่านซูลูในประวัติศาสตร.

ใหม่!!: ประเทศฟิลิปปินส์และจังหวัดซูลู · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดซีลางังมินโดโร

ังหวัดซีลางังมินโดโร (Silangang Mindoro, Mindoro Oriental) เป็นจังหวัดบนเกาะมินโดโร เขตมีมาโรปา ประเทศฟิลิปปินส์ อยู่ห่างจากมะนิลาไปทางตะวันตกเฉียงใต้ มีอาณาเขตติดต่อกับช่องแคบเกาะเวิร์ดและจังหวัดบาตังกัสทางทิศเหนือ ติดกับจังหวัดมารินดูเค, เกาะแมสเตรเดอคัมโป, ช่องแคบตาบลาส และจังหวัดโรมโบลนทางทิศตะวันออก ติดกับเกาะเซมีราราและเกาะคาลูยา จังหวัดอันตีเค ทางทิศใต้ และติดกับจังหวัดคันลูรังมินโดโรทางทิศตะวันตก เมืองศูนย์กลางประจำจังหวัดคือคาลาปัน ซีลางังมินโดโรเป็นหนึ่งในจุดหมายปลายทางของการท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ ซึ่งในปี..

ใหม่!!: ประเทศฟิลิปปินส์และจังหวัดซีลางังมินโดโร · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดซีลางังมีซามิส

ังหวัดซีลางังมีซามิส (เซบัวโน: Sidlakang Misamis) เป็นจังหวัดในเขตฮีลากังมินดาเนา ประเทศฟิลิปปินส์ มีเมืองศูนย์กลางคือคากายันเดอโอโร ซึ่งปกครองอย่างเป็นอิสระจากตัวจังหวัด จังหวัดซีลางังมีซามิสเป็นจังหวัดริมชายฝั่งทะเล ติดกับอ่าว 2 แห่งทางทิศเหนือ ได้แก่ อ่าวมาคาฮาลาร์ และอ่าวกิงกูกพื้นที่ทางตอนกลางของจังหวัดมีแม่น้ำหลายสาย ซึ่งมีจุดเริ่มต้นจากพื้นที่สูงในจังหวัดบูคิดโนน แม่น้ำสำคัญ ได้แก่ แม่น้ำคากายัน.

ใหม่!!: ประเทศฟิลิปปินส์และจังหวัดซีลางังมีซามิส · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดซีลางังดาเบา

ังหวัดซีลางังดาเบา (เซบัวโน: Sidlakang Dabaw) เป็นจังหวัดในเขตดาเบา ประเทศฟิลิปปินส์ มีเมืองศูนย์กลางคือมาตี เป็นจังหวัดที่อยู่ทางทิศตะวันออกสุดของประเทศ โดยจุดตะวันออกสุดคือแหลมปูซัน ตั้งอยู่ที่เทศบาลคารากา แหลมนี้ติดกับทะเลฟิลิปปินในมหาสมุทรแปซิฟิก จังหวัดซีลางังดาเบามีชื่อเสียงสำหรับแหล่งเพาะปลูกมะพร้าวรายใหญ่ของประเทศ จนได้รับสมญาว่า เมืองแห่งมะพร้าวของฟิลิปปิน.

ใหม่!!: ประเทศฟิลิปปินส์และจังหวัดซีลางังดาเบา · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดซีลางังซามาร์

ังหวัดซีลางังซามาร์ (วาไร: Sinirangan Samar; เซบัวโน: Sidlakang Samar; Silangang Samar) เป็นจังหวัดในเขตซีลางังคาบีซายาอัน ประเทศฟิลิปปินส์ ครอบคลุมพื้นที่ทางตะวันออกของเกาะซามาร์ เมืองศูนย์กลางคือโบโรงกัน มีอาณาเขตติดต่อกับจังหวัดฮีลากังซามาร์ทางทิศเหนือ และติดกับจังหวัดซามาร์ทางทิศตะวันตก ติดกับทะเลฟิลิปปินทางทิศตะวันออก และติดกับอ่าวเลเตทางทิศใต้ จึงทำให้เป็นจังหวัดที่ประสบพายุไต้ฝุ่นอยู่บ่อยครั้ง.

ใหม่!!: ประเทศฟิลิปปินส์และจังหวัดซีลางังซามาร์ · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดซีลางังเนโกรส

ังหวัดซีลางังเนโกรส (เซบัวโน: Sidlakang Negros; ฮีลีไกโนน: Negros Sidlangan; Silangang Negros) หรือ โอริเอนตัลเนโกรส หรือ อีสเทิร์นเนโกรส เป็นจังหวัดในเขตกิตนางคาบีซายาอัน ประเทศฟิลิปปินส์ ครอบคลุมพื้นที่ทางตะวันออกเฉียงใต้ของเกาะเนโกรส โดยมีจังหวัดคันลูรังเนโกรสครอบคลุมพื้นที่ส่วนที่เหลือของเกาะ จังหวัดนี้ยังรวมพื้นที่เกาะอาโป จุดดำน้ำยอดนิยมของนักท่องเที่ยว ซีลางังเนโกรสอยู่ใกล้กับจังหวัดเซบูทางทิศตะวันออก โดยมีช่องแคบตาโนนคั่น และอยู่ใกล้กับจังหวัดซีคีฮอร์ทางทิศตะวันออกเฉียงใต้ ภาษาหลักที่ใช้พูดกันคือภาษาเซบัวโน และศาสนาหลักคือคริสต์โรมันคาทอลิก เมืองหลักและเมืองที่มีประชากรมากที่สุดคือดูมากูเวเต จังหวัดนี้มีประชากร 1,354,995 คน มากเป็นอันดับที่ 2 ของภูมิภาครองจากเซบู มากเป็นอันดับที่ 5 ของวิซายัส และอันดับที่ 19 ของประเท.

ใหม่!!: ประเทศฟิลิปปินส์และจังหวัดซีลางังเนโกรส · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดซีคีฮอร์

ังหวัดซีคีฮอร์ (เซบัวโน: Lalawigan sa Siquijor, Lalawigan ng Siquijor) เป็นจังหวัดระดับที่ 5 ในภูมิภาคกิตนางคาบีซายาอัน ประเทศฟิลิปปินส์ มีเมืองหลักชื่อเดียวกันกับชื่อจังหวัด อยู่ใกล้กับเกาะเซบูทางทิศเหนือ เกาะเนโกรสทางทิศตะวันตก เกาะโบโฮลทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือ และใกล้กับเกาะมินดาเนาทางทิศใต้ ในยุคอาณานิคม ชาวสเปนเคยเรียกเกาะแห่งนี้ว่า เกาะแห่งไฟ จังหวัดแห่งนี้มีชื่อเสียงในด้านธรรมเนียมที่แปลกประหลาด ทำให้มีนักท่องเที่ยวมาเยี่ยมเยือนที่นี่มากขึ้นทุกปี.

ใหม่!!: ประเทศฟิลิปปินส์และจังหวัดซีคีฮอร์ · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดปัมปังกา

ังหวัดปัมปังกา (กาปัมปางัน: Lalawigan ning Pampanga; Lalawigan ng Pampanga) เป็นจังหวัดในเขตกิตนางลูโซน ประเทศฟิลิปปินส์ ตั้งอยู่บนชายฝั่งทางตอนเหนือของอ่าวมะนิลา ปัมปังกามีอาณาเขตติดต่อกับจังหวัดตาร์ลักทางทิศเหนือ, จังหวัดตาร์ลักทาง ทิศตะวันออกเฉียงเหนือ, จังหวัดบูลาคันทางทิศตะวันออก, อ่าวมะนิลาทางทิศใต้, จังหวัดบาตาอันทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ และจังหวัดซัมบาเลสทางทิศตะวันตก มีเมืองหลักคือ ซันเฟร์นันโด และมีนครอิสระคือ แอนเจลิส จังหวัดปัมปังกา มีท่าอากาศยานนานาชาติคลาร์ก ซึ่งอยู่ในเขตเมืองท่าปลอดภาษีคลาร์ก ห่างจากเมืองหลักของจังหวัดไปทางทิศเหนือ จังหวัดนี้ยังเป็นที่ตั้งของฐานทัพกองทัพอากาศฟิลิปปิน 2 แห่ง ได้แก่ ฐานทัพอากาศบาซา และฐานทัพอากาศคลาร์ก ในปี..

ใหม่!!: ประเทศฟิลิปปินส์และจังหวัดปัมปังกา · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดปังกาซีนัน

ังหวัดปังกาซีนัน (ปังกาซีนัน: Luyag na Pangasinan; อีโลกาโน: Probinsia ti Pangasinan; Lalawigan ng Pangasinan) เป็นจังหวัดหนึ่งของประเทศฟิลิปปินส์ มีเมืองหลักคือลิงกาเยน ตั้งอยู่ในพื้นที่ทางตะวันตกของเกาะลูซอน ติดกับอ่าวลิงกาเยนและทะเลจีนใต้ จังหวัดมีพื้นที่ สำหรับในปี..

ใหม่!!: ประเทศฟิลิปปินส์และจังหวัดปังกาซีนัน · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดปาลาวัน

ปาลาวัน หรือชื่ออย่างเป็นทางการคือ จังหวัดปาลาวัน เป็นเขตการปกครองระดับจังหวัดในประเทศฟิลิปปินส์ ตั้งชื่อตามเกาะที่ใหญ่ที่สุดในจังหวัดคือเกาะปาลาวัน จังหวัดนี้ตั้งอยู่ในภาคมิมาโรปาทางตะวันตกเฉียงใต้ของเกาะลูซอน ถือได้ว่าเป็นจังหวัดที่ใหญ่ที่สุดในฟิลิปปินส์ในแง่ของพื้นที่ ในจังหวัดปาลาวันได้แบ่งเขตการปกครองออกเป็น 23 เทศบาลและ 1 เมืองพิเศษ โดยมีศูนย์กลางอยู่ที่เมืองปวยร์โตปรินเซซา ซึ่งมีสถานะเป็นเมืองพิเศษ นอกจากนี้ในจังหวัดปาลาวันยังเป็นที่ตั้งของมรดกโลกสองแห่ง คือ อุทยานธรรมชาติปะการังตุบบาตาฮา (ค.ศ. 1993) และอุทยานแห่งชาติแม่น้ำใต้ดินปวยร์โตปรินเซซา (ค.ศ. 1999) กลุ่มเกาะปาลาวันมีลักษณะทอดยาวจากเกาะมินโดโรทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือสู่เกาะบอร์เนียวทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ และคั่นกลางระหว่างทะเลจีนใต้กับทะเลซูลู จังหวัดปาลาวันมีความยาวราว 450 กิโลเมตร และกว้าง 50 กิโลเมตร.

ใหม่!!: ประเทศฟิลิปปินส์และจังหวัดปาลาวัน · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดนูเวบาบิซคายา

ังหวัดนูเวบาบิซคายา (อีโลกาโน: Probinsia ti Nueva Vizcaya) เป็นจังหวัดในเขตลัมบักนางคากายันของประเทศฟิลิปปินส์ เมืองหลักคือบาโยมโบง อาณาเขตติดต่อกับจังหวัดเบงเกตทางทิศตะวันตก, ติดกับจังหวัดอิฟูเกาทางทิศเหนือ, ติดกับจังหวัดอีซาเบลาทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือ, ติดกับจังหวัดคีรีโนทางทิศตะวันออก, ติดกับจังหวัดเอาโรรา‎ทางทิศตะวันออกเฉียงใต้, ติดกับจังหวัดนูเวบาเอซีฮาทางทิศใต้ และติดกับจังหวัดปังกาซีนันทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ เป็นส่วนหนึ่งของพื้นที่เขตเทือกเขาคอร์ดิลเลรัส จังหวัดนูเวบาบิซคายามีพื้นที่ 3,975.67 ตารางกิโลเมตร และเป็นจังหวัดใต้สุดของเขตลัมบักนางคากายัน อยู่ห่างจากเมโทรมะนิลาไปทางทิศเหนือประมาณ สามารถเดินทางได้โดยถนนลัมบักนางคากายัน (ทางหลวงมาฮาร์ลิกา).

ใหม่!!: ประเทศฟิลิปปินส์และจังหวัดนูเวบาบิซคายา · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดนูเวบาเอซีฮา

ังหวัดนูเวบาเอซีฮา (ตากาล็อก: Lalawigan ng Nueva Ecija; อีโลกาโน: Probinsia ti Nueva Ecija; กาปัมปางัน: Lalawigan ning Nueva Ecija; ปังกาซีนัน: Luyag na Nueva Ecija) (034900000; '''ISO''': PH-NUE) เป็นจังหวัดที่ไม่มีทางออกสู่ทะเล ตั้งอยู่ในเขตกิตนางลูโซน ประเทศฟิลิปปินส์ เมืองหลักคือปาลายัน อาณาเขตติดต่อกับจังหวัดบูลาคัน, ปัมปังกา, ตาร์ลัก, ปังกาซีนัน, นูเวบาบิซคายา และเอาโรรา โดยจังหวัดนูเวบาเอซีฮามีแหล่งปลูกข้าวที่ใหญ่ที่สุดในประเทศ จึงได้รับสมญาว่า ชามข้าวแห่งฟิลิปปิน.

ใหม่!!: ประเทศฟิลิปปินส์และจังหวัดนูเวบาเอซีฮา · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดโบโฮล

ังหวัดโบโฮล เป็นจังหวัดเกาะในเขตกิตนางคาบีซายาอัน ประเทศฟิลิปปินส์ ประกอบด้วยเกาะใหญ่ และเกาะบริวารขนาดเล็กอีก 75 เกาะ เมืองหลักคือตักบีลารัน มีพื้นที่ และมีชายฝั่งทะเลยาว โบโฮลเป็นเกาะที่ใหญ่เป็นอันดับที่ 10 ของฟิลิปปินส์ Retrieved 15 November 2006.

ใหม่!!: ประเทศฟิลิปปินส์และจังหวัดโบโฮล · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดโรมโบลน

ังหวัดโรมโบลน เป็นจังหวัดเกาะในเขตมีมาโรปา ประเทศฟิลิปปินส์ ประกอบด้วยเกาะหลักอย่างเกาะตาบลาส ซึ่งเป็นเกาะที่ใหญ่ที่สุดและครอบคลุมเทศบาลทั้งเก้าแห่ง และเกาะซีบูยัน ซึ่งเป็นที่ตั้งของเทศบาลโรมโบลน ศูนย์กลางของจังหวัด จังหวัดนี้ตั้งอยู่ทางทิศใต้ของจังหวัดมารินดูเคและเคโซน อยู่ทางทิศตะวันออกของจังหวัดซีลางังมินโดโร ทิศเหนือของจังหวัดอักลันและคาปิซ และทิศตะวันตกของจังหวัดมัสบาเต ในปี..

ใหม่!!: ประเทศฟิลิปปินส์และจังหวัดโรมโบลน · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดโคตาบาโต

ังหวัดโคตาบาโต หรือ ฮีลากังโคตาบาโต (ฮิลิกายนอน: Amihanon nga Kotabato; อีโลกาโน: Makin-amianan nga Cotabato; เซบัวโน: Amihanang Kotabato; Maguindanaoan: Kuta Wato Nort) เป็นจังหวัดที่ไม่มีทางออกสู่ทะเล ตั้งอยู่ในเขตโซกซาร์เจน ประเทศฟิลิปปินส์ เมืองศูนย์กลางคือคีดาปาวัน จังหวัดนี้ยังเป็นแหล่งเพาะปลูกยางพาราที่สำคัญอีกด้ว.

ใหม่!!: ประเทศฟิลิปปินส์และจังหวัดโคตาบาโต · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดเบงเก็ต

ังหวัดเบงเก็ต (อีบาโลอิ: Probinsya ne Benguet; อีโลกาโน: Probinsia ti Benguet; ปังกาซีนัน: Luyag na Benguet; Lalawigan ng Benguet) เป็นจังหวัดที่ไม่มีทางออกสู่ทะเลและอยู่ทางใต้สุดของเขตบริหารคอร์ดิลเยรา เกาะลูซอน ประเทศฟิลิปปินส์ เมืองหลักคือลาตรินิแดด พื้นที่สูงของจังหวัดนี้ได้รับการขนานนามว่าเป็น ชามสลัดแห่งฟิลิปปินส์ เนื่องจากมีการปลูกผักบนที่สูงเป็นจำนวนมาก ภายในตัวจังหวัดมีนครที่มีความหนาแน่นแห่งหนึ่ง ชื่อว่า บาเกียว ซึ่งปกครองอย่างเป็นอิสระจากจังหวั.

ใหม่!!: ประเทศฟิลิปปินส์และจังหวัดเบงเก็ต · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดเลเต

ังหวัดเลเต (หรือ จังหวัดฮีลากังเลเต; วาไร: Norte san/Amihanan nga Leyte; เซบัวโน: Amihanang Leyte; Hilagang Leyte) เป็นจังหวัดในเขตซีลางังคาบีซายาอัน ประเทศฟิลิปปินส์ ครอบคลุมพื้นที่ทางตอนเหนือของเกาะเลเต เมืองหลักตักโลบัน จังหวัดเลเตทางอยู่ทางทิศตะวันตกของเกาะซามาร์ ทิศเหนือของจังหวัดตีโมกเลเต และทิศใต้ของจังหวัดบีลีรัน จังหวัดเลเตเป็นที่รู้จักกันจากยุทธนาวีที่อ่าวเลย์เต ซึ่งเกิดขึ้นในสงครามโลกครั้งที่สอง และในวันที่ 8 พฤศจิกายน..

ใหม่!!: ประเทศฟิลิปปินส์และจังหวัดเลเต · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดเอาโรรา

ังหวัดเอาโรรา (Lalawigan ng Aurora; อีโลกาโน: Probinsia ti Aurora) เป็นจังหวัดในเขตกิตนางลูโซนของประเทศฟิลิปปินส์ อยู่ติดกับทะเลฟิลิปปิน เมืองหลักคือบาเลร์ มีอาณาเขตติดต่อกับจังหวัดเคโซน, บูลาคัน, นูเวบาเอซีฮา, นูเวบาบิซคายา, คีรีโน และอีซาเบลา ก่อนปี..

ใหม่!!: ประเทศฟิลิปปินส์และจังหวัดเอาโรรา · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดเคโซน

ังหวัดเคโซน เป็นจังหวัดในเขตคาลาบาร์โซน ประเทศฟิลิปปินส์ โดยจังหวัดตั้งชื่อตาม มานูเอล เอเล. เกซอน ประธานาธิบดีคนที่สองของฟิลิปปินส์ เมืองหลักประจำจังหวัดคือลูเซนา ซึ่งเป็นเมืองอิสระที่มีประชากรมากที่สุดในจังหวัด เคโซนตั้งอยู่ทางทิศตะวันออกเฉียงใต้ของเมโทรมะนิลา และมีอาณาเขตติดต่อกับจังหวัดเอาโรราทางทิศเหนือ, จังหวัดบูลาคัน, รีซัล, ลากูนา และบาตังกัส ทางทิศตะวันตก และติดกับจังหวัดตีโมกคามารีเนสและฮีลากังคามารีเนสทางทิศตะวันออก พื้นที่บางส่วนของจังหวัดเคโซนตั้งอยู่บนคอคอด ซึ่งเชื่อมต่อคาบสมุทรบีโคลกับพื้นที่หลักของเกาะลูซอน นอกจากนี้ยังครอบคลุมหมู่เกาะโปลีลโลในทะเลฟิลิปปิน.

ใหม่!!: ประเทศฟิลิปปินส์และจังหวัดเคโซน · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดเซบู

ังหวัดเซบู (เซบัวโน: Lalawigan sa Sugbu; Lalawigan ng Cebu) เป็นจังหวัดในเขตกิตนางคาบีซายาอัน ประเทศฟิลิปปินส์ ประกอบด้วยเกาะหลักและเกาะบริวารอีก 167 เกาะ เมืองหลักคือ เซบูซิตี ซึ่งเป็นเมืองที่เก่าแก่ที่สุดและเป็นเมืองหลวงแห่งแรกของฟิลิปปินส์ จังหวัดนี้มีท่าอากาศยานนานาชาติมักตัน–เซบู ตั้งอยู่บนเกาะมักตัน เป็นท่าอากาศยานที่มีผู้โดยสารมาเป็นอันดับที่ 4 ของประเทศ จังหวัดเซบูเป็นหนึ่งในจังหวัดที่มีการพัฒนาดีที่สุดของประเทศ และเมืองหลักอย่างเซบูซิตี ก็เป็นศูนย์กลางด้านพาณิชยกรรม การค้า การศึกษา และอุตสาหกรรมของเกาะวิซายัส นอกจากนี้ยังโดดเด่นในด้านการขนส่งทางทะเล การผลิตเฟอร์นิเจอร์ และการท่องเที่ยว.

ใหม่!!: ประเทศฟิลิปปินส์และจังหวัดเซบู · ดูเพิ่มเติม »

ธนาคารพัฒนาเอเชีย

นาคารพัฒนาเอเชีย (Asian Development Bank; ย่อ: ADB) เป็นสถาบันการเงินที่มีจุดมุ่งหมายเพื่อสนับสนุนระบบเศรษฐกิจ และการพัฒนาของประเทศแถบเอเชียและแปซิฟิก ผ่านการให้เงินกู้ และความสนับสนุนด้านเทคนิค ก่อตั้งขึ้นในปี พ.ศ. 2509 โดยความช่วยเหลือของสหประชาชาติ มีประเทศเข้าร่วมก่อตั้ง 32 ประเทศ จนถึงปัจจุบัน (2 กุมภาพันธ์ 2550) มีประเทศสมาชิกทั้งสิ้น 67 ประเทศ เป็น 48 ประเทศในภูมิภาค และ 19 ประเทศจากพื้นที่อื่น ธนาคารพัฒนาเอเชียมีสำนักงานใหญ่อยู่ที่กรุงมะนิลา ประเทศฟิลิปปินส์ ในแต่ละปีได้ให้ความช่วยเหลือด้านเงินกู้เป็นเงินประมาณ 7 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ โดยแต่ละโครงการมีมูลค่าประมาณโครงการละ 100 ล้านดอลลาร์สหรัฐ ใช้เงินทุนจากการลงทุนพันธบัตรในตลาดการเงินต่าง.

ใหม่!!: ประเทศฟิลิปปินส์และธนาคารพัฒนาเอเชีย · ดูเพิ่มเติม »

ธนาคารโลก

นาคารโลก (World Bank) หรือเรียกว่า ธนาคารระหว่างประเทศเพื่อการบูรณะและวิวัฒนาการ (International Bank for Reconstruction and Development; IBRD) เป็นองค์กรระหว่างประเทศที่ได้จัดตั้งขึ้นมาหลังสงครามโลกครั้งที่สอง โดยประเทศมหาอำนาจในทวีปอเมริกาเหนือและทวีปยุโรป โดยมีจุดมุ่งหมายเพื่อช่วยให้ประเทศสมาชิกได้ทำการฟื้นฟูประเทศหลังสงครามโลกครั้งที่สอง โดยมุ่งเน้นการลงทุนเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตและเร่งรัดการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ เป็นองค์กรอยู่ในสังกัดขององค์การสหประชาชาติ มีสำนักงานใหญ่ตั้งที่กรุงวอชิงตัน ดีซี ประเทศสหรัฐอเมริกา ปัจจุบันมีประเทศสมาชิกทั้งหมด 188 ประเทศ เงินทุนของธนาคารโลกได้มาจากการจำหน่ายพันธบัตรในตลาดการเงินสำคัญของโลก ค่าบำรุงจากประเทศสมาชิก และเงินค่าหุ้นของประเทศสมาชิก.

ใหม่!!: ประเทศฟิลิปปินส์และธนาคารโลก · ดูเพิ่มเติม »

ทวีปยุโรป

ทวีปยุโรป (อ่านว่า "ยุ-โหฺรบ") มีฐานะเป็นทวีปทั้งในแง่ประวัติศาสตร์และวัฒนธรรม ในทางภูมิศาสตร์ ยุโรปเป็นอนุทวีปที่อยู่ทางด้านตะวันตกของมหาทวีปยูเรเชีย ยุโรปมีพรมแดนทางเหนือติดกับมหาสมุทรอาร์กติก ทางตะวันตกติดกับมหาสมุทรแอตแลนติก ทางใต้ติดกับทะเลเมดิเตอร์เรเนียนและทะเลดำ ด้านตะวันออกติดกับเทือกเขายูรัลและทะเลแคสเปียน "Europe" (pp. 68-9); "Asia" (pp. 90-1): "A commonly accepted division between Asia and Europe...

ใหม่!!: ประเทศฟิลิปปินส์และทวีปยุโรป · ดูเพิ่มเติม »

ทวีปอเมริกา

แผนที่ทวีปอเมริกาโดย Jonghe. Ca. พ.ศ. 2313 แผนที่ทวีปอเมริกา ทวีปอเมริกา (Americas)america.

ใหม่!!: ประเทศฟิลิปปินส์และทวีปอเมริกา · ดูเพิ่มเติม »

ทวีปเอเชีย

แผนที่ดาวเทียมแสดงส่วนประกอบทางภูมิศาสตร์ของทวีปเอเชีย เอเชีย (Asia; Ασία อาเซีย) เป็นทวีปใหญ่และมีประชากรมากที่สุดในโลก พื้นที่ส่วนมากตั้งอยู่ในซีกโลกเหนือและตะวันออก ทวีปเอเชียตั้งอยู่ในทวีปยูเรเชียรวมกับทวีปยุโรป และอยู่ในทวีปแอฟโฟร-ยูเรเชียร่วมกับยุโรปและแอฟริกา ทวีปเอเชียมีพื้นที่ทั้งหมดประมาณ 44,579,000 ตารางกิโลเมตร คิดเป็น 30% ของแผ่นดินทั่วโลกหรือคิดเป็น 8.7% ของผิวโลกทั้งหมด ทวีปเอเชียเป็นที่อยู่อาศัยของมนุษย์มานานและเป็นแหล่งกำเนินอารยธรรมแรก ๆ ของโลกหลายแห่ง เอเชียไม่ได้เพียงแค่มีขนานใหญ่และมีประชากรเยอะแต่ยังมีสถานที่ ๆ ตั้งถิ่นฐานหนาแน่นและมีขนาดใหญ่เช่นเดียวกับที่ยังมีบริเวณที่ประชากรตั้งถิ่นฐานเบาบางด้วย ทั้งนี้ทวีปเอเชียมีประชากรราว 4.5 พันล้านคน คิดเป็น 60% ของประชากรโลก โดยทั้วไปทางตะวันออกของทวีปติดกับมหาสมุทรแปซิฟิก ทางใต้ติดมหาสมุทรอินเดียและทางเหนือติดกับมหาสมุทรอาร์กติก บริเวณชายแดนระหว่างเอเชียและยุโรปมีประวัติศาสตร์และโครงสร้างวัฒนธรรมมากมายเพราะไม่มีการแยกกันด้วยลักษณะทางภูมิศาสตร์ที่ชัดเจน จึงมีการโยกย้ายติดต่อกันในช่วงสมัยคลาสสิก ทำให้บริเวณนี้แสดงให้เห็นความแตกต่างระหว่างวัฒนธรรม ภาษา ความแตกต่างทางชาติพันธุ์ของตะวันออกกับตะวันตกและแบ่งจากกันอย่างเด่นชัดกว่าการขีดเส้นแบ่ง เขตแดนที่เด่นชัดของเอเชียคือตั้งแต่ฝั่งตะวันออกของคลองสุเอซ, แม่น้ำยูรัล, เทือกเขายูรัล, ช่องแคบตุรกี, ทางใต้ของเทือกเขาคอเคซัส, ทะเลดำและทะเลแคสเปียน "Europe" (pp. 68–69); "Asia" (pp. 90–91): "A commonly accepted division between Asia and Europe is formed by the Ural Mountains, Ural River, Caspian Sea, Caucasus Mountains, and the Black Sea with its outlets, the Bosporus and Dardanelles." จีนและอินเดียเป็นประเทศที่มีเศรษฐกิจใหญ่ที่สุดในโลกตั้งแต่คริสต์ศักราชที่ 1 ถึง 1800 จีนเป็นประเทศที่มีอำนาจทางเศรษฐกิจที่สำคัญและดึงดูดผู้คนจำนวนมากให้ไปทางตะวันออก และตำนาน ความมั่งคั่งและความรุ่งเรืองของวัฒนธรรมโบราณของอินเดียกลายเป็นสัญลักษณ์ของเอเชีย สิ่งเหล่านี้จึงดึงดูดการค้า การสำรวจและการล่าอาณานิคมของชาวยุโรป การค้นพบเส้นทางข้ามมหาสมุทรแอตแลนติกโดยบังเอิญจากยุโรปไปอเมริกาของโคลัมบัสในขณะที่กำลังค้นหาเส้นทางไปยังอินเดียแสดงให้เห็นความดึงดูดใจเหล่านี้ เส้นทางสายไหมกลายเป็นเส้นทางการค้าหลักของฝั่งตะวันออกกับฝั่งตะวันตกในขณะที่ช่องแคบมะละกากลายเป็นเส้นทางเดินเรือที่สำคัญ ช่วงศตวรรษที่ 20 ความแข็งแรงของประชากรเอเชียและเศรษฐกิจ (โดยเฉพาะเอเชียตะวันออก) เติบโตเป็นอย่างมากแต่การเติบโตของประชากรโดยรวมลดลงเรื่อย ๆ เอเชียเป็นแหล่งกำเนิดของศาสนาหลักบนโลกหลายศาสนา อาทิศาสนาคริสต์, ศาสนาอิสลาม, ศาสนายูดาห์, ศาสนาฮินดู, ศาสนาพุทธ, ลัทธิขงจื๊อ, ลัทธิเต๋า, ศาสนาเชน, ศาสนาซิกข์, ศาสนาโซโรอัสเตอร์และศาสนาอื่น ๆ อีกมากมาย เนื่องเอเชียจากมีขนาดใหญ่และมีความหลากหลายทางแนวคิด ภูมินามวิทยาของเอเชียมีตั้งแต่สมัยคลาสสิกซึ่งคาดว่าน่าจะตั้งตามลักษณะผู้คนมากกว่าลักษณะทางกายภาพ เอเชียมีความแตกต่างกันอย่างมากทั้งด้านภูมิภาค กลุ่มชาติพันธุ์ วัฒนธรรม, สภาพแวดล้อม, เศรษฐศาสตร์, ประวัติศาสตร์และระบบรัฐบาล นอกจากนี้ยังมีสภาพอากาศที่แตกต่างกันอย่างมากเช่น พื้นเขตร้อนหรือทะเลทรายในตะวันออกกลาง, ภูมิอากาศแบบอบอุ่นทางตะวันออก ภูมิอากาศแบบกึ่งอารกติกทางตอนกลางของทวีปและภูมิอากาศแบบขั่วโลกในไซบีเรี.

ใหม่!!: ประเทศฟิลิปปินส์และทวีปเอเชีย · ดูเพิ่มเติม »

ทองคำ

ทองคำ (gold) คือธาตุเคมีที่มีหมายเลขอะตอม 79 และสัญลักษณ์คือ Au (มาจากภาษาละตินว่า aurum) จัดอยู่ในกลุ่มธาตุโลหะมีสกุลชนิดหนึ่ง ทองคำเป็นธาตุโลหะทรานซิชันสีเหลืองทองมันวาวเนื้ออ่อนนุ่ม สามารถยืดและตีเป็นแผ่นได้ ทองคำไม่ทำปฏิกิริยากับสารเคมีส่วนใหญ่ ทองคำใช้เป็นทุนสำรองทางการเงินของหลายประเทศ ใช้ประโยชน์เป็นเครื่องประดับ งานทันตกรรม และอุปกรณ์อิเล็กทรอนิก.

ใหม่!!: ประเทศฟิลิปปินส์และทองคำ · ดูเพิ่มเติม »

ทองแดง

ทองแดง (Copper) คือธาตุที่มีเลขอะตอม 29 และสัญลักษณ์คือ Cu ทองแดงอยู่ในตารางธาตุหมู่ 29 เป็นที่ทราบกันว่ามนุษย์ใช้ประโยชน์จากทองแดงมาไม่น้อยกว่า 10,000 ปี พบหลักฐานว่ามนุษย์สามารถหลอมสกัดทองแดงให้บริสุทธิ์ได้เมื่อประมาณ 5000 ปีก่อนคริสตกาล ซึ่งเป็นช่วงก่อนที่มนุษย์จะรู้จักกับทองคำ โดยมนุษย์รู้จักทองคำ เมื่อประมาณ 4000 ปีก่อนคริสตกาล.

ใหม่!!: ประเทศฟิลิปปินส์และทองแดง · ดูเพิ่มเติม »

ทะเลฟิลิปปิน

ทะเลฟิลิปปิน ทะเลฟิลิปปิน (Dagat Pilipinas; Philippine Sea) ตั้งอยู่ทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศฟิลิปปินส์ เป็นส่วนหนึ่งของมหาสมุทรแปซิฟิกเหนือ มีร่องลึกได้แก่ ร่องลึกฟิลิปปินเทรนซ์และมาเรียนาเทรนซ์ ที่เป็นจุดลึกที่สุดในโลก.

ใหม่!!: ประเทศฟิลิปปินส์และทะเลฟิลิปปิน · ดูเพิ่มเติม »

ทะเลจีนใต้

แผนที่ทะเลจีนใต้ ทะเลจีนใต้ (South China Sea) เป็นทะเลปิดที่เป็นส่วนหนึ่งของมหาสมุทรแปซิฟิก ครอบคลุมอาณาบริเวณตั้งแต่ประเทศสิงคโปร์ไปจนถึงช่องแคบไต้หวัน รวมทั้งอ่าวตังเกี๋ยและอ่าวไทย มีเนื้อที่ประมาณ 3,500,000 ตารางกิโลเมตร พื้นที่ดังกล่าวมีความสำคัญเพราะมีเส้นทางขนส่งทางเรือผ่านคิดเป็นหนึ่งในสามของโลก นอกจากนี้ยังเชื่อกันว่า ใต้พื้นทะเลมีน้ำมันและแก๊สธรรมชาติสำรองขนาดใหญ่ด้วย อาณาเขตของทะเลจีนใต้ อยู่ทางใต้ของจีนแผ่นดินใหญ่และเกาะไต้หวัน, ตะวันตกของฟิลิปปินส์, ตะวันตกเฉียงเหนือของรัฐซาบะฮ์และรัฐซาราวะก์ของมาเลเซียและบรูไน, เหนือของอินโดนีเซีย, ตะวันออกเฉียงเหนือของคาบสมุทรมลายูและสิงคโปร์ และตะวันออกของเวียดนาม หมู่เกาะทะเลจีนใต้ ซึ่งส่วนใหญ่เป็นกลุ่มเกาะ มีจำนวนหลายร้อยเกาะ ทะเลและเกาะที่ไม่มีผู้คนอยู่อาศัยส่วนใหญ่นี้เป็นหัวข้อพิพาทอธิปไตยโดยหลายประเทศ ข้อพิพาทเหล่านี้ยังได้สะท้อนในชื่ออันหลากหลายที่ตั้งให้เกาะและทะเล.

ใหม่!!: ประเทศฟิลิปปินส์และทะเลจีนใต้ · ดูเพิ่มเติม »

ทะเลซูลู

ทะเลซูลู ทะเลซูลู (Sulu Sea) ตั้งอยู่ทางตะวันตกของประเทศฟิลิปปินส์ ทิศตะวันออกติดกับหมู่เกาะวีซายันและเกาะมินดาเนา ทิศตะวันตกติดกับรัฐซาบะฮ์ ประเทศมาเลเซีย ทิศเหนือติดกับเกาะปาลาวัน หมวดหมู่:มหาสมุทรแปซิฟิก หมวดหมู่:ทะเลในประเทศฟิลิปปินส์ หมวดหมู่:ทะเลในประเทศมาเลเซีย หมวดหมู่:แหล่งน้ำในประเทศมาเลเซีย.

ใหม่!!: ประเทศฟิลิปปินส์และทะเลซูลู · ดูเพิ่มเติม »

ทะเลเซเลบีส

ทะเลเซเลบีส (Celebes Sea) หรือ ทะเลซูลาเวซี (Laut Sulawesi) เป็นทะเลในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เป็นส่วนหนึ่งของมหาสมุทรแปซิฟิก ทิศเหนือจดกลุ่มเกาะซูลูและเกาะมินดาเนาของฟิลิปปินส์ ทิศตะวันตกจรดกับหมู่เกาะซังกีเอของประเทศอินโดนีเซีย ทิศใต้ติดต่อกับเกาะซูลาเวซี (เซเลบีส) และทิศตะวันตกจรดกับเกาะบอร์เนียว เชื่อมต่อกับทะเลชวาโดยช่องแคบมากัสซาร์ทางด้านตะวันตกเฉียงใต้ ทะเลมีเนื้อที่ 110,000 ตร.ไมล์ (280,000 กม2) มีความลึกสูงสุด 20,300 ฟุต (6,200 ม.) หมวดหมู่:ทะเลในมหาสมุทรแปซิฟิก หมวดหมู่:ทะเลในประเทศฟิลิปปินส์ หมวดหมู่:ทะเลในประเทศอินโดนีเซีย หมวดหมู่:แหล่งน้ำในประเทศมาเลเซีย.

ใหม่!!: ประเทศฟิลิปปินส์และทะเลเซเลบีส · ดูเพิ่มเติม »

ทาร์เซียร์ฟิลิปปิน

ทาร์เซียร์ฟิลิปปิน (Philippine tarsier; เซบัวโน: mawmag; mamag; เดิมเคยใช้ชื่อสกุลว่า Carlito) เป็นสัตว์เลี้ยงด้วยนมขนาดเล็ก จำพวกไพรเมตชนิดหนึ่ง ในกลุ่มทาร์เซียร์ ทาร์เซียร์ฟิลิปปิน เป็นสัตว์ที่พบได้ในหมู่เกาะฟิลิปปิน ได้แก่ เกาะโบฮอล, เกาะมินดาเนา, เกาะเลย์เต และเกาะซามาร์ เป็นต้น ตัวเต็มวัยมีความยาวลำตัวเพียง 10 เซนติเมตรกว่า น้ำหนักเพียง 120 กรัมเท่านั้น จัดเป็นไพรเมตที่มีขนาดเล็กที่สุดในโลกชนิดหนึ่ง ทาร์เซียร์ฟิลิปปิน อาศัยอยู่ในป่าดิบ ออกหากินในเวลากลางคืน โดยจะกินเนื้อสัตว์เป็นอาหารเท่านั้น เช่น แมลง เป็นอาหารหลัก รวมถึงสัตว์เลื้อยคลานตัวเล็ก ๆ เช่น จิ้งจก, กิ้งก่าบิน เป็นต้น ทาร์เซียร์ฟิลิปปินโดยปกติจะอาศัยอยู่ตามลำพังหรือเป็นฝูงเล็ก ๆ ในเวลากลางวันจะหลบซ่อนตัวพักผ่อนในโพรงไม้หรือตามซอกไม้ตามต้นไม้ใหญ่ แต่สามารถกระโดดได้อย่างว่องไวเหมือนกบในเวลากลางคืน อันเป็นเวลาหากิน ซึ่งทาร์เซียร์ฟิลิปปินจะร้องส่งเสียงเพื่อเป็นการสื่อสารกันเอง ซึ่งจากการศึกษาพบว่า เป็นสัตว์ที่ส่งเสียงออกมาในย่านความถี่อัลตร้าสูงมากถึง 2,000 เฮิรตซ์ หรือ 20 กิโลเฮิรตซ์ อันเป็นย่านความถี่ที่หูมนุษย์ไม่ได้ยิน แต่โดยปกติแล้วเสียงร้องของทาร์เซียร์ร์ฟิลิปปินส่วนใหญ่มีความถี่อยู่ที่ระดับ 70 เฮิร์ตซ์ โดยมีช่วงต่ำสุดและสูงสุด 67-79 กิโลเฮิรตซ์ นอกจากนี้แล้วยังมีความเป็นไปได้ว่า อาจใช้ระบบเอคโคโลเคชั่นในการหาตำแหน่งของอาหารเหมือนค้างคาวด้วยหรือไม่ เนื่องจากแม้ทาร์เซียร์ฟิลิปปินจะมีดวงตาที่กลมโต แต่ทว่าไม่มีทาพีตัม ลูซิเดี่ยม เหมือนสัตว์หากินตอนกลางคืนจำพวกอื่น ๆ ที่จะช่วยรวบรวมแสงในที่มืดทำให้มองเห็นได้ดียิ่งขึ้น สถานภาพปัจจุบันของทาร์เซียร์ฟิลิปปินอยู่ในภาวะถูกคุกคาม อันเกิดจากการถูกทำลายถิ่นที่อยู่ แต่ปัจจุบันทางการฟิลิปปินส์ได้ทำการอนุรักษ์ และใช้เป็นตัวประชาสัมพันธ์ในเรื่องการท่องเที่ยวThe Real Gremlin, "Nick Baker's Weird Creatures".

ใหม่!!: ประเทศฟิลิปปินส์และทาร์เซียร์ฟิลิปปิน · ดูเพิ่มเติม »

ทุนสำรองระหว่างประเทศ

ำว่า ทุนสำรองระหว่างประเทศ (Forex reserves) ได้พัฒนามาจากคำว่า เงินสำรองจากการแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศ (Foreign exchange reserves) ซึ่งในอดีตหมายถึงเงินตราต่างประเทศที่ไม่ได้ถูกแลกกลับคืน เกิดขึ้นจากการที่เมื่อบุคคลต่างประเทศต้องการนำเงินตราต่างประเทศมาแลกเป็นเงินตราท้องถิ่น ธนาคารกลางท้องถิ่นก็จะพิมพ์เงินตราท้องถิ่นออกมาเพื่อให้บุคคลนั้นแลกไปใช้ลงทุนหรือซื้อสินค้าและบริการในท้องถิ่น เมื่อนำเงินตราท้องถิ่นไปใช้จ่ายแล้วก็มักไม่แลกคืนหรือแลกคืนน้อยกว่าที่แลกมา ดังนั้นเงินตราต่างประเทศที่อยู่ในธนาคารกลางท้องถิ่นก็สภาพกลายเป็นทุนสำรองไป เช่นในสมัยรัชกาลที่ 4 ของไทยเมื่อมีเสรีการค้า ต่างชาติได้นำเงินตราต่างประเทศจำนวนมากเข้ามาแลกเป็นเงินบาท รัฐบาลสยามต้องผลิตเหรียญกษาปณ์และธนบัตรจำนวนมากเพื่อเพียงพอให้ต่างชาติแลก ต่างชาติเหล่านี้ก็นำเงินบาทไปซื้อสินค้าต่างๆในสยามเพื่อนำออกไปขายต่อในประเทศที่สาม ทำให้ท้องพระคลังมีเงินตราต่างประเทศเพิ่มขึ้นอย่างมากจากการที่ต่างชาติไม่ได้แลกกลับไป เงินตราต่างประเทศเหล่านี้ก็ตกเป็นของแผ่นดิน (เนื่องจากยุคนั้นยังไม่มีระบบธนาคารกลาง) ในปัจจุบัน คลังสำรองของธนาคารกลางมิได้มีแต่เงินตราต่างประเทศเท่านั้น แต่ยังมีสินทรัพย์อื่นๆที่ธนาคารกลางได้เจียดเงินสำรองส่วนหนึ่งไปซื้อไว้เพื่อให้งอกเงย เช่น พันธบัตร, ทองคำ, หุ้น, สิทธิพิเศษในการถอนเงิน เป็นต้น จากการที่คลังสำรองประกอบด้วยสินทรัพย์หลายชนิดนี้เอง จึงมีการใช้คำศัพท์ที่มีความตรงตัวยิ่งขึ้น โดยเปลี่ยนจากคำว่า "เงินสำรอง" เป็น "ทุนสำรอง" ซึ่งหมายถึงเป็นสินทรัพย์ทุกประเภทของธนาคารกลางที่อยู่ในหลายสกุลเงิน โดยมากมักเป็นสกุล ดอลลาร์สหรัฐ รวมไปถึง ยูโร, ปอนด์สเตอร์ลิง และ เยน ทั้งนี้เพื่อใช้เป็นหลักประกันให้กับค่าเงินของประเทศเจ้าของทุนสำรองนั้นนั้น ทุนสำรองระหว่างประเทศ มีหน้าที่สำคัญในระบบเศรษฐกิจ คือ สร้างความเชื่อมั่นให้กับประเทศ และรองรับความเสี่ยงจากภาคต่างประเทศ โดยสามารถนำไปใช้แทรกแซงเพื่อดูแลค่าเงินในภาวะที่ตลาดการเงินมีความผันผวนสูง และการเปลี่ยนแปลงอย่างรุนแรงของค่าเงินอาจส่งผลกระทบต่อภาคเศรษฐกิจจริงได้ ดังนั้นหลักการบริหารทุนสำรองระหว่างประเทศ เพื่อให้บรรลุหน้าที่หลักข้างต้นจึงต้องให้ความสำคัญกับการรักษามูลค่าของทุนสำรองระหว่างประเทศ และการดำรงสภาพคล่องสูง เพื่อให้สามารถนำมาใช้ได้ทันการณ์เมื่อมีการไหลออกของเงินทุนต่างประเทศอย่างฉับพลัน หรือในยามคับขันที่ตลาดโลกผันผวนมาก ทำให้การนำทุนสำรองระหว่างประเทศ ไปลงทุนต้องเป็นการลงทุนในสินทรัพย์ที่มี ความเสี่ยงต่ำและมีสภาพคล่องของตลาดสูง ซึ่งสินทรัพย์เหล่านั้นมีอัตราผลตอบแทนที่ต่ำ สะท้อนความเสี่ยงที่ต่ำของการลงทุน ในบางประเทศได้มีการเปลี่ยนทุนสำรองระหว่างประเทศให้ไปอยู่ในการดูแลของกองทุนความมั่นคงแห่งชาติ (Sovereign Wealth Funds) เพื่อนำทุนสำรองดังกล่าวที่มีอยู่มากเกินระดับความต้องการของรัฐบาล ไปลงทุนต่อเพื่อหาผลประโยชน์หรือลงทุนโครงสร้างพื้นฐานเพิ่มเติม สำหรับประเทศไทย ธนาคารแห่งประเทศไทย เป็นผู้ดูแลและบริหารจัดการทุนสำรองระหว่างประเทศ รูปแบบการบริหารทุนสำรองของธนาคารแห่งประเทศไทยจะเป็นรูปแบบดั้งเดิมคือเก็บในรูปของสินทรัพย์ที่มั่นคง และมีสภาพคล่องสูง ส่วนใหญ่เป็นตราสารหนี้ทางการเงินในตลาดเงินที่ให้ผลตอบแทนคงที่ หรือในรูปของเงินฝากธนาคารพาณิชย์ เป็นสินทรัพย์ระยะสั้น ส่วนทางด้านการจัดตั้งกองทุนความมั่นคงแห่งชาตินั้น ปัจจุบันอยู่ระหว่างการศึกษาของกระทรวงการคลัง.

ใหม่!!: ประเทศฟิลิปปินส์และทุนสำรองระหว่างประเทศ · ดูเพิ่มเติม »

ดอลลาร์สหรัฐ

100 ดอลลาร์สหรัฐ ธนบัตรที่มีค่ามากสุดในสหรัฐในปัจจุบัน ดอลลาร์สหรัฐ (United States dollar; ในเอกสารเก่าอาจพบการใช้ เหรียญสหรัฐ) เป็นสกุลเงินของประเทศสหรัฐอเมริกา และยังใช้เป็นสกุลเงินสำรองในหลายประเทศทั่วโลก รหัสสากลคือ ISO 4217 ใช้ตัวย่อว่า USD และสัญลักษณ์ $ โดย 1 ดอลลาร์สหรัฐมีค่าเท่ากับเกือบ 34 บาท (baht) สหรัฐอเมริกาเป็นประเทศหนึ่งที่ใช้หน่วยเงิน ดอลลาร์ เป็นสกุลเงินประจำชาติ และยังมีประเทศอื่นที่มีเงินดอลลาร์เช่นกัน แต่ใช้ชื่อเรียกอื่น เช่น ดอลลาร์สิงคโปร์ ดอลลาร์ฮ่องกง ดอลลาร์ไต้หวัน นอกจากนี้ ดอลลาร์สหรัฐ ยังเป็นสกุลเงินหลักในหลายประเทศ และในบางประเทศถึงแม้ว่าดอลลาร์สหรัฐไม่ใช่สกุลเงินหลัก แต่ยังมีการยอมรับในการใช้จ่ายสินค้าทั่วไป ชื่อเล่นที่ชาวอเมริกันเรียก 1 เซนต์ ว่า "เพนนี" (penny), 5 เซนต์ ว่า "นิกเกิล" (nickel), 10 เซนต์ ว่า "ไดม์" (dime), 25 เซนต์ ว่า "ควอเตอร์" (quarter), 1 ดอลลาร์สหรัฐ ว่า "บั๊ก (ภาษาสแลง, ภาษาพูด)" (buck) และเรียก หนึ่งพันดอลลาร์สหรัฐ ว่า แกรนด์ (grand).

ใหม่!!: ประเทศฟิลิปปินส์และดอลลาร์สหรัฐ · ดูเพิ่มเติม »

ความร่วมมือทางเศรษฐกิจเอเชีย-แปซิฟิก

วามร่วมมือทางเศรษฐกิจเอเชีย-แปซิฟิก (เอเปก) (Asia-Pacific Economic Cooperation: APEC) เป็นกลุ่มความร่วมมือทางเศรษฐกิจ ระหว่างเขตเศรษฐกิจในภูมิภาคเอเชีย-แปซิฟิก เอเปคก่อตั้งขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 2532 โดยมีจุดประสงค์ มุ่งเน้นความเจริญเติบโตและการพัฒนาที่ยั่งยืนของภูมิภาค และผลักดันให้การเจรจาการค้าหลายฝ่าย รอบอุรุกวัย ประสบผลสำเร็จ ขณะเดียวกัน เอเปคก็ต้องการถ่วงดุลอำนาจทางเศรษฐกิจของกลุ่มเศรษฐกิจต่าง ๆ โดยเฉพาะกลุ่มสหภาพยุโรป อีกด้วย สิทธิประโยชน์ที่สมาชิกเอเปคให้แก่กัน จะมีผลต่อผู้ที่มิได้เป็นสมาชิกเอเปคด้ว.

ใหม่!!: ประเทศฟิลิปปินส์และความร่วมมือทางเศรษฐกิจเอเชีย-แปซิฟิก · ดูเพิ่มเติม »

งูเห่า

งูเห่า (Cobras) เป็นงูพิษขนาดกลางที่อยู่ในสกุล Naja ในวงศ์งูพิษเขี้ยวหน้า (Elapidae) วงศ์ย่อย Elapinae ซึ่งเป็นสกุลของงูพิษที่อาจเรียกได้ว่าเป็นที่รู้จักกันดีที่สุดอย่างหนึ่ง.

ใหม่!!: ประเทศฟิลิปปินส์และงูเห่า · ดูเพิ่มเติม »

ประธานาธิบดี

ประธานาธิบดี (president) คือตำแหน่งประมุขหรือผู้นำของประเทศที่ปกครองโดยระบอบสาธารณรัฐ ซึ่งประธานาธิบดีจะได้รับตำแหน่งจากการเลือกตั้งในระบอบประชาธิปไตย ปัจจุบันมีหลายประเทศที่มีประธานาธิบดีเป็นประม.

ใหม่!!: ประเทศฟิลิปปินส์และประธานาธิบดี · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศญี่ปุ่น

ประเทศญี่ปุ่น (ชื่ออย่างเป็นทางการ) เป็นรัฐเอกราชหมู่เกาะในเอเชียตะวันออก ตั้งอยู่ในมหาสมุทรแปซิฟิกนอกฝั่งตะวันออกของแผ่นดินใหญ่เอเชีย ทางตะวันตกติดกับคาบสมุทรเกาหลีและประเทศจีน โดยมีทะเลญี่ปุ่นกั้น ส่วนทางทิศเหนือติดกับประเทศรัสเซีย มีทะเลโอค็อตสค์เป็นเส้นแบ่งแดน ตัวอักษรคันจิของชื่อญี่ปุ่นแปลว่า "ถิ่นกำเนิดของดวงอาทิตย์" จึงทำให้มักได้ชื่อว่า "ดินแดนแห่งอาทิตย์อุทัย" ประเทศญี่ปุ่นเป็นกลุ่มเกาะกรวยภูเขาไฟสลับชั้นซึ่งมีเกาะประมาณ 6,852 เกาะ เกาะใหญ่สุดคือ เกาะฮนชู ฮกไกโด คีวชู และชิโกกุ ซึ่งคิดเป็นพื้นที่แผ่นดินประมาณร้อยละ 97 ของประเทศญี่ปุ่น และมักเรียกว่าเป็นหมู่เกาะเหย้า (home islands) ประเทศแบ่งเป็น 47 จังหวัดใน 8 ภูมิภาค โดยมีฮกไกโดเป็นจังหวัดเหนือสุด และโอกินาวะเป็นจังหวัดใต้สุด ประเทศญี่ปุ่นมีประชากร 127 ล้านคน เป็นประเทศที่มีประชากรมากที่สุดเป็นอันดับ 10 ของโลก ชาวญี่ปุ่นเป็นร้อยละ 98.5 ของประชากรทั้งหมดของประเทศญี่ปุ่น ประมาณ 9.1 ล้านคนอาศัยอยู่ในกรุงโตเกียว เมืองหลวงของประเทศ การวิจัยทางโบราณคดีระบุว่ามีมนุษย์อาศัยในญี่ปุ่นปัจจุบันครั้งแรกตั้งแต่ยุคหินเก่า การกล่าวถึงญี่ปุ่นเป็นลายลักษณ์อักษรครั้งแรกปรากฏในบันทึกของราชสำนักจีนตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 1 ญี่ปุ่นได้รับอิทธิพลจากจีนในหลายด้าน เช่นภาษา การปกครองและวัฒนธรรม แต่ขณะเดียวกันก็มีการปรับเปลี่ยนให้เป็นเอกลักษณ์ของตนเอง จึงทำให้ญี่ปุ่นมีวัฒนธรรมที่โดดเด่นมาจนปัจจุบัน อีกหลายศตวรรษต่อมา ญี่ปุ่นก็รับเอาเทคโนโลยีตะวันตกและนำมาพัฒนาประเทศจนกลายเป็นประเทศที่ก้าวหน้าและมีอิทธิพลมากที่สุดในเอเชียตะวันออก หลังจากแพ้สงครามโลกครั้งที่สอง ญี่ปุ่นก็มีการเปลี่ยนแปลงทางการปกครองโดยการใช้รัฐธรรมนูญใหม่ใน..

ใหม่!!: ประเทศฟิลิปปินส์และประเทศญี่ปุ่น · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศฝรั่งเศส

ฝรั่งเศส (France ฟร็องส์) หรือชื่อทางการว่า สาธารณรัฐฝรั่งเศส (République française) เป็นประเทศที่มีศูนย์กลางตั้งอยู่ในภูมิภาคยุโรปตะวันตก ทั้งยังประกอบไปด้วยเกาะและดินแดนอื่น ๆ ในต่างทวีป ประเทศฝรั่งเศสแผ่นดินใหญ่ทอดตัวตั้งแต่ทะเลเมดิเตอร์เรเนียนจนถึงช่องแคบอังกฤษและทะเลเหนือ และจากแม่น้ำไรน์จนถึงมหาสมุทรแอตแลนติก ชาวฝรั่งเศสมักเรียกแผ่นดินใหญ่ว่า หกเหลี่ยม (L'Hexagone) เนื่องจากรูปทรงทางกายภาพของประเทศ ประเทศฝรั่งเศสปกครองด้วยระบอบกึ่งประธานาธิบดี โดยยึดอุดมการณ์จากปฏิญญาว่าด้วยสิทธิของมนุษย์และของพลเมือง ประเทศฝรั่งเศสมีพรมแดนติดกับประเทศเบลเยียม ลักเซมเบิร์ก เยอรมนี สวิตเซอร์แลนด์ อิตาลี โมนาโก อันดอร์ราและสเปน และเนื่องจากประเทศฝรั่งเศสมีดินแดนโพ้นทะเลไว้ในครอบครอง ทำให้มีอาณาเขตติดกับประเทศบราซิล ซูรินาม (ติดกับเฟรนช์เกียนา) และซินต์มาร์เตินของเนเธอร์แลนด์ (ติดกับแซ็ง-มาร์แต็ง) อีกด้วย นอกจากนั้นประเทศฝรั่งเศสยังเชื่อมกับสหราชอาณาจักรทางอุโมงค์ช่องแคบอังกฤษอีกด้วย ประเทศฝรั่งเศสเคยเป็นหนึ่งในประเทศมหาอำนาจของโลกตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 17 เป็นต้นมา ในคริสต์ศตวรรษที่ 18 และ 19 จักรวรรดิฝรั่งเศสเป็นหนึ่งในประเทศจักรวรรดินิยมที่มีอาณานิคมในครอบครองมากที่สุดในโลก แผ่อาณาเขตตั้งแต่แอฟริกาตะวันตกจนถึงเอเชียอาคเนย์ ซึ่งเห็นได้ชัดจากอิทธิพลทางวัฒนธรรม ภาษาและการเมืองการปกครองของดินแดนนั้น ๆ ประเทศฝรั่งเศสถูกจัดให้เป็นประเทศที่พัฒนาแล้วและมีเศรษฐกิจใหญ่เป็นอันดับที่ 6 ของโลก ประเทศฝรั่งเศสยังเป็นประเทศที่มีนักท่องเที่ยวมากที่สุดในโลกอีกด้วย โดยมีนักท่องเที่ยวชาวต่างชาติกว่า 82 ล้านคนต่อปี ประเทศฝรั่งเศสเป็นประเทศผู้ก่อตั้งสหภาพยุโรปและมีพื้นที่ใหญ่ที่สุดในกลุ่มประเทศอีกด้วย ประเทศฝรั่งเศสยังเป็นประเทศผู้ก่อตั้งสหประชาชาติ เป็นสมาชิกประชาคมผู้ใช้ภาษาฝรั่งเศสโลก จีแปด นาโต้และสหภาพละติน ประเทศฝรั่งเศสยังเป็นสมาชิกถาวรของคณะมนตรีความมั่นคงแห่งสหประชาชาติและเป็นมหาอำนาจนิวเคลียร์ที่มีหัวรบนิวเคลียร์กว่า 360 หัวรบและเตาปฏิกรณ์นิวเคลียร์ 59 แห่ง.

ใหม่!!: ประเทศฟิลิปปินส์และประเทศฝรั่งเศส · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศมาเลเซีย

มาเลเซีย (มาเลเซีย: Malaysia) เป็นประเทศสหพันธรัฐราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญ ตั้งอยู่ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ประกอบด้วยรัฐ 13 รัฐ และดินแดนสหพันธ์ 3 ดินแดน และมีเนื้อที่รวม 330,803 ตารางกิโลเมตร (127,720 ตารางไมล์) โดยมีทะเลจีนใต้แบ่งพื้นที่ออกเป็น 2 ส่วนซึ่งมีขนาดใกล้เคียงกัน ได้แก่ มาเลเซียตะวันตกและมาเลเซียตะวันออก มาเลเซียตะวันตกมีพรมแดนทางบกและทางทะเลร่วมกับไทย และมีพรมแดนทางทะเลร่วมกับสิงคโปร์ เวียดนาม และอินโดนีเซีย มาเลเซียตะวันออกมีพรมแดนทางบกและทางทะเลร่วมกับบรูไนและอินโดนีเซีย และมีพรมแดนทางทะเลกับร่วมฟิลิปปินส์และเวียดนาม เมืองหลวงของประเทศคือกัวลาลัมเปอร์ ในขณะที่ปูตราจายาเป็นที่ตั้งของรัฐบาลกลาง ด้วยประชากรจำนวนกว่า 30 ล้านคน มาเลเซียจึงเป็นประเทศที่มีประชากรมากที่สุดเป็นอันดับที่ 42 ของโลก ตันจุงปีไอ (Tanjung Piai) จุดใต้สุดของแผ่นดินใหญ่ทวีปยูเรเชียอยู่ในมาเลเซีย มาเลเซียเป็นประเทศในเขตร้อน และเป็นหนึ่งใน 17 ประเทศของโลกที่มีความหลากหลายทางชีวภาพอย่างยิ่ง (megadiverse country) โดยมีชนิดพันธุ์เฉพาะถิ่นเป็นจำนวนมาก มาเลเซียมีต้นกำเนิดมาจากอาณาจักรมลายูหลายอาณาจักรที่ปรากฏในพื้นที่ แต่ตั้งแต่พุทธศตวรรษที่ 24 เป็นต้นมา อาณาจักรเหล่านั้นก็ทยอยขึ้นตรงต่อจักรวรรดิบริเตน โดยอาณานิคมกลุ่มแรกของบริเตนมีชื่อเรียกรวมกันว่านิคมช่องแคบ ส่วนอาณาจักรมลายูที่เหลือกลายเป็นรัฐในอารักขาของบริเตนในเวลาต่อมา ดินแดนทั้งหมดในมาเลเซียตะวันตกรวมตัวกันเป็นครั้งแรกในฐานะสหภาพมาลายาในปี..

ใหม่!!: ประเทศฟิลิปปินส์และประเทศมาเลเซีย · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศสิงคโปร์

ประเทศสิงคโปร์ มีชื่ออย่างเป็นทางการว่า สาธารณรัฐสิงคโปร์ เป็นนครรัฐสมัยใหม่และประเทศเกาะที่มีขนาดเล็กที่สุดในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ตั้งอยู่นอกปลายทิศใต้ของคาบสมุทรมลายูและอยู่เหนือเส้นศูนย์สูตร 137 กิโลเมตร ดินแดนของประเทศประกอบด้วยเกาะหลักรูปสี่เหลี่ยมขนมเปียกปูน ซึ่งมักเรียกว่าเกาะสิงคโปร์ในภาษาอังกฤษ และเกาะอูจง (Pulau Ujong) ในภาษามลายู และเกาะที่เล็กกว่ามากอีกกว่า 60 เกาะ ประเทศสิงคโปร์แยกจากคาบสมุทรมลายูโดยช่องแคบยะฮอร์ทางทิศเหนือ และจากหมู่เกาะเรียวของประเทศอินโดนีเซียโดยช่องแคบสิงคโปร์ทางทิศใต้ ประเทศมีลักษณะแบบเมืองอย่างสูง และคงเหลือพืชพรรณดั้งเดิมเล็กน้อย ดินแดนของประเทศขยายอย่างต่อเนื่องโดยการแปรสภาพที่ดิน หมู่เกาะมีการตั้งถิ่นฐานในคริสต์ศตวรรษที่ 2 และต่อมาเป็นของจักรวรรดิท้องถิ่นต่าง ๆ สิงคโปร์สมัยใหม่ก่อตั้งใน..

ใหม่!!: ประเทศฟิลิปปินส์และประเทศสิงคโปร์ · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศสเปน

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: ประเทศฟิลิปปินส์และประเทศสเปน · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศอินโดนีเซีย

อินโดนีเซีย (Indonesia) หรือชื่อทางการคือ สาธารณรัฐอินโดนีเซีย (Republik Indonesia) เป็นหมู่เกาะที่ใหญ่ที่สุดในโลก ตั้งอยู่ระหว่างคาบสมุทรอินโดจีนกับทวีปออสเตรเลีย และระหว่างมหาสมุทรอินเดียกับมหาสมุทรแปซิฟิก มีพรมแดนติดกับประเทศมาเลเซียบนเกาะบอร์เนียวหรือกาลีมันตัน (Kalimantan), ประเทศปาปัวนิวกินีบนเกาะนิวกินีหรืออีเรียน (Irian) และประเทศติมอร์-เลสเตบนเกาะติมอร์ (Timor).

ใหม่!!: ประเทศฟิลิปปินส์และประเทศอินโดนีเซีย · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศอุตสาหกรรมใหม่

ประเทศที่ได้รับการจำแนกให้เป็นประเทศอุตสาหกรรมใหม่ใน พ.ศ. 2557 (สีฟ้า) ประเทศอุตสาหกรรมใหม่ (newly industrialized country, NIC) เป็นประเภทการจำแนกประเทศโดยนักรัฐศาสตร์และนักเศรษฐศาสตร์ ประเทศอุตสาหกรรมใหม่เป็นประเทศที่สถานะทางเศรษฐกิจยังไม่เทียบเท่ากับประเทศพัฒนาแล้ว แต่ถือว่ามีสถานะดีกว่าประเทศใกล้เคียงในทางเศรษฐศาสตร์มหภาค และมีอัตราการเติบโตทางเศรษฐกิจสูง โดยมีตัวบ่งชี้ที่สำคัญคือ การพัฒนาเป็นประเทศอุตสาหกรรมในระยะแรกเริ่มและมีการพัฒนาต่อเนื่อง ซึ่งทำให้ในบางประเทศมีการอพยพของประชากรจากชนบทหรือภาคเกษตรกรรมเข้าสู่เมืองใหญ่ ปกติแล้วประเทศอุตสาหกรรมใหม่จะมีลักษณะร่วมกันดังนี้.

ใหม่!!: ประเทศฟิลิปปินส์และประเทศอุตสาหกรรมใหม่ · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศจีน

ประเทศจีน มีชื่ออย่างเป็นทางการว่า สาธารณรัฐประชาชนจีน (People's Republic of China (PRC)) เป็นรัฐเอกราชในเอเชียตะวันออก เป็นประเทศที่มีประชากรมากที่สุดในโลก กว่า 1,300 ล้านคน เป็นรัฐพรรคการเมืองเดียวปกครองโดยพรรคคอมมิวนิสต์จีน มีเมืองหลวงอยู่ที่กรุงปักกิ่ง ประเทศจีนแบ่งการปกครองออกเป็น 22 มณฑล (ไม่รวมพื้นที่พิพาทไต้หวัน) 5 เขตปกครองตนเอง 4 เทศบาลนคร (ปักกิ่ง เทียนจิน เซี่ยงไฮ้ และฉงชิ่ง) และ 2 เขตบริหารพิเศษ ได้แก่ ฮ่องกงและมาเก๊า ประเทศจีนมีพื้นที่ 9.6 ล้านตารางกิโลเมตร นับเป็นประเทศที่มีพื้นที่ทั้งหมดใหญ่ที่สุดในโลกเป็นอันดับ 3 หรือ 4 แล้วแต่วิธีการวัด ลักษณะภูมิประเทศของจีนมีความหลากหลาย ตั้งแต่ป่าสเต็ปป์และทะเลทรายในพื้นที่แห้งแล้งทางตอนเหนือของประเทศติดกับประเทศมองโกเลียและไซบีเรียของรัสเซีย และป่าฝนกึ่งโซนร้อนในพื้นที่ชื้นทางใต้ซึ่งติดกับเวียดนาม ลาว และพม่า ส่วนภูมิประเทศทางตะวันตกนั้นขรุขระและเป็นที่สูง โดยมีเทือกเขาหิมาลัยและเทือกเขาเทียนชานกั้นเป็นพรมแดนตามธรรมชาติกับประเทศอินเดีย เนปาล และเอเชียกลาง ในทางตรงกันข้าม แนวชายฝั่งด้านตะวันออกของจีนแผ่นดินใหญ่นั้นเป็นที่ราบต่ำ และมีแนวชายฝั่งยาว 14,500 กิโลเมตร (ยาวที่สุดเป็นอันดับที่ 11 ของโลก) ซึ่งติดต่อกับทะเลจีนใต้ทางใต้ และทะเลจีนตะวันออกทางตะวันออก นอกจากนี้ยังมีประเทศที่เป็นเกาะอยู่ใกล้เคียง ได้แก่ เกาหลี และญี่ปุ่น อารยธรรมจีนโบราณ ซึ่งถือว่าเป็นหนึ่งอารยธรรมยุคแรกเริ่มของโลก เจริญรุ่งเรืองในลุ่มแม่น้ำเหลืองอันอุดมสมบูรณ์ ซึ่งไหลผ่านที่ราบลุ่มจีนเหนือ จีนยึดระบบการเมืองแบบราชาธิปไตยหลายสหัสวรรษ จีนรวมกันเป็นปึกแผ่นครั้งแรกในสมัยราชวงศ์ฉินเมื่อ 221 ปีก่อนคริสตกาล ส่วนราชวงศ์สุดท้าย ราชวงศ์ชิง สิ้นสุดลงในปี..

ใหม่!!: ประเทศฟิลิปปินส์และประเทศจีน · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศที่เป็นเกาะ

ประเทศที่เป็นเกาะ หมายถึง ประเทศที่มีดินแดนหลักซึ่งประกอบด้วยเกาะเพียงแห่งหนึ่ง หรืออาจมากกว่าหนึ่งแห่งก็ได้ จากข้อมูลในปี..

ใหม่!!: ประเทศฟิลิปปินส์และประเทศที่เป็นเกาะ · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศปาเลา

ปาเลา (Palau; ปาเลา: Belau) มีชื่อทางการว่า สาธารณรัฐปาเลา (Republic of Palau; ปาเลา: Beluu er a Belau) เป็นประเทศหมู่เกาะในมหาสมุทรแปซิฟิก ตั้งอยู่ทางตะวันออกของประเทศฟิลิปปินส์ไปประมาณ 500 กิโลเมตร ได้รับเอกราชในปี พ.ศ. 2537 เป็นหนึ่งในชาติที่ใหม่ที่สุดและมีประชากรน้อยที่สุดในโลก.

ใหม่!!: ประเทศฟิลิปปินส์และประเทศปาเลา · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศแอฟริกาใต้

รณรัฐแอฟริกาใต้ (Republic of South Africa) หรืออาจเรียกสั้น ๆ ว่า แอฟริกาใต้ (ต่างจาก "แอฟริกาตอนใต้" ซึ่งเป็นภูมิภาคประกอบไปด้วยหลายประเทศ รวมถึงประเทศแอฟริกาใต้ด้วย) เป็นประเทศอิสระที่อยู่ตอนปลายทางใต้สุดของทวีปแอฟริกา มีพรมแดนติดกับประเทศนามิเบีย บอตสวานา ซิมบับเว โมซัมบิก และสวาซิแลนด์ นอกจากนี้ยังมีเลโซโทซึ่งเป็นประเทศที่ถูกล้อมรอบทุกด้านด้วยอาณาเขตของประเทศแอฟริกาใต้ รวมทั้งยังเป็นประเทศส่งออกเพชร, ทองคำ และไวน์ที่ชาวฝรั่งเศสนำเข้ามาอีกด้ว.

ใหม่!!: ประเทศฟิลิปปินส์และประเทศแอฟริกาใต้ · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศโปรตุเกส

ปราสาทแห่งกีมารานช์ (Castle of Guimarães) ที่ถูกสร้างขึ้นในคริสต์ศตวรรษที่ 10 ถือเป็นสัญลักษณ์ประจำชาติของประเทศโปรตุเกส เรียกได้อีกชื่อหนึ่งว่า "ต้นกำเนิดของโปรตุเกส" ศึกแห่งเซามาเมเด (São Mamede) เกิดขึ้นใกล้ๆ กับที่นี่ในปี พ.ศ. 1671 โปรตุเกส (Portugal ปุรตุกาล) หรือชื่อทางการคือ สาธารณรัฐโปรตุเกส (República Portuguesa) เป็นสาธารณรัฐซึ่งมีระบอบการปกครองแบบประชาธิปไตย ตั้งอยู่ในภาคตะวันตกและตะวันตกเฉียงใต้ของคาบสมุทรไอบีเรียทางตอนใต้ของทวีปยุโรป และถือว่าเป็นประเทศที่อยู่ทางทิศตะวันตกมากที่สุดในบรรดาประเทศในทวีปยุโรปทั้งหลาย (ยกเว้นหมู่เกาะบริเตนใหญ่และหมู่เกาะใกล้เคียง) โปรตุเกสมีพรมแดนติดกับประเทศสเปนในทางทิศเหนือและทิศตะวันออก และอยู่ติดกับมหาสมุทรแอตแลนติกในทางทิศตะวันตกและทิศใต้ นอกจากนี้ โปรตุเกสยังประกอบไปด้วยอาณาเขตหมู่เกาะอยู่หลายหมู่เกาะด้วยกันในมหาสมุทรแอตแลนติก อาทิเช่น อะโซร์ส (Azores หรือ Açores) และเกาะมาเดราและโปร์ตูซันตู (รวมถึงหมู่เกาะซาเวจด้วย).

ใหม่!!: ประเทศฟิลิปปินส์และประเทศโปรตุเกส · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศไทย

ประเทศไทย มีชื่ออย่างเป็นทางราชการว่า ราชอาณาจักรไทย เป็นรัฐชาติอันตั้งอยู่ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เดิมมีชื่อว่า "สยาม" รัฐบาลประกาศเปลี่ยนชื่อเป็นประเทศไทยอย่างเป็นทางการตั้งแต่ปี 2482 ประเทศไทยมีขนาดใหญ่เป็นอันดับที่ 50 ของโลก มีเนื้อที่ 513,115 ตารางกิโลเมตร และมีประชากรมากเป็นอันดับที่ 20 ของโลก คือ ประมาณ 66 ล้านคน กรุงเทพมหานครเป็นศูนย์กลางการบริหารราชการแผ่นดินและนครใหญ่สุดของประเทศ และการปกครองส่วนภูมิภาค จัดระเบียบเป็น 76 จังหวัด แม้จะมีการสถาปนาระบอบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญและประชาธิปไตยระบบรัฐสภาในปี 2475 แต่กองทัพยังมีบทบาทในการเมืองไทยสูง ล่าสุด เกิดรัฐประหารเมื่อวันที่ 22 พฤษภาคม 2557 และมีการปกครองแบบเผด็จการทหารนับแต่นั้น พบหลักฐานการอยู่อาศัยอย่างต่อเนื่องในอาณาเขตประเทศไทยปัจจุบันตั้งแต่ 20,000 ปีก่อนคริสตกาล ชาวไทเริ่มอพยพเข้าสู่บริเวณนี้ในคริสต์ศตวรรษที่ 11 แล้วเข้ามาตั้งแว่นแคว้นต่าง ๆ ที่สำคัญได้แก่ อาณาจักรสุโขทัย อาณาจักรล้านนาและอาณาจักรอยุธยา นักประวัติศาสตร์มักถือว่าอาณาจักรสุโขทัยเป็นจุดเริ่มต้นของประวัติศาสตร์ไทย ต่อมาอาณาจักรอยุธยาค่อย ๆ เรืองอำนาจมากขึ้นจนเป็นมหาอำนาจในภูมิภาคในปลายคริสต์ศตวรรษที่ 14 การติดต่อกับชาติตะวันตกเริ่มด้วยผู้แทนทางทูตชาวโปรตุเกสในปี 2054 อาณาจักรรุ่งเรืองอย่างมากในรัชกาลสมเด็จพระนารายณ์มหาราช (ครองราชย์ปี 2199–2231) แต่หลังจากนั้นค่อย ๆ เสื่อมอำนาจโดยมีสาเหตุส่วนหนึ่งจากการผลัดแผ่นดินที่มีการนองเลือดหลายรัชกาล จนสุดท้ายกรุงศรีอยุธยาถูกทำลายสิ้นเชิงในปี 2310 สมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรีทรงรวบรวมแผ่นดินที่แตกออกเป็นก๊กต่าง ๆ และสถาปนาอาณาจักรธนบุรีที่มีอายุ 15 ปี ความวุ่นวายในช่วงปลายอาณาจักรนำไปสู่การสำเร็จโทษพระองค์โดยพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช ปฐมราชวงศ์จักรีแห่งกรุงรัตนโกสินทร์ ช่วงต้นกรุงรัตนโกสินทร์ ประเทศเผชิญภัยคุกคามจากชาติใกล้เคียง แต่หลังรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวเป็นต้นมา ชาติตะวันตกเริ่มมีอิทธิพลในภูมิภาคเป็นอย่างมาก นำไปสู่การเข้าเป็นภาคีแห่งสนธิสัญญาไม่เป็นธรรมหลายฉบับ กระนั้น สยามไม่ตกเป็นอาณานิคมของตะวันตกชาติใด มีการปรับให้สยามทันสมัยและรวมอำนาจปกครองในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (ครองราชย์ปี 2411–53) สยามเข้าร่วมกับฝ่ายสัมพันธมิตรในสงครามโลกครั้งที่หนึ่งในปี 2460; ในปี 2475 เกิดการปฏิวัติเปลี่ยนแปลงการปกครองสู่ระบอบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญโดยไม่เสียเลือดเนื้อ คณะราษฎรมีบทบาทนำทางการเมือง และในพุทธทศวรรษ 2480 นายกรัฐมนตรี จอมพล แปลก พิบูลสงคราม ดำเนินนโยบายชาตินิยมเข้มข้น ระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง ไทยเข้ากับฝ่ายอักษะ แต่ฝ่ายสัมพันธมิตรส่วนใหญ่ไม่ยอมรับการประกาศสงคราม ในช่วงสงครามเย็น ประเทศไทยเป็นพันธมิตรกับสหรัฐซึ่งสนับสนุนรัฐบาลทหารมาก รัฐประหารที่มีจอมพล สฤษดิ์ ธนะรัชต์เป็นหัวหน้าคณะในปี 2500 ทำให้คณะราษฎรหมดอำนาจ รัฐบาลฟื้นฟูพระราชอำนาจและมีมาตรการต่อต้านคอมมิวนิสต์ในภูมิภาค ผลของเหตุการณ์ 14 ตุลา 2516 ทำให้เกิดประชาธิปไตยระบบรัฐสภาช่วงสั้น ๆ ประเทศไทยมีนายกรัฐมนตรีจากการเลือกตั้งครั้งแรกในปี 2531 หลังพุทธทศวรรษ 2540 มีวิกฤตการเมืองระหว่างฝ่ายที่สนับสนุนและต่อต้านอดีตนายกรัฐมนตรีทักษิณ ชินวัตรมาจนปัจจุบัน รวมทั้งเกิดรัฐประหารสองครั้ง โดยครั้งล่าสุดเกิดในปี 2557 รัฐธรรมนูญฉบับปัจจุบันเป็นฉบับที่ 20 ประกาศใช้เมื่อวันที่ 6 เมษายน 2560 หลังมีการลงประชามติรับร่างเมื่อหนึ่งปีก่อน ประเทศไทยเป็นสมาชิกสหประชาชาติ เอเปก อีกทั้งเป็นร่วมผู้ก่อตั้งอาเซียน ประเทศไทยเป็นพันธมิตรของสหรัฐตั้งแต่สนธิสัญญาซีโต้ในปี 2497 ถือเป็นประเทศอำนาจนำภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และประเทศอำนาจปานกลางในเวทีโลก ประเทศไทยเป็นประเทศที่มีรายได้ปานกลาง-สูงและประเทศอุตสาหกรรมใหม่ มีรายได้หลักจากภาคอุตสาหกรรมและบริการ การเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจทำให้มีการอพยพเข้าสู่เมืองในคริสต์ศตวรรษที่ 20 ตามประมาณการในปี 2560 จีดีพีของประเทศไทยมีมูลค่าราว 432,898 ล้านดอลลาร์สหรัฐ นับว่าเศรษฐกิจไทยเป็นเศรษฐกิจใหญ่สุดเป็นอันดับ 2 ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และใหญ่เป็นอันดับที่ 26 ของโลก.

ใหม่!!: ประเทศฟิลิปปินส์และประเทศไทย · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศไต้หวัน

ประเทศไต้หวัน (Taiwan) หรือชื่อทางการว่า สาธารณรัฐจีน (Republic of China) เป็นรัฐในทวีปเอเชียตะวันออก ปัจจุบันประกอบด้วยเกาะใหญ่ 5 แห่ง คือ จินเหมิน (金門), ไต้หวัน, เผิงหู (澎湖), หมาจู่ (馬祖), และอูชิว (烏坵) กับทั้งเกาะเล็กเกาะน้อยอีกจำนวนหนึ่ง ท้องที่ดังกล่าวเรียกรวมกันว่า "พื้นที่ไต้หวัน" (臺灣地區) ไต้หวันด้านตะวันตกติดกับจีนแผ่นดินใหญ่ ด้านตะวันออกและตะวันออกเฉียงเหนือติดกับญี่ปุ่น และด้านใต้ติดกับฟิลิปปินส์ กรุงไทเปเป็นเมืองหลวง ส่วนไทเปใหม่เป็นเขตปกครองที่จัดตั้งขึ้นใหม่ กินพื้นที่กรุงไทเป และเป็นเขตซึ่งประชากรหนาแน่นที่สุดในเวลานี้ เกาะไต้หวันนั้นเดิมเป็นที่อยู่ของชนพื้นเมือง และมีชาวจีนจากแผ่นดินใหญ่เข้ามาอาศัยร่วมด้วย จนกระทั่งชาววิลันดาและสเปนเดินทางเข้ามาในยุคสำรวจเมื่อศตวรรษที่ 17 และมาตั้งบ้านเรือนกลายเป็นนิคมใหญ่โต ต่อมาในปี 1662 ราชวงศ์หมิงในแผ่นดินใหญ่ถูกราชวงศ์ชิงแทนที่ เจิ้ง เฉิงกง (鄭成功) ขุนศึกหมิง รวมกำลังหนีมาถึงเกาะไต้หวัน และเข้ารุกไล่ฝรั่งออกไปได้อย่างราบคาบ เขาจึงตั้งราชอาณาจักรตงหนิง (東寧) ขึ้นบนเกาะเพื่อ "โค่นชิงฟื้นหมิง" (反清復明) แต่ในปี 1683 ราชวงศ์ชิงปราบปรามอาณาจักรตงหนิงและเข้าครอบครองไต้หวันเป็นผลสำเร็จ ไต้หวันจึงกลายเป็นมณฑลหนึ่งของจีน อย่างไรก็ดี ความบาดหมางระหว่างจีนกับญี่ปุ่นเป็นเหตุให้ญี่ปุ่นได้ไต้หวันไปในปี 1895 ก่อนเสียไต้หวันคืนให้แก่จีนหลังสงครามโลกครั้งที่สอง ช่วงนั้น มีการเปลี่ยนแปลงการปกครองในจีน พรรคชาตินิยม (國民黨) ได้เป็นใหญ่ แต่ไม่นานก็เสียทีให้แก่พรรคสังคมนิยม (共产党) พรรคชาตินิยมจึงหนีมายังเกาะไต้หวัน แล้วสถาปนาสาธารณรัฐจีนขึ้นบนเกาะไต้หวันแยกต่างหากจากสาธารณรัฐประชาชนจีนบนแผ่นดินใหญ่ อย่างไรก็ดี จีนยังคงถือว่า ไต้หวันเป็นมณฑลหนึ่งของตน และไต้หวันเองก็ยังมิได้รับการยอมรับจากนานาชาติว่าเป็นประเทศเอกราชมาจนบัดนี้ ในช่วงทศวรรษ 1980 ถึงต้นทศวรรษ 1990 การเมืองการปกครองสาธารณรัฐจีน (ไต้หวัน) ได้เจริญรุ่งเรืองจนเป็นประชาธิปไตยที่มีพรรคการเมืองหลายพรรคและมีการเลือกตั้งทั่วหน้า อนึ่ง ในช่วงกลางศตวรรษที่ 20 เศรษฐกิจไต้หวันงอกงามอย่างรวดเร็ว ไต้หวันจึงกลายเป็นประเทศพัฒนาแล้ว ทั้งได้ชื่อว่าเป็นหนึ่งในสี่เสือแห่งเอเชีย มีอุตสาหกรรมล้ำหน้า และมีเศรษฐกิจใหญ่โตเป็นอันดับที่ 19 ของโลก อุตสาหกรรมที่ใช้เทคโนโลยีชั้นสูงของไต้หวันยังมีบทบาทสำคัญมากในเศรษฐกิจโลก เป็นเหตุให้ไต้หวันได้เป็นสมาชิกองค์การการค้าโลกและความร่วมมือทางเศรษฐกิจเอเชีย-แปซิฟิก นอกจากนี้ เสรีภาพของสื่อมวลชน เสรีภาพทางเศรษฐกิจ การสาธารณสุข การศึกษา และการพัฒนามนุษย์ในไต้หวันยังได้รับการจัดอยู่ในอันดับสูงด้วยhttp://www.dgbas.gov.tw/public/Data/366166371.pdf.

ใหม่!!: ประเทศฟิลิปปินส์และประเทศไต้หวัน · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศเกาหลีใต้

รณรัฐเกาหลี (Republic of Korea; 대한민국 (ฮันกึล); 大韓民國 (ฮันจา)) หรือที่เรียกกันทั่วไปว่า เกาหลีใต้ (South Korea) เป็นประเทศในเอเชียตะวันออก มีพื้นที่ครอบคลุมส่วนใต้ของคาบสมุทรเกาหลี พรมแดนทางเหนือติดกับประเทศเกาหลีเหนือ มีประเทศญี่ปุ่นตั้งอยู่ทางตะวันออกเฉียงใต้โดยมีทะเลญี่ปุ่นและช่องแคบเกาหลีกั้นไว้ ในภาษาเกาหลีอ่านชื่อประเทศว่า แทฮันมินกุก (대한민국; 大韓民國) โดยเรียกสั้น ๆ ว่า ฮันกุก (한국) ที่หมายถึงเกาหลี และบางครั้งจะใช้ชื่อว่า นัมฮัน (남한) ที่หมายถึง เกาหลีทางใต้ ส่วนชาวเกาหลีเหนือจะเรียกเกาหลีใต้ว่า นัมโชซ็อน (남조선) ที่หมายถึง โชซ็อนใต้.

ใหม่!!: ประเทศฟิลิปปินส์และประเทศเกาหลีใต้ · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศเม็กซิโก

ม็กซิโก (Mexico; México) หรือชื่อทางการคือ สหรัฐเม็กซิโก (United Mexican States; Estados Unidos Mexicanos) เป็นประเทศในทวีปอเมริกาเหนือ มีพรมแดนทางทิศเหนือจรดสหรัฐอเมริกา ทิศใต้และทิศตะวันตกจรดมหาสมุทรแปซิฟิก ทิศตะวันออกเฉียงใต้จรดกัวเตมาลา เบลีซ และทะเลแคริบเบียน ส่วนทิศตะวันออกจรดอ่าวเม็กซิโก เนื่องจากครอบคลุมพื้นที่ถึงเกือบ 2 ล้านตารางกิโลเมตร เม็กซิโกจึงเป็นประเทศที่มากที่สุดเป็นอันดับที่ 5 ของทวีปอเมริกา และเป็นอันดับที่ 15 ของโลก นอกจากนี้ยังมีประชากรมากเป็นอันดับที่ 10 ของโลก โดยมีการประมาณไว้ว่า เมื่อ 1 กรกฎาคม พ.ศ. 2559 ประเทศนี้มีจำนวนประชากร 128,632,000 ล้านคน.

ใหม่!!: ประเทศฟิลิปปินส์และประเทศเม็กซิโก · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศเยอรมนี

ประเทศเยอรมนี (Germany; Deutschland ดอยฺชลันฺท) หรือชื่ออย่างเป็นทางการคือ สหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมนี (Federal Republic of Germany; Bundesrepublik Deutschland) เป็นสหพันธ์สาธารณรัฐแบบรัฐสภาในยุโรปกลาง มีรัฐองค์ประกอบ 16 รัฐ มีพื้นที่ 357,021 ตารางกิโลเมตร และมีภูมิอากาศตามฤดูกาลแบบอบอุ่นเป็นส่วนใหญ่ มีประชากรประมาณ 82 ล้านคน ซึ่งเป็นประเทศที่มีประชากรมากที่สุดในสหภาพยุโรป ประเทศเยอรมนีเป็นจุดหมายการเข้าเมืองยอดนิยมอันดับสองในโลกรองจากสหรัฐ เมืองหลวงและมหานครใหญ่สุดของประเทศคือ กรุงเบอร์ลิน ขณะที่เขตเมืองขยายใหญ่สุด คือ รูร์ โดยมีศูนย์กลางหลักดอร์ทมุนด์และเอสเซิน นครหลักอื่นของประเทศ ได้แก่ ฮัมบวร์ค มิวนิก โคโลญ แฟรงก์เฟิร์ต ชตุทท์การ์ท ดึสเซิลดอร์ฟ ไลพ์ซิจ เบรเมิน เดรสเดิน ฮันโนเฟอร์และเนือร์นแบร์ก ประเทศนี้มีระบอบการปกครองแบบประชาธิปไตยเชิงเสรีภาพและรัฐสวัสดิการ พรมแดนทางทิศเหนือติดทะเลเหนือ เดนมาร์ก และทะเลบอลติก ทิศตะวันออกติดโปแลนด์และเช็กเกีย ทิศใต้ติดออสเตรีย และสวิตเซอร์แลนด์ ทิศตะวันตกติดฝรั่งเศส ลักเซมเบิร์ก เบลเยียม และเนเธอร์แลนด์ มีเมืองหลวงและเมืองใหญ่ของประเทศคือเบอร์ลิน เยอรมนีมีประชากรประมาณ 80 ล้านคนและเป็นประเทศที่มีความหนาแน่นประชากรสูงสุดแห่งหนึ่ง อีกทั้งยังเป็นประเทศที่มีคนย้ายถิ่นมากที่สุดเป็นอันดับสามของโลก หลังจากที่สหรัฐอเมริกาเยอรมนีเป็นปลายทางการย้ายถิ่นที่สองได้รับความนิยมมากที่สุดในโลก เยอรมนีเป็นหนึ่งในสมาชิกผู้ก่อตั้งสหภาพยุโรปและยังก่อตั้งสหภาพการเงินกับสมาชิกในสหภาพยุโรปอีก 17 ประเทศ โดยใช้ชื่อว่ายูโรโซน เยอรมนีเป็นสมาชิกของกลุ่ม UNO, OECD, NATO, G7 และ G20 เยอรมนีเป็นประเทศที่มีอิทธิพลต่อประเทศอื่นๆในยุโรปและเป็นประเทศที่มีความสามารถที่จะแข่งขันในระดับโลก หากวัดจากผลผลิตมวลรวมภายในประเทศแบบปกติแล้ว เยอรมนีเป็นเศรษฐกิจที่ใหญ่ที่สุดในยุโรปและใหญ่เป็นอันดับสี่ของโลก ในปี 2012 เป็นประเทศที่มีการนำเข้าส่งออกมากที่สุดเป็นอันดับสาม ดัชนีการพัฒนามนุษย์ถือว่าสูงมาก.

ใหม่!!: ประเทศฟิลิปปินส์และประเทศเยอรมนี · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศเวียดนาม

วียดนาม (Việt Nam เหฺวียดนาม) มีชื่ออย่างเป็นทางการคือ สาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม (Cộng hòa xã hội chủ nghĩa Việt Nam, ก่ง ฮหว่า สา โห่ย จู๋ เหงีย เหวียต นาม) เป็นประเทศในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ตั้งอยู่ทางด้านตะวันออกสุดของคาบสมุทรอินโดจีน มีพรมแดนติดกับประเทศจีน ทางทิศเหนือ ประเทศลาว และประเทศกัมพูชา ทางทิศตะวันตก และอ่าวตังเกี๋ย ทะเลจีนใต้ ทางทิศตะวันออกและใต้ หรือในภาษาเวียดนามเรียกเฉพาะทะเลทางทิศตะวันออกว่า ทะเลตะวันออก (Biển Đông, เบี๋ยน ดง) เวียดนามมีประชากรมากกว่า 89 ล้านคน ถือเป็นประเทศที่มีประชากรมากที่สุดเป็นอันดับ 13 ของโลก.

ใหม่!!: ประเทศฟิลิปปินส์และประเทศเวียดนาม · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศเนเธอร์แลนด์

นเธอร์แลนด์ (Nederland เนเดอร์ลอนต์; Netherlands) หรือที่มักเรียกกันว่า ฮอลแลนด์ (Holland) หรือ ฮอลันดา หรือ วิลันดา เป็นประเทศองค์ประกอบ (constituent country) ของราชอาณาจักรเนเธอร์แลนด์ ประกอบด้วยสิบสองจังหวัดในยุโรปตะวันตก และสามเกาะในแคริบเบียน เนเธอร์แลนด์ส่วนที่อยู่ในทวีปยุโรปมีอาณาเขตทิศเหนือและตะวันตกจดทะเลเหนือ ทิศใต้จดประเทศเบลเยียม และทิศตะวันออกจดประเทศเยอรมนี และมีพรมแดนทางทะเลร่วมกับเบลเยียม เยอรมนีและสหราชอาณาจักร ประเทศเนเธอร์แลนด์เป็นประเทศแรก ๆ ของโลกที่มีรัฐสภาจากการเลือกตั้ง และปกครองด้วยประชาธิปไตยระบบรัฐสภา จัดระเบียบเป็นรัฐเดี่ยว เมืองหลวงของประเทศเนเธอร์แลนด์ตามที่ระบุไว้ในรัฐธรรมนูญ คือ อัมสเตอร์ดัม ทว่า ที่ทำการรัฐบาลตั้งอยู่ที่กรุงเฮก ประเทศเนเธอร์แลนด์ทั้งหมดมักเรียกว่า "ฮอลแลนด์" ซึ่งในการใช้อย่างเข้มงวดจะหมายความถึงจังหวัดนอร์ทฮอลแลนด์และเซาท์ฮอลแลนด์เท่านั้น ถือกันว่าการใช้แบบแรกนั้นไม่ถูกต้อง หรือไม่เป็นทางการ ขึ้นอยู่กับบริบท ทว่า เป็นที่ยอมรับกันทั่วไปเมื่อหมายถึงฟุตบอลทีมชาติ ประเทศเนเธอร์แลนด์เป็นประเทศที่มีพื้นที่ต่ำ โดย 20% ของพื้นที่อยู่ และ 21% ของประชากรอาศัยอยู่ต่ำกว่าระดับน้ำทะเล และ 50% ของพื้นที่อยู่สูงกว่าระดับน้ำทะเลไม่เกินหนึ่งเมตร ซึ่งลักษณะเด่นนี้เป็นที่มาของชื่อประเทศ ในภาษาดัตช์ อังกฤษและภาษาอื่นของยุโรปอีกหลายภาษา ชื่อประเทศหมายถึง "แผ่นดินต่ำ" หรือ "กลุ่มประเทศแผ่นดินต่ำ" พื้นที่ส่วนใหญ่ที่อยู่ต่ำกว่าระดับน้ำทะเลเกิดจากฝีมือมนุษย์ ซึ่งเกิดจากการสกัดพีต (peat) อย่างกว้างขวางและมีการควบคุมไม่ดีหลายศตวรรษทำให้พื้นผิวต่ำลงหลายเมตร แม้ในพื้นที่น้ำท่วมถึง การสกัดพีตยังดำเนินต่อไปโดยการขุดลอกพื้นที่ ตั้งแต่ปลายคริสต์ศตวรรษที่ 16 เริ่มมีการฟื้นสภาพที่ดินและปัจจุบันมีการสงวนพื้นที่โพลเดอร์ (polder) ขนาดใหญ่ด้วยระบบการระบายน้ำที่ซับซ้อนซึ่งมีทั้งพนัง คลองและสถานีสูบ พื้นที่เกือบ 17% ของประเทศเป็นพื้นที่ที่เกิดจากการถมทะเล พื้นที่บริเวณกว้างของเนเธอร์แลนด์เกิดจากชะวากทะเลของแม่น้ำสำคัญของทวีปยุโรปสามสายและลำน้ำแตกสาขาเกิดเป็นสามเหลี่ยมปากแม่น้ำไรน์–เมิซ–ซเกลดะ (Rhine–Meuse–Scheldt delta) พื้นที่ส่วนใหญ่ของประเทศเป็นที่ราบ ยกเว้นเนินเขาทางตะวันออกเฉียงใต้และเทือกเขาเตี้ย ๆ หลายเทือกทางตอนกลาง ประเทศเนเธอร์แลนด์เป็นสมาชิกก่อตั้งของสหภาพยุโรป จี-10 นาโต้ องค์การเพื่อความร่วมมือทางเศรษฐกิจและการพัฒนา (OECD) องค์การการค้าโลก และเป็นส่วนหนึ่งของสหภาพเศรษฐกิจไตรภาคีเบเนลักซ์ ประเทศเนเธอร์แลนด์เป็นที่ตั้งขององค์การห้ามอาวุธเคมี และศาลระหว่างประเทศห้าศาล ได้แก่ ศาลอนุญาโตตุลาการถาวร ศาลยุติธรรมระหว่างประเทศ ศาลอาญาระหว่างประเทศ คณะตุลาการอาญาระหว่างประเทศสำหรับอดีตยูโกสลาเวียและคณะตุลาการพิเศษสำหรับเลบานอน สี่ศาลแรกตั้งอยู่ในกรุงเฮก เช่นเดียวกับยูโรโปล สำนักข่าวกรองอาชญากรรมของสหภาพยุโรป และยูโรจัสต์ สำนักความร่วมมือทางตุลาการ ทำให้กรุงเฮกได้รับสมญาว่า "เมืองหลวงกฎหมายโลก" ประเทศเนเธอร์แลนด์ใช้ระบบเศรษฐกิจแบบผสมอิงตลาด โดยอยู่ในอันดับที่ 17 จาก 177 ประเทศในดัชนีเสรีภาพทางเศรษฐกิจ ในปี 2554 เป็นประเทศที่มีรายได้ต่อหัวสูงสุดเป็นอันดับที่ 10 ของโลก ในเดือนพฤษภาคม ปีเดียวกัน OECD จัดให้เนเธอร์แลนด์เป็นประเทศ "ที่มีความสุขที่สุด" ในโลก ซึ่งสะท้อนถึงมาตรฐานการครองชีพที่สูง.

ใหม่!!: ประเทศฟิลิปปินส์และประเทศเนเธอร์แลนด์ · ดูเพิ่มเติม »

ปิโตรเลียม

แหล่งน้ำมันสำรองทั่วโลกที่พิสูจน์แล้วใน ค.ศ. 2009 บ่อปิโตรเลียมแห่งหนึ่งในเท็กซัส ปิโตรเลียม (petroleum, petra (หิน) + oleum (น้ำมัน) รวมหมายถึง "น้ำมันที่ได้จากหิน") หรือ น้ำมันดิบ เป็นของเหลวไวไฟที่เกิดเองตามธรรมชาติ ประกอบด้วยสารผสมซับซ้อนระหว่างไฮโดรคาร์บอนที่มีน้ำหนักโมเลกุลต่างกัน กับสารประกอบอินทรีย์ที่เป็นของเหลวอื่น ๆ ซึ่งพบในชั้นธรณีวิทยาใต้ผิวโลก เป็นเชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์ เกิดได้จากซากสิ่งมีชีวิต (มักเป็นแพลงก์ตอนสัตว์และสาหร่าย) จำนวนมากทับถมกันใต้หินตะกอนและได้รับความร้อนและความดันมหาศาล การขุดเจาะน้ำมันเป็นวิธีการส่วนใหญ่ในการได้มาซึ่งปิโตรเลียม ซึ่งเป็นขั้นตอนหลังการศึกษาโครงสร้างธรณีวิทยา การวิเคราะห์แอ่งตะกอน และลักษณะหินกักเก็บปิโตรเลียม หลังขุดเจาะขึ้นมาแล้ว ปิโตรเลียมจะถูกกลั่นและแยกเป็นผลิตภัณฑ์บริโภคหลายชนิด ตั้งแต่แก๊สโซลีนและน้ำมันก๊าด ไปจนถึงยางมะตอยและตัวทำปฏิกิริยาเคมีซึ่งใช้ในการทำพลาสติกและเภสัชภัณฑ์ นอกจากนี้ ปิโตรเลียมยังใช้ในการผลิตวัสดุอีกหลายชนิด ปิโตรเลียมมีธาตุองค์ประกอบหลัก 2 ชนิด คือ คาร์บอนและไฮโดรเจน และอาจมีธาตุอโลหะชนิดอื่นปนอยู่ด้วย เช่น กำมะถัน ออกซิเจน และไนโตรเจน ทั้งนี้ปิโตรเลียมเป็นได้ทั้ง 3 สถานะ คือ ของแข็ง ของเหลว และแก๊ส ขึ้นอยู่กับองค์ประกอบ รวมถึงความร้อนและความดันของสภาพแวดล้อมในการเกิดและการกักเก็บปิโตรเลียม แบ่งตามสถานะได้เป็นสองชนิดหลัก คือ น้ำมันดิบและแก๊สธรรมชาติ โดยแก๊สธรรมชาตินั้น ประกอบด้วยคาร์บอนตั้งแต่ 1-4 อะตอม.

ใหม่!!: ประเทศฟิลิปปินส์และปิโตรเลียม · ดูเพิ่มเติม »

ป่าดิบชื้น

ป่าดิบชื้นที่อุทยานแห่งชาติไทรโยค ป่าดิบชื้น หรือ ป่าฝนเขตร้อน (tropical rain forest) จัดเป็นป่าประเภทไม่ผลัดใบ เป็นป่าที่มีสีเขียวตลอดทั้งปี ต้นไม้จะไม่ผลัดใบในช่วงฤดูแล้ง เนื่องจากปริมาณน้ำฝนค่อนข้างมาก ต้นไม้ไม่มีความจำเป็นต้องผลัดใบเพื่อลดการคายน้ำ ป่าชนิดนี้มักจะเรียกกันว่าป่าดงดิบ เป็นป่าที่อยู่ในเขตมรสุมพัดผ่านเกือบตลอดทั้งปี ขึ้นอยู่ตามที่ราบลุ่ม ที่ราบเชิงเขาที่มีระดับความสูงตั้งแต่ 0-100 เมตรจากระดับน้ำทะเลปานกลาง (บางครั้งอาจพบอยู่สูงถึงระดับ 250 เมตร) และมีปริมาณน้ำฝนไม่น้อยกว่า 2,000 มม./ปี พบมากทางภาคใต้และแถบจังหวัดชายทะเลภาคตะวันออก เช่น จังหวัดระยอง จันทบุรี และตร.

ใหม่!!: ประเทศฟิลิปปินส์และป่าดิบชื้น · ดูเพิ่มเติม »

นกอินทรีฟิลิปปิน

นกอินทรีฟิลิปปิน (Philippine eagle) หรือเป็นที่รู้จักในชื่อนกอินทรีกินลิง คือนกอินทรีชนิดหนึ่งในตระกูลสิ่งมีชีวิตเฉพาะถิ่น วงศ์เหยี่ยวและอินทรีในเขตป่าของฟิลิปปินส์ นกชนิดนี้มีสีน้ำตาลและขนนกสีขาว และมีหงอนที่ดกหนา โดยสัดส่วนทั่วไปวัดความยาวได้ 86-102 เซนติเมตร (2.82 ถึง 3.35 ฟุต) และมีน้ำหนัก 4.7-8.0 กิโลกรัม (10.4-17.6 ปอนด์) นกชนิดนี้ได้รับการพิจารณาว่ามีขนาดใหญ่ที่สุดในบรรดานกอินทรีที่ยังมีอยู่ในโลกในด้านความยาว แต่นกอินทรีทะเลชเตลเลอร์ (Steller's sea eagle) และนกอินทรีฮาร์ปี (harpy eagle) มีขนาดใหญ่กว่าในด้านน้ำหนักและความใหญ่โต ท่ามกลางนกที่มีพลังและความหายากที่สุดในโลก นกอินทรีฟิลิปปินได้รับการประกาศเป็นนกประจำชาติของฟิลิปปินส์ ซึ่งเป็นนกที่อยู่ในอันตรายเข้าขั้นวิกฤต เนื่องจากการสูญเสียแหล่งที่อยู่อาศัยหลักจากการตัดไม้ทำลายไม้ในขอบเขตของมัน การล่านกอินทรีฟิลิปปินมีโทษภายในกฎหมายฟิลิปปินส์ โดยมีโทษจำคุก 12 ปี และค่าปรับสูง.

ใหม่!!: ประเทศฟิลิปปินส์และนกอินทรีฟิลิปปิน · ดูเพิ่มเติม »

นาขั้นบันไดบานาเว

300px นาขั้นบันไดที่บานาเว (Hagdan-hagdang Palayan ng Banawe) เป็นสถานที่ที่มีการปลูกข้าวแบบขั้นบันได บนเกาะลูซอน ประเทศฟิลิปปินส์ ได้รับการยกย่องให้เป็นมรดกโลก โดยองค์การยูเนสโก ในปี..

ใหม่!!: ประเทศฟิลิปปินส์และนาขั้นบันไดบานาเว · ดูเพิ่มเติม »

นิกเกิล

นิกเกิล (Nickel) คือธาตุที่มีหมายเลขอะตอม 28 และสัญลักษณ์คือ Ni อยู่ในตารางธาตุหมู่ 28 นิกเกิลเป็นโลหะที่มีความมันวาวสีขาวเงิน อยู่กลุ่มเดียวกับเหล็ก มีความแข็งแต่ตีเป็นแผ่นได้ ในธรรมชาติจะทำปฏิกิริยาเคมีกับกำมะถันเกิดเป็นแร่มิลเลอร์ไรต์ (millerite) ถ้าทำปฏิกิริยาเคมีกับสารหนู (arsenic) จะเกิดเป็นแร่นิกกอไลต์ (niccolite) แต่ถ้าทำปฏิกิริยาเคมีกับทั้งสารหนูและกำมะถันจะเป็นก้อนนิกเกิลกลานซ (nickel glance) ประเทศที่บริโภคนิเกิลมากที่สุดคือญี่ปุ่น ซึ่งใช้ 169,600 ตันต่อปี (ข้อมูลปี 2005).

ใหม่!!: ประเทศฟิลิปปินส์และนิกเกิล · ดูเพิ่มเติม »

น่านน้ำอาณาเขต

น่านน้ำอาณาเขต (territorial waters) หรือทะเลอาณาเขต (territorial sea) นิยามตามอนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้วยกฎหมายทะเล ว่าเป็นแนวน่านน้ำชายฝั่งวัดจากเส้นฐาน (ปกติเป็นน้ำทะเลลงเต็มที่ปานกลาง) ของรัฐชายฝั่งไปไกลที่สุด 12 ไมล์ทะเล (22.2 กิโลเมตร) ทะเลอาณาเขตถือเป็นเขตแดนอธิปไตยของรัฐ แต่เรือต่างด้าว (ทั้งทหารและพลเรือน) ได้รับอนุญาตให้ผ่านน่านน้ำของรัฐอื่นโดยสุจริต อำนาจอธิปไตยนี้ยังขยายรวมน่านฟ้าเหนือและพื้นทะเลใต้น่านน้ำอาณาเขตด้วย ในกฎหมายระหว่างประเทศ การปรับเขตแดนเหล่านี้เรียก การปักปันเขตทางทะเล คำว่า "น่านน้ำอาณาเขต" บางครั้งใช้อย่างไม่เป็นทางการอธิบายน่านน้ำใด ๆ ที่รัฐหนึ่งมีเขตอำนาจ ซึ่งรวมน่านน้ำภายใน เขตนอกน่านน้ำอาณาเขต (contiguous zone) เขตเศรษฐกิจจำเพาะ และอาจรวมไหล่ทวีปด้ว.

ใหม่!!: ประเทศฟิลิปปินส์และน่านน้ำอาณาเขต · ดูเพิ่มเติม »

แผนการโคลัมโบ

แผนการโคลัมโบ (Colombo Plan) เป็นองค์การระดับภูมิภาคที่รัฐบาลในภูมิภาคเอเชียแปซิฟิกร่วมมือกันพัฒนาความเข้มแข็งทางเศรษฐกิจและสังคม เป้าหมายหลักของแผนการโคลอมโบคือการพัฒนาทรัพยากรมนุษ.

ใหม่!!: ประเทศฟิลิปปินส์และแผนการโคลัมโบ · ดูเพิ่มเติม »

แผ่นดินไหว

แผนที่โลกแสดงจุดศูนย์กลางแผ่นดินไหวระหว่างปี พ.ศ. 2506–2541 ทั้งสิ้น 358,214 จุด แผ่นดินไหว เป็นปรากฏการณ์สั่นสะเทือนหรือเขย่าของพื้นผิวโลก เพื่อปรับตัวให้อยู่ในสภาวะสมดุล ซึ่งแผ่นดินไหวสามารถก่อให้เกิดความเสียหายและภัยพิบัติต่อบ้านเมือง สิ่งมีชีวิต ส่วนสาเหตุของการเกิดแผ่นดินไหวนั้นส่วนใหญ่เกิดจากธรรมชาติ โดยแผ่นดินไหวบางลักษณะสามารถเกิดจากการกระทำของมนุษย์ได้ แต่มีความรุนแรงน้อยกว่าที่เกิดขึ้นเองจากธรรมชาติ นักธรณีวิทยาประมาณกันว่าในวันหนึ่ง ๆ จะเกิดแผ่นดินไหวประมาณ 1,000 ครั้ง ซึ่งส่วนใหญ่จะเป็นแผ่นดินไหวที่มีการสั่นสะเทือนเพียงเบา ๆ เท่านั้น คนทั่วไปจะไม่รู้สึกถึงแรงสั่นสะเทือน แผ่นดินไหวเป็นปรากฏการณ์ธรรมชาติที่เกิดจากการเคลื่อนที่ของแผ่นเปลือกโลก (แนวระหว่างรอยต่อธรณีภาค) ทำให้เกิดการเคลื่อนตัวของชั้นหินขนาดใหญ่เลื่อน เคลื่อนที่ หรือแตกหักและเกิดการโอนถ่ายพลังงานศักย์ ผ่านในชั้นหินที่อยู่ติดกัน พลังงานศักย์นี้อยู่ในรูปคลื่นไหวสะเทือน ศูนย์เกิดแผ่นดินไหวมักเกิดตามรอยเลื่อน อยู่ในระดับความลึกต่าง ๆ ของผิวโลก เท่าที่เคยวัดได้ลึกสุดอยู่ในชั้นแมนเทิล ส่วนจุดที่อยู่ในระดับสูงกว่า ณ ตำแหน่งผิวโลก เรียกว่า จุดเหนือศูนย์เกิดแผ่นดินไหว โดยการศึกษาเรื่องแผ่นดินไหวและคลื่นสั่นสะเทือนที่ถูกส่งออกมา เรียกว่า วิทยาแผ่นดินไหว เมื่อจุดเหนือศูนย์เกิดแผ่นดินไหวของแผ่นดินไหวขนาดใหญ่อยู่นอกชายฝั่ง อาจเกิดคลื่นสึนามิตามมาได้ นอกจากนี้ แผ่นดินไหวยังอาจก่อให้เกิดดินถล่ม และบางครั้งกิจกรรมภูเขาไฟตามมาได้ แผ่นดินไหววัดโดยใช้การสังเกตจากไซสโมมิเตอร์ (seismometer) มาตราขนาดโมเมนต์เป็นมาตราที่ใช้มากที่สุดซึ่งทั่วโลกรายงานแผ่นดินไหวที่มีขนาดมากกว่าประมาณ 5 สำหรับแผ่นดินไหวอีกจำนวนมากที่ขนาดเล็กกว่า 5 แมกนิจูด สำนักเฝ้าระวังแผ่นดินไหวแต่ละประเทศจะวัดด้วยมาตราขนาดท้องถิ่นเป็นส่วนใหญ่ หรือเรียก มาตราริกเตอร์ สองมาตรานี้มีพิสัยความถูกต้องคล้ายกันในเชิงตัวเลข แผ่นดินไหวขนาด 3 หรือต่ำกว่าส่วนใหญ่แทบไม่รู้สึกหรือรู้สึกได้เบามาก ขณะที่แผ่นดินไหวตั้งแต่ขนาด 7 อาจก่อความเสียหายรุนแรงเป็นบริเวณกว้าง ขึ้นอยู่กับความลึก แผ่นดินไหวขนาดใหญ่ที่สุดในประวัติศาสตร์มีขนาดมากกว่า 9 เล็กน้อย แม้จะไม่มีขีดจำกัดว่าขนาดจะมีได้ถึงเท่าใด แผ่นดินไหวใหญ่ล่าสุดที่มีขนาด 9.0 หรือมากกว่า คือ แผ่นดินไหวขนาด 9.0 ที่ประเทศญี่ปุ่นเมื่อปี 2554 และเป็นแผ่นดินไหวครั้งใหญ่ที่สุดเท่าที่เคยมีการบันทึกในญี่ปุ่น ความรุนแรงของการสั่นสะเทือนวัดโดยมาตราเมร์กัลลีที่ถูกดัดแปลง หากตัวแปรอื่นคงที่ แผ่นดินไหวที่อยู่ตื้นกว่าจะสร้างความเสียหายแก่สิ่งก่อสร้างมากกว่าแผ่นดินไหวที่อยู่ลึกกว.

ใหม่!!: ประเทศฟิลิปปินส์และแผ่นดินไหว · ดูเพิ่มเติม »

โรมันคาทอลิก

ระศาสนจักรคาทอลิก (Catholic Church) หรือ คริสตจักรโรมันคาทอลิก (Roman Catholic Church) เป็นคริสตจักรที่ใหญ่ที่สุดในโลกซึ่งมีศาสนิกชนกว่าพันล้านคน มีพระสันตะปาปาเป็นประมุข มีพันธกิจหลักคือ การประกาศข่าวดีเรื่องพระเยซูคริสต์ โปรดศีลศักดิ์สิทธิ์ และปฏิบัติกิจเมตตา ศาสนจักรคาทอลิกเป็นสถาบันที่เก่าแก่ที่สุดในโลกและมีบทบาทสำคัญในประวัติศาสตร์อารยธรรมตะวันตกO'Collins, p. v (preface).

ใหม่!!: ประเทศฟิลิปปินส์และโรมันคาทอลิก · ดูเพิ่มเติม »

โรดรีโก ดูแตร์เต

รดรีโก โรอา ดูแตร์เต (Rodrigo Roa Duterte) มักถูกเรียกด้วยชื่อเล่นว่า ดีกง เป็นนักการเมืองและทนายความชาวฟิลิปปินส์ ปัจจุบันดำรงตำแหน่งเป็นประธานาธิบดีฟิลิปปินส์คนที่ 16 เขาถือเป็นประธานาธิบดีคนแรกที่มาจากเกาะมินดาเนา ซึ่งที่นั่นเขาเคยดำรงตำแหน่งเป็นนายกเทศมนตรีเมืองดาเวาถึงกว่า 22 ปี ในขณะที่เป็นนายกเทศมนตรีเมืองดาเวานั้น เขาใช้นโยบายขั้นรุนแรงในการปราบปรามอาชญากรจนเมืองดาเวากลายเป็นเมืองที่มีอัตราอาชญากรรมต่ำที่สุดในฟิลิปปินส์ และตัวเขาได้รับฉายาว่า "ผู้ลงทัณฑ์" แต่ก็ถูกวิจารณ์ว่านโยบายของเขาทำให้มีผู้เสียชีวิตมากกว่าพันคน ใน..

ใหม่!!: ประเทศฟิลิปปินส์และโรดรีโก ดูแตร์เต · ดูเพิ่มเติม »

โครงการกูเทนแบร์ก

รงการกูเทนแบร์ก (Project Gutenberg หรือเรียกชื่อย่อว่า PG) เป็นโครงการอาสาสมัครเพื่อการแปรงานทางวัฒนธรรมเช่นงานวรรณกรรมเป็นดิจิทัลเพื่อการเก็บรักษาและเผยแพร่แก่สาธารณชน โครงการกูเทนแบร์กก่อตั้งขึ้นเมื่อปี ค.ศ. 1971 โดยไมเคิล เอส ฮาร์ท (Michael S. Hart) และเป็นห้องสมุดดิจิทัลที่เก่าที่สุด สื่อที่สะสมเป็นหนังสือทั้งเล่ม (full text) ที่ลิขสิทธิ์หมดอายุและเป็นสมบัติของสาธารณชน โครงการกูเทนแบร์กพยายามทำให้สาธารณชนสามารถใช้หนังสือเหล่านี้โดยไม่ต้องเสียเงินเท่าที่จะทำได้ และในรูปแบบที่ใช้ได้กับคอมพิวเตอร์โดยทั่วไป (open format) ในเดือนธันวาคม ค.ศ. 2007 โครงการกูเทนแบร์กกล่าวว่ามีสื่อกว่า 24,000 สื่อในโครงการ โครงการกูเทนแบร์กเกี่ยวข้องกับโครงการอื่นๆ ที่เป็นองค์การอิสระอีกหลายโครงการที่มีจุดประสงค์คล้ายคลึงกันและได้รับอนุญาตให้ใช้ตรา “Project Gutenberg” ถ้าเป็นไปได้ หนังสือหรือสื่อของโครงการกูเทนแบร์กจะเป็นเนื้อหาที่ไม่มีรูปแบบ (plain text) แต่รูปแบบอื่นก็มีให้เช่น HTML หนังสือหรือสื่อส่วนใหญ่เป็นภาษาอังกฤษแต่ก็มีบ้างที่เป็นภาษาอื่น โครงการมีความสัมพันธ์โดยตรงกับ โครงการผู้ตรวจสอบ (Distributed Proofreaders หรือเรียกชื่อย่อว่า DP) ซึ่งเป็นกลุ่มอาสาสมัครอินเทอร์เน็ตที่ช่วยตรวจสอบหนังสือและสือก่อนที่จะเผยแพร่แก่สาธารณชนในโครงการกูเทนแบร์ก.

ใหม่!!: ประเทศฟิลิปปินส์และโครงการกูเทนแบร์ก · ดูเพิ่มเติม »

โปรเตสแตนต์

นิกายโปรเตสแตนต์ (Protestantism) เป็นนิกายหนึ่งในศาสนาคริสต์ ใช้หมายถึงคริสต์ศาสนิกชนใด ๆ ที่ไม่ใช่โรมันคาทอลิกและออร์ทอดอกซ์ โปรเตสแตนต์เป็นขบวนการศาสนาที่มีจุดเริ่มต้นที่ประเทศเยอรมนีช่วงต้นคริสต์ศตวรรษที่ 16 เพื่อคัดค้านหลักความเชื่อและการปฏิบัติแบบโรมันคาทอลิก โดยเฉพาะในประเด็นที่เกี่ยวกับความรอด การทำให้ชอบธรรม และคริสตจักรวิทยา โปรเตสแตนต์แบ่งออกเป็นหลายคริสตจักรย่อย ซึ่งยึดหลักความเชื่อแตกต่างกันไป แต่โดยทั่วไปจะยอมรับหลักการเหมือนกันว่ามนุษย์จะเป็นคนชอบธรรมได้ก็โดยอาศัยพระคุณจากพระเจ้าผ่านทางความเชื่อเท่านั้น (เรียกว่าหลักโซลากราเซียและโซลาฟีเด) เชื่อว่าผู้เชื่อทุกคนเป็นปุโรหิต และคัมภีร์ไบเบิลมีอำนาจสูงสุดในการกำหนดหลักความเชื่อและศีลธรรม (เรียกว่าหลักโซลาสกริปตูรา) ในคริสต์ศตวรรษที่ 16 ศิษย์ของมาร์ติน ลูเทอร์ ได้ตั้งคริสตจักรอิแวนเจลิคัลแห่งเยอรมนีและสแกนดิเนเวียขึ้น ส่วนคริสตจักรปฏิรูปในประเทศฮังการี สวิตเซอร์แลนด์ สกอตแลนด์ และฝรั่งเศส ตั้งขึ้นโดยฌ็อง กาลแว็ง และนักปฏิรูปศาสนาคนอื่น ๆ เช่น ฮุลดริช ซวิงลี นอกจากนี้ยังมีจอห์น น็อกซ์ ที่ตั้งคริสตจักรปฏิรูปในฮังการีขึ้น ในประเทศอังกฤษการปฏิรูปศาสนานำโดยคริสตจักรแห่งอังกฤษ และยังมีขบวนการปฏิรูปศาสนาอีกหลายกลุ่มเกิดขึ้นทั่วยุโรปภาคพื้นทวีป เช่น การปฏิรูปแบบรุนแรง ซึ่งเป็นต้นกำเนิดของกลุ่มอนาแบ๊บติสต์ โมราเวียน และขวนการไพเอทิสต์อื่น.

ใหม่!!: ประเทศฟิลิปปินส์และโปรเตสแตนต์ · ดูเพิ่มเติม »

เฟอร์ดินานด์ มาเจลลัน

ฟอร์ดินานด์ มาเจลลัน (Ferdinand Magellan), ฟือร์เนา ดือ มากัลไยช์ (Fernão de Magalhães) หรือ เฟร์นันโด เด มากายาเนส (Fernando de Magallanes) เป็นนักเดินเรือชาวโปรตุเกส มีชีวิตอยู่ตรงกับรัชสมัยสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถและสมเด็จพระรามาธิบดีที่ 2 แห่งกรุงศรีอยุธยา เขาเกิดที่เมืองซาบรอซา ทางภาคเหนือของประเทศโปรตุเกส หลังจากรับราชการทหารที่อินเดียตะวันออกและโมร็อกโก มาเจลลันได้เสนอตัวทำงานให้กับพระเจ้าชาลส์ที่ 5 แห่งสเปนเพื่อค้นหาเส้นทางเดินเรือทางทิศตะวันตกสู่ "หมู่เกาะเครื่องเทศ" (หมู่เกาะโมลุกกะในประเทศอินโดนีเซียในปัจจุบัน) เขาจึงได้รับสัญชาติสเปนด้วย มาเจลลันได้เดินเรือออกจากเมืองเซบียาในปี พ.ศ. 2062 การเดินทางในช่วง..

ใหม่!!: ประเทศฟิลิปปินส์และเฟอร์ดินานด์ มาเจลลัน · ดูเพิ่มเติม »

เกาะบอร์เนียว

อร์เนียว (Borneo) หรือ กาลีมันตัน (Kalimantan) เป็นเกาะที่มีขนาดใหญ่เป็นอันดับ 3 ของโลก รองจากเกาะกรีนแลนด์ (อันดับ 1) และเกาะนิวกินี (อันดับ 2) มีประเทศ 3 ประเทศอยู่ในเกาะบอร์เนียว คือ มาเลเซีย บรูไน อินโดนีเซีย อยู่บริเวณใจกลางกลุ่มเกาะมลายูและประเทศอินโดนีเซีย ในทางภูมิศาสตร์ เกาะบอร์เนียวเป็นส่วนหนึ่งของเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ มีทรัพยากรน้ำมันและก๊าซธรรมชาติมากที่สุดในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้.

ใหม่!!: ประเทศฟิลิปปินส์และเกาะบอร์เนียว · ดูเพิ่มเติม »

เกาะลูซอน

ลูซอน (Luzon) เป็นเกาะที่ใหญ่ที่สุดและมีความสำคัญทางเศรษฐกิจและการเมืองมากที่สุดของประเทศฟิลิปปินส์ และเป็นหนึ่งในกลุ่มเกาะทั้งสามกลุ่มของประเทศ (อีกสองกลุ่มได้แก่ วีซายันและมินดาเนา) โดยกลุ่มเกาะลูซอน ได้แก่ ตัวเกาะลูซอนเอง รวมทั้งหมู่เกาะบาตันและหมู่เกาะบาบูยันทางทิศเหนือ และเกาะต่าง ๆ ทางทิศใต้ ได้แก่ เกาะกาตันดัวเนส เกาะมารินดูเก เกาะมัสบาเต เกาะรอมบลอน และเกาะมินโดโร เกาะลูซอนปรากฏในประวัติศาสตร์จีนในชื่อว่า "จักรวรรดิซ้องน้อย" (Lesser Song Empire) หรือ Lusong Kok จากนั้นนักสำรวจชาวโปรตุเกสได้บันทึกเกาะนี้ไว้ในแผนที่ของพวกเขาในชื่อ "ลูโซเนีย" (Luçonia) หรือ "ลูซอน" (Luçon) ชาวสเปนเข้ามาถึงเกาะนี้และอ้างกรรมสิทธิ์เพื่อครอบครองในปลายคริสต์ศตวรรษที่ 16 ภายใต้การปกครองของสเปน ลูซอนยังมีชื่อเรียกว่า นวยบากัสตียา (Nueva Castilla) หรือ นิวคาสตีล (New Castile) อีกด้วย ต่อมาในช่วงการปฏิวัติฟิลิปปินส์ เอมีลีโอ อากีนัลโดได้ประกาศเอกราชจากสเปนและจัดตั้งสาธารณรัฐฟิลิปปินส์ที่ 1 ที่เกาะแห่งนี้ แต่หลังจากนั้นทั้งหมู่เกาะก็ตกไปอยู่ในการปกครองของสหรัฐอเมริกา จนกระทั่งเกาะลูซอนและเกาะอื่น ๆ ได้เอกราชอย่างสมบูรณ์อีกครั้งในปี ค.ศ. 1946 ลูซอน.

ใหม่!!: ประเทศฟิลิปปินส์และเกาะลูซอน · ดูเพิ่มเติม »

เกาะซูลาเวซี

ซูลาเวซี (Sulawesi) หรือเดิมเรียกว่า เซเลบีส (Celebes) ซึ่งมาจากภาษาโปรตุเกส เป็นหนึ่งในเกาะซุนดาใหญ่ 4 เกาะของประเทศอินโดนีเซีย ชาวยุโรปพวกแรกที่เดินทางมายังเกาะแห่งนี้ คือ กะลาสีเรือชาวโปรตุเกส เมื่อ พ.ศ. 2055 และนับตั้งแต่ พ.ศ. 2212 เป็นต้นมา บริษัทอินเดียตะวันออกของเนเธอร์แลนด์ก็ได้ตั้งมั่นอยู่ที่มากัสซาร์ (Makassar) และเมื่อ พ.ศ. 2448 พื้นที่ทั้งเกาะกลายเป็นส่วนหนึ่งของนิคมชาวดัตช์อินเดียตะวันออก กระทั่งอินโดนีเซียประกาศเอกราช เมื่อ พ.ศ. 2498.

ใหม่!!: ประเทศฟิลิปปินส์และเกาะซูลาเวซี · ดูเพิ่มเติม »

เกซอนซิตี

กซอนซิตี (Quezon City; ฟิลิปีโน: Lungsod Quezon) เป็นเมืองที่ใหญ่ที่สุดและมีประชากรมากที่สุดในประเทศฟิลิปปินส์ เคยเป็นเมืองหลวงของฟิลิปปินส์ระหว่างปี..

ใหม่!!: ประเทศฟิลิปปินส์และเกซอนซิตี · ดูเพิ่มเติม »

เมโทรมะนิลา

มหานครมะนิลาRepublic of the Philippines.

ใหม่!!: ประเทศฟิลิปปินส์และเมโทรมะนิลา · ดูเพิ่มเติม »

เอกราช

อกราช คือ ความเป็นอิสระในการปกครองตนเองของชาติหรือรัฐ มีอำนาจอธิปไตยไม่ถูกกดขี่ควบคุมทางการเมืองหรือเป็นอาณานิคมจากรัฐบาลภายนอก.

ใหม่!!: ประเทศฟิลิปปินส์และเอกราช · ดูเพิ่มเติม »

เอเชียตะวันออก

แผนที่เอเชียตะวันออก เอเชียตะวันออกเป็นอนุภูมิภาคของทวีปเอเชีย มีพื้นที่ประมาณ 6,640,000 ตารางกิโลเมตร หรือ 15% ของพื้นที่ทั้งหมดของทวีปเอเชีย ประเทศซึ่งมีพื้นที่ตั้งอยู่ในภูมิภาคเอเชียตะวันออก มีดังต่อไปนี้.

ใหม่!!: ประเทศฟิลิปปินส์และเอเชียตะวันออก · ดูเพิ่มเติม »

เอเชียตะวันออกเฉียงใต้

อเชียตะวันออกเฉียงใต้, อุษาคเนย์ หรือ เอเชียอาคเนย์ เป็นอนุภูมิภาคของทวีปเอเชีย ประกอบด้วยประเทศต่าง ๆ ซึ่งทิศเหนือติดจีน ทิศตะวันตกติดอินเดีย ทิศตะวันออกติดปาปัวนิวกินี และทิศใต้ติดออสเตรเลีย ภูมิภาคดังกล่าวตั้งอยู่บนรอยต่อของแผ่นทวีปหลายแผ่นที่ยังมีการไหวสะเทือนรุนแรงและการปะทุของภูเขาไฟอยู่ต่อเนื่อง เอเชียตะวันออกเฉียงใต้แบ่งได้ภาคภูมิศาสตร์ได้สองภาค ได้แก่ เอเชียตะวันออกเฉียงใต้แผ่นดินใหญ่หรืออินโดจีน ประกอบด้วย กัมพูชา ลาว พม่า ไทย เวียดนาม และมาเลเซียตะวันตก และเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ภาคพื้นสมุทร ประกอบด้วยบรูไน มาเลเซียตะวันออก ติมอร์-เลสเต อินโดนีเซีย ฟิลิปปินส์ และสิงคโปร.

ใหม่!!: ประเทศฟิลิปปินส์และเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ · ดูเพิ่มเติม »

เอเชียใต้

แผนที่เอเชียใต้ สีเขียวเข้มแสดงเอเชียใต้โดยทั่วไป และสีเขียวอ่อนคือเขตที่สหประชาชาติหมายถึงเอเชียใต้ เอเชียใต้เป็นภูมิภาคของทวีปเอเชีย และเป็นที่ตั้งของประเทศอินเดีย ปากีสถาน บังคลาเทศ ศรีลังกา เนปาล ภูฏาน และมัลดีฟส์ มีพื้นที่กว้าง 4,480,000 ตารางกิโลเมตร หรือ 12% ของทวีปเอเชีย ภูมิภาคนี้ยังเป็นที่รู้จักกันในอีกชื่อหนึ่งว่า อนุทวีปอินเดีย ประเทศที่ตั้งอยู่ในภูมิภาคนี้ทั้งหมดต่างก็เป็นสมาชิกขององค์กรความร่วมมือในภูมิภาคเอเชียใต้ (The South Asian Association for Regional Cooperation หรือ SAARC) ในบางครั้งพื้นที่บางส่วนหรือทั้งหมดของประเทศอัฟกานิสถาน ก็ถูกจำแนกให้เป็นส่วนหนึ่งของภูมิภาคเอเชียใต้ด้วย อนุภูมิภาคเอเชียใต้แบ่งออกเป็น 3 ส่วนคือ.

ใหม่!!: ประเทศฟิลิปปินส์และเอเชียใต้ · ดูเพิ่มเติม »

เขตบริหารคอร์ดิลเยรา

ตบริหารคอร์ดิลเยรา (อีโลกาโน: Rehion/Deppaar Administratibo ti Kordiliera; Rehiyong Pampangasiwaan ng Cordillera) หรือชื่อย่อ CAR เป็นเขตบริหารเขตหนึ่งของประเทศฟิลิปปินส์ ตั้งอยู่บนเกาะลูซอน เป็นเพียงเขตเดียวของประเทศที่ไม่มีทางออกสู่ทะเล ล้อมรอบด้วยเขตอีโลโคสทางทิศตะวันตกและตะวันตกเฉียงใต้ และเขตลัมบักนางคากายันทางทิศเหนือ ตะวันออก และตะวันออกเฉียงใต้ อ้างอิงจากสำมะโนประชากร..

ใหม่!!: ประเทศฟิลิปปินส์และเขตบริหารคอร์ดิลเยรา · ดูเพิ่มเติม »

เขตบีโคล

ตบีโคล หรือเรียกสั้น ๆ ว่า บีโคล (บีโคล: Rehiyon nin Bikol/Kabikolan; Rinconada Bicol: Rehiyon ka Bikol; Kabikulan; Bicolandia) หรือ เขตที่ 5 เป็นเขตหนึ่งของประเทศฟิลิปปินส์ ประกอบไปด้วย 6 จังหวัด โดยมี 4 จังหวัดบนคาบสมุทรบีโคล (ตะวันออกเฉียงใต้ของเกาะลูซอน) – จังหวัดอัลไบ, จังหวัดฮีลากังคามารีเนส, จังหวัดตีโมกคามารีเนส, จังหวัดซอร์โซโกน) และอีก 2 จังหวัดที่เกาะ (จังหวัดคาตันดัวเนส และจังหวัดมัสบาเต). Department of Agriculture Web Site; retrieved 22 May 2012. เมืองหลักและเมืองใหญ่สุดของเขตนี้คือ เลกาซปี. Bicol Region Official website; retrieved 22 May 2012. เขตบีโคลติดต่อกับอ่าวลาโมนทางทิศเหนือ, ทะเลฟิลิปปินส์ทางทิศตะวันออก, ทะเลซีบูยัน และอ่าวราไก ทางทิศตะวันตก.

ใหม่!!: ประเทศฟิลิปปินส์และเขตบีโคล · ดูเพิ่มเติม »

เขตกิตนางลูโซน

กิตนางลูโซน (Gitnang Luzon; Central Luzon; กาปัมปางัน: Kalibudtarang Luzon; ปังกาซีนัน: Pegley na Luzon; อีโลคาโน: Tengnga a Luzon) หรือ เขตที่ 3 เป็นเขตการปกครองของประเทศฟิลิปปินส์ ครอบคลุมพื้นที่ 7 จังหวัดทางตอนกลางของเกาะลูซอน สภาพภูมิประเทศเป็นที่ราบกว้างขวางและเป็นแหล่งปลูกข้าวที่สำคัญ โดยเป็นเขตที่ผลิตข้าวได้มากที่สุดของประเทศ จึงได้รับฉายา "ยุ้งข้าวแห่งฟิลิปปินส์" จังหวัดในเขตนี้ได้แก่ จังหวัดเอาโรรา‎, จังหวัดบาตาอัน, จังหวัดบูลาคัน, จังหวัดนูเวบาเอซีฮา, จังหวัดปัมปังกา, จังหวัดตาร์ลัก และจังหวัดซัมบาเล.

ใหม่!!: ประเทศฟิลิปปินส์และเขตกิตนางลูโซน · ดูเพิ่มเติม »

เขตกิตนางคาบีซายาอัน

ตกิตนางคาบีซายาอัน (เซบัวโน: Tunga-tungang Kabisay-an; Gitnang Kabisayaan) หรือ เขตที่ 7 เป็นเขตหนึ่งของประเทศฟิลิปปินส์ ประกอบด้วย 4 จังหวัด (จังหวัดโบโฮล, จังหวัดเซบู, จังหวัดซีลางังเนโกรส และจังหวัดซีคีฮอร์) และ 3 นครที่มีประชากรสูง (เซบูซิตี, ลาปู-ลาปู และมันดาอูเว) เกาะที่สำคัญได้แก่ เซบู, โบฮอล, ซีคีฮอร์ และเนโกรส ศูนย์กลางของเขตนี้คือ เซบูซิตี เขตนี้มีเนื้อที่ประมาณ 15,895.66 ตารางกิโลเมตร และมีประชากร 7,396,898 คน ถือว่าเป็นเขตที่มีประชากรมากสุดอันดับที่ 2 ของหมู่เกาะวิซายัส ในวันที่ 29 พฤษภาคม..

ใหม่!!: ประเทศฟิลิปปินส์และเขตกิตนางคาบีซายาอัน · ดูเพิ่มเติม »

เขตมีมาโรปา

ตเซาเวสเทิร์นตากาล็อก หรือ เขตมีมาโรปา เป็นเขตหนึ่งของประเทศฟิลิปปินส์ เคยเป็นเขตที่ 4-B จนถึง..

ใหม่!!: ประเทศฟิลิปปินส์และเขตมีมาโรปา · ดูเพิ่มเติม »

เขตลัมบักนางคากายัน

ลัมบักนางคากายัน (Lambak ng Cagayan; Cagayan Valley; อีโลคาโน: Tanap ti Cagayan; อีบานัก: Tana' na Cagayan; อีตาวิส: Tanap yo Cagayan) หรือ เขตที่ 2 เป็นเขตการปกครองระดับบนสุดเขตหนึ่งของประเทศฟิลิปปินส์ ตั้งอยู่ทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือของเกาะลูซอน ประกอบด้วยจังหวัด 5 จังหวัด ได้แก่ จังหวัดบาตาเนส, จังหวัดคากายัน, จังหวัดอีซาเบลา, จังหวัดนูเวบาบิซคายา และจังหวัดคีรีโน และมีนคร 4 แห่ง ได้แก่ คาวายัน, อีลากัน, ซันเตียโก และตูเกกาเรา พื้นที่ส่วนใหญ่ตั้งอยู่ในหุบเขาทางตะวันออกเฉียงเหนือของเกาะ อยู่ระหว่างทิวเขาคอร์ดิลเยรา‎กับซีเยร์รามาเดร แม่น้ำสายสำคัญคือแม่น้ำคากายัน ซึ่งเป็นแม่น้ำที่ยาวเป็นอันดับที่สองของประเทศ ไหลจากทิวเขาคาราบัลโยทางทิศใต้ ไปสู่ช่องแคบลูซอนทางทิศเหนือ เขตนี้ยังครอบคลุมถึงหมู่เกาะบาบูยันและกลุ่มเกาะบาตาเนสทางทิศเหนืออีกด้วย ลัมบักนางคากายันเป็นเขตที่มีพื้นที่ใหญ่เป็นอันดับที่สองของประเทศ รองจากเขตมีมาโรป.

ใหม่!!: ประเทศฟิลิปปินส์และเขตลัมบักนางคากายัน · ดูเพิ่มเติม »

เขตอีโลโคส

ตอีโลโคส (Rehiyon ng Ilocos; Ilocos Region; อีโลคาโน: Rehion/Deppaar ti Ilocos; ปังกาซีนัน: Sagor na Baybay na Luzon) หรือ เขตที่ 1 เป็นเขตหนึ่งของประเทศฟิลิปปินส์ ครอบคลุมพื้นที่ทางตะวันตกเฉียงเหนือของเกาะลูซอน ติดกับเขตบริหารคอร์ดิลเยราทางทิศตะวันออก, เขตลัมบักนางคากายันทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือและตะวันออกเฉียงใต้ และเขตกิตนางลูโซน‎ทางทิศใต้ ส่วนทิศตะวันตกติดกับทะเลจีนใต้ จังหวัดของเขตนี้ได้แก่ ฮีลากังอีโลโคส, ตีโมกอีโลโคส, ลาอูนีโยน และปังกาซีนัน ศูนย์กลางของเขตอยู่ที่เมืองซันเฟร์นันโดในจังหวัดลาอูนีโยน ประชากรร้อยละ 66.36 ของเขตนี้พูดอีโลคาโน รองลงมาคือภาษาปังกาซีนัน (ร้อยละ 27.05) และภาษาตากาล็อก (ร้อยละ 3.21).

ใหม่!!: ประเทศฟิลิปปินส์และเขตอีโลโคส · ดูเพิ่มเติม »

เขตฮีลากังมินดาเนา

ตฮีลากังมินดาเนา‎ (Hilagang Kamindanawan) หรือ เขตที่ 10 เป็นเขตหนึ่งของประเทศฟิลิปปินส์ ประกอบด้วย 5 จังหวัดและ 2 นครที่มีประชากรสูง เขตครอบคลุมพื้นที่ทางตอนเหนือถึงตอนกลางของเกาะมินดาเนาและเกาะของจังหวัดกามิกิน‎ ศูนย์กลางของเขตอยู่ที่เมืองคากายันเดอโอโร สำหรับจังหวัดฮีลากังลาเนา‎นั้น เคยอยู่ในเขตโซกซาร์เจนก่อนที่จะถูกย้ายเข้ามาในเขตนี้ ในเดือนกันยายน..

ใหม่!!: ประเทศฟิลิปปินส์และเขตฮีลากังมินดาเนา · ดูเพิ่มเติม »

เขตดาเบา

ตดาเบา หรือชื่อเดิม เซาเทิร์นมินดาเนา (Timog Mindanao) หรือ เขตที่ 11 เป็นเขตหนึ่งของประเทศฟิลิปปินส์ ตั้งอยู่ทางภาคตะวันออกเฉียงใต้ของเกาะมินดาเนา ประกอบไปด้วย 5 จังหวัด ล้อมรอบด้วยอ่าวดาเบา เมืองศูนย์กลางของเขตนี้คือดาเบา สภาพภูมิอากาศ มีฝนตกตลอดทั้งปี และตั้งอยู่ในแนวพายุไต้ฝุ่น.

ใหม่!!: ประเทศฟิลิปปินส์และเขตดาเบา · ดูเพิ่มเติม »

เขตคันลูรังคาบีซายาอัน

ตคันลูรังคาบีซายาอัน (ฮีลีไกโนน: Kabisay-an Nakatundan; Kanlurang Kabisayaan) หรือ เขตที่ 6 เป็นเขตหนึ่งของประเทศฟิลิปปินส์ ประกอบไปด้วย 6 จังหวัด ได้แก่ จังหวัดอักลัน, จังหวัดอันตีเค‎, จังหวัดคาปิซ‎, จังหวัดกีมารัส, จังหวัดอีโลอีโล‎ และจังหวัดคันลูรังเนโกรส และ 2 นครที่มีประชากรอย่างสูง ได้แก่ บาโคโลด และอีโลอีโลซิตี ซึ่งเป็นศูนย์กลางของเขตนี้ ภาษาที่ใช้กันส่วนใหญ่คือภาษาฮีลีไกโนน ภาษาอักลัน ภาษาคาปิซ ภาษากินาไรอา และภาษาเซบัวโน เขตนี้มีพื้นที่ 20,794.18 ตารางกิโลเมตร ประชากร 7,536,383 คน เป็นเขตที่มีประชากรมากที่สุดของหมู่เกาะวิซายั.

ใหม่!!: ประเทศฟิลิปปินส์และเขตคันลูรังคาบีซายาอัน · ดูเพิ่มเติม »

เขตคารากา

ตคารากา หรือ เขตบริหารคารากา หรือ เขตที่ 13 เป็นเขตหนึ่งของประเทศฟิลิปปินส์ ครอบคลุมพื้นที่ทางตะวันออกเฉียงเหนือของเกาะมินดาเนา เขตนี้ถูกก่อตั้งโดย กฎหมายสาธารณรัฐที่ 7901 เมื่อวันที่ 23 กุมภาพัน..

ใหม่!!: ประเทศฟิลิปปินส์และเขตคารากา · ดูเพิ่มเติม »

เขตคาลาบาร์โซน

ใจกลางเมืองลูเซนา เขตคาลาบาร์โซน หรือชื่อเดิม เซาเทิร์นตากาล็อกเมนแลนด์ หรือ เขตที่ 4-เอ เป็นเขตหนึ่งของประเทศฟิลิปปินส์ ประกอบด้วย 5 จังหวัด ได้แก่ จังหวัดบาตังกัส, จังหวัดคาบีเต, จังหวัดลากูนา, จังหวัดเคโซน และจังหวัดรีซัล และมีเมืองที่มีประชากรจำนวนมากอย่างลูเซนา ชื่อของเขตนี้ มีที่มาจากส่วนหนึ่งของชื่อจังหวัดทั้งห้ามาต่อกัน เมืองหลักของเขตนี้คือเมืองคาลัมบา จังหวัดลากูนา คาลาบาร์โซนเป็นเขตที่มีประชากรมากที่สุดอันดับหนึ่ง และมีความหนาแน่นของประชากรเป็นอันดับที่สองของประเทศ เขตคาลาบาร์โซน อยู่ทางทิศใต้ของเมโทรมะนิลา ติดกับอ่าวมะนิลาทางทิศตะวันตก ติดกับอ่าวลามอนและเขตบีโคลทางทิศตะวันออก ติดกับอ่าวทายาบัส ทะเลซีบูยันทางทิศใต้ และติดกับจังหวัดเอาโรรา จังหวัดบาลูคัน และเมโทรมะนิลาทางทิศเหนือ สถานที่สำคัญได้แก่ ภูเขามากิลิง และภูเขาไฟทาอัล เขตคาลาบาร์โซนและมีมาโรปา‎ เคยรวมกันเป็นเซาเทิร์นตากาล็อกมาก่อน และแยกตัวออกจากกันในปี..

ใหม่!!: ประเทศฟิลิปปินส์และเขตคาลาบาร์โซน · ดูเพิ่มเติม »

เขตตังไวนางซัมบวงกา

ตตังไวนางซัมบวงกา‎ (ชาบากาโน: Peninsula de Zamboanga; เซบัวโน: Lawis sa Zamboanga; Tangway ng Zamboanga) หรือ เขตที่ 9 เป็นเขตหนึ่งของประเทศฟิลิปปินส์ ประกอบด้วย 3 จังหวัดและ 2 นคร ได้แก่ อีซาเบลาและซัมบวงกาซิตี ซึ่งเคยเป็นส่วนหนึ่งของจังหวัดบาซีลันและได้รับการแต่งตั้งให้เป็นนครที่มีประชากรอย่างสูงในเวลาต่อมา ชื่อเดิมของเขตนี้คือ เวสเทิร์นมินดาเนา ก่อนมีการประกาศเปลี่ยนแปลง ใช้เมื่อวันที่ 19 กันยายน..

ใหม่!!: ประเทศฟิลิปปินส์และเขตตังไวนางซัมบวงกา · ดูเพิ่มเติม »

เขตซีลางังคาบีซายาอัน

ตซีลางังคาบีซายาอัน (วาไร: Sinirangan Kabisay-an; เซบัวโน: Sidlakang Kabisay-an; Silangang Kabisayaan) หรือ เขตที่ 8 เป็นเขตหนึ่งของประเทศฟิลิปปินส์ ประกอบด้วย 3 หมู่เกาะหลัก ได้แก่ เกาะซามาร์, เกาะเลเต และเกาะบีลีรัน เขตนี้มี 6 จังหวัด, 1 นครอิสระ และ 1 นครที่มีประชากรอย่างสูง (ตักโลบัน) เขตนี้ครอบคลุมพื้นที่ซีกตะวันออกของหมู่เกาะวิซายัส เขตซีลางังคาบีซายาอันติดกับทะเลฟิลิปปินทางทิศตะวันออก และมีสถานที่สำคัญอย่างสะพานซันฮวนนิโค ซึ่งเป็นสะพานที่ยาวที่สุดในประเทศ สำหรับในปี..

ใหม่!!: ประเทศฟิลิปปินส์และเขตซีลางังคาบีซายาอัน · ดูเพิ่มเติม »

เขตปกครองตนเองในมินดาเนามุสลิม

ตปกครองตนเองในมินดาเนามุสลิม (Awtonomong Rehiyon sa Muslim Mindanao, الحكم الذاتي الاقليمي لمسلمي مندناو Al-ḥukm adh-dhātiyy al-'aqlīmiyy limuslimiyy mindanāu; ตัวย่อ: ARMM) เป็นเขตปกครองตนเองบนเกาะมินดาเนา ประเทศฟิลิปปินส์ ประกอบด้วย 5 จังหวัดที่ประชากรนับถือศาสนาอิสลามเป็นศาสนาหลัก เขตนี้เป็นเพียงเขตเดียวของประเทศที่มีรัฐบาลปกครองเป็นของตนเอง ศูนย์กลางการปกครองอยู่ที่โกตาบาโตซิตี.

ใหม่!!: ประเทศฟิลิปปินส์และเขตปกครองตนเองในมินดาเนามุสลิม · ดูเพิ่มเติม »

เขตโซกซาร์เจน

ตโซกซาร์เจน (SOCCSKSARGEN) (สะกด) เป็นเขตหนึ่งของประเทศฟิลิปปินส์ อยู่ตอนกลางทางใต้ของเกาะมินดาเนา ถูกแต่งตั้งให้เป็น เขตที่ 12 โดยชื่อของเขตมากจากคำขึ้นต้นของจังหวัดและเมือง ได้แก่ South Cotabato, Cotabato City, North Cotabato, Sultan Kudarat, Sarangani, General Santos City ชื่อเดิมของเขตนี้คือ เซนทรัลมินดาเนา ศูนย์กลางของเขตอยู่ที่เมืองโคโรนาดัลในจังหวัดตีโมกโคตาบาโต ส่วนศูนย์กลางด้านอุตสาหกรรมและพาณิชยกรรมอยู่ที่เมืองเฮเนรัลซันโตส ซึ่งมีประชากรมากที่สุดของเขต.

ใหม่!!: ประเทศฟิลิปปินส์และเขตโซกซาร์เจน · ดูเพิ่มเติม »

เดอะนิวยอร์กไทมส์

อะนิวยอร์กไทมส์ (The New York Times) เป็นหนังสือพิมพ์รายวันที่ตีพิมพ์ในนครนิวยอร์กและจัดจำหน่ายไปทั่วโลก จัดการโดยบริษัทเดอะนิวยอร์กไทมส์ซึ่งตีพิมพ์หนังสือพิมพ์อื่นๆอีก 15 ฉบับ รวมถึง International Herald Tribune และ The Boston Globe ด้วย เดอะนิวยอร์กไทมส์เป็นหนังสือพิมพ์มหานครที่ใหญ่ที่สุดในสหรัฐอเมริกา มีฉายาว่า "Gray Lady" (สุภาพสตรีสีเทา) ก็เพราะหน้าตาและสำนวนที่ขรึมขลัง ถูกเรียกว่าเป็นหนังสือพิมพ์ที่บันทึกแห่งการณ์ต่างๆของชาติ เพราะมันมักถูกใช้เป็นแหล่งอ้างอิงที่เป็นทางการและได้รับความเชื่อถือ ก่อตั้งเมื่อ..

ใหม่!!: ประเทศฟิลิปปินส์และเดอะนิวยอร์กไทมส์ · ดูเพิ่มเติม »

เงินตรา

งิน หมายถึง วัตถุหรือเอกสารใด ๆ ที่เป็นที่ยอมรับกันโดยทั่วไปในการแลกเปลี่ยนกับสินค้าและบริการและใช้ชำระหนี้ในประเทศหรือในบริบทสังคมเศรษฐกิจหนึ่งๆตามตัวบทกฎหมาย หน้าที่หลักของเงินจำแนกได้ว่า (1) เป็นสื่อกลางการแลกเปลี่ยน (2) เป็นหน่วยวัดมูลค่า (3) เป็นเครื่องเก็บรักษามูลค่า และ (4) บางครั้งในอดีต เป็นมาตรฐานการชำระหนี้ภายหน้าT.H. Greco.

ใหม่!!: ประเทศฟิลิปปินส์และเงินตรา · ดูเพิ่มเติม »

เปลือกโลก

ภาพหน้าตัดของโลกทั้งหมด เปลือกโลก (Crust) เป็นเปลือกแข็งชั้นนอกสุดของโครงสร้างโลก มีทั้งที่เป็นแผ่นดิน และมหาสมุทร มีความหนาประมาณ 5 - 40 กิโลเมตร แบ่งออกเป็น 2 ส่วน ได้แก่ เปลือกโลกภาคพื้นทวีป (Continental Crust) เป็นหินแกรนิต มักมีความหนามาก มีความหนาแน่นต่ำ ประกอบด้วยแร่ อะลูมินา และซิลิกา เป็นส่วนใหญ่ ทำให้มีชื่อเรียกว่า ชนิดไซอัล (SIAL) และเปลือกโลกภาคพื้นสมุทร (Oceanic Crust) เป็นหินบะซอลต์ มักจะมีความหนาน้อยกว่าเปลือกโลกภาคพื้นทวีป มีความหนาแน่นมากกว่า เนื่องจากประกอบด้วยแร่ แมกนีเซียม และซิลิกา เป็นส่วนใหญ่ เรียกอีกชื่อหนึ่งว่า ชั้นไซมา (SIMA) แผ่นของเปลือกโลก (Crust of the Earth) ประกอบไปด้วยความหลากหลายของหินอัคนี หินแปร หินตะกอน รองรับด้วยชั้นเนื้อโลก Mantle ส่วนใหญ่ประกอบด้วยหิน peridotite หินที่มีความหนาแน่น และมีอยู่มากในเปลือกโลก รอยต่อระหว่างชั้นเปลือกโลก และชั้นเนื้อโลก หรือในทางธรณีวิทยาเรียกว่า ความไม่ต่อเนื่องของโมโฮโลวิคซิค (Mohorovicic’s discontinuity) คือเขตแดนที่ใช้เปรียบเทียบพฤติกรรมของคลื่นไหวสะเทือน หมวดหมู่:ธรณีวิทยา หมวดหมู่:เปลือกโลก.

ใหม่!!: ประเทศฟิลิปปินส์และเปลือกโลก · ดูเพิ่มเติม »

เปโซฟิลิปปินส์

ปโซฟิลิปปินส์ เป็นเงินตราประจำชาติของประเทศฟิลิปปินส์ (รหัสเงินตรา PHP).

ใหม่!!: ประเทศฟิลิปปินส์และเปโซฟิลิปปินส์ · ดูเพิ่มเติม »

.ph

.ph เป็นโดเมนอินเทอร์เน็ตระดับบนสุดตามรหัสประเทศ (ccTLD) สำหรับประเทศฟิลิปปินส์ เริ่มใช้ครั้งแรกเมื่อ พ.ศ. 2533.

ใหม่!!: ประเทศฟิลิปปินส์และ.ph · ดูเพิ่มเติม »

12 มิถุนายน

วันที่ 12 มิถุนายน เป็นวันที่ 163 ของปี (วันที่ 164 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 202 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: ประเทศฟิลิปปินส์และ12 มิถุนายน · ดูเพิ่มเติม »

25 มีนาคม

วันที่ 25 มีนาคม เป็นวันที่ 84 ของปี (วันที่ 85 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 281 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: ประเทศฟิลิปปินส์และ25 มีนาคม · ดูเพิ่มเติม »

4 กรกฎาคม

วันที่ 4 กรกฎาคม เป็นวันที่ 185 ของปี (วันที่ 186 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 180 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: ประเทศฟิลิปปินส์และ4 กรกฎาคม · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

Philippine IslandsPhilippinesสาธารณรัฐฟิลิปปินส์หมู่เกาะฟิลิปปินหมู่เกาะฟิลิปปินส์ฟิลิปินล์ฟิลิปินส์ฟิลิปปินฟิลิปปินส์

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »