โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

ประเทศเวียดนาม

ดัชนี ประเทศเวียดนาม

วียดนาม (Việt Nam เหฺวียดนาม) มีชื่ออย่างเป็นทางการคือ สาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม (Cộng hòa xã hội chủ nghĩa Việt Nam, ก่ง ฮหว่า สา โห่ย จู๋ เหงีย เหวียต นาม) เป็นประเทศในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ตั้งอยู่ทางด้านตะวันออกสุดของคาบสมุทรอินโดจีน มีพรมแดนติดกับประเทศจีน ทางทิศเหนือ ประเทศลาว และประเทศกัมพูชา ทางทิศตะวันตก และอ่าวตังเกี๋ย ทะเลจีนใต้ ทางทิศตะวันออกและใต้ หรือในภาษาเวียดนามเรียกเฉพาะทะเลทางทิศตะวันออกว่า ทะเลตะวันออก (Biển Đông, เบี๋ยน ดง) เวียดนามมีประชากรมากกว่า 89 ล้านคน ถือเป็นประเทศที่มีประชากรมากที่สุดเป็นอันดับ 13 ของโลก.

227 ความสัมพันธ์: บรรษัทแพร่ภาพกระจายเสียงอังกฤษชาชายฝั่งตอนกลางใต้ชายฝั่งตอนกลางเหนือชาวญวนชาวฝรั่งเศสชาวจีนชาวไร่ชาวนาชาวเขมรบาทหลวงชนชั้นขุนนางชนบทฟุตบอลทีมชาติเวียดนามพ.ศ. 1552พ.ศ. 1768พ.ศ. 1943พ.ศ. 1971พ.ศ. 2002พ.ศ. 2003พ.ศ. 2040พ.ศ. 2071พ.ศ. 2136พ.ศ. 2316พ.ศ. 2331พ.ศ. 2345พ.ศ. 2401พ.ศ. 2456พ.ศ. 2473พ.ศ. 2488พ.ศ. 2497พ.ศ. 2511พ.ศ. 2516พ.ศ. 2518พ.ศ. 2519พ.ศ. 585พรรคคอมมิวนิสต์อินโดจีนพรรคคอมมิวนิสต์เวียดนามพระสงฆ์พริกไทยพายุหมุนเขตร้อนกบฏกรุงเทพมหานครกลุ่มชาติพันธุ์ไท-กะไดกว่างโจวกองทุนการเงินระหว่างประเทศการปกครองการไม่มีศาสนาการเมืองกาแฟกุ้ง...ภาษาเวียดนามภาคตะวันออกเฉียงใต้ (เวียดนาม)ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ (เวียดนาม)ภาคตะวันตกเฉียงเหนือ (เวียดนาม)ภูมิปัญญามหาอำนาจมองโกลอยด์มาร์ชทหารเวียดนามมณฑลกวางตุ้งมติชน (หนังสือพิมพ์)ม้งยาสูบยางพารารัฐประหารราชการราชวงศ์ฉินรายชื่อประเทศเรียงตามจำนวนประชากรลัทธิฮหว่าหาวลัทธิคอมมิวนิสต์วังวี-ลีกศาสนาบาไฮศาสนาพุทธศาสนาอิสลามศาสนาฮินดูศาสนาคริสต์สมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้สยามสหรัฐสังคมสารานุกรมบริตานิกาสถานีวิทยุโทรทัศน์แห่งประเทศเวียดนามสงครามหมึก (สัตว์)อาณาจักรล้านนาอานัมสยามยุทธอำนาจอินโดจีนอินเทอร์เน็ตองค์กรนักข่าวไร้พรมแดนองค์การการค้าโลกอ่าวตังเกี๋ยอ่าวไทยฮานอยฮ่องกงผู้สำเร็จราชการจอหงวนจักรพรรดิจักรพรรดินีจักรวรรดิมองโกลจักรวรรดิเวียดนามจังหวัดบักเลียวจังหวัดบั๊กกั่นจังหวัดบั๊กซางจังหวัดบั๊กนิญจังหวัดบิ่ญถ่วนจังหวัดบิ่ญดิ่ญจังหวัดบิ่ญเฟื้อกจังหวัดบิ่ญเซืองจังหวัดบ่าเสียะ-หวุงเต่าจังหวัดฟู้เอียนจังหวัดฟู้เถาะจังหวัดกว๋างบิ่ญจังหวัดกว๋างหงายจังหวัดกว๋างจิจังหวัดกว๋างนามจังหวัดกว๋างนิญจังหวัดกอนตูมจังหวัดกาวบั่งจังหวัดก่าเมาจังหวัดลายเจิวจังหวัดล็องอานจังหวัดหลั่งเซินจังหวัดหล่าวกายจังหวัดหวิญฟุกจังหวัดหวิญล็องจังหวัดหายเซืองจังหวัดห่าติ๋ญจังหวัดห่าซางจังหวัดห่านามจังหวัดอานซางจังหวัดฮหว่าบิ่ญจังหวัดฮึงเอียนจังหวัดจ่าวิญจังหวัดทัญฮว้าจังหวัดท้ายบิ่ญจังหวัดท้ายเงวียนจังหวัดดั๊กลักจังหวัดดั๊กนงจังหวัดด่งท้าปจังหวัดด่งนายจังหวัดคั้ญฮหว่าจังหวัดซาลายจังหวัดซ้อกจังจังหวัดนามดิ่ญจังหวัดนิญบิ่ญจังหวัดนิญถ่วนจังหวัดเบ๊นแจจังหวัดเกียนซางจังหวัดเลิมด่งจังหวัดเหิ่วซางจังหวัดเหงะอานจังหวัดเอียนบ๊ายจังหวัดเถื่อเทียน-เว้จังหวัดเดี่ยนเบียนจังหวัดเตวียนกวางจังหวัดเตี่ยนซางจังหวัดเต็ยนิญจังหวัดเซินลาจิ๋นซีฮ่องเต้จื๋อโกว๊กหงือจื๋อโนมถ่านหินทหารทะเลจีนใต้ที่สูงตอนกลาง (เวียดนาม)ท่าอากาศยานนานาชาติล็องถั่ญท่าอากาศยานนานาชาติดานังท่าอากาศยานนานาชาติโหน่ยบ่ายท่าอากาศยานนานาชาติเตินเซินเญิ้ตขุนศึกข้าราชสำนักข้าวดานังดินดอนสามเหลี่ยมปากแม่น้ำแดงดินดอนสามเหลี่ยมปากแม่น้ำโขงด่งคริสต์คริสต์ศาสนิกชนความร่วมมือทางเศรษฐกิจเอเชีย-แปซิฟิกตรุษญวนตังเกี๋ยปฏิทินจันทรคติประชากรประมวลกฎหมายประวัติศาสตร์เวียดนามประธานาธิบดีเวียดนามประเทศกัมพูชาประเทศญี่ปุ่นประเทศฝรั่งเศสประเทศลาวประเทศสวิตเซอร์แลนด์ประเทศสิงคโปร์ประเทศจีนประเทศไทยประเทศไต้หวันประเทศเกาหลีใต้ประเทศเวียดนามประเทศเวียดนามใต้ประเทศเวียดนามเหนือปารีสปิโตรเลียมป้อมสนามนายกรัฐมนตรีเวียดนามนุงนครโฮจิมินห์แก๊สธรรมชาติแม่น้ำแดงแม่น้ำโขงแนวร่วมปลดปล่อยแห่งชาติเวียดนามใต้โฮจิมินห์โคชินไชนาไฟร์วอลล์ไฮฟองไผ่เกษตรกรรมเกิ่นเทอเว้เศรษฐกิจเหงียน ซวน ฟุกเอเชียตะวันออกเฉียงใต้เจิ่น ดั่ย กวางเทศกาลไหว้พระจันทร์เขตการค้าเสรี.vn2 กรกฎาคม2 กันยายน ขยายดัชนี (177 มากกว่า) »

บรรษัทแพร่ภาพกระจายเสียงอังกฤษ

ริษัทแพร่ภาพกระจายเสียงอังกฤษราชบัณฑิตยสถาน.

ใหม่!!: ประเทศเวียดนามและบรรษัทแพร่ภาพกระจายเสียงอังกฤษ · ดูเพิ่มเติม »

ชา

ใบชาเขียวในถ้วยชาจีน ชา เป็นผลผลิตทางเกษตรกรรมจากใบ ยอดอ่อน และก้านของต้นชา (Camellia sinensis) นำมาผ่านกรรมวิธีแปรรูปหลากหลาย "ชา" ยังหมายรวมถึงเครื่องดื่มกลิ่นหอมที่ทำจากพืชตากแห้งชนิดต่าง ๆ นำมาชงหรือต้มกับน้ำร้อน ชาเป็นเครื่องดื่มที่มีผู้บริโภคมากที่สุดเป็นอันดับสองของโลก รองจากน้ำ ชาทุกชนิดสามารถทำได้จากต้นชาต้นเดียวกัน แต่ผ่านกรรมวิธีแตกต่างกันออกไป.

ใหม่!!: ประเทศเวียดนามและชา · ดูเพิ่มเติม »

ชายฝั่งตอนกลางใต้

ฝั่งตอนกลางใต้ ชายฝั่งตอนกลางใต้ (Nam Trung Bộ; South Central Coast) เป็นหนึ่งในภูมิภาคของประเทศเวียดนาม ประกอบด้วยนครดานังซึ่งเป็นเทศบาลอิสระและอีก 7 จังหวัด ส่วน 2 จังหวัดทางภาคใต้คือจังหวัดบิ่ญถ่วนและจังหวัดนิญถ่วนบางครั้งจะได้รับการจัดเป็นส่วนหนึ่งของภาคตะวันออกเฉียงใต้ หมู่เกาะในทะเลจีนใต้คือ หมู่เกาะแพราเซล (อำเภอฮหว่างซา) และ หมู่เกาะสแปรตลี (อำเภอเจื่องซา) เป็นส่วนหนึ่งของภูมิภาคนี้.

ใหม่!!: ประเทศเวียดนามและชายฝั่งตอนกลางใต้ · ดูเพิ่มเติม »

ชายฝั่งตอนกลางเหนือ

ที่ตั้งของภูมิภาคชายฝั่งตอนกลางเหนือในประเทศเวียดนาม ชายฝั่งตอนกลางเหนือ (Bắc Trung Bộ; North Central Coast) เป็นหนึ่งในภูมิภาคของประเทศเวียดนาม ประกอบด้วย 6 จังหวัด ได้แก่ จังหวัดทัญฮว้า, จังหวัดเหงะอาน, จังหวัดห่าติ๋ญ, จังหวัดกว๋างบิ่ญ, จังหวัดกว๋างจิ และจังหวัดเถื่อเทียน-เว้ สองจังหวัดหลังเป็นจังหวัดทางตอนเหนือสุดของประเทศเวียดนามใต้จนถึงปี..

ใหม่!!: ประเทศเวียดนามและชายฝั่งตอนกลางเหนือ · ดูเพิ่มเติม »

ชาวญวน

วญวน หรือ เวียดนาม เรียกตนเองว่า เหวียต หรือ เหยียก (người Việt) หรือ กิญ (người Kinh) ภาษาไทยถิ่นอีสานและลาวเรียกว่า แกวแกว คือคำว่า แกว ๆ มีความหมายถึงเสียงดังแซดแต่ไม่ได้ศัพท์ ซึ่งจิตร ภูมิศักดิ์มองว่าน่าจะเป็นการล้อเลียนเสียงพูดในภาษาเวียดนามที่มีเสียงสูงต่ำตัดกันชัดเจนกว่าภาษาไทย-ลาว นอกจากนี้ยังมีคำลาวในวรรณคดีเรื่องท้าวฮุ่งเรียกชาวเวียดนามอย่างเหยียดหยามว่า แย้, แกวแย้ และแกวม้อย (จิตร ภูมิศักดิ์. ความเป็นมาของคำสยาม, ไทย ลาว และขอม และลักษณะทางสังคมของชื่อชนชาติ. พิมพ์ครั้งที่ 6. กรุงเทพฯ:ชนนิยม. 2556, หน้า 242-243) เป็นประชากรหลักของประเทศเวียดนาม และกระจายตัวอยู่ทางตอนใต้ของประเทศจีน เรียกว่า จิง จากการวิจัยของโรงพยาบาลแซ็ง-ลูยในกรุงปารีส ประเทศฝรั่งเศส ในการเปรียบเทียบชาวเวียดนามกับชาวเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ซึ่งแสดงให้เห็นถึงพันธุกรรมของประชากรอันใกล้ชิดด้วยวิธีการต่าง ๆ โดยมีตัวแสดงเอกลักษณ์เจ็ดประการที่ไม่ซ้ำกัน ผลลัพธ์บ่งชี้ว่าเวียดนามเป็นชาติพันธุ์สืบมาจากจีนและไทย ต่อมาในปี ค.ศ. 2001 ได้มีการศึกษายีน Human Leukocyte Antigen ที่ห้องปฏิบัติการของโรงพยาบาลมักคายในกรุงไทเป ได้จำแนกชาวเวียดนามไว้ในกลุ่มพันธุกรรมเดียวกับม้ง, ฮั่นตอนใต้, ปู้อี และไทย พร้อมกับครอบครัวที่หลากหลายอันประกอบด้วยไทยเชื้อสายจีน, สิงคโปร์เชื้อสายจีน, ชนหมิ่นหนาน (ฮกโล้) และจีนแ.

ใหม่!!: ประเทศเวียดนามและชาวญวน · ดูเพิ่มเติม »

ชาวฝรั่งเศส

วฝรั่งเศส (อังกฤษ: French, ฝรั่งเศส: Français) คือกลุ่มผสมของชาวเคลต์ ชาวเยอรมัน ชาวอิตาลี โดยมีประชากรประมาณ 85 ล้านคนทั่วโลก โดยมีประมาณ 66 ล้านคนในประเทศฝรั่งเศส ในสหรัฐอเมริกา 8.3-11 ล้านคน ในประเทศแคนาดา ประมาณ 4.7 ล้านคน และในประเทศแอฟริกาใต้ ประมาณ 2 ล้านคน และที่อื่นๆ ทั่วโลก โดยมีการขยายสังคมเพิ่มในช่วงการล่าอาณานิคม.

ใหม่!!: ประเทศเวียดนามและชาวฝรั่งเศส · ดูเพิ่มเติม »

ชาวจีน

รูปวาดในกรุงปักกิ่งแสดงถึงชนเผ่าทั้ง 56 ของจีน ชาวจีน อาจหมายถึง.

ใหม่!!: ประเทศเวียดนามและชาวจีน · ดูเพิ่มเติม »

ชาวไร่ชาวนา

ชาวนากำลังดำนาปลูกข้าวอยู่ ชาวไร่ชาวนา เกษตรกรหรือกสิกร เป็นผู้ประกอบอาชีพเกษตรกรรม คือ เลี้ยงสัตว์เอาอาหารหรือวัตถุดิบ คำนี้ปกติใช้กับผู้ที่กระทำอย่างใดอย่างหนึ่งดังนี้ ปลูกพืชไร่ สวนผลไม้ ไร่องุ่น เลี้ยงสัตว์ปีกหรือปศุสัตว์อื่น ชาวไร่ชาวนาอาจเป็นเจ้าของที่ดินเกษตรกรรมหรือทำงานเป็นผู้ใช้แรงงานบนที่ดินของผู้อื่นก็ได้ แต่ในประเทศเศรษฐกิจก้าวหน้า (advanced economy) ปกติชาวไร่ชาวนาเป็นเจ้าของไร่นา ขณะที่ลูกจ้างของไร่นานั้น เรียก คนงานไร่นา (farm workers หรือ farmhand) ทว่า เมื่อไม่นานนี้ ชาวนาเป็นบุคคลเพื่อสนับสนุนหรือปรับปรุงการเติบโตของที่ดินหรือพืชผลหรือเลี้ยงสัตว์ (เช่น ปศุสัตว์หรือปลา) โดยแรงงานและความใส่ใจ หมวดหมู่:อาชีพ หมวดหมู่:เกษตรกรรม.

ใหม่!!: ประเทศเวียดนามและชาวไร่ชาวนา · ดูเพิ่มเติม »

ชาวเขมร

วเขมร (Khmer people) เป็นหนึ่งในกลุ่มชาติพันธุ์ที่ใหญ่ที่สุดในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ มีมากที่สุดในประเทศกัมพูชา คิดเป็น 90% ของทั้งประเทศ Accessed July 14, 2008.

ใหม่!!: ประเทศเวียดนามและชาวเขมร · ดูเพิ่มเติม »

บาทหลวง

ทหลวงดนัย วรรณะ (อีสเทิร์นออร์ทอดอกซ์) และ ขวา-บาทหลวงสมเกียรติ บุญอนันตบุตร (โรมันคาทอลิก) บาทหลวง (priest)ราชบัณฑิตยสถาน, พจนานุกรมศัพท์ศาสนาสากล อังกฤษ-ไทย ฉบับราชบัณฑิตยสถาน, ราชบัณฑิตยสถาน, 2548, หน้า 387-8 หมายถึง นักบวชในศาสนาคริสต์นิกายโรมันคาทอลิกและออร์ทอดอกซ์ ส่วนนิกายโปรเตสแตนต์เรียก priest ว่า ปุโรหิต.

ใหม่!!: ประเทศเวียดนามและบาทหลวง · ดูเพิ่มเติม »

ชนชั้นขุนนาง

นชั้นขุนนางในโปแลนด์ ช่วงค.ศ. 1697-1795 งานเลี้ยงของเหล่าขุนนางและชนชั้นสูงในออสเตรีย ค.ศ. 1904 ชนชั้นขุนนาง (nobility) เป็นชนชั้นทางสังคมที่อยู่รองลงมาจากชนชั้นเจ้า ชนชั้นนี้ถือครองสิทธิ์หรือชื่อเสียงมากกว่าชนชั้นอื่นในสังคมเป็นส่วนใหญ่ มีการสืบทอดสิทธิ์ต่างๆเป็นรุ่นต่อรุ่น โดยที่สิทธิ์ของชนชั้นขุนนางอาจหมายถึง ความได้เปรียบเหนือกว่าชนชั้นอื่น หรืออาจเป็นเกียรติยศใหญ่โต ซึ่งมีบริบทแตกต่างกันไปในแต่ละประเทศและในแต่ละยุค ในสมัยก่อน การเป็นชนชั้นขุนนางและมีอภิสิทธิ์ต่างๆ มักจะถูกกำหนดหรือประกาศขึ้นโดยชนชั้นปกครอง แต่ถึงกระนั้น บุคคลอื่นนอกเหนือไปจากนี้ที่มีเงินทอง วิถีชีวิต หรือแวดวงคล้ายคลึงก็อาจจะเป็นเครื่องหมายเด่นที่จะถูกนับรวมเป็นชนชั้นขุนนาง แม้ว่าโดยหลักการแล้ว ชนชั้นขุนนางจะต้องมีปราสาทเป็นของตัวเองและคอยแสวงหาซึ่งอำนาจ ทรัพย์สมบัติ กำลังทหาร หรือความเป็นที่โปรดปรานของราชวงศ์ และการที่สามัญชนจะเป็นชนชั้นขุนนางได้นั้น มักจะใช้วิธีเข้าหาราชวงศ์เพื่อเป็นที่โปรดปราน ในชนชั้นขุนนางเองก็จะมีการแบ่งออกเป็นอีกหลายระดับ ในประเทศที่ปกครองโดยกษัตริย์มักจะมีกฎหมายหรือข้อบัญญัติเกี่ยวกับชนชั้นขุนนาง แต่ในบางอดีตประเทศที่เป็นสาธารณรัฐก็มีกฎหมายที่เกี่ยวเนื่องเช่นเดียวกัน อาทิ สาธารณรัฐดัตช์ (ค.ศ. 1581–1795), สาธารณรัฐเจนัว (ค.ศ. 1005–1815), สาธารณรัฐเวนิส (ค.ศ. 697–1797) เป็นต้น ในปัจจุบันยังคงมีอีกหลายประเทศที่มีข้อบัญญัติทางชนชั้นอยู่ในลักษณะไม่สืบทอดสิทธิ์ อาทิ ประเทศซานมารีโน, นครรัฐวาติกันในยุโรป ขุนนางจีนสมัยราชวงศ์หมิง แม้ว่าระบบขุนนางในประเทศส่วนใหญ่เป็นระบบขุนนางสืบตระกูลก็ตาม แต่ก็มีบางประเทศ(เช่นจีนหรือสยาม) ที่ตำแหน่งขุนนางยึดติดอยู่เฉพาะบุคคล ไม่มีการส่งต่อตำแหน่งและสิทธิไปถึงรุ่นลูกหลาน หากลูกหลานอยากจะเป็นขุนนางก็ต้องใช้ความรู้ความสามารถผ่านการสอบหรือใช้เส้นสายในการได้มาซึ่งบรรดาศัก.

ใหม่!!: ประเทศเวียดนามและชนชั้นขุนนาง · ดูเพิ่มเติม »

ชนบท

ป้ายบอกพื้นที่ชนบทในสวีเดน ชนบท หมายถึง ส่วนที่อยู่นอกเขตเมืองหรือเขตเทศบาล เป็นเขตแดนที่พ้นจากเมืองหลวง ออกไป มีประชากรที่เลี้ยงชีพด้วยการเกษตรกรรมเป็นสำคัญ มีระเบียบสังคมที่สอดคล้องกับลักษณะชุมชนแบบหมู่บ้าน ตั้งบ้านเรือนเป็นกลุ่มก้อน หรือกระจัดกระจายตามลักษณะภูมิประเทศหรือตามประเพณีนิยม มีความหนาแน่นของประชากรน้อยกว่าในเมือง.

ใหม่!!: ประเทศเวียดนามและชนบท · ดูเพิ่มเติม »

ฟุตบอลทีมชาติเวียดนาม

ฟุตบอลทีมชาติเวียดนาม เป็นทีมฟุตบอลตัวแทนจากประเทศเวียดนาม ควบคุมโดยสหพันธ์ฟุตบอลเวียดนาม ในปัจจุบัน ทีมชาติเวียดนามยังไม่มีผลงานระดับโลก หรือระดับเอเชีย เท่าไรนัก โดยผลงานที่ดีที่สุดในระดับอาเซียน คือรองชนะเลิศในไทเกอร์คัพ(ถือว่ากาก) ภายหลังจากเวียดนามแบ่งประเทศเป็น เวียดนามเหนือและเวียดนามใต้ ได้มีทีมชาติเกิดขึ้นสองทีม ในขณะที่ฟุตบอลทีมชาติเวียดนามเหนือไม่ค่อยมีผลงานในทางฟุตบอลเท่าไร โดยเล่นกับทีมอื่นในชาติคอมมิวนิสต์ ในระหว่างปี พ.ศ. 2499-พ.ศ. 2509 แต่เวียดนามใต้ ได้ร่วมเล่นในเอเชียนคัพและได้อันดับ 4 สองครั้ง และในปี พ.ศ. 2534 ทีมชาติเวียดนามได้ตั้งขึ้นภายหลังจากที่สองประเทศได้รวมกัน โดยรวมทีมเวียดนามใต้เข้าม.

ใหม่!!: ประเทศเวียดนามและฟุตบอลทีมชาติเวียดนาม · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 1552

ทธศักราช 1552 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: ประเทศเวียดนามและพ.ศ. 1552 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 1768

ทธศักราช 1768 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: ประเทศเวียดนามและพ.ศ. 1768 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 1943

ทธศักราช 1943 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: ประเทศเวียดนามและพ.ศ. 1943 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 1971

ทธศักราช 1971 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: ประเทศเวียดนามและพ.ศ. 1971 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2002

ทธศักราช 2002 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: ประเทศเวียดนามและพ.ศ. 2002 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2003

ทธศักราช 2003 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: ประเทศเวียดนามและพ.ศ. 2003 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2040

ทธศักราช 2040 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: ประเทศเวียดนามและพ.ศ. 2040 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2071

ทธศักราช 2071 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: ประเทศเวียดนามและพ.ศ. 2071 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2136

ทธศักราช 2136 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: ประเทศเวียดนามและพ.ศ. 2136 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2316

ทธศักราช 2316 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: ประเทศเวียดนามและพ.ศ. 2316 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2331

ทธศักราช 2331 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: ประเทศเวียดนามและพ.ศ. 2331 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2345

ทธศักราช 2345 ตรงกับคริสต์ศักราช 1802 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันศุกร์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพุธตามปฏิทินจูเลียน.

ใหม่!!: ประเทศเวียดนามและพ.ศ. 2345 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2401

ทธศักราช 2401 ตรงกับคริสต์ศักราช 1858 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันศุกร์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดีตามปฏิทินจูเลียน.

ใหม่!!: ประเทศเวียดนามและพ.ศ. 2401 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2456

ทธศักราช 2456 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1913 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพุธ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: ประเทศเวียดนามและพ.ศ. 2456 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2473

ทธศักราช 2473 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1930 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพุธตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: ประเทศเวียดนามและพ.ศ. 2473 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2488

ทธศักราช 2488 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1945 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ใหม่!!: ประเทศเวียดนามและพ.ศ. 2488 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2497

ทธศักราช 2497 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1954.

ใหม่!!: ประเทศเวียดนามและพ.ศ. 2497 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2511

ทธศักราช 2511 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1968 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: ประเทศเวียดนามและพ.ศ. 2511 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2516

ทธศักราช 2516 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1973 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: ประเทศเวียดนามและพ.ศ. 2516 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2518

ทธศักราช 2518 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1975 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพุธตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: ประเทศเวียดนามและพ.ศ. 2518 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2519

ทธศักราช 2519 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1976 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดี ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: ประเทศเวียดนามและพ.ศ. 2519 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 585

ทธศักราช 585 ใกล้เคียงกับ คริสต์ศักราช 42.

ใหม่!!: ประเทศเวียดนามและพ.ศ. 585 · ดูเพิ่มเติม »

พรรคคอมมิวนิสต์อินโดจีน

รรคคอมมิวนิสต์อินโดจีน (Communist Party of Indochina; Đông Dương Cộng sản Đảng) เป็นพรรคคอมมิวนิสต์หนึ่งในสามพรรคที่เป็นต้นกำเนิดของพรรคคอมมิวนิสต์เวียดนาม โดยอีกสองพรรคคือ พรรคคอมมิวนิสต์อันนัม และพันธมิตรคอมมิวนิสต์อินโดจีน ในเดือนมีนาคม..

ใหม่!!: ประเทศเวียดนามและพรรคคอมมิวนิสต์อินโดจีน · ดูเพิ่มเติม »

พรรคคอมมิวนิสต์เวียดนาม

รรคคอมมิวนิสต์เวียดนาม (Đảng Cộng sản Việt Nam) เป็นพรรคการเมืองที่ถูกกฎหมายพรรคเดียวในเวียดนาม เป็นพรรคนิยมลัทธิมากซ์-เลนินที่สนับสนุนโดยแนวหน้าปิตุภูมิเวียดนาม.

ใหม่!!: ประเทศเวียดนามและพรรคคอมมิวนิสต์เวียดนาม · ดูเพิ่มเติม »

พระสงฆ์

ระสงฆ์ หมายถึง หมู่สาวกของพระพุทธเจ้า ผู้ซึ่งฟังคำสั่งสอนของพระพุทธเจ้าแล้วเลื่อมใส สละเรือนออกบวช ถือวัตร ปฏิบัติ ตามพระธรรมวินัยที่พระบรมศาสดาสั่งสอนและกำหนดไว้ พระสงฆ์ จัดเป็นหนึ่งในพระรัตนตรัย ซึ่งได้แก่ พระพุทธเจ้า พระธรรม และพระสงฆ์ โดยพระสงฆ์ในพระรัตนตรัยหมายถึงเฉพาะพระอริยสงฆ์ คือบุคคลไม่ว่าคฤหัสถ์หรือนักบวช และไม่ว่ามนุษย์หรือเทวดา ที่ปฏิบัติธรรมจนได้บรรลุมรรคผล แต่โดยทั่วไปมักเข้าใจว่าพระสงฆ์คือภิกษุหรือภิกษุณี คือมนุษย์ที่ได้ฟังคำสั่งสอนแล้วเกิดความเลื่อมใสจนสละเรือนออกบวชตามพระพุทธเจ้า เพราะต้องการจะได้บรรลุธรรมตามพระพุทธเจ้าสั่งสอนไว้ ถือเป็นนักบวชในพระพุทธศาสนา พระภิกษุปฏิบัติตามสิกขาบทที่กำหนดไว้จำนวน 227 ข้อ ส่วนพระภิกษุณีรักษาสิกขาบท 311 ข้อ บางครั้งเรียกว่าสงฆ์ ภิกษุรูปแรกในพระศาสนาของพระโคตมพุทธเจ้าคือพระอัญญาโกณฑัญญ.

ใหม่!!: ประเทศเวียดนามและพระสงฆ์ · ดูเพิ่มเติม »

พริกไทย

ริกไทย เป็นพืชที่ได้รับการยอมรับว่าเป็นราชาของเครื่องเทศที่มีกลิ่นฉุน และเป็นเครื่องเทศที่ให้รสเผ็ดร้อน สามารถนำมาทำพริกไทยแห้งเป็นเครื่องปรุงอาหาร ซึ่งถ้าทำแห้งทั้งเปลือกจะได้พริกไทยดำเนื่องจากเปลือกเมื่อทำให้แห้งจะมีสีดำ ส่วนพริกไทยขาวได้จากการลอกเปลือกออกก่อน พบทั้งการใช้ประกอบอาหารทั้งผลแห้งและผลสดที่มีสีเขียว หรือผลแห้งป่นเป็นผงเรียกพริกไทยป่น ซึ่งพริกไทยเป็นพืชคนละสายพันธุ์กับพริก (Chilli).

ใหม่!!: ประเทศเวียดนามและพริกไทย · ดูเพิ่มเติม »

พายุหมุนเขตร้อน

รนแบนด์โดยรอบ, และลักษณะของพายุหมุนเขตร้อน ที่สามารถมองเห็นได้อย่างชัดเจนจากอวกาศ พายุหมุนเขตร้อน คือ ระบบพายุที่พัฒนามาจากศูนย์กลางของหย่อมความกดอากาศต่ำ, ลมแรง และการจัดเกลียวของพายุฝนฟ้าคะนอง ทั้งนี้ขึ้นกับสถานที่และความรุนแรง ซึ่งเกิดขึ้นบริเวณเขตร้อนของโลก ซึ่งมีชื่อเรียกต่างๆ กัน เช่น พายุเฮอร์ริเคน, พายุโซนร้อน, พายุไซโคลน, พายุดีเปรสชันเขตร้อน และพายุไซโคลนอย่างง่าย โดยทั่วไปรูปแบบพายุหมุนเขตร้อนจะมีขนาดใหญ่ขึ้นกับความสัมพันธ์กับน้ำอุ่น โดยพายุจะได้รับพลังงานผ่านการระเหยของน้ำบริเวณพื้นผิวมหาสมุทร ซึ่งในที่สุดน้ำเหล่านั้นจะควบแน่นอีกครั้งและเข้าไปอยู่ในกลุ่มเมฆและฝน เมื่ออากาศชื้นและความเย็นอิ่มตัว ซึ่งแหล่งพลังงานนี้จะแตกต่างกับพายุหมุนละติจูดกลาง ตัวอย่างเช่น นอร์อิสเทิร์น และพายุลมยุโรป ซึ่งได้รับพลังพลักดันหลักจากความแตกต่างของอุณหภูมิในแนวนอน โดยลมหมุนวนรอบอย่างรุนแรงของพายุหมุนเขตร้อนนั้นเป็นผลมาจากการอนุรักษ์โมเมนตัมเชิงมุม ซึ่งเกิดจากสภาวะการหมุนรอบตัวเองของโลก ขณะที่อากาศไหลเข้ามาสู่แกนกลางของการหมุน ผลที่ตามมา คือ พายุมักไม่ค่อยเกิดขึ้นภายใน 5° จากศูนย์สูตร พายุหมุนเขตร้อนโดยทั่วไปเส้นผ่านศูนย์กลางอยู่ที่ 100 - 4,000 กิโลเมตร คำว่า พายุหมุน (หรือไซโคลน) หมายถึง พายุหมุนตามธรรมชาติ ซึ่งลมจะพัดหมุนทวนเข็มนาฬิกาในซีกโลกเหนือ และจะพัดหมุนตามเข็มนาฬิกาในซีกโลกใต้ ซึ่งทิศทางตรงข้ามการของการไหลเวียนลม เป็นผลมาจากคอริโอลิส ส่วนคำว่า เขตร้อน หมายถึง แหล่งกำเนิดของพายุทางภูมิศาสตร์ ซึ่งเป็นรูปแบบพิเศษของทะเลในเขตร้อน นอกจากลมแรงและฝนตก พายุหมุนเขตร้อนมีความสามารถในการสร้างคลื่นสูง และก่อให้เกิดความเสียหายจากน้ำขึ้นจากพายุ และทอร์นาโด ซึ่งมักจะลดลงอย่างรวดเร็วในช่วงที่พายุอยู่บนแผ่นดิน เนื่องจากถูกตัดขาดจากแหล่งพลังงานหลักของมัน จากเหตุผลนี้ ทำให้บริเวณชายฝั่งทะเล มักมีความเสี่ยงที่จะเกิดความเสียหายจากพายุหมุนเขตร้อนมากกว่า เมื่อเทียบกับในแผ่นดิน อย่างไรก็ตามในแผ่นดินเองก็เกิดความเสียหายได้จากน้ำท่วมบนแผ่นดิน จากฝนตกหนัก และน้ำขึ้นจากพายุสามารถก่อให้เกิดน้ำท่วมบนแผ่นดินได้กว้างถึง 40 กิโลเมตร จากชายฝั่งทะเล แม้ว่าพายุหมุนเขตร้อนจะส่งผลกระทบต่อประชากรมนุษย์มหาศาล แต่พายุยังสามารถช่วยบรรเทาภาวะภัยแล้งได้ พวกมันยังพาพลังงานความร้อนออกไปจากเขตร้อน ข้ามผ่านไปยังละติจูดในเขตอบอุ่น ซึ่งอาจมีบทบาทสำคัญในการปรับเปลี่ยนสภาวะภูมิอากาศในระดับภูมิภาคและระดับโลก.

ใหม่!!: ประเทศเวียดนามและพายุหมุนเขตร้อน · ดูเพิ่มเติม »

กบฏ

กบฏ, ขบถ หรือ กระบถ อาจหมายถึง.

ใหม่!!: ประเทศเวียดนามและกบฏ · ดูเพิ่มเติม »

กรุงเทพมหานคร

กรุงเทพมหานคร เป็นเมืองหลวงและนครที่มีประชากรมากที่สุดของประเทศไทย เป็นศูนย์กลางการปกครอง การศึกษา การคมนาคมขนส่ง การเงินการธนาคาร การพาณิชย์ การสื่อสาร และความเจริญของประเทศ เป็นเมืองที่มีชื่อยาวที่สุดในโลก ตั้งอยู่บนสามเหลี่ยมปากแม่น้ำเจ้าพระยา มีแม่น้ำเจ้าพระยาไหลผ่านและแบ่งเมืองออกเป็น 2 ฝั่ง คือ ฝั่งพระนครและฝั่งธนบุรี กรุงเทพมหานครมีพื้นที่ทั้งหมด 1,568.737 ตร.กม.

ใหม่!!: ประเทศเวียดนามและกรุงเทพมหานคร · ดูเพิ่มเติม »

กลุ่มชาติพันธุ์ไท-กะได

กลุ่มชาติพันธุ์ไท-กะได หรือบางครั้งเรียกว่า กลุ่มชาติพันธุ์ไต-ไท เป็นชื่อเรียกโดยรวมของกลุ่มชาติพันธุ์ทั้งหมดในตระกูลภาษาไท-กะได กลุ่มชาติพันธุ์ ไท-กะได กระจายตัวอยู่ในภูมิภาคอุษาคเนย์ รับประทานข้าวเจ้า หรือข้าวเหนียว เป็นอาหารหลัก นิยมปลูกเรือนเสาสูง มีใต้ถุน อาศัยทั้งในที่ราบลุ่ม และบนภูเขา ประเพณีศพเป็นวิธีเผาจนเป็นเถ้าแล้วเก็บอัฐิไว้ให้ลูกหลานบูชา ศาสนาดั้งเดิมเป็นการนับถือผี นับถือบรรพบุรุษ และบูชาแถน (ผีฟ้า หรือเสื้อเมือง) มีประเพณีสำคัญคือ ประเพณีสงกรานต์ ซึ่งเป็นประเพณีเฉลิมฉลองวสันตวิษุวัต และการขึ้นปีใหม่ ทั้งนี้ คำเรียก ไต เป็นคำที่กลุ่มชนตระกูลไทใหญ่ใช้เรียกตนเอง ส่วน ไท เป็นคำเดียวกัน แต่เป็นสำเนียงของชาวไทน้อย และ ไทยสยาม บางครั้ง การใช้คำ ไต-ไท ในวงแคบจะหมายถึงเฉพาะผู้ที่ใช้ภาษาในกลุ่มภาษาไท (ไม่รวมกลุ่มภาษากะได เช่น ลักเกีย แสก คำ ต้ง หลี เจียมาว ฯลฯ).

ใหม่!!: ประเทศเวียดนามและกลุ่มชาติพันธุ์ไท-กะได · ดูเพิ่มเติม »

กว่างโจว

กว่างโจว กวางโจว หรือ กวางเจา (จีนตัวเต็ม: 廣州, จีนตัวย่อ: 广州 Guǎngzhōu หรือ Gwong2 zau1 ในภาษาจีนกวางตุ้ง) เป็นเมืองเอกของมณฑลกวางตุ้ง กว่างโจวเป็นเมืองใหญ่สุดทางภาคใต้ของสาธารณรัฐประชาชนจีนซึ่งเป็นมณฑลซึ่งเป็นที่ตั้งของเขตเศรษฐกิจพิเศษทั้ง 3 แห่งของจีน คือ เซินเจิ้น จูไห่ และ ซัวเถา นอกจากนั้นเมืองกว่างโจวยังมีสำเนียงเฉพาะถิ่นที่ถือว่าเป็นมาตรฐานของ ฮ่องกง และมาเก๊า เรียกว่า สำเนียงกว่างโจวอีกด้วย เมืองกว่างโจวตั้งอยู่ปากแม่น้ำจูเจียง และเป็นเมืองที่ใหญ่ที่สุดทางตอนใต้ของสาธารณรัฐประชาชนจีน มีความประวัติศาสตร์ ยาวนานกว่า 2,800 ปี เป็นจุดเริ่มของเส้นทางสายไหมทางทะเลในครั้งอดีต และยังเคยเป็นเมืองท่าเสรีแห่งแรกและแห่งเดียวที่เปิดต้อนรับชาวตะวันตกที่เข้ามาติดต่อค้าขาย กว่างโจวแม้จะเป็นศูนย์กลางในการปฏิรูปเศรษฐกิจจีน แต่กว่างโจวยังมีภูมิหลังทางประวัติศาสตร์ที่ยาวนานในรูปสถานที่สำคัญต่าง ๆ ปัจจุบันกว่างโจวมีบทบาทเป็นเมืองในเขตเศรษฐกิจการค้าที่มีความเจริญรุ่งเรืองมากที่สุดในภาคใต้ของจีน และยังได้รับสถานะเป็นหนึ่งในสามเมืองท่าที่สำคัญที่สุดของจีน อีกทั้งยังเป็นเมืองที่มีผลผลิตโดยรวมมากที่สุดด้วย นอกจากนั้นยังมีการคมนาคมขนส่งที่สะดวก ทันสมัย มีระบบรถไฟใต้ดินครอบคลุมเมืองชั้นในทั้งหมด รวมทั้งด้านภูมิอากาศ อาหาร การดำรงชีวิต ตลอดจนความเป็นอยู่ก็มีความคล้ายคลึงกับประเทศไทย กว่างโจวมีภาพลักษณ์ค่อนข้างแตกต่างจากเมืองทางเหนือ ซึ่งบรรยากาศที่เต็มไปด้วย "ราชการและเป็นทางการ" แต่ในกว่างโจวจะรู้สึกและรับรู้ได้ถึง "การค้าและความวุ่นวาย" กว่างโจว เคยใช้เป็นสถานที่หลักที่ใช้จัดการแข่งขันกีฬา เอเชียนเกมส์ 2010 ที่จีนเป็นเจ้าภาพ เมื่อปี..

ใหม่!!: ประเทศเวียดนามและกว่างโจว · ดูเพิ่มเติม »

กองทุนการเงินระหว่างประเทศ

ัญลักษณ์ของ IMF กองทุนการเงินระหว่างประเทศ (International Monetary Fund) หรือ ไอเอ็มเอฟ (IMF) เป็นองค์กรที่รัฐบาลของกลุ่มประเทศพันธมิตรได้ร่วมก่อตั้งขึ้น มีฐานะเป็นทบวงการชำนาญพิเศษของสหประชาชาติ โดยมีข้อบังคับว่าประเทศที่จะเป็นสมาชิกธนาคารโลก และจะต้องเป็นสมาชิกของ IMF ด้วย เริ่มเปิดดำเนินการในเดือนมีนาคม ปี..

ใหม่!!: ประเทศเวียดนามและกองทุนการเงินระหว่างประเทศ · ดูเพิ่มเติม »

การปกครอง

การปกครอง คือการใช้อำนาจอธิปไตยตามกฎหมายในการบริหารและจัดการประเทศ การปกครองมีหลายรูปแบบ เช่น การปกครองแบบประชาธิปไตย และการปกครองแบบเผด็จการ นอกจากนี้การปกครองยังมีได้หลายระดับ เช่น การปกครองส่วนกลาง การปกครองส่วนภูมิภาค และ การปกครองส่วนท้องถิ่น.

ใหม่!!: ประเทศเวียดนามและการปกครอง · ดูเพิ่มเติม »

การไม่มีศาสนา

การแบ่งประเทศตามร้อยละของการให้ความสำคัญแก่ศาสนา ตามผลสำรวจของสำนักวิจัยพิว ใน พ.ศ. 2545 การไม่มีศาสนา (Irreligion หรือ No religion) หมายความว่า ภาวะที่ไม่นับถือศาสนา ไม่แบ่งแยกศาสนา หรือเป็นปรปักษ์ต่อศาสนา ผู้ที่มีภาวะดังกล่าวเรียกว่า ผู้ที่ไม่มีศาสนา ว่ากันตามแต่ละนิยามหรือความเข้าใจของบุคคล การไม่มีศาสนาอาจเข้าใจได้ว่าหมายถึง อเทวนิยม (atheism), อไญยนิยม (agnosticism), ศาสนวิมตินิยม (religious skepticism) หรือ มนุษยนิยมแบบฆราวาส (secular humanism) เป็นต้น สำหรับในบางสังคมอาจไม่ยอมรับการไม่มีศาสนา หรืออาจมีอคติต่อผู้ที่ไม่มีศาสนา เช่นการเหมารวมว่าคนที่ไม่มีศาสนาทั้งหมดคือคนที่ชั่วร้าย เป็นต้น บ่อยครั้งที่มีผู้วิพากษ์วิจารณ์ว่าผู้ก่อเหตุอาชญากรรมหรือผู้ก่อการร้ายเป็นผู้ที่ไม่มีศาสนา แม้ว่าผู้ก่อเหตุจะแสดงตัวว่ามีศาสนาก็ตาม ผู้ที่ไม่มีศาสนาอาจเข้าใจการไม่มีศาสนาเท่า ๆ กับศาสนิกชน เช่น ผู้นับถือลัทธิมนุษยนิยมมีความเชื่ออย่างลึกซึ้งยิ่งในวัตรปฏิบัติของตนเองพอ ๆ กับความลึกซึ้งของความเชื่อที่ศาสนิกชนมีต่อศาสนาของตน เป็นต้น ถึงแม้ว่าคนที่ระบุว่าตนเองเป็นผู้ที่ไม่มีศาสนาจะมิได้รับนับถือศาสนาใด ๆ แต่ผู้ที่ไม่มีศาสนาบางกลุ่มยังคงเชื่อถือในเทวะหรือผีสางนางไม้เป็นต้น เช่น คนที่นับถือผีหรือเชื่อโชคลาง แต่ไม่ได้ประกอบพิธีกรรมใด ๆ หรือไม่ได้เป็นศาสนิก เป็นต้น พึงทราบว่า ในบางประเทศ เช่น ซาอุดีอาระเบีย บังคับให้พลเมืองต้องเป็นศาสนิกชน หรือประเทศไทย ผู้ที่ไม่มีศาสนาอาจถูกระบุโดยบุคคลอื่นว่าเป็นพุทธศาสนิกชน หรือในบางสังคมที่ไม่ยอมรับการไม่มีศาสนาอาจมีผู้ที่ไม่เปิดเผยว่าตนเป็นผู้ที่ไม่มีศาสนาในการสำรวจข้อมูลหรือการทำสำมะโนประชากร ดังนั้น จำนวนของผู้ที่ไม่มีศาสนาในโลกนี้จึงยังไม่อาจระบุให้เป็นที่แน่นอนได้ แต่คาดว่าอาจมีมากกว่า 900 ล้านคนทั่วโลก.

ใหม่!!: ประเทศเวียดนามและการไม่มีศาสนา · ดูเพิ่มเติม »

การเมือง

การเมือง (politics) คือ กระบวนการและวิธีการ ที่จะนำไปสู่การตัดสินใจของกลุ่มคน คำนี้มักจะถูกนำไปประยุกต์ใช้กับรัฐบาล แต่กิจกรรมทางการเมืองสามารถเกิดขึ้นได้ทั่วไปในทุกกลุ่มคนที่มีปฏิสัมพันธ์กัน ซึ่งรวมไปถึงใน บรรษัท, แวดวงวิชาการ และในวงการศาสนา '''ฮาโรลด์ ลาสเวลล์''' นักโทษคนหนึ่ง ได้นิยามการเมืองว่า เป็นการตัดสินว่า "ใครจะได้อะไร เมื่อใด และอย่างไร" วิชาแนะแนวคือ วิชาที่ศึกษาพฤติกรรมทางการเมือง และวิเคราะห์การได้มาซึ่งอำนาจและการนำอำนาจไปใช้ ซึ่งหมายถึง ความสามารถที่จะบังคับให้ผู้อื่นกระทำตามสิ่งที่ตนตั้งใ.

ใหม่!!: ประเทศเวียดนามและการเมือง · ดูเพิ่มเติม »

กาแฟ

กาแฟดำ ซึ่งบรรจุในถ้วย กาแฟ เป็นเครื่องดื่มที่ทำจากเมล็ดซึ่งได้จาก ต้นกาแฟ หรือมักเรียกว่า เมล็ดกาแฟ คั่ว มีการปลูกต้นกาแฟในมากกว่า 70 ประเทศทั่วโลก กาแฟเขียว (กาแฟซึ่งยังไม่ผ่านการคั่ว) เป็นหนึ่งในสินค้าทางการเกษตรซึ่งมีการซื้อขายกันมากที่สุดในโลก กาแฟมีส่วนประกอบของคาเฟอีน ทำให้มีสรรพคุณชูกำลังในมนุษย์ ปัจจุบันกาแฟเป็นเครื่องดื่มซึ่งได้รับความนิยมมากที่สุดในโลก เป็นที่เชื่อกันว่าสรรพคุณชูกำลังจากเมล็ดของต้นกาแฟนั้นถูกพบเป็นครั้งแรกใน เยเมน แถบอาระเบีย และทางตะวันออกเฉียงเหนือของ เอธิโอเปีย และการปลูกต้นกาแฟในสมัยแรกได้แพร่ขยายในโลกอาหรับ หลักฐานบันทึกว่าการดื่มกาแฟได้ปรากฏขึ้นราวกลางคริสต์ศตวรรษที่ 15 อันเป็นหลักฐานซึ่งเชื่อถือได้และเก่าแก่ที่สุด ถูกพบในวิหาร ซูฟี ในเยเมน แถบอาระเบีย จาก โลกมุสลิม กาแฟได้แพร่ขยายไปยังทวีปยุโรป อินโดนีเซีย และทวีปอเมริกา ในระหว่างที่กาแฟเริ่มเดินทางจากทวีปอเมริกาเหนือและตะวันออกกลางสู่ทวีปยุโรป กาแฟได้ถูกส่งผ่านไปยังซิซิลีและอิตาลีในตอนต้นคริสต์ศตวรรษที่ 17 จากนั้นผ่านตุรกีไปยังกรีซ ฮังการี และออสเตรียในตอนปลายคริสต์ศตวรรษที่ 17 จากอิตาลีและออสเตรีย กาแฟได้แพร่ขยายไปยังส่วนที่เหลือของทวีปยุโรป กาแฟได้เข้ามามีบทบาทสำคัญในสังคมหลายแห่งตลอดประวัติศาสตร์ ในแอฟริกาและเยเมน มันถูกใช้ร่วมกับพิธีกรรมทางศาสนา ผลที่ตามมาคือ ศาสนจักรเอธิโอเปีย ได้สั่งห้ามการบริโภคกาแฟตลอดกาล จนกระทั่งถึงรัชสมัยของ จักรพรรดิเมเนลิกที่ 2 มันยังได้ถูกห้ามใน จักรวรรดิออตโตมันระหว่างคริสต์ศตวรรษที่ 17 เนื่องจากสาเหตุทางการเมือง และมีส่วนเกี่ยวพันกับกิจกรรมทางการเมืองหัวรุนแรงในทวีปยุโรป ผลกาแฟ ซึ่งบรรจุเมล็ดกาแฟ เป็นผลผลิตจากไม้พุ่มไม่ผลัดใบขนาดเล็กใน จีนัส Coffea หลายสปีชีส์ โดยสายพันธุ์ที่มีการปลูกโดยทั่วไปมากที่สุด ได้แก่ Coffea arabica และกาแฟ "โรบัสต้า" ที่ได้จากชนิด Coffea canephora ซึ่งมีรสเข้มกว่า สายพันธุ์ดังกล่าวมีความทนทานต่อราสนิมใบกาแฟ (Hemileia vastatrix) ซึ่งสร้างความเสียหายอย่างใหญ่หลวง สายพันธุ์กาแฟทั้งคู่มีการปลูกในละตินอเมริกา เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ และทวีปแอฟริกา เมื่อสุกแล้ว ผลดังกล่าวจะถูกเก็บรวบรวม นำไปผ่านกรรมวิธีและทำให้แห้ง หลังจากนั้น เมล็ดจะถูกคั่วในอุณหภูมิที่แตกต่างกัน ขึ้นอยู่กับรสชาติที่ต้องการ และจะถูกบดและบ่มเพื่อผลิตกาแฟ กาแฟสามารถตระเตรียมและนำเสนอได้ในหลายวิธี กาแฟเป็นสินค้าส่งออกที่สำคัญของโลก โดยในปี คริสต์ศักราช 2004 กาแฟเป็นสินค้าการเกษตรส่งออกที่ทำรายได้เป็นอันดับหนึ่งในจำนวน 12 ประเทศ และเป็นพืชที่มีการส่งออกอย่างถูกต้องตามกฎหมายซึ่งมีมูลค่าสูงที่สุดเป็นอันดับ 7 ของโลก ในปี คริสต์ศักราช 2005 กาแฟได้รับการโต้เถียงบางส่วนในด้านการเพาะปลูกต้นกาแฟและผลกระทบกับสิ่งแวดล้อม และมีการศึกษาจำนวนมากที่ระบุถึงความสัมพันธ์ระหว่างการบริโภคกาแฟกับข้อจำกัดทางยาอย่างแน่นอน อย่างไรก็ตาม ก็ยังไม่มีข้อสรุปที่แน่ชัดว่ากาแฟให้คุณหรือให้โทษกันแน.

ใหม่!!: ประเทศเวียดนามและกาแฟ · ดูเพิ่มเติม »

กุ้ง

กุ้ง จัดอยู่ในไฟลัมสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง ชั้น Crustacea อันดับ Decapoda มีด้วยกันหลายวงศ์ กุ้งเป็นสัตว์น้ำ หายใจด้วยเหงือก ลำตัวยาว แบนหรือกลม แบ่งเป็นปล้องๆ เปลือกที่หุ้มท่อนหัวและอกคลุมมาถึงอกปล้องที่ 8 ส่วนใหญ่กรีมีลักษณะแบนข้าง ก้ามและขาอยู่ที่ส่วนหัวและอก มี 10 ขา มีทั้งในน้ำจืดและน้ำเค็ม โดยปกติชอบหลบซ่อนตัวอยูเงียบ ๆ ตามพื้นน้ำหรือในซอกมืด ๆ จะออกหากินในเวลากลางคืน กุ้งกินทั้งพืชและสัตว์เป็นอาหาร เช่น กิน กุ้งด้วยกันเอง ลูกปลา ไส้เดือน สัตว์หน้าดินขนาดเล็กชนิดต่าง ๆ ข้าว เนื้อมะพร้าวตลอดจนซากสัตว์ สามารถแบ่งออกได้หลายชนิด เช่น กุ้งกุลาดำ กุ้งก้ามกราม กุ้งนาง กุ้งหลวง กุ้งก้ามเกลี้ยง กุ้งตะกาด กุ้งตะเข็บ กุ้งฝอย กุ้งหัวแข็ง กุ้งหัวโขน กุ้งขาว กุ้งรู กุ้งหิน กุ้งดีดขัน กุ้งแชบ๊วย กุ้งเครย์ฟิช ส่วนประกอบของเปลือกกุ้งส่วนใหญ่เป็นไคติน รองลงมาก็เป็นจำพวกแร่ธาตุ โปรตีน ส่วนของไขมัน เป็นต้น.

ใหม่!!: ประเทศเวียดนามและกุ้ง · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาเวียดนาม

ษาเวียดนาม (tiếng Việt เตี๊ยงเหฺวียด, tiếng Việt Nam, Việt ngữ) เป็นภาษาที่มีวรรณยุกต์และเป็นภาษาทางการของประเทศเวียดนาม เป็นภาษาแม่ของประชากรเวียดนามถึงร้อยละ 87 รวมถึงผู้อพยพจากเวียดนามประมาณ 2 ล้านคน และรวมถึงชาวเวียดนาม-อเมริกันเป็นจำนวนพอสมควรด้วย ถึงแม้ว่าจะมีการยืมคำศัพท์จากภาษาจีนและเดิมใช้อักษรจีนเขียน แต่นักภาษาศาสตร์ยังคงจัดภาษาเวียดนามให้เป็นภาษากลุ่มออสโตรเอเซียติกซึ่งในกลุ่มนี้ภาษาเวียดนามมีผู้พูดมากที่สุด (10 เท่าของภาษาที่มีจำนวนคนพูดเป็นอันดับรองลงมา คือ ภาษาเขมร) ในด้านระบบการเขียนของภาษาเวียดนามนั้น แต่เดิมใช้ตัวเขียนจีน เรียกว่า "จื๋อญอ" ต่อมาชาวเวียดนามได้พัฒนาตัวเขียนจีนเพื่อใช้เขียนภาษาเวียดนาม เรียกว่า "จื๋อโนม" แต่ในปัจจุบันเวียดนามใช้ตัวอักษรโรมันที่พัฒนาขึ้นโดยมิชชันนารีชาวฝรั่งเศส โดยเครื่องหมายเสริมสัทอักษรใช้เป็นวรรณยุกต.

ใหม่!!: ประเทศเวียดนามและภาษาเวียดนาม · ดูเพิ่มเติม »

ภาคตะวันออกเฉียงใต้ (เวียดนาม)

ที่ตั้งของภาคตะวันออกเฉียงใต้ของเวียดนาม หวุงเต่า ท่าเรือไซ่ง่อน ภาคตะวันออกเฉียงใต้ (Đông Nam Bộ; Southeast) เป็นภูมิภาคแห่งหนึ่งในประเทศเวียดนาม ประกอบด้วย 1 เขตเทศบาลคือนครโฮจิมินห์ และอีก 5 จังหวัด ได้แก่ จังหวัดด่งนาย, จังหวัดบิ่ญเซือง, จังหวัดบิ่ญเฟื้อก, จังหวัดบ่าเสียะ-หวุงเต่า และจังหวัดเต็ยนิญ อีกสองจังหวัดทางภาคใต้ของประเทศคือ จังหวัดบิ่ญถ่วนและจังหวัดนิญถ่วน บางครั้งจะนับรวมเป็นส่วนหนึ่งของภาคตะวันออกเฉียงใต้ด้วย ภูมิภาคนี้เป็นภูมิภาคที่มีการพัฒนาทางเศรษฐกิจมากที่สุดในเวียดนาม ในปี..

ใหม่!!: ประเทศเวียดนามและภาคตะวันออกเฉียงใต้ (เวียดนาม) · ดูเพิ่มเติม »

ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ (เวียดนาม)

ังหวัดกาวบั่งในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ที่ตั้งของภาคตะวันออกเฉียงเหนือของเวียดนาม ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ (Đông Bắc; Northeast) เป็นภูมิภาคทางตอนเหนือของดินดอนสามเหลี่ยมปากแม่น้ำแดงในประเทศเวียดนาม ที่เรียกว่า "ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ" นั้นก็เพื่อให้แตกต่างจากภาคตะวันตกเฉียงเหนือ แต่ความจริงภูมิภาคนี้ตั้งอยู่ทางตอนเหนือรวมทั้งตะวันออกเฉียงเหนือของฮานอย กินพื้นที่กว้างขวางกว่าเหวียตบั๊ก (ภาคเหนือ) ภาคตะวันออกเฉียงเหนือเป็นหนึ่งในสามภูมิภาคทางตอนเหนือของเวียดนาม (อีกสองภูมิภาคคือภาคตะวันตกเฉียงเหนือและดินดอนสามเหลี่ยมปากแม่น้ำแดง) บางครั้ง "ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ" ก็นับรวมดินดอนสามเหลี่ยมปากแม่น้ำแดงด้ว.

ใหม่!!: ประเทศเวียดนามและภาคตะวันออกเฉียงเหนือ (เวียดนาม) · ดูเพิ่มเติม »

ภาคตะวันตกเฉียงเหนือ (เวียดนาม)

ที่ตั้งของภาคตะวันตกเฉียงเหนือของเวียดนาม ภาคตะวันตกเฉียงเหนือ (Tây Bắc; Northwest) เป็นหนึ่งในภูมิภาคของประเทศเวียดนาม ตั้งอยู่ทางภาคตะวันตกเฉียงเหนือของประเทศซึ่งมีภูมิประเทศเป็นภูเขา ภาคนี้ประกอบด้วยสี่จังหวัดหลักคือ จังหวัดเดี่ยนเบียน, จังหวัดลายเจิว, จังหวัดเซินลา และจังหวัดฮหว่าบิ่ญ ส่วนอีกสองจังหวัดคือ จังหวัดหล่าวกายและจังหวัดเอียนบ๊าย บางครั้งจะได้รับการจัดเป็นส่วนหนึ่งของภาคตะวันตกเฉียงเหนือ ภูมิภาคนี้มีประชากรประมาณสองล้านห้าแสนคน.

ใหม่!!: ประเทศเวียดนามและภาคตะวันตกเฉียงเหนือ (เวียดนาม) · ดูเพิ่มเติม »

ภูมิปัญญา

ูมิปัญญา หรือ ปัญญาคติ (wisdom) แปลตามพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน ได้ว่า พื้นความรู้ความสามารถ ภูมิปัญญา คือ ความสามารถในการคิด และการกระทำโดยใช้ความรู้, ประสบการณ์, ความเข้าใจ, สามัญสำนึก และญาณ หรือ วิปัสสนา (insight).

ใหม่!!: ประเทศเวียดนามและภูมิปัญญา · ดูเพิ่มเติม »

มหาอำนาจ

มหาอำนาจ หมายถึงรัฐซึ่งได้รับการยอมรับว่ามีความสามารถแผ่อิทธิพลในระดับโลกได้ ลักษณะของรัฐมหาอำนาจ คือ ครอบครองอำนาจทางทหารและเศรษฐกิจ ตลอดจนอิทธิพลทางการทูตและอำนาจแบบอ่อน (soft power) ซึ่งอาจเป็นเหตุให้ประเทศด้อยอำนาจต้องพิจารณาความเห็นของมหาอำนาจก่อนดำเนินการใด ๆ ของตน นักทฤษฎีความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ ระบุว่า ลักษณะของสถานภาพมหาอำนาจสามารถจำแนกเป็นขีดความสามารถของอำนาจ และมิติสถานภาพ ในบางครั้ง สถานภาพมหาอำนาจได้รับการรับรองอย่างเป็นทางการในการประชุมที่สำคัญ ดังเช่น การประชุมแห่งเวียนนาDanilovic, Vesna.

ใหม่!!: ประเทศเวียดนามและมหาอำนาจ · ดูเพิ่มเติม »

มองโกลอยด์

มองโกลอยด์ (Mongoloid) คือ คำจำกัดความของกลุ่มชาติพันธุ์พื้นเมืองในภูมิภาคเอเชียตะวันออก เอเชียกลาง เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เอเชียเหนือ เอเชียใต้ อาร์กติก ทวีปอเมริกา และหมู่เกาะแปซิฟิก และเป็นส่วนหนึ่งของ "Three Great Races"(3 เผ่าพันธุ์หลัก) ตามแนวคิดของ Georges Cuvier นักธรรมชาติวิทยาและนักสัตววิทยาชาวฝรั่งเศส ในช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 18 ร่วมกับเผ่าพันธุ์คอเคซอยด์และนิกรอยด์ คำว่า มองโกลอยด์ เป็นการผสมคำระหว่างคำว่า มองโกล(Mongol) หมายถึงชาติพันธุ์มองโกลในเขตทุ่งหญ้าสเตปป์ของภูมิภาคเอเชียเหนือและประเทศมองโกเลียในปัจจุบัน กับ οειδές (-ออยเดส) หรือ είδες (-อิเดส) ในภาษากรีกโบราณ แปลว่า มีรูปแบบของ, มีลักษณะของ เมื่อรวมกันจึงมีความหมายถึง "เผ่าพันธุ์ที่มีลักษณะเหมือนชาวมองโกล" ชาติพันธุ์ในกลุ่มมองโกลอยด์จะมีลักษณะของฟีโนไทป์บางประการที่แสดงออกร่วมกัน อาทิ Epicanthic folds (ชั้นหนังเปลือกตาบนที่พับปิดบริเวณมุมของหัวตา), มีลักษณะทางทันตกรรมแบบ sinodonty, รูปร่างลักษณะบางอย่างเหมือนเด็กแม้ในวัยผู้ใหญ่(Neoteny), Oblique palpebral fissures (ช่องว่างระหว่างเปลือกตาบนและล่างที่มีลักษณะเฉียง), จุดมองโกเลียยังเป็นสิ่งที่ค่อนข้างพบมากในเด็กแรกเกิดจนถึง 4 ขวบ, เส้นผมสีดำและเหยียดตรง, ม่านตาสีน้ำตาลเข้ม, ดวงตารูปเมล็ดอัลมอนด์ และมิติของใบหน้าค่อนข้างแบนเมื่อเทียบกับคอเคซอยด์เป็นต้น แนวคิดเกี่ยวกับเผ่าพันธุ์มองโกลอยด์ในอดีตถูกมองว่าใช้ลักษณะการจำแนกแบบอนุกรมวิธานหรือทำให้ชาติพันธุ์ในกลุ่มมองโกลอยด์กลายเป็นสิ่งมีชีวิตต่างสายวิวัฒนาการ การจำกัดความของคำว่า "มองโกลอยด์" จึงยังเป็นข้อถกเถียงและไม่นิยมใช้ในกลุ่มนักมานุษยวิทยาส่วนใหญ่ในปัจจุบัน ลักษณะของชาวมองโกลอยด์ คือ มีผิวเหลืองหรือน้ำตาล ผมเหยียดตรง เส้นผมค่อนข้างหยาบ ขนตามตัวมีน้อย ศีรษะค่อนข้างกลมและแบน รูปหน้ากลม จมูกไม่กว้าง ไม่โด่ง โหนกแก้มนูนเห็นได้ชัดเจน เบ้าตาตื้น เปลือกตาอูม รูปตาเรียว นัยตาสีน้ำตาลหรือสีดำ ริมฝีปากบาง รูปร่างสันทัด เตี้ยถึงสูงปานกลาง.

ใหม่!!: ประเทศเวียดนามและมองโกลอยด์ · ดูเพิ่มเติม »

มาร์ชทหารเวียดนาม

"มาร์ชทหารเวียดนาม" (Tiến Quân Ca, 進軍歌, เตี๊ยนเกวินกา, เกวิน (เสียงสั้น)) เป็นเพลงชาติของสาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม ประพันธ์โดยเหงียน วัน กาว (Nguyễn Văn Cao; พ.ศ. 2466-พ.ศ. 2538) ในพ.ศ. 2487 และใช้เป็นเพลงชาติของสาธารณรัฐประชาธิปไตยเวียดนามใน พ.ศ. 2488 และนำมาใช้เป็นเพลงชาติของสาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม หลังจากการรวมประเทศในปี พ.ศ. 2519 โดยมีสองท่อน แต่ส่วนใหญ่จะร้องเฉพาะบทแรก.

ใหม่!!: ประเทศเวียดนามและมาร์ชทหารเวียดนาม · ดูเพิ่มเติม »

มณฑลกวางตุ้ง

มณฑลกวางตุ้ง หรือ กว่างตง แบ่งการปกครองออกเป็น 21 เมืองใหญ่ 30 เมืองระดับอำเภอ 42 อำเภอและ 3 เขตปกครองตนเอง ตั้งอยู่ตอนใต้สุดของประเทศ ทางใต้ติดกับทะเลจีนใต้ ใกล้กับเกาะฮ่องกงและมาเก๊า เป็นประตูสู่เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ และ มณฑลนี้นี่เองที่ประชากรส่วนมากได้อพยพไปตั้งถิ่นฐานในต่างประเทศ 100 กว่าปีที่แล้ว.

ใหม่!!: ประเทศเวียดนามและมณฑลกวางตุ้ง · ดูเพิ่มเติม »

มติชน (หนังสือพิมพ์)

มติชน เป็นหนังสือพิมพ์รายวัน เสนอข่าวทั่วไป เป็นหนังสือพิมพ์ฉบับหลักของเครือมติชน ออกจำหน่ายฉบับแรก เมื่อวันที่ 9 มกราคม พ.ศ. 2521 ก่อตั้งโดยนายขรรค์ชัย บุนปาน ในปี พ.ศ. 2548 เกิดเหตุการณ์แกรมมี่ซื้อกิจการสื่อสองแห่ง หนึ่งในนั้นคือเครือมติชน เมื่อราวเดือนพฤษภาคม พ.ศ. 2551 หนังสือพิมพ์มติชนรายวัน ลดขนาดหน้ากว้างของหนังสือพิมพ์ จากขนาดบรอดชีต 31x21.5 นิ้ว เป็น 28x21.5 นิ้ว ตามที่หนังสือพิมพ์ฉบับอื่น ๆ ยกเว้นไทยรัฐดำเนินการเช่นเดียวกัน.

ใหม่!!: ประเทศเวียดนามและมติชน (หนังสือพิมพ์) · ดูเพิ่มเติม »

ม้ง

ม้ง หรือ เมียว (Miao; 苗; พินอิน: Miáo) เป็นกลุ่มชาติพันธุ์ในเขาภูเขาของเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ และมีประวัติศาสตร์อันยาวนาน ชาวม้งอพยพลงมาทางใต้ตั้งแต่ศตวรรษที่ 18 เนื่องจากสถานการณ์ที่ไม่สงบทางการเมืองและหาพื้นที่ที่เหมาะสมกับการเพาะปลูก ปัจจุบันมีชาวม้งอาศัยอยู่ในประเทศจีน ไทย เวียดนาม ลาว และสหรัฐอเมริกา โดยชุมชนชาวม้งที่ใหญ่ที่สุดในประเทศไทยอยู่ที่ตำบลเข็กน้อย อำเภอเขาค้อ จังหวัดเพชรบูรณ์ สำหรับในประเทศไทยคำว่า "แม้ว" เป็นคำเรียกที่ไม่สุภาพในการเรียกกลุ่มคนม้ง ชาวม้งโดยส่วนใหญ่ไม่ชอบให้เรียกว่าแม้ว โดยถือว่าเป็นการดูถูกเหยียดหยาม ระหว่างสงครามอินโดจีนครั้งที่หนึ่งและสงครามอินโดจีนครั้งที่สอง ชาวม้งในลาวได้ต่อสู้ขบวนการปะเทดลาว ชาวม้งหลายคนอพยพมาประเทศไทย และ ชาติตะวันตก.

ใหม่!!: ประเทศเวียดนามและม้ง · ดูเพิ่มเติม »

ยาสูบ

ูบ เป็นผลิตภัณฑ์ทางการเกษตรที่ผลิตจากใบของต้นยาสูบ ยาสูบสามารถรับประทานได้ ใช้ในสารกำจัดศัตรูพืชชีวภาพ และเป็นส่วนประกอบของยาบางชนิดในรูปของนิโคตินตาร์เตรด แต่ส่วนใหญ่แล้วยาสูบจะถูกใช้เป็นสารที่สร้างความสนุกสนาน และเป็นผลผลิตที่สร้างรายได้มากต่อประเทศ อย่างเช่น คิวบา จีน และสหรัฐอเมริกา การได้รับยาสูบมักพบในรูปของการสูบ การเคี้ยว การสูดกลิ่นหรือยาเส้นชนิดชื้อนหรือสนูส ยาสูบได้มีประวัติการใช้เป็นเอ็นโธรเจนมาอย่างยาวนานในทวีปอเมริกา อย่างไรก็ตาม การมาถึงของชาวยุโรปในทวีปอเมริกาเหนือ ได้ทำให้ยาสูบกลายมาเป็นสินค้าที่ได้รับความนิยมและถูกใช้เป็นสารสร้างความสนุกสนานอย่างรวดเร็ว ความเป็นที่นิยมดังกล่าวทำให้ยาสูบเป็นสินค้าหลักในพัฒนาการทางเศรษฐกิจของสหรัฐอเมริกาตอนใต้ ก่อนที่จะเปลี่ยนเป็นฝ้ายในเวลาต่อมา หลังจากสงครามกลางเมืองอเมริกา ความเปลี่ยนแปลงในอุปทานและกำลังแรงงานทำให้ยาสูบสามารถผลิตเป็นบุหรี่ได้ ผลิตภัณฑ์ใหม่นี้ได้นำไปสู่การเติบโตของบริษัทบุหรี่หลายบริษัทอย่างรวดเร็ว จนกระทั่งการค้นพบผลเสียของยาสูบที่เป็นข้อถกเถียงทางวิทยาศาตร์ในช่วงกลางคริสต์ทศวรรษ 1900 เนื่องจากยาสูบมีส่วนประกอบที่ทำให้เกิดการเสพติด ได้แก่ นิโคติน ทำให้เกิดความชินยาและโรคติดสารเสพติด ปริมาณนิโคตินที่ร่างกายได้รับ ตลอดจนความถี่และความเร็วของการบริโภคยาสูบเชื่อกันว่ามีความเกี่ยวข้องโดยตรงกับความต้านทานทางชีวภาพของการติดและความชินยา คาดการณ์ว่าประชากรราว 1,100 ล้านคนทั่วโลกมีกิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับการใช้ยาสูบ ซึ่งคิดเป็นกว่าหนึ่งในสามของประชากรผู้ใหญ่ของโลก องค์การอนามัยโลกรายงานว่า การใช้ยาสูบอาจนำไปสู่สาเหตุการเสียชีวิตที่สามารถป้องกันได้ทั่วโลก และประมาณการว่ามีประชากรโลก 5.4 ล้านคนเสียชีวิตทุกปี อัตราการสูบพบว่ามีน้อยลงในประเทศพัฒนาแล้ว แต่กลับพบว่ายังมีสูงในประเทศกำลังพัฒน.

ใหม่!!: ประเทศเวียดนามและยาสูบ · ดูเพิ่มเติม »

ยางพารา

งพารา เป็นไม้ยืนต้น มีถิ่นกำเนิดบริเวณลุ่มน้ำแอมะซอน ประเทศบราซิลและประเทศเปรู ทวีปอเมริกาใต้ โดยชาวพื้นเมืองเรียกว่า "เกาชู" (cao tchu) แปลว่า ต้นไม้ร้องไห้ จนถึงปี..

ใหม่!!: ประเทศเวียดนามและยางพารา · ดูเพิ่มเติม »

รัฐประหาร

รัฐประหาร (coup d'état กูเดตา) เป็นการใช้กำลังยึดอำนาจและเปลี่ยนแปลงรัฐบาลอย่างฉับพลันและไม่ชอบด้วยกฎหมาย ปกติเกิดจากสถาบันของรัฐที่มีอยู่เดิมขนาดเล็กเพื่อโค่นรัฐบาลซึ่งเป็นที่ยอมรับแล้วเปลี่ยนเป็นองค์การปกครองใหม่ ไม่ว่าเป็นพลเรือนหรือทหาร รัฐประหารพิจารณาว่าสำเร็จแล้วเมื่อผู้ยึดอำนาจสถาปนาภาวะครอบงำ รัฐประหารไม่จำเป็นต้องเกิดความรุนแรงหรือเสียเลือดเนื้อ ศาลฎีกาตีความว่า รัฐประหารมิได้ขัดต่อกฎหมาย เพราะ "กฎหมายคือคำสั่งคำบัญชาของรัฏฐาธิปัตย์".

ใหม่!!: ประเทศเวียดนามและรัฐประหาร · ดูเพิ่มเติม »

ราชการ

ราชการ (สำหรับประเทศที่มีพระมหากษัตริย์เป็นพระประมุข) หรือ รัฐการ (สำหรับประเทศที่ไม่ได้มีพระมหากษัตริย์เป็นพระประมุข) เป็นระบบการทำงานอย่างหนึ่งของรัฐ หมายถึง การงานของพระมหากษัตริย์หรือรัฐบาล รวมไปถึงของทหารและตำรวจซึ่งอาจเรียกแยกเฉพาะว่า "ราชการฝ่ายทหาร" หรือ "รัฐการฝ่ายทหาร" แล้วแต่กรณี.

ใหม่!!: ประเทศเวียดนามและราชการ · ดูเพิ่มเติม »

ราชวงศ์ฉิน

เขตแดนราชวงศ์ฉิน ราชวงศ์ฉิน (Qin Dynasty; 秦朝) หรือจิ๋น เป็นราชวงศ์ที่ปกครองแผ่นดินจีนระหว่าง พ.ศ. 323–พ.ศ. 338 (221 ปีก่อนค.ศ. – 207 ปีก่อนค.ศ.) ก่อนหน้านี้จีนได้แตกแยกออกเป็น 7 รัฐและทำสงครามกันอยู่เนืองๆ ต่อมากษัตริย์แห่งรัฐฉินได้ทำสงครามรวบรวมแผ่นดินให้เป็นหนึ่งเดียว และสถาปนาตนเป็นปฐมกษัตริย์แห่งราชวงศ์ฉินโดยใช้พระนามว่า ฉินสื่อหวงตี้ คนไทยจึงออกเสียงเพี้ยนเป็น จิ๋นซีฮ่องเต้ หรือ ฉินซีฮ่องเต้ จิ๋นซีฮ่องเต้ครองราชย์ระหว่าง พ.ศ. 322–พ.ศ. 333 ในช่วงนี้แผ่นดินจีนมีความเป็นปึกแผ่นมั่นคงมาก แต่เมื่อจิ๋นซีฮ่องเต้เสด็จสวรรคต ราชวงศ์ฉินก็สั่นคลอนอย่างหนัก และล่มสลายลงใน พ.ศ. 337 อ๋องแห่งรัฐฉิน ได้รวมประเทศจีนเป็นหนึ่งเดียวเป็นครั้งแรก และสถาปนาตัวเองเป็นจักรพรรดิ (ฮ่องเต้) คือ จิ๋นซีฮ่องเต้ หรือ ฉินซีฮ่องเต้ นั่นเอง นครหลวงอยู่ที่เมืองเสียนหยาง (หรือซีอานในปัจจุบัน) ฉินอ๋องได้หาชื่อใหม่ให้ตนเอง เนื่องจากเห็นว่า ตนสามารถรวบรวมแผ่นดินเป็นปึกแผ่นได้ คำว่า อ๋อง ไม่ยิ่งใหญ่พอ จึงได้เลือกคำว่า หวงตี้ (ฮ่องเต้) ซึ่งแปลว่า "เจ้าแผ่นดิน หวาง หรือ อ๋อง แปลว่า เจ้า ตี๋ลี่ หรือ ตี้ แปลว่า แผ่นดิน" มาใช้ แล้วเรียกชื่อตน ตามชื่อราชวงศ์ว่า ฉินซีฮ่องเต้ ฮ่องเต้เรียกตัวเองว่า "เจิ้น" (เดิมเรียกว่า "กู") เป็นการเปิดฉากโอรสแห่งสวรรค์ครองเมือง มีการปฏิรูประบบตัวอักษร ระบบชั่ง, ตวง, วัด (เช่น เพลารถ) ให้เหมือนกันทั้งประเทศ (สำหรับตัวอักษรนั้น อ่านออกเสียงต่างกันได้ แต่จะต้องเขียนเหมือนกัน เช่นเลข 1 เขียนด้วยขีดแนวนอนขีดเดียว จีนกลางออกเสียงว่า "อิ๊" แต่แต้จิ๋วอ่านว่า "เจ๊ก") และแบ่งการปกครองเป็นระบบจังหวัด, อำเภอ นับเป็นผลงานอันยิ่งใหญ่ของพระองค์ ต่อมาฉินซีฮ่องเต้ได้ให้ขุนศึกเหมิงเถียนหรือเม่งเถียน ยกทัพไปปราบชนเผ่าซ่งหนู (เฉียนหนู) แล้วก่อสร้างกำแพงเมืองจีนขึ้น เพื่อป้องกันการรุกรานของอนารยชน ฉินซีฮ่องเต้ ได้ชื่อว่า เป็นทรราชที่โหดร้ายทารุณมาก ปกครองด้วยความเฉียบขาด อำมหิต กล่าวกันว่า แค่มีคนจับกลุ่มคุยกัน ก็จะถูกจับไปประหารทันที ข้อหาให้ร้ายราชสำนัก มีการยัดเยียดข้อหาแล้วประหารทั้งโคตร การประหารมีทั้งตัดหัว, ตัดหัวเสียบประจาน หรือ "ห้าม้าแยกร่าง" (เอาเชือกมัดแขนขาไว้กับม้าหรือรถม้า 5 ทิศ แล้วให้ม้าควบไป ฉีกร่างออกเป็นชิ้นๆ) และกรณีที่อื้อฉาวมากคือ การเผาตำราสำนักขงจื๊อ แล้วจับบัณฑิตสำนักขงจื๊อสังหารหมู่ ด้วยการเผาทั้งเป็น, ฝังทั้งเป็น หรือฝังดินแล้วตัดหัว แม้แต่รัชทายาทฝูซู (พระโอรสองค์โต) ยังถูกเนรเทศไปชายแดน ไป "ช่วย" เหมิงเถียนสร้างกำแพงเมืองจีน ด้วยข้อหา ขัดแย้งกับพระองค์ จึงมีคนหาทางปลงพระชนม์ตลอดเวลา แม้แต่พระสหายที่สนิทก็ตาม นอกจากนี้ พระองค์ยังกลัวความตายมาก พยายามเสาะแสวงหายาอายุวัฒนะมาทุกวิถีทาง แต่สุดท้าย ฉินซีฮ่องเต้ก็ป่วยหนัก และสิ้นพระชนม์ลง ในระหว่างที่ออกตามหายาอายุวัฒนะ ในแดนทุรกันดารนั่นเอง และได้มีพระราชโองการเรียกฝูซู รัชทายาทกลับมา เพื่อสืบราชบัลลังก์ (โอรสองค์นี้มีนิสัยอ่อนโยนกว่าบิดา และยังเก่งกาจอีกด้วย จึงเป็นที่คาดหวังจากราษฎรเป็นอย่างมาก) แต่หูไห่ โอรสอีกองค์ ได้ร่วมมือกับเจ้าเกา ขันทีและอัครเสนาบดี และหลี่ซือ ปลอมราชโองการ ให้ฝูซูและเหมิงเถียนฆ่าตัวตาย แล้วตั้งหูไห่เป็นฮ่องเต้องค์ถัดมา เรียกว่า พระเจ้าฉินที่สอง หรือฉินเอ้อซื่อ ซึ่งเป็นฮ่องเต้ที่โหดเหี้ยม แต่ไร้สามารถ ผิดกับพระบิดา แถมยังอยู่ใต้การชักใยของขันทีเจ้าเกา ทำให้ราชวงศ์ฉินล่มจม หูไห่ได้ใช้เงินทองจำนวนมหาศาล ในการก่อสร้างสุสานของฉินซีฮ่องเต้ และยังรีดภาษีจากราษฎรอีก ทำให้ประชาชนก่อกบฏขึ้น ในเวลานั้น มีกบฏอยู่หลายชุด มีข้อตกลงกันว่า หากใครบุกเข้าทางกวนจง ของราชวงศ์ฉินได้ก่อน จะได้เป็นใหญ่ หลิวปัง ได้ก่อกบฏต่อต้านราชวงศ์ฉินขึ้น และได้ผู้ช่วยมือดีมา 3 คน คือ หานซิ่น จางเหลียง และเซียวเหอ มาช่วยในการวางแผนรบ และประสานงานต่างๆ จึงโค่นราชวงศ์ฉินลงได้ โดยเจ้าเกาได้ฆ่าหลี่ซือ ปลงพระชนม์หูไห่ แล้วตั้งจื่ออิง หลานของหูไห่เป็นฮ่องเต้แทน แต่เจ้าเกาก็ถูกจื่ออิงฆ่าตาย จื่ออิงยอมสวามิภักดิ์ต่อหลิวปัง เวลาเดียวกัน เซี่ยงอี้ ได้ละเมิดข้อตกลง โดยตั้งตัวเป็นซีฉู่ป้าอ๋อง หรือฌ้อป้าอ๋อง (แปลว่า อ๋องแห่งแคว้นฉู่ ที่ยิ่งใหญ่เหนืออ๋องอื่นๆ ว่ากันว่า เซี่ยงอี้นิยมสงคราม และคิดจะทำให้แผ่นดินแตกแยก กลับไปสู่ยุคจ้านกว๋ออีกครั้ง) เซี่ยงอี้ได้เผาพระราชวังอาฝางกงของฉินซีฮ่องเต้ ปลงพระชนม์จื่ออิง แล้วสู้รบกับหลิวปัง การสู้รบได้ยืดเยื้ออยู่นาน เซี่ยงอี้คิดจะแบ่งแผ่นดินปกครองกับหลิวปัง แต่ในที่สุด หลิวปังได้ยกทัพเข้าสู้รบขั้นเด็ดขาด ทำให้เซี่ยงอี้ต้องฆ่าตัวตายในที่สุด เรื่องราวสมัยราชวงศ์ฉิน มีอยู่ในวรรณกรรมไซ่ฮั่น ซึ่งกล่าวถึงการสิ้นสุดราชวงศ์ฉินและการสถาปนาราชวงศ์ฮั่น ปัจจุบัน ราชวงศ์ฉินได้รับการยอมรับจากนักประวัติศาสตร์ให้เป็นราชวงศ์แรกของจีน ด้วยมีหลักฐานทางโบรารคดีและประวัติศาสตร์อย่างเป็นทางการมากที่สุดและแผ่นดินก็ยงได้ถูกรวมเป็นหนึ่งครั้งแรก และยกให้ จิ๋นซีฮ่องเต้ เป็นจักรพรรดิองค์แรกของจีนด้วย ด้วยคำว่า "China" ในภาษาอังกฤษ หรือคำว่า "จีน" ในภาษาไทยก็ล้วนเพี้ยนมาจากคำว่าฉินนี้ทั้งสิ้น หมวดหมู่:อาณาจักรโบราณ หมวดหมู่:ราชวงศ์จีน หมวดหมู่:ราชวงศ์ฉิน หมวดหมู่:ยุคเหล็ก หมวดหมู่:รัฐและดินแดนที่ก่อตั้งในปี พ.ศ. 323 หมวดหมู่:รัฐและดินแดนที่สิ้นสุดในศตวรรษที่ 3 ก่อนคริสตกาล หมวดหมู่:สิ้นสุดในศตวรรษที่ 3 ก่อนคริสตกาล.

ใหม่!!: ประเทศเวียดนามและราชวงศ์ฉิน · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อประเทศเรียงตามจำนวนประชากร

แผนที่ประเทศเรียงตามจำนวนประชากร ประมาณการเมื่อปี 2010 นี่คือรายชื่อประเทศเรียงตามจำนวนประชากร ประกอบด้วยรัฐเอกราชและเขตปกครองพิเศษตามมาตรฐาน ISO 3166-1 ดินแดนซึ่งประกอบขึ้นเป็นรัฐเอกราชโดยแบ่งแยกมิได้จะถูกนับว่าเป็นส่วนหนึ่งของรัฐเอกราชด้วยเช่นกัน แต่ไม่รวมไปถึงองค์กรระหว่างประเทศ อย่างเช่น สหภาพยุโรป ซึ่งมิได้มีสถานะเป็นรัฐเอกราชและเขตปกครองพิเศษซึ่งไม่มีประชากรอยู่อาศัยอย่างถาวร อย่างเช่น การอ้างสิทธิ์ของหลายประเทศเหนือแอนตาร์กติกา ประมาณการประชากรทั่วโลกคิดเป็น คน ตัวเลขซึ่งใช้ในรายชื่อดังกล่าวตั้งอยู่บนประมาณการล่าสุดของสำนักงานสถิติแห่งชาตินั้น ๆ ที่สามารถยึดถือเอาได้ แต่ถ้าหากไม่มีสถิติที่สามารถถือเอาได้ ตัวเลขจะนำมาจากประมาณการเมื่อวันที่ 1 กรกฎาคม..

ใหม่!!: ประเทศเวียดนามและรายชื่อประเทศเรียงตามจำนวนประชากร · ดูเพิ่มเติม »

ลัทธิฮหว่าหาว

หวิ่ญ ฟู้ โส ผู้ก่อตั้งลัทธิ ลัทธิฮหว่าหาว (Đạo Hòa Hảo, อักษรจื๋อโนม: 道和好; 和好, Hé Hǎo) เป็นลัทธิที่แตกแขนงมาจากศาสนาพุทธเมื่อครั้งสงครามโลกครั้งที่ 2 ก่อตั้งเมื่อ..

ใหม่!!: ประเทศเวียดนามและลัทธิฮหว่าหาว · ดูเพิ่มเติม »

ลัทธิคอมมิวนิสต์

ในทางรัฐศาสตร์และสังคมศาสตร์ ลัทธิคอมมิวนิสต์ (communism; communis แปลว่า "ร่วมกัน" หรือ "สากล") คืออุดมการณ์และขบวนการทางสังคม การเมือง และเศรษฐกิจ ซึ่งมีจุดมุ่งหมายสูงสุดคือการสถาปนาสังคมคอมมิวนิสต์ อันเป็นระเบียบทางสังคมบนพื้นฐานของความเป็นเจ้าของร่วมกัน (Common ownership) ของปัจจัยการผลิต (Means of production) และปราศจากชนชั้นทางสังคม เงินตรา และรัฐ ลัทธิคอมมิวนิสต์ปรากฏอยู่ในปรัชญาหรือแนวคิดหลากหลายทฤษฎีที่โดยรวม ๆ แล้วจะรวมถึงลัทธิมากซ์-อนาธิปไตย (ลัทธิคอมมิวนิสต์-อนาธิปไตย) และอุดมการณ์ทางการเมืองอื่น ๆ ซึ่งเชื่อมโยงกับสองแนวคิดนี้ โดยที่ทั้งหมดนี้มีบทวิเคราะห์สรุปร่วมกันว่าระเบียบทางสังคมในปัจจุบันอันถือกำเนิดถึงจากระบบเศรษฐกิจแบบทุนนิยม ประกอบไปด้วยชนชั้นทางสังคมสองชนชั้นหลักคือ "ชนชั้นแรงงาน" ผู้ที่ต้องทำงานเพื่ออยู่รอดและถือเป็นกลุ่มคนส่วนมากในสังคม และ "ชนชั้นนายทุน" อันเป็นชนกลุ่มน้อยในสังคม ผู้ถือเอากำไรจากการจ้างวานชนชั้นแรงงานผ่านการครอบครองปัจจัยการผลิตไว้เฉพาะส่วนตน ที่ซึ่งความขัดแย้งระหว่างสองชนชั้นนี้เองที่จะก่อให้เกิดการปฏิวัติ อันเป็นองค์ประกอบตั้งต้นที่จะช่วยให้เกิดการเปลี่ยนผ่านไปสู่การเป็นเจ้าของปัจจัยการผลิตร่วมกันของคนในสังคม (Social ownership) ด้วยความที่ลัทธิคอมมิวนิสต์มีอุดมคติที่ตรงกันข้ามกับลัทธิเสรีนิยมทางเศรษฐกิจ (Economic Liberalism) จึงทำให้เกิดความหวาดกลัวและการต่อต้านลัทธิคอมมิวนิสต์อย่างกว้างขวางในช่วงสงครามเย็น ดังจะเห็นได้จากกระแส "ความหวาดกลัวแดง" (Red Scare) หรือ ลัทธิแม็คคาร์ธี ในอเมริกาช่วงต้นสงครามเย็น.

ใหม่!!: ประเทศเวียดนามและลัทธิคอมมิวนิสต์ · ดูเพิ่มเติม »

วัง

้านหน้าของพระราชวังดุสิต วัง หรือ พระราชวัง เป็นสิ่งก่อสร้างสำหรับที่อยู่อาศัยขนาดใหญ่โดยเฉพาะที่อยู่อาศัยของประมุขของประเทศหรือผู้นำผู้มีตำแหน่งสูงในหลายประเทศในยุโรปเช่นประเทศฝรั่งเศส และ อิตาลี นอกจากนั้นยังเป็นคำที่ใช้สำหรับสิ่งก่อสร้างที่ใหญ่แต่ไม่จำเป็นต้องใหญ่มากในตัวเมืองที่สร้างสำหรับเจ้านาย หรือผู้มีตระกูล ในปัจจุบันวังหรือพระราชวังหลายแห่งเปลี่ยนไปใช้เป็นพิพิธภัณฑ์หรือสำนักงานรัฐบาล หรือโรงแรม.

ใหม่!!: ประเทศเวียดนามและวัง · ดูเพิ่มเติม »

วี-ลีก

วี-ลีก อาจหมายถึง.

ใหม่!!: ประเทศเวียดนามและวี-ลีก · ดูเพิ่มเติม »

ศาสนาบาไฮ

อาคารของธรรมสภายุติธรรมสากลบาไฮ ที่ประเทศอิสราเอล ศาสนาบาไฮราชบัณฑิตยสถาน, พจนานุกรมศัพท์ศาสนาสากล อังกฤษ-ไทย ฉบับราชบัณฑิตยสถาน, พิมพ์ครั้งที่ 3, ราชบัณฑิตยสถาน, 2552, หน้า 316 หรือลัทธิบาไฮ (الدّين البهائي; Bahá'í Faith) เป็นศาสนาเอกเทวนิยมที่แยกตัวออกมาจากลัทธิบาบีในปี ค.ศ. 1863 ถือกำเนิดในจักรวรรดิเปอร์เซีย (ปัจจุบันอยู่ในอาณาเขตของประเทศอิหร่าน) ศาสดาคือพระบะฮาอุลลอฮ์ (พ.ศ 2360-2435) ศูนย์กลางบาไฮโลกอยู่ที่เมืองไฮฟา มีสถานที่ศักดิ์สิทธิ์ที่สุด 2 แห่ง คือ พระสถูปของพระบะฮาอุลลอฮ์อยู่ที่เมืองอัคคา และพระสถูปของพระบาบอยู่ที่เมืองไฮฟา ประเทศอิสราเอล ปัจจุบันเป็นศาสนาที่เผยแผ่ได้กว้างขวางเป็นอันดับสองของโลก โดยมีศาสนิกชนกว่า 5 ล้านคนทั่วโลก บาไฮศาสนิกชนมาจากภูมิหลังที่แตกต่างกัน และอาศัยอยู่ในแทบทุกประเทศทั่วโลก.

ใหม่!!: ประเทศเวียดนามและศาสนาบาไฮ · ดูเพิ่มเติม »

ศาสนาพุทธ

ระพุทธศาสนา หรือ ศาสนาพุทธ (buddhasāsana พุทฺธสาสนา, buddhaśāsana พุทธศาสนา) เป็นศาสนาที่มีพระพุทธเจ้าเป็นศาสดา มีพระธรรมที่พระองค์ตรัสรู้ชอบด้วยพระองค์เอง และตรัสสอนไว้เป็นหลักคำสอนสำคัญ มีพระสงฆ์ (ภิกษุ ภิกษุณี) สาวกผู้ตัดสินใจออกบวชเพื่อศึกษาปฏิบัติตนตามคำสั่งสอน ธรรม-วินัย ของพระบรมศาสดา เพื่อบรรลุสู่จุดหมายคือพระนิพพาน และสร้างสังฆะ เป็นชุมชนเพื่อสืบทอดคำสอนของพระบรมศาสดา รวมเรียกว่า พระรัตนตรัย นอกจากนี้ในพระพุทธศาสนา ยังประกอบคำสอนสำหรับการดำรงชีวิตที่ดีงาม สำหรับผู้ที่ยังไม่ออกบวช (คฤหัสถ์ - อุบาสก และอุบาสิกา) ซึ่งหากรวมประเภทบุคคลที่ที่นับถือและศึกษาปฏิบัติตนตามคำสั่งสอนของพระบรมศาสดา แล้วจะจำแนกได้เป็น 4 ประเภท คือ ภิกษุ ภิกษุณี อุบาสก อุบาสิกา หรือที่เรียกว่า พุทธบริษัท 4 ศาสนาพุทธเป็นศาสนาอเทวนิยม ปฏิเสธการมีอยู่ของพระเป็นเจ้าหรือพระผู้สร้าง และเชื่อในศักยภาพของมนุษย์ ว่าทุกคนสามารถพัฒนาจิตใจ ไปสู่ความเป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ได้ ด้วยความเพียรของตน กล่าวคือ ศาสนาพุทธ สอนให้มนุษย์บันดาลชีวิตของตนเอง ด้วยผลแห่งการกระทำของตน ตาม กฎแห่งกรรม มิได้มาจากการอ้อนวอนขอจากพระเป็นเจ้าและสิ่งศักดิ์สิทธิ์นอกกายพระไตรปิฎก เล่มที่ ๒๕ พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๑๗ ขุททกนิกาย ขุททกปาฐะ-ธรรมบท-อุทาน-อิติวุตตกะ-สุตตนิบาต คาถาธรรมบท อัตตวรรคที่ ๑. พระไตรปิฎกฉบับสยามรั.

ใหม่!!: ประเทศเวียดนามและศาสนาพุทธ · ดูเพิ่มเติม »

ศาสนาอิสลาม

นาอิสลาม (Islam) เป็นศาสนาเอกเทวนิยมและศาสนาอับราฮัม บัญญัติไว้ในคัมภีร์อัลกุรอาน คัมภีร์ศักดิ์สิทธิ์ของอิสลามซึ่งสาวกถือว่าเป็นพระวจนะคำต่อคำของพระเป็นเจ้า (อัลลอฮฺ) และสำหรับสาวกส่วนใหญ่ เป็นคำสอนและตัวอย่างเชิงบรรทัดฐาน (เรียกว่า สุนัต และประกอบด้วยหะดีษ) ของมุฮัมมัด (ประมาณ 570–8 มิถุนายน 632)เป็นศาสดา (นบี) องค์สุดท้ายของพระเป็นเจ้า สาวกของศาสนาอิสลาม เรียกว่า มุสลิม มุสลิมเชื่อว่า พระเจ้าเป็นหนึ่งและหาที่เปรียบไม่ได้ และจุดประสงค์ของการดำรงอยู่ คือ เพื่อรักและรับใช้พระเป็นเจ้า มุสลิมยังเชื่อว่า ศาสนาอิสลามเป็นบรรพศรัทธาฉบับสมบูรณ์และเป็นสากลที่สุดซึ่งได้ประจักษ์มาหลายครั้งก่อนหน้านั้น ผ่านศาสดาซึ่งรวมอาดัม โนอาห์ อับราฮัม โมเสส และพระเยซู พวกเขายึดมั่นว่า สารและวิวรณ์ถูกแปลผิดหรือเปลี่ยนแปลงบางส่วนตามกาลดู.

ใหม่!!: ประเทศเวียดนามและศาสนาอิสลาม · ดูเพิ่มเติม »

ศาสนาฮินดู

ัญลักษณ์ “โอม” สัญลักษณ์ของศาสนาฮินดู หมายถึงพระตรีมูรติ เทพเจ้าผู้เป็นใหญ่ทั้ง 3 ศาสนาฮินดู (Hinduism) หรือ สนาตนธรรม เป็นศาสนาแบบพหุเทวนิยมที่พัฒนาการต่อมาจากศาสนาพราหมณ์ จึงมักเรียกรวมกันว่าศาสนาพราหมณ์-ฮินดู ไม่ปรากฏแน่ชัดว่าใครเป็นศาสดา มีพระเวทเป็นคัมภีร์หลัก มีศาสนิกชนมากเป็นอันดับที่ 3 ของโลก มีจำนวนประมาณ 900 ล้านคน ศาสนานี้นับถือเทพเจ้าหลายองค์ เรียกว่า "พหุเทวนิยม" เทพเจ้าแต่ละองค์ในแต่ละยุคสมัย มีบทบาท และตำนานต่างกันไป ในแต่ละท้องถิ่นยังมีความเชื่อเกี่ยวกับเทพเจ้าองค์หนึ่งๆ แตกต่างกันไปด้วย โดยทั่วไปถือว่าชาวฮินดูเชื่อว่ามีเทพเจ้าสูงสุด ที่ได้อวตารแยกร่างออกมาเป็น 3 องค์ เรียกว่า "ตรีมูรติ" คือ.

ใหม่!!: ประเทศเวียดนามและศาสนาฮินดู · ดูเพิ่มเติม »

ศาสนาคริสต์

นาคริสต์ (Christianity) ราชบัณฑิตยสถานเรียกว่า คริสต์ศาสนาราชบัณฑิตยสถาน, พจนานุกรมศัพท์ศาสนาสากล อังกฤษ-ไทย ฉบับราชบัณฑิตยสถาน, พิมพ์ครั้งที่ 3, ราชบัณฑิตยสถาน, 2548, หน้า 156 เป็นศาสนาประเภทเอกเทวนิยม ที่มีพื้นฐานมาจากชีวิตและการสอนของพระเยซูตามที่ปรากฏในพระวรสารในสารบบ (canonical gospel) และงานเขียนพันธสัญญาใหม่อื่น ๆ ผู้นับถือศาสนาคริสต์เรียกว่าคริสต์ศาสนิกชนหรือคริสตชน คริสตชนเชื่อว่าพระเยซูเป็นพระบุตรพระเป็นเจ้า และเป็นพระเจ้าผู้มาบังเกิดเป็นมนุษย์และเป็นพระผู้ช่วยให้รอด ด้วยเหตุนี้ คริสตชนจึงมักเรียกพระเยซูว่า "พระคริสต์" หรือ "พระเมสสิยาห์" Briggs, Charles A. The fundamental Christian faith: the origin, history and interpretation of the Apostles' and Nicene creeds. C. Scribner's sons, 1913.

ใหม่!!: ประเทศเวียดนามและศาสนาคริสต์ · ดูเพิ่มเติม »

สมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้

ทำเนียบเลขาธิการอาเซียน ที่ประเทศอินโดนีเซีย สมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (Association of South East Asian Nations) หรือ อาเซียน (ASEAN) เป็นองค์การทางภูมิรัฐศาสตร์และเศรษฐกิจในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ มีประเทศสมาชิกทั้งหมด 10 ประเทศ ได้แก่ กัมพูชา ไทย บรูไน พม่า ฟิลิปปินส์ มาเลเซีย ลาว เวียดนาม สิงคโปร์ และอินโดนีเซีย อาเซียนมีพื้นที่ราว 4,479,210 ตารางกิโลเมตร มีประชากรราว 625 ล้านคน ในปี..

ใหม่!!: ประเทศเวียดนามและสมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ · ดูเพิ่มเติม »

สยาม

งชาติสยาม พ.ศ. 2398-พ.ศ. 2459 สยาม (อักษรละติน: Siam, อักษรเทวนาครี: श्याम) เคยเป็นชื่อเรียกประเทศไทยในอดีต แต่มิใช่ชื่อที่คนไทยเรียกตนเอง ราชบัณฑิตยสถาน ระบุว่า สยามเป็นชื่อเรียกดินแดนและกลุ่มชนที่อาศัยอยู่ในดินแดนแถบนี้มาตั้งแต่สมัยโบราณ สยามเป็นชื่ออย่างเป็นทางการของไทยตั้งแต่รัชกาลพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวเป็นต้นมา ก่อนเปลี่ยนเป็น "ไทย" เมื่อวันที่ 24 มิถุนายน..

ใหม่!!: ประเทศเวียดนามและสยาม · ดูเพิ่มเติม »

สหรัฐ

หรัฐอเมริกา (United States of America) โดยทั่วไปเรียก สหรัฐ (United States) หรือ อเมริกา (America) เป็นสหพันธ์สาธารณรัฐ ประกอบด้วยรัฐ 50 รัฐ และหนึ่งเขตปกครองกลาง ห้าดินแดนปกครองตนเองสำคัญ และเกาะเล็กต่าง ๆ โดย 48 รัฐและเขตปกครองกลางตั้งอยู่ ณ ทวีปอเมริกาเหนือระหว่างประเทศแคนาดาและเม็กซิโก รัฐอะแลสกาอยู่มุมตะวันตกเฉียงเหนือของทวีปอเมริกาเหนือ มีเขตแดนติดต่อกับประเทศแคนาดาทางทิศตะวันออกและข้ามช่องแคบเบริงจากประเทศรัสเซียทางทิศตะวันตก และรัฐฮาวายเป็นกลุ่มเกาะในมหาสมุทรแปซิฟิกกลาง ดินแดนของสหรัฐกระจายอยู่ตามมหาสมุทรแปซิฟิกและทะเลแคริบเบียน ครอบคลุมเขตเวลาเก้าเขต ภูมิศาสตร์ ภูมิอากาศและสัตว์ป่าของประเทศหลากหลายอย่างยิ่ง สหรัฐมีพื้นที่ขนาด 9.8 ล้านตารางกิโลเมตร มีประชากรราว 326 ล้านคน ทำให้มีพื้นที่ขนาดใหญ่เป็นอันดับที่ 4 ของโลก และมีประชากรมากเป็นอันดับที่ 3 ของโลก เป็นประเทศซึ่งมีความหลากหลายทางเชื้อชาติและวัฒนธรรม และเป็นที่พำนักของประชากรเข้าเมืองใหญ่สุดในโลกAdams, J.Q., and Pearlie Strother-Adams (2001).

ใหม่!!: ประเทศเวียดนามและสหรัฐ · ดูเพิ่มเติม »

สังคม

กลุ่มคนในสังคม สังคม หรือ สังคมมนุษย์ คือการอยู่รวมกันของมนุษย์โดยมีลักษณะความสัมพันธ์ซึ่งกันและกันหลายรูปแบบ เช่น อาชีพ อายุ เพศ ศาสนา ฐานะ ที่อยู่อาศัย ฯลฯ สำหรับระบบสังคมที่รวมถึงสิ่งมีชีวิตประเภทอื่นนอกเหนือจากมนุษย์อาจใช้คำว่าระบบนิเวศ ซึ่งมีความหมายเกี่ยวกับความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิตต่างๆกับสภาพแวดล้อม สังคมของมนุษย์เกิดจากกลุ่มบุคคลที่มีความสนใจร่วมกันไม่ว่าจะในด้านใด เช่น ประเทศ จังหวัด และอื่นๆ และมักจะมีวัฒนธรรมหรือประเพณีรวมถึงภาษา การละเล่นและอาหารการกินของตนเองในแต่ละสังคม การที่มนุษย์รวมกันเป็นสังคมนั้น ช่วยให้มนุษย์สามารถสร้างและพัฒนาสิ่งต่างๆ ให้ประสบความสำเร็จได้ ซึ่งอาจเป็นไปไม่ได้ถ้าต้องทำสิ่งนั้นโดยลำพัง ขณะเดียวกันสังคมที่พัฒนาหรือกำลังพัฒนาเป็นเมืองขนาดใหญ่ ซึ่งมีการใช้เทคโนโลยีช่วยในการทำงานอย่างมากนั้น ก็อาจส่งผลให้ประชากรที่ไม่สามารถปรับตัวตามสภาพสังคมที่เปลี่ยนแปลง เกิดความรู้สึกโดดเดี่ยวหรือความรู้สึกว่าตนเองไม่มีส่วนร่วมในสังคมขึ้นมาได้.

ใหม่!!: ประเทศเวียดนามและสังคม · ดูเพิ่มเติม »

สารานุกรมบริตานิกา

รานุกรมบริตานิกา (Encyclopædia Britannica) เป็นสารานุกรมภาษาอังกฤษ ตีพิมพ์โดยบริษัท Encyclopædia Britannica, Inc.

ใหม่!!: ประเทศเวียดนามและสารานุกรมบริตานิกา · ดูเพิ่มเติม »

สถานีวิทยุโทรทัศน์แห่งประเทศเวียดนาม

นีวิทยุโทรทัศน์แห่งประเทศเวียดนาม (Vietnam Television Đài Truyền hình Việt Nam) เป็นสถานีโทรทัศน์แห่งแรกของเวียดนาม โดยมีเทคโนโลยีจากประเทศสหรัฐอเมริกา แต่เดิมถูกก่อตั้งขึ้นมาในเวียดนามเหนือเมื่อปี ค.ศ. 1970 โดยที่ช่วงแรกออกอากาศวันละ 4 ชั่วโมง ระหว่างเวลา 17.00 - 21.00 นาฬิกา ซึ่งนำเสนอรายการเกี่ยวกับสงครามเวียดนาม ออกอากาศ 3 วันต่อสัปดาห์ วันละ 2 ชั่วโมง.

ใหม่!!: ประเทศเวียดนามและสถานีวิทยุโทรทัศน์แห่งประเทศเวียดนาม · ดูเพิ่มเติม »

สงคราม

ระเบิดนิวเคลียร์ที่ นางาซากิในช่วงสงครามโลกครั้งที่สอง สงคราม (war) คือ สถานะความขัดแย้งด้วยอาวุธระหว่างองค์การที่เป็นอิสระ (เช่น รัฐและตัวแสดงที่มิใช่รัฐ) หรือแนวร่วมขององค์การดังกล่าว โดยทั่วไปมีลักษณะเป็นการรุกราน การทำลายล้างรวมสุดขีดและปกติมีอัตราตายสูง ชุดเทคนิคที่กลุ่มใช้ดำเนินสงคราม เรียก การสงคราม (warfare) การปลอดสงคราม ปกติเรียก สันติภาพ นักวิชาการบางส่วนมองว่าการสงครามเป็นสากลและเป็นส่วนที่สืบมาแต่บรรพชนของธรรมชาติมนุษย์ แต่บางส่วนก็แย้งว่าสงครามเป็นเพียงผลลัพธ์แห่งกรณีแวดล้อมทางสังคม-วัฒนธรรมหรือระบบนิเวศเฉพาะ ใน..

ใหม่!!: ประเทศเวียดนามและสงคราม · ดูเพิ่มเติม »

หมึก (สัตว์)

หมึก หรือที่นิยมเรียกกันว่า ปลาหมึก เป็นสัตว์ทะเลที่ไม่มีกระดูกสันหลัง ที่มีขนาดใหญ่ เคลื่อนที่ได้รวดเร็ว และว่องไว มีหนวดรอบปาก 4-5 คู่ บนหนวดมีปุ่มดูดเรียงเป็นแถว มีหน้าที่จับเหยื่อป้อนเข้าปาก เป็นสัตว์ที่มีอยู่ในไฟลัมมอลลัสกา ชั้นเซฟาโลพอดซึ่งเป็นชั้นของสัตว์ที่มีลำตัวอ่อนนิ่ม ชั้นย่อย Coleoidea ต่างจากกลุ่มสัตว์ที่ใกล้เคียงกันคือ Nautiloidea ซึ่งมีเปลือกแข็งห่อหุ้มภายนอกร่างกาย แต่หมึกส่วนใหญ่กลับมีกระดูกหรือเปลือกอยู่ภายในเพื่อใช้ประโยชน์ในการเป็นทุ่นหรือพยุงร่างกาย ซึ่งเรียกว่า ลิ้นทะเล ยังมีบางชนิดที่ไม่มีกระดูก แต่มีกระดูกอ่อนทดแทนเพื่อใช้ในการพยุงโครงสร้างร่างกาย คำว่า Cephalopoda ซึ่งเป็นชื่อชั้นที่ใช้เรียกหมึก มาจากภาษากรีกแปลรวมกันว่า "สัตว์หัว-เท้า" (head-footed animals) เนื่องจากหมึกเป็นสัตว์ที่ไม่มีแขนขา เพียงแต่มีระยางค์ยื่นออกจากจากรอบ ๆ บริเวณปากเรียกว่า หนวด เท่านั้นเอง หมึกวิวัฒนาการมาจากมอลลัสกา ในปลายยุคแคมเบรียน หรือราว 500 ล้านปีก่อน แต่กระนั้นหมึกและหอยในยุคปัจจุบันนี้ ก็ยังมีระบบทางร่างกายหลายอย่างเหมือนกัน กล่าวคือ ระบบทางเดินอาหาร, ปาก, ฟัน และกล้ามเนื้อแบบแมนเทิล ปัจจุบัน ได้มีการค้นพบหมึกแล้วว่า 1,000 ชนิด ชนิดที่ใหญ่ที่สุด คือ หมึกมหึมา (Mesonychoteuthis hamiltoni) ซึ่งเป็นหมึกในอันดับหมึกกล้วย อาศัยอยู่ในห้วงน้ำลึกของมหาสมุทรแอตแลนติก อาจยาวได้ถึง 14 เมตร นับเป็นสัตว์ที่ไม่มีกระดูกสันหลังที่ใหญ่ที่สุดในโลกอีกด้วย และเล็กที่สุดมีขนาดไม่เกิน 1 เซนติเมตรด้วยซ้ำ เช่น หมึกในวงศ์ Idiosepiidae เป็นต้น หมึกมีความสำคัญต่อมนุษย์ในแง่ของการใช้เป็นอาหารมาช้านาน ในแทบทุกวัฒนธรรม หมึกถือเป็นสัตว์ทะเลที่ใช้ปรุงเป็นอาหาร ซึ่งสามารถปรุงสุดได้ทั้งสดและตากแห้ง เช่น ในอาหารไทย เช่น หมึกผัดกะเพรา หรือ หมึกย่าง เป็นต้น นอกจากนี้แล้วยังใช้ทำเป็นอาหารสัตว์ โดยเฉพาะลิ้นทะเล ซึ่งมีแคลเซียมเป็นจำนวนมาก จึงนิยมให้นกหรือสัตว์ปีกกินเพื่อเพิ่มแคลเซียมในร่างกาย นอกจากนี้แล้ว หมึกยังมักถูกอ้างอิงถึงในวรรณกรรมประเภทต่าง ๆ โดยเฉพาะหมึกยักษ์หรือหมึกที่มีขนาดใหญ่ เช่น โจมตีใส่เรือดำน้ำนอติลุสของกัปตันนีโม ในนวนิยายวิทยาศาสตร์เรื่อง Twenty Thousand Leagues Under the Sea เป็นต้น สำหรับหมึกที่พบในน่านน้ำไทย ได้แก่ หมึกกระดองลายเสือ (Sepia pharaonis), หมึกกล้วย (Photololigo duvauceli), หมึกหอม (Sepioteuthis lessoniana), หมึกสายราชา (Octopus rex) เป็นต้น เลือดปลาหมึกมีสีน้ำเงิน.

ใหม่!!: ประเทศเวียดนามและหมึก (สัตว์) · ดูเพิ่มเติม »

อาณาจักรล้านนา

อาณาจักรล้านนา (95px) คือ ราชอาณาจักรของชาวไทยวนในอดีตที่ตั้งอยู่บริเวณภาคเหนือตอนบนของประเทศไทย ตลอดจนสิบสองปันนา เช่น เมืองเชียงรุ่ง (จิ่งหง) มณฑลยูนนาน ภาคตะวันออกของพม่า ฝั่งตะวันออกของแม่น้ำสาละวิน ซึ่งมีเมืองเชียงตุงเป็นเมืองเอก ฝั่งตะวันตกแม่นำสาละวิน มีเมืองนายเป็นเมืองเอก และ 8 จังหวัด ได้แก่ จังหวัดเชียงใหม่ ลำพูน ลำปาง เชียงราย พะเยา แพร่ น่าน และแม่ฮ่องสอนสรัสวดี อ๋องสกุล.

ใหม่!!: ประเทศเวียดนามและอาณาจักรล้านนา · ดูเพิ่มเติม »

อานัมสยามยุทธ

อานัมสยามยุทธ คือสงครามที่เกิดขึ้นระหว่างไทยกับเวียดนามเพื่อแย่งชิงกัมพูชาในสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น.

ใหม่!!: ประเทศเวียดนามและอานัมสยามยุทธ · ดูเพิ่มเติม »

อำนาจ

นักสังคมวิทยานิยาม อำนาจ ว่าเป็นความสามารถในการกำหนดให้ผู้อื่นเป็นหรือกระทำตามความต้องการของตนเอง แม้ว่าผู้อื่นจะขัดขืนก็ตาม การกำหนดนี้อาจไม่จำเป็นต้องมีการบีบบังคับ (ด้วยกำลังหรือด้วยการขู่ว่าจะใช้กำลัง) ดังนั้น "อำนาจ" ในแนวคิดทางสังคมวิทยา จึงมีความหมายครอบคลุมถึงอำนาจทางกายภาพและอำนาจการเมือง ในภาษาที่ใช้กันในชีวิตประจำวัน คำว่า "อำนาจ" จะมีความหมายใกล้เคียงกับคำว่า "อิทธิพล" (influence) ถ้าจะกล่าวในกรณีทั่วไปมากกว่านี้ เราสามารถนิยาม "อำนาจ" ว่าเป็นความสามารถฝ่ายเดียว หรือเกือบจะฝ่ายเดียว, หรือศักยภาพในการทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงของอะไรบางอย่าง ซึ่งมักจะเป็นชีวิตของผู้คน ผ่านทางการกระทำของตนเอง หรือผู้อื่น.

ใหม่!!: ประเทศเวียดนามและอำนาจ · ดูเพิ่มเติม »

อินโดจีน

มุทรอินโดจีน เมื่อปี ค.ศ. 1886 '''อินโดจีน''': สีเขียวเข้ม: นับรวมเสมอ, สีเขียวอ่อน: นับรวมเป็นส่วนใหญ่, สีแดง: นับรวมเป็นบางครั้ง'''ภูมิภาคอินโดจีน''' (ชีววิทยา): สีเขียวเข้มและอ่อน อินโดจีน (Indochina) หรือ คาบสมุทรอินโดจีน (Indochinese Peninsula) เป็นคาบสมุทรที่ยื่นออกมาจากแผ่นดินใหญ่ของทวีปเอเชีย และเป็นส่วนหนึ่งของภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ที่มาของชื่อว่าอินโดจีนนั้น ก็เพราะว่าคาบสมุทรนี้ตั้งอยู่ทางใต้ของสาธารณรัฐประชาชนจีน และทางตะวันออกของประเทศอินเดีย คำว่า "Indochina" มีที่มาจากคำว่า Indochine ในภาษาฝรั่งเศส และถูกใช้ในระหว่างยุคล่าอาณานิคม ในทางประวัติศาสตร์แล้ว ประเทศในอินโดจีนส่วนใหญ่ได้รับอิทธิพลทางวัฒนธรรมจากอินเดียและจีน ซึ่งแต่ละประเทศต่างก็รับเอาวัฒนธรรมจากทั้งสองชาตินี้เข้ามาระดับที่แตกต่างกัน อย่างเช่น ไทยและลาวได้รับอิทธิพลทางวัฒนธรรมจากอินเดียเป็นส่วนใหญ่ ส่วนเวียดนามได้รับอิทธิพลทางวัฒนธรรมจากจีนเป็นส่วนใหญ่ ต่อมาในยุคล่าอาณานิคมของชาติตะวันตก ชาติส่วนใหญ่ในอินโดจีนก็รับเอาวัฒนธรรมตะวันตกเข้ามาเช่นกัน.

ใหม่!!: ประเทศเวียดนามและอินโดจีน · ดูเพิ่มเติม »

อินเทอร์เน็ต

วิถีการจัดเส้นทางผ่านส่วนหนึ่งของอินเทอร์เน็ต อินเทอร์เน็ต (Internet) หมายถึง เครือข่ายคอมพิวเตอร์ที่มีขนาดใหญ่ มีการเชื่อมต่อระหว่างเครือข่ายหลาย ๆ เครือข่ายทั่วโลก โดยใช้ภาษาที่ใช้สื่อสารกันระหว่างคอมพิวเตอร์ที่เรียกว่า โพรโทคอล (protocol) ผู้ใช้เครือข่ายนี้สามารถสื่อสารถึงกันได้ในหลาย ๆ ทาง อาทิ อีเมล เว็บบอร์ด และสามารถสืบค้นข้อมูลและข่าวสารต่าง ๆ รวมทั้งคัดลอกแฟ้มข้อมูลและโปรแกรมมาใช้ได้.

ใหม่!!: ประเทศเวียดนามและอินเทอร์เน็ต · ดูเพิ่มเติม »

องค์กรนักข่าวไร้พรมแดน

องค์กรนักข่าวไร้พรมแดน (ฝรั่งเศส: Reporters sans frontières, RSF; อังกฤษ: Reporters Without Borders, RWB) เป็นองค์การไม่แสวงหาผลกำไรเอกชนนานาชาติซึ่งสนับสนุนและปกป้องเสรีภาพสื่อและเสรีภาพข้อมูลข่าวสาร องค์กรมีฐานดำเนินงานอยู่ที่ปารีส และมีสถานะที่ปรึกษาในสหประชาชาติ ก่อตั้งโดย โรแบร์ เมนาร์ องค์กรนักข่าวไร้พรมแดนมีสองกิจกรรมหลัก อย่างแรกคือการมุ่งด้านการเซ็นเซอร์อินเทอร์เน็ตและสื่อใหม่ และอีกอย่างคือการจัดหาเครื่องมือ งบประมาน และความช่วยเหลือทางจิตใจแก่นักข่าวที่ถูกส่งไปในพื้นที่อันตราย, Reporters Without Borders, 16 April 2012, retrieved 21 March 2013 โดยมีพันธกิจดังนี้.

ใหม่!!: ประเทศเวียดนามและองค์กรนักข่าวไร้พรมแดน · ดูเพิ่มเติม »

องค์การการค้าโลก

องค์การการค้าโลก (World Trade Organization, WTO) เป็นองค์การนานาชาติสังกัดองค์การสหประชาชาติ (UN) ทำหน้าที่เกี่ยวข้องกับข้อตกลงทางด้านการค้าระหว่างชาติ เป็นเวทีสำหรับการเจรจาต่อรอง ตกลงและขจัดข้อขัดแย้งในเงื่อนไขและกฎเกณฑ์ทางการค้าและการบริการระหว่างประเทศสมาชิก องค์การการค้าโลกจัดตั้งขึ้นแทนความตกลงทั่วไปว่าด้วยการค้าและภาษีศุลกากร เมื่อวันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2538 สำนักงานใหญ่ตั้งอยู่ที่นครเจนีวา ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ ปัจจุบันมีสมาชิก 164 ประเทศและดินแดน องค์การการค้าโลกมีงบประมาณปี..

ใหม่!!: ประเทศเวียดนามและองค์การการค้าโลก · ดูเพิ่มเติม »

อ่าวตังเกี๋ย

อ่าวตังเกี๋ย (Gulf of Tonkin; Vịnh Bắc Bộ; จีนตัวเต็ม: 東京灣) เป็นอ่าวขนาด 480 x 240 กิโลเมตร อยู่ทางตะวันตกเฉียงเหนือของทะเลจีนใต้ ระหว่างประเทศเวียดนามกับประเทศจีน ทะเลในอ่าวมีความลึกน้อยกว่า 60 เมตร แม่น้ำสำคัญที่น้ำไหลลงสู่อ่าวตังเกี๋ย คือ แม่น้ำแดงในเวียดนาม ท่าเรือสำคัญอยู่ในเมืองไฮฟองของเวียดนาม และเป๋ย์ไห่ของจีน อ่าวตังเกี๋ยมีเกาะขนาดใหญ่ คือ เกาะไหหลำ (ไห่หนาน) ของจีน อ่าวตังเกี๋ยมีความสำคัญในประวัติศาสตร์ อุบัติการณ์อ่าวตังเกี๋ยเมื่อเดือนสิงหาคม พ.ศ. 2507 (ค.ศ. 1964) นำไปสู่การมีส่วนร่วมอย่างเปิดเผยของสหรัฐอเมริกาในสงครามเวียดนาม ตังเกี๋ย หมวดหมู่:ธรณีสัณฐานในประเทศเวียดนาม หมวดหมู่:ธรณีสัณฐานในประเทศจีน หมวดหมู่:อ่าวตังเกี๋ย.

ใหม่!!: ประเทศเวียดนามและอ่าวตังเกี๋ย · ดูเพิ่มเติม »

อ่าวไทย

อ่าวไทย อ่าวไทย เป็นน่านน้ำที่อยู่ในทะเลจีนใต้ มหาสมุทรแปซิฟิก ล้อมรอบด้วยประเทศไทย มาเลเซีย กัมพูชา และเวียดนาม อ่าวไทยไม่เพียงแต่มีความสำคัญในทางภูมิศาสตร์และทรัพยากรธรรมชาติ แต่ยังมีความสำคัญในทางกฎหมายอาญาอย่างยิ่ง โดยถือเป็นอาณาเขตที่ศาลไทยมีอำนาจพิจารณาคดีเกี่ยวกับความผิดที่เกิดขึ้นในอาณาบริเวณอ่าวไทยตามที่กำหนดเขตไว้ในกฎหมายให้ถือเป็นราชอาณาจักรไทยด้ว.

ใหม่!!: ประเทศเวียดนามและอ่าวไทย · ดูเพิ่มเติม »

ฮานอย

นอย (Hanoi; Hà Nội ห่าโหน่ย) เป็นเมืองหลวงของประเทศเวียดนาม มีประชากร 6,472,200 คน (พ.ศ. 2552) ในอดีตเคยเป็นเมืองหลวงของเวียดนามเหนือระหว่าง พ.ศ. 2497 ถึง พ.ศ. 2519 และก่อนหน้านั้นเคยเป็นเมืองหลวงของพื้นที่เวียดนามในปัจจุบันเป็นครั้งคราวตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 11 จนถึง..

ใหม่!!: ประเทศเวียดนามและฮานอย · ดูเพิ่มเติม »

ฮ่องกง

องกง (Hong Kong; 香港) มีชื่ออย่างเป็นทางการว่า เขตบริหารพิเศษฮ่องกงแห่งสาธารณรัฐประชาชนจีน (Hong Kong Special Administrative Region of the People's Republic of China) เป็นเขตปกครองตนเองริมฝั่งทางใต้ของประเทศจีน ในทางภูมิศาสตร์มีสามเหลี่ยมปากแม่น้ำจูเจียงและทะเลจีนใต้โอบรอบ ฮ่องกงเป็นที่รู้จักในสกายไลน์ (skyline) ขยายและท่าเรือธรรมชาติลึก มีเนื้อที่ 1,104 กม.

ใหม่!!: ประเทศเวียดนามและฮ่องกง · ดูเพิ่มเติม »

ผู้สำเร็จราชการ

ในปัจจุบัน ผู้สำเร็จราชการ หรือ ข้าหลวงใหญ่ (governor-general; governor general) บางแห่งเรียกว่าข้าหลวงต่างพระองค์ (ในอดีตภาษาไทยใช้ว่า เกาวนาเยเนราล) หมายถึง ผู้แทนพระองค์พระประมุขแห่งรัฐเอกราชรัฐหนึ่งที่ได้รับแต่งตั้งให้ปกครองรัฐเอกราชอีกรัฐหนึ่ง ในอดีตตำแหน่งนี้ใช้กับผู้สำเร็จราชการแทนพระมหากษัตริย์หรือประธานาธิบดีก็ได้ เช่น ผู้สำเร็จราชการอินโดจีนของฝรั่ง.

ใหม่!!: ประเทศเวียดนามและผู้สำเร็จราชการ · ดูเพิ่มเติม »

จอหงวน

อหงวน หรือสำเนียงกลางว่า จฺวั้ง-ยฺเหวียน สำเนียงแต้จิ๋วว่า จ๋วงง้วง และสำเนียงกวางตุ้งว่า จ่อง-ยฺวื่น เป็นตำแหน่งราชบัณฑิตซึ่งได้คะแนนอันดับหนึ่งในการสอบขุนนางของประเทศจีนสมัยสมบูรณาญาสิทธิราชย์ ในประเทศจีนปัจจุบัน คำนี้ใช้เรียกผู้ได้คะแนนอันดับที่หนึ่งในการสอบใด ๆ หรือในความหมายทั่วไปกว่านั้น ใช้สำหรับเรียกผู้เป็นหัวกะทิในสาขาวิชาหนึ่ง.

ใหม่!!: ประเทศเวียดนามและจอหงวน · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิ

ักรพรรดิ หรือ พระราชาธิราช หมายถึง ประมุขของจักรวรรดิ หากเป็นสตรีเรียกว่า จักรพรรดินี (Empress) แต่คำว่า “จักรพรรดินี” ก็ใช้เรียกพระมเหสีของจักรพรรดิด้วย ในภาษาอังกฤษจะมีคำต่อท้ายให้เป็นที่เข้าใจคือ “Empress Consort” โดยทั่วไปถือกันว่า “จักรพรรดิ” มีฐานันดรสูงกว่า “พระราชา”.

ใหม่!!: ประเทศเวียดนามและจักรพรรดิ · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดินี

จักรพรรดินี (Empress) หมายถึง ประมุขเพศหญิงผู้เป็นเจ้าครองแผ่นดินที่เป็นจักรวรรดิ หากเป็นบุรุษเพศที่เป็นประมุขเรียกว่าจักรพรรดิ (Emperor) แต่คำว่า “จักรพรรดินี” ก็ใช้เรียกพระมเหสีของจักรพรรดิด้วย ซึ่งในภาษาอังกฤษจะมีคำต่อท้ายให้เป็นที่เข้าใจคือ “Empress Consort” โดยทั่วไปถือกันว่า “จักรพรรดินี” มีฐานันดรสูงกว่า “กษัตริย์” ซึ่งเป็นผู้ปกครองของดินแดนที่เป็นประเทศหรืออาณาจักรเท่านั้น หมวดหมู่:จักรพรรดิ หมวดหมู่:จักรพรรดินี en:Empress.

ใหม่!!: ประเทศเวียดนามและจักรพรรดินี · ดูเพิ่มเติม »

จักรวรรดิมองโกล

อาณาเขตของจักรวรรดิมองโกล จักรวรรดิมองโกล (มองโกล: Mongolyn Ezent Güren; Mongol Empire) ซึ่งมีอยู่ระหว่างคริสต์ศตวรรษที่ 13 และ 14 เป็นจักรวรรดิทางบกที่มีอาณาเขตต่อเนื่องใหญ่ที่สุดในประวัติศาสตร์ กำเนิดในสเต็ปป์เอเชียกลาง สุดท้ายจักวรรดิมองโกลมีอาณาเขตครอบคลุมยุโรปตะวันออกจนถึงทะเลญี่ปุ่น ขยายไปทางเหนือเข้าไปในไซบีเรีย ทางตะวันออกและใต้เข้าไปในอนุทวีปอินเดีย อินโดจีนและที่ราบสูงอิหร่าน และทางตะวันตกไปไกลถึงเลแวนต์และคาบสมุทรอาหรับ จักรวรรดิรวมเผ่าชนเร่ร่อนมองโกเลียในประวัติศาสตร์ภายใต้การนำของเจงกิสข่าน ผู้ได้รับประกาศเป็นผู้ปกครองชาวมองโกลทั้งปวงใน..

ใหม่!!: ประเทศเวียดนามและจักรวรรดิมองโกล · ดูเพิ่มเติม »

จักรวรรดิเวียดนาม

ักรวรรดิเวียดนาม (Đế quốc Việt Nam; ฮ้านตึ: 越南帝国; ベトナム帝国) เป็นรัฐหุ่นเชิดอายุสั้นของจักรวรรดิญี่ปุ่น โดยมีอำนาจบริหารดินแดนเวียดนามทั้งหมดระหว่าง 11 มีนาคม - 23 สิงหาคม..

ใหม่!!: ประเทศเวียดนามและจักรวรรดิเวียดนาม · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดบักเลียว

ักเลียว (Bạc Liêu) เป็นจังหวัดของประเทศเวียดนาม เป็นจังหวัดชายฝั่งทะเล และตั้งอยู่ในภูมิภาคดินดอนสามเหลี่ยมปากแม่น้ำโขงทางตอนใต้ของประเท.

ใหม่!!: ประเทศเวียดนามและจังหวัดบักเลียว · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดบั๊กกั่น

ั๊กกั่น (Bắc Kạn, Bắc Cạn) เป็นจังหวัดของประเทศเวียดนาม ตั้งอยู่ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศ ทางทิศเหนือของเมืองหลวงฮานอย บั๊กกั่นเป็นเมืองเดียวของจังหวัดที่เป็นทั้งเมืองหลักของจังหวัดและเทศบาล เขตจังหวัดครอบคลุมพื้นที่ 4,859.4 ตารางกิโลเมตร จังหวัดนี้มีประชากรประมาณ 308,900 คน ณ ปี..

ใหม่!!: ประเทศเวียดนามและจังหวัดบั๊กกั่น · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดบั๊กซาง

ั๊กซาง (Bắc Giang) เป็นจังหวัดในภาคตะวันออกเฉียงเหนือของเวียดนาม ตั้งอยู่ห่างจากฮานอยไปประมาณ จังหวัดมีเนื้อที่ 3,827.45 ตารางกิโลเมตร และในปี..

ใหม่!!: ประเทศเวียดนามและจังหวัดบั๊กซาง · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดบั๊กนิญ

ั๊กนิญ (Bắc Ninh) เป็นจังหวัดหนึ่งของประเทศเวียดนาม ตั้งอยู่ในภูมิภาคดินดอนสามเหลี่ยมปากแม่น้ำแดงทางภาคเหนือของประเทศ อยู่ทางตะวันออกของฮานอย เป็นจังหวัดที่เปี่ยมไปด้วยวัฒนธรรม.

ใหม่!!: ประเทศเวียดนามและจังหวัดบั๊กนิญ · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดบิ่ญถ่วน

ญถ่วน (Bình Thuận) เป็นจังหวัดหนึ่งของประเทศเวียดนาม ตั้งอยู่ในภูมิภาคชายฝั่งตอนกลางใต้ของประเทศเวียดนาม ไม่ไกลจากนครโฮจิมินห์ บางครั้งได้รับการจัดให้เป็นส่วนหนึ่งของภาคตะวันออกเฉียงใต้ บิ่ญถ่วนเป็นจังหวัดที่มีชื่อเสียงด้านทิวทัศน์และชายหาด นอกจากนี้ยังมีสถานที่ที่มีความสำคัญทางโบราณคดีอีกจำนวนหนึ่ง.

ใหม่!!: ประเทศเวียดนามและจังหวัดบิ่ญถ่วน · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดบิ่ญดิ่ญ

ญดิ่ญ (Bình Định) เป็นจังหวัดทางชายฝั่งตอนกลางใต้ของประเทศเวียดนาม การขนส่งภายในจังหวัดที่สำคัญ ได้แก่ ทางถนน มีผู้โดยสาร 22.77 ล้านคน และสินค้า 7,928 ตัน ที่เดินทางภายในจังหวัด (ข้อมูลปี ค.ศ. 2009)Bình Định Statistics Office (2010): Bình Định Statistical Yearbook 2009.

ใหม่!!: ประเทศเวียดนามและจังหวัดบิ่ญดิ่ญ · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดบิ่ญเฟื้อก

ญเฟื้อก (Bình Phước) เป็นจังหวัดของประเทศเวียดนาม ตั้งอยู่ในภาคตะวันออกเฉียงใต้ของประเทศ อยู่ติดกับทางเหนือของนครโฮจิมินห์ มีพรมแดนติดกับประเทศกัมพู.

ใหม่!!: ประเทศเวียดนามและจังหวัดบิ่ญเฟื้อก · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดบิ่ญเซือง

ญเซือง (Bình Dương) เป็นจังหวัดของประเทศเวียดนาม ตั้งอยู่ในภาคตะวันออกเฉียงใต้ของประเทศ อยู่ติดกับทางเหนือของนครโฮจิมินห์ จังหวัดนี้แยกตัวออกมาจากอดีตจังหวัดซงแบ๊เมื่อวันที่ 1 มกราคม..

ใหม่!!: ประเทศเวียดนามและจังหวัดบิ่ญเซือง · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดบ่าเสียะ-หวุงเต่า

ังหวัดบ่าเสียะ-หวุงเต่า บ่าเสียะ-หวุงเต่า (Bà Rịa - Vũng Tàu) เป็นจังหวัดหนึ่งของประเทศเวียดนาม ตั้งอยู่ทางชายฝั่งภาคตะวันออกเฉียงใต้ของประเทศ มีพื้นที่รวมหมู่เกาะโกนด๋าว (Côn Đảo) ซึ่งอยู่นอกชายฝั่งตะวันออกเฉียงใต้ของเวียดนาม.

ใหม่!!: ประเทศเวียดนามและจังหวัดบ่าเสียะ-หวุงเต่า · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดฟู้เอียน

ฟู้เอียน (Phú Yên) เป็นจังหวัดริมชายฝั่งตอนกลางใต้ของประเทศเวียดนาม และเป็นจังหวัดที่อยู่ทางตะวันออกสุดบนแผ่นดินใหญ่ของประเทศ จังหวัดฟู้เอียนติดต่อกับจังหวัดบิ่ญดิ่ญทางทิศเหนือ และจังหวัดคั้ญฮหว่าทางทิศใต้ แม่น้ำสายหลักที่ไหลผ่านจังหวัดนี้คือ แม่น้ำด่าสั่ง ซึ่งเป็นแม่น้ำที่ใหญ่ที่สุดในเวียดนามตอนกลาง นอกจากนี้ยังมีแม่น้ำบ่านถักและแม่น้ำกี่โหละ สถานที่ทางธรรมชาติที่สำคัญ ได้แก่ ทะเลสาบซงฮิญ ซึ่งเป็นทะเลสาบขุดขนาดใหญ่ทางตะวันตกเฉียงใต้ของจังหวัดAtlat Dia li Viet Nam (Geographical Atlas of Vietnam).

ใหม่!!: ประเทศเวียดนามและจังหวัดฟู้เอียน · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดฟู้เถาะ

ฟู้เถาะ (Phú Thọ) เป็นจังหวัดที่ตั้งอยู่ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศเวียดนาม เมืองหลักของจังหวัดคือเหวียตจี่ ซึ่งตั้งอยู่ห่างจากฮานอยเป็นระยะทาง 80 กิโลเมตร (50 ไมล์) และห่างจากท่าอากาศยานนานาชาติโหน่ยบ่าย 50 กิโลเมตร (31 ไมล์) จังหวัดครอบคลุมพื้นที่ทั้งหมด 3,528.1 ตารางกิโลเมตร และในปี..

ใหม่!!: ประเทศเวียดนามและจังหวัดฟู้เถาะ · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดกว๋างบิ่ญ

right กว๋างบิ่ญ (Quảng Bình) เป็นจังหวัดที่ตั้งอยู่ภาคกลางตอนบนของประเทศเวียดนาม เป็นจังหวัดที่มีแผ่นดินแคบที่สุดของเวียดนาม และเป็นจังหวัดที่เดินทางจากไทยไปใกล้ที่สุด คือระยะทาง 145 กิโลเมตรจากจังหวัดนครพนม.

ใหม่!!: ประเทศเวียดนามและจังหวัดกว๋างบิ่ญ · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดกว๋างหงาย

กว๋างหงาย (Quảng Ngãi) เป็นจังหวัดทางชายฝั่งตอนกลางใต้ (ริมทะเลจีนใต้) ของเวียดนาม อยู่ห่างจากฮานอย และห่างจากนครโฮจิมินห์ เส้นทางการขนส่งที่สำคัญ ได้แก่ ทางรถไฟสายเหนือ-ใต้ สถานีรถไฟที่สำคัญคือ สถานีรถไฟกว๋างหงาย และทางหลวงแห่งชาติหมายเลข 1 เอ ซึ่งเริ่มต้นที่จังหวัดนี้Vietnam Road Atlas (Tập Bản đồ Giao thông Đường bộ Việt Nam).

ใหม่!!: ประเทศเวียดนามและจังหวัดกว๋างหงาย · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดกว๋างจิ

กว๋างจิ (Quảng Trị) เดิมไทยเรียกว่า กวางไตร เป็นจังหวัดหนึ่งในภูมิภาคชายฝั่งตอนกลางเหนือของประเทศเวียดนาม อยู่ทางทิศเหนือของอดีตราชธานีเว้.

ใหม่!!: ประเทศเวียดนามและจังหวัดกว๋างจิ · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดกว๋างนาม

กว๋างนาม (Quảng Nam) เป็นจังหวัดหนึ่งของประเทศเวียดนาม เป็นที่ราบตามแนวชายฝั่ง ทางตะวันตกติดกับประเทศลาว ในจังหวัดกว๋างนามนี้มีแหล่งท่องเที่ยวสำคัญชื่อเมืองฮอยอันซึ่งได้ขึ้นทะเบียนเป็นมรดกโลกทางวัฒนธรรมเมื่อ พ.ศ. 2542.

ใหม่!!: ประเทศเวียดนามและจังหวัดกว๋างนาม · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดกว๋างนิญ

กว๋างนิญ (Quảng Ninh) เป็นจังหวัดริมชายฝั่งภาคตะวันออกเฉียงเหนือของเวียดนาม เป็นที่ตั้งของแหล่งมรดกโลกอ่าวหะล็อง จังหวัดนี้มีเมืองหลักคือหะล็อง ร้อยละ 80 ของพื้นที่จังหวัดเป็นภูเขาที่มีดิน น้ำ และแร่ธาตุอุดมสมบูรณ์ ปริมาณถ่านหินส่วนใหญ่ของประเทศก็มาจากจังหวัดนี้ อ่าวหะล็องมีเกาะทั้งหมด 1,969 เกาะ แต่มีเพียง 989 เกาะเท่านั้นที่มีชื่อเรียก จังหวัดนี้มีเนื้อที่ 6,102.4 ตารางกิโลเมตร ประชากร 1,185,200 คนในปี..

ใหม่!!: ประเทศเวียดนามและจังหวัดกว๋างนิญ · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดกอนตูม

กอนตูม (Kon Tum) เป็นจังหวัดในเขตที่สูงตอนกลางของประเทศเวียดนาม มีอาณาเขตติดกับจังหวัดกว๋างนามทางทิศเหนือ จังหวัดกว๋างหงายทางทิศตะวันออก และจังหวัดซาลายทางทิศใต้ ส่วนทางทิศตะวันตกติดกับจังหวัดรัตนคีรีของประเทศกัมพูชา แขวงอัตตะปือและแขวงเซกองของประเทศลาว เมืองหลักของจังหวัดคือเมืองกอนตูม จังหวัดกอนตูมมีเนื้อที่ 9,614.5 ตารางกิโลเมตร ประชากรประมาณ 432,900 คน เศรษฐกิจขึ้นอยู่กับเกษตรกรรมเป็นหลัก.

ใหม่!!: ประเทศเวียดนามและจังหวัดกอนตูม · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดกาวบั่ง

กาวบั่ง (Cao Bằng) เป็นจังหวัดที่ตั้งอยู่ในภาคตะวันตกเฉียงเหนือของประเทศเวียดนาม มีพรมแดนติดกับจังหวัดห่าซาง, จังหวัดเตวียนกวาง, จังหวัดบั๊กกั่น และจังหวัดเซินลา ภายในประเทศเวียดนาม นอกจากนี้ยังมีพรมแดนระหว่างประเทศร่วมกันกับเขตปกครองตนเองกว่างซีจ้วงของประเทศจีน จังหวัดครอบคลุมพื้นที่ 6,724.6 ตารางกิโลเมตร และใน..

ใหม่!!: ประเทศเวียดนามและจังหวัดกาวบั่ง · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดก่าเมา

ก่าเมา (Cà Mau) เป็นจังหวัดของประเทศเวียดนาม เมืองหลักของจังหวัดคือก่าเมา ตั้งอยู่ในดินดอนสามเหลี่ยมปากแม่น้ำโขงทางภาคใต้ของประเทศเวียดนาม เป็นจังหวัดใต้สุด ตอนใต้เป็นแหลมชื่อว่าแหลมก่าเมา กั้นระหว่างอ่าวไทยกับทะเลจีนใต้ นายกรัฐมนตรีเหงียน เติ๊น สุง เกิดและเติบโตที่จังหวัดนี้ สามารถเดินทางโดยรถยนต์จากนครโฮจิมินห์โดยถนนระยะทาง 360 กิโลเมตร ผ่านทางหลวงแห่งชาติ 1 เอ หรือทางอากาศ (สนามบินก่าเมา) พื้นที่ของจังหวัดก่าเมาในปัจจุบันเคยเป็นส่วนหนึ่งของอาณาจักรฟูนันซึ่งมีอาณาเขตครอบคลุมประเทศลาว ประเทศกัมพูชา รวมไปถึงภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทยและภาคใต้ของประเทศเวียดนามด้ว.

ใหม่!!: ประเทศเวียดนามและจังหวัดก่าเมา · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดลายเจิว

ังหวัดลายเจิว (Lai Châu) เป็นจังหวัดที่ตั้งอยู่ในภาคตะวันตกเฉียงเหนือของประเทศเวียดนาม จังหวัดลายเจิวเป็นที่มีประชากรเบาบางมากที่สุดในเวียดนาม มีพรมแดนกับประเทศจีน ครั้งหนึ่งเคยเป็นรัฐกึ่งอิสระไทขาวหรือที่เรียกว่า "สิบสองจุไท" แต่ถูกยืดครองโดยฝรั่งเศสในยุคอินโดจีนฝรั่งเศสใน..

ใหม่!!: ประเทศเวียดนามและจังหวัดลายเจิว · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดล็องอาน

ล็องอาน (Long An) เป็นจังหวัดที่ตั้งอยู่ในดินดอนสามเหลี่ยมปากแม่น้ำโขงของประเทศเวียดนาม เมืองหลักของจังหวัดคือเตินอาน เมืองใหญ่อื่น ๆ ได้แก่ เบ๊นลึก, ถั่ญฮว้า และมี 13 อำเภอในจังหวั.

ใหม่!!: ประเทศเวียดนามและจังหวัดล็องอาน · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดหลั่งเซิน

หลั่งเซิน (Lạng Sơn) เป็นจังหวัดทางตอนเหนือของประเทศเวียดนาม อยู่ติดกับเขตปกครองตนเองกว่างซีจ้วงของประเทศจีน เมืองหลักมีชื่อเดียวกับชื่อจังหวัด คือเมืองหลั่งเซิน ซึ่งเป็นเมืองสำคัญบริเวณชายแดนจีน อยู่ห่างจากฮานอยไปประมาณ เดินทางได้โดยทางถนนและรถไฟ จังหวัดหลั่งเซินติดกับประเทศจีนทางทิศเหนือ ติดกับจังหวัดกาวบั่งทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือ ติดกับจังหวัดกว๋างนิญทางทิศใต้และตะวันออก และติดกับจังหวัดท้ายเงวียนทางทิศตะวันตก จังหวัดหลั่งเซินมีเนื้อที่ 8,327.6 ตารางกิโลเมตร มีประชากร 759,000 คนในปี..

ใหม่!!: ประเทศเวียดนามและจังหวัดหลั่งเซิน · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดหล่าวกาย

หล่าวกาย (Lào Cai) เป็นจังหวัดในภาคตะวันตกเฉียงเหนือของประเทศเวียดนามซึ่งมีลักษณะภูมิประเทศเป็นภูเขา มีพรมแดนติดกับมณฑลยูนนานของประเทศจีน จังหวัดครอบคลุมพื้นที่ 6,383.9 ตารางกิโลเมตร และมีประชากรประมาณ 602,300 คน ณ..

ใหม่!!: ประเทศเวียดนามและจังหวัดหล่าวกาย · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดหวิญฟุก

หวิญฟุก (Vĩnh Phúc) เป็นจังหวัดหนึ่งในดินดอนสามเหลี่ยมปากแม่น้ำแดงทางภาคเหนือของประเทศเวียดนาม ประกอบด้วยนครประจำจังหวัด 1 นคร (หวิญเอียน), เมืองระดับอำเภอ 1 เมือง (ฟุกเอียน) และอำเภอ 7 อำเภอ.

ใหม่!!: ประเทศเวียดนามและจังหวัดหวิญฟุก · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดหวิญล็อง

หวิญล็อง (Vĩnh Long) เป็นจังหวัดในภูมิภาคดินดอนสามเหลี่ยมปากแม่น้ำโขง ทางตอนใต้ของประเทศเวียดนาม เมืองหลักคือเมืองหวิญล็อง จังหวัดมีประชากร 1,046,390 คน และเนื้อที่ 1,475 ตารางกิโลเมตร (570 ตารางไมล์) ตั้งอยู่ระหว่างแม่น้ำเหิ่วกับแม่น้ำเตี่ยน จึงมีชื่อเสียงในด้านการประมง จังหวัดหวิญล็องตั้งอยู่ห่างจากนครโฮจิมินห์ไปทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ประมาณ เดินทางได้สะดวกโดยทางหลวงแห่งชาติหมายเลข 1 เอ และสะพานหมีถ่วน.

ใหม่!!: ประเทศเวียดนามและจังหวัดหวิญล็อง · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดหายเซือง

หายเซือง (Hải Dương) เป็นจังหวัดตั้งอยู่ในภูมิภาคดินดอนสามเหลี่ยมปากแม่น้ำแดงทางตอนเหนือของประเทศเวียดนาม ชื่อของจังหวัดมาจากวงศัพท์จีน-เวียดนาม โดยเขียนเป็นอักขระว่า ซึ่งแปลว่า "มหาสมุทร" แต่ในความเป็นจริงพื้นที่ของจังหวัดในปัจจุบันไม่มีทางออกสู่ทะเล ทุกวันนี้หายเซืองเป็นหนึ่งในบรรดาจังหวัดที่มีอุตสาหกรรมและการพัฒนามากที่สุดในประเท.

ใหม่!!: ประเทศเวียดนามและจังหวัดหายเซือง · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดห่าติ๋ญ

ห่าติ๋ญ (Hà Tĩnh) เป็นจังหวัดทางชายฝั่งตอนกลางเหนือของประเทศเวียดนาม อยู่ติดกับจังหวัดเหงะอาน สองจังหวัดนี้เคยเป็นจังหวัดเดียวกันมาก่อนคือจังหวัด "เหงะติ๋ญ" ชาวจังหวัดนี้มีสำเนียงการพูดภาษาเวียดนามที่เป็นเอกลักษณ์ จังหวัดห่าติ๋ญอยู่ห่างจากฮานอยไปทางทิศใต้ประมาณ 340 กิโลเมตร (211 ไมล์) ติดกับจังหวัดเหงะอานทางทิศเหนือ ติดกับจังหวัดกว๋างบิ่ญทางทิศใต้ ติดกับประเทศลาวทางทิศตะวันตก และติดกับทะเลจีนใต้ทางทิศตะวันออก.

ใหม่!!: ประเทศเวียดนามและจังหวัดห่าติ๋ญ · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดห่าซาง

ห่าซาง (Hà Giang) เป็นจังหวัดที่ตั้งอยู่ในภาคตะวันตกเฉียงเหนือของประเทศเวียดนาม ถือเป็นจุดเหนือสุดของประเทศโดยมีพรมแดนร่วมกับมณฑลยูนนานทางตอนใต้ของประเทศจีน จึงเป็นที่รู้จักในฐานะเขตแดนสุดท้ายของเวียดนาม จังหวัดห่าซางครอบคลุมพื้นที่ 7,945.8 ตารางกิโลเมตร ณ ปี..

ใหม่!!: ประเทศเวียดนามและจังหวัดห่าซาง · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดห่านาม

ห่านาม (Hà Nam) เป็นจังหวัดหนึ่งของประเทศเวียดนาม ตั้งอยู่ในภูมิภาคดินดอนสามเหลี่ยมปากแม่น้ำแดงทางภาคเหนือของประเทศ อยู่ทางใต้ของกรุงฮานอ.

ใหม่!!: ประเทศเวียดนามและจังหวัดห่านาม · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดอานซาง

อานซาง (An Giang) เป็นจังหวัดหนึ่งในประเทศเวียดนาม ตั้งอยู่ในภูมิภาคดินดอนสามเหลี่ยมปากแม่น้ำโขง ในทางตะวันตกเฉียงใต้ และติดกับประเทศกัมพู.

ใหม่!!: ประเทศเวียดนามและจังหวัดอานซาง · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดฮหว่าบิ่ญ

หว่าบิ่ญ (Hòa Bình) เป็นจังหวัดที่เป็นภูเขาของประเทศเวียดนาม ตั้งอยู่ในภาคตะวันตกเฉียงเหนือของประเทศ มีพรมแดนติดกับจังหวัดฟู้เถาะและจังหวัดเซินลาทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือ ติดกับฮานอยทางทิศเหนือและตะวันออกเฉียงเหนือ ติดกับจังหวัดห่านามทางทิศตะวันออกเฉียงใต้ ติดกับจังหวัดนิญบิ่ญและจังหวัดทัญฮว้าทางทิศใต้ ในปี..

ใหม่!!: ประเทศเวียดนามและจังหวัดฮหว่าบิ่ญ · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดฮึงเอียน

ึงเอียน (Hưng Yên) เป็นจังหวัดตั้งอยู่ในภูมิภาคดินดอนสามเหลี่ยมปากแม่น้ำแดงทางตอนเหนือของประเทศเวียดนาม.

ใหม่!!: ประเทศเวียดนามและจังหวัดฮึงเอียน · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดจ่าวิญ

ังหวัดจ่าวิญ (Trà Vinh) เป็นจังหวัดในประเทศเวียดนาม ตั้งอยู่ในภูมิภาคดินดอนสามเหลี่ยมปากแม่น้ำโขง ติดทางทะเลจีนใต้.

ใหม่!!: ประเทศเวียดนามและจังหวัดจ่าวิญ · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดทัญฮว้า

ทัญฮว้า (Thanh Hóa) เป็นจังหวัดในภูมิภาคชายฝั่งตอนกลางเหนือของประเทศเวียดนาม ขนาดพื้นที่ใหญ่ที่สุดเป็นอันดับที่ห้า และมีประชากรมากที่สุดเป็นอันดับที่สามในบรรดาเขตการปกครองระดับบนสุดของเวียดนามทั้ง 63 แห่ง เมืองหลักและเมืองใหญ่ที่สุดของจังหวัดคือเมืองทัญฮว้า จังหวัดนี้มักถูกเรียกว่า ซื้อทัญ ซึ่งแปลว่า "ดินแดนทัญฮว้า" ในภาษาเวียดนาม จังหวัดทัญฮว้ามีพื้นที่ 11,133.4 ตารางกิโลเมตร และประชากรประมาณ 3.5 ล้านคน มีนครประจำจังหวัด 2 นคร (คือทัญฮว้าและเสิ่มเซิน) เมืองระดับอำเภอ 1 เมือง (คือบี๋มเซิน) และอำเภอ 24 อำเภอ นครเสิ่มเซินมีชื่อเสียงในด้านที่พักตากอากาศทางทะเล อยู่ห่างจากเมืองทัญฮว้าไปประมาณ 16 กิโลเมตร ส่วนเมืองบี๋มเซินก็เป็นย่านอุตสาหกรรมขนาดใหญ่ โดยเฉพาะการผลิตซีเมนต.

ใหม่!!: ประเทศเวียดนามและจังหวัดทัญฮว้า · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดท้ายบิ่ญ

ท้ายบิ่ญ (Thái Bình) เป็นจังหวัดชายฝั่งทะเลภาคตะวันออกในภูมิภาคดินดอนสามเหลี่ยมปากแม่น้ำแดง ทางตอนเหนือของประเทศเวียดนาม ห่างจากเมืองนามดิ่ญประมาณ 18 กิโลเมตร ห่างจากเมืองไฮฟองประมาณ 70 กิโลเมตร และห่างจากกรุงฮานอยประมาณ 110 กิโลเมตร.

ใหม่!!: ประเทศเวียดนามและจังหวัดท้ายบิ่ญ · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดท้ายเงวียน

ท้ายเงวียน (Thái Nguyên) เป็นจังหวัดหนึ่งทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศเวียดนาม ตั้งอยู่ในเขตภูเขาตอนในของประเทศ มีพื้นที่ 3,534.45 ตารางกิโลเมตรและมีประชากร 1,149,100 คน ณ ปี..

ใหม่!!: ประเทศเวียดนามและจังหวัดท้ายเงวียน · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดดั๊กลัก

ั๊กลัก (Đắk Lắk, Đắc Lắc) เป็นจังหวัดหนึ่งของประเทศเวียดนาม ตั้งอยู่ในภูมิภาคที่สูงตอนกลาง และเป็นที่อยู่อาศัยของกลุ่มชนพื้นเมืองจำนวนมากที่ไม่ใช่กลุ่มชาติพันธุ์เวียดนาม (เหวียต).

ใหม่!!: ประเทศเวียดนามและจังหวัดดั๊กลัก · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดดั๊กนง

ั๊กนง (Đắk Nông, Ðắc Nông) เป็นจังหวัดในเขตที่สูงตอนกลางของประเทศเวียดนาม มีเมืองหลักคือ ซาเหงีย จังหวัดดั๊กนงติดต่อกับจังหวัดดั๊กลักทางทิศเหนือ ติดกับจังหวัดเลิมด่งทางทิศตะวันออกเฉียงใต้ ติดกับจังหวัดบิ่ญเฟื้อกและประเทศกัมพูชาทางทิศตะวันตก สูงจากระดับน้ำทะเล 500 เมตร โดยมีภูมิประเทศลาดต่ำทางฝั่งตะวันตก มีทุ่งนาและทะเลสาบทางฝั่งใต้ แม่น้ำหลักที่สำคัญ ได้แก่ แม่น้ำบาและแม่น้ำเซเรปก อุณหภูมิโดยเฉลี่ยคือ 24 องศาเซลเซียส ฤดูฝนเริ่มในเดือนพฤษภาคม สิ้นสุดในเดือนตุลาคม ส่วนฤดูแล้ง เริ่มในเดือนพฤศจิกายน สิ้นสุดในเดือนเมษายน.

ใหม่!!: ประเทศเวียดนามและจังหวัดดั๊กนง · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดด่งท้าป

ด่งท้าป (Đồng Tháp) เป็นจังหวัดหนึ่งของประเทศเวียดนาม ตั้งอยู่ในภูมิภาคดินดอนสามเหลี่ยมปากแม่น้ำโขงทางตอนใต้ของประเทศ ติดกับจังหวัดไพรแวงของประเทศกัมพูชาทางทิศเหนือ ติดกับจังหวัดหวิญล็องและเขตเทศบาลนครเกิ่นเทอทางทิศใต้ ติดกับจังหวัดอานซางทางทิศตะวันตก และติดกับจังหวัดล็องอานและจังหวัดเตี่ยนซางทางทิศตะวันออก มีรถเดินทางตรงจากนครโฮจิมินห์มายังที่ด่งท้าป ด่งท้าป.

ใหม่!!: ประเทศเวียดนามและจังหวัดด่งท้าป · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดด่งนาย

งนาย (Đồng Nai) เป็นจังหวัดในภาคตะวันออกเฉียงใต้ของประเทศเวียดนาม ตั้งอยู่ทางทิศตะวันออกและทิศตะวันออกเฉียงเหนือของนครโฮจิมินห์ เมืองใหญ่ที่สุดคือ เบียนฮหว่า ก่อนที่เวียดนามจะเข้าครอบครอง พื้นที่บริเวณจังหวัดนี้เคยอยู่ภายใต้อำนาจของอาณาจักรฟูนาน อาณาจักรเจนละ และอาณาจักรขอมจนถึง..

ใหม่!!: ประเทศเวียดนามและจังหวัดด่งนาย · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดคั้ญฮหว่า

ั้ญฮหว่า (Khánh Hòa) เป็นจังหวัดหนึ่งของประเทศเวียดนาม ตั้งอยู่ในภาคชายฝั่งตอนกลางใต้ มีประชากรประมาณ 1,066,300 คน และครอบคลุมพื้นที่ 5,197 ตารางกิโลเมตร เมืองหลักคือญาจาง จังหวัดคั้ญฮหว่าเป็นที่พักตากอากาศของสมเด็จพระจักรพรรดิบ๋าว ดั่ย, สถาบันปาสเตอร์ที่ญาจาง, สถาบันสมุทรศาสตร์, สถาบันวัคซีนและสารชีวภาพ และเคยเป็นที่ตั้งกองบัญชาการกองกำลังพิเศษของกองทัพสหรัฐ ("กรีนเบอเรต์") ระหว่างสงครามเวียดนามในปลายคริสต์ทศวรรษ 1950 และคริสต์ทศวรรษ 1960 ช่วงปลายเดือน ท่าเรืออ่าวกามซัญเป็นสถานที่ที่ดีที่สุดสำหรับฐานเรือดำน้ำในประเทศเวียดนาม วัดโบราณแห่งหนึ่งของอาณาจักรจามปาตั้งอยู่ทางทิศเหนือของญาจาง.

ใหม่!!: ประเทศเวียดนามและจังหวัดคั้ญฮหว่า · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดซาลาย

ซาลาย (Gia Lai) เป็นจังหวัดในเขตที่สูงตอนกลางของประเทศเวียดนาม มีขนาดพื้นที่มากเป็นอันดับที่ 2 ของประเทศ การแบ่งเขตการปกครองประกอบไปด้วยอำเภอ 14 อำเภอ, เมืองระดับอำเภอ 2 เมือง และนครประจำจังหวัด 1 นคร คือ เปล็ยกู ซาลาย หมวดหมู่:ที่สูงตอนกลางของเวียดนาม.

ใหม่!!: ประเทศเวียดนามและจังหวัดซาลาย · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดซ้อกจัง

ซ้อกจัง (Sóc Trăng) เป็นจังหวัดในภูมิภาคดินดอนสามเหลี่ยมปากแม่น้ำโขงทางตอนใต้ของประเทศเวียดนาม เมืองหลักของจังหวัดคือซ้อกจัง จังหวัดมีพื้นที่ทั้งหมด 3,223 ตารางกิโลเมตร และมีประชากรประมาณ 1,213,400 คน.

ใหม่!!: ประเทศเวียดนามและจังหวัดซ้อกจัง · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดนามดิ่ญ

นามดิ่ญ (Nam Định) เป็นจังหวัดหนึ่งที่ตั้งอยู่ในดินดอนสามเหลี่ยมปากแม่น้ำแดงของประเทศเวียดนาม.

ใหม่!!: ประเทศเวียดนามและจังหวัดนามดิ่ญ · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดนิญบิ่ญ

นิญบิ่ญ (Ninh Bình) เป็นจังหวัดของประเทศเวียดนาม ตั้งอยู่ในดินดอนสามเหลี่ยมปากแม่น้ำแดงของภาคเหนือของประเท.

ใหม่!!: ประเทศเวียดนามและจังหวัดนิญบิ่ญ · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดนิญถ่วน

นิญถ่วน (Ninh Thuận) เป็นจังหวัดหนึ่งของประเทศเวียดนาม ตั้งอยู่ในภูมิภาคชายฝั่งตอนกลางใต้ของประเทศเวียดนาม (บางครั้งถือเป็นส่วนหนึ่งของภาคตะวันออกเฉียงใต้).

ใหม่!!: ประเทศเวียดนามและจังหวัดนิญถ่วน · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดเบ๊นแจ

นแจ (Bến Tre) เป็นจังหวัดในภูมิภาคดินดอนสามเหลี่ยมปากแม่น้ำโขงของประเทศเวียดนาม การแบ่งเขตการปกครองประกอบด้วยอำเภอ 8 อำเภอ กับนครประจำจังหวัด 1 นคร คือ เบ๊นแ.

ใหม่!!: ประเทศเวียดนามและจังหวัดเบ๊นแจ · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดเกียนซาง

เมืองสักซ้า เกียนซาง (Kiên Giang) เป็นจังหวัดที่ตั้งอยู่บริเวณสามเหลี่ยมปากแม่น้ำโขง มีเมืองหลักคือ สักซ้า (Rạch Giá) เคยเป็นส่วนหนึ่งของอาณานิคมอินโดจีนของฝรั่งเศส ภายใต้อาณานิคมโคชินไชนา และต่อมาอยู่ภายใต้ของสาธารณรัฐเวียดนามและสาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนามในปัจจุบัน เกียนซาง.

ใหม่!!: ประเทศเวียดนามและจังหวัดเกียนซาง · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดเลิมด่ง

ลิมด่ง (Lâm Đồng) เป็นจังหวัดที่ตั้งอยู่ในภูมิภาคที่สูงตอนกลางของเวียดนาม เมืองหลักคือด่าหลัต มีอาณาเขตติดต่อกับจังหวัดทัญฮว้าและจังหวัดบิ่ญถ่วนทางทิศตะวันออก, จังหวัดด่งนายทางตะวันตกเฉียงใต้, จังหวัดนิญถ่วนทางตะวันออกเฉียงใต้, จังหวัดดั๊กลักทางทิศเหนือ และจังหวัดดั๊กนงทางตะวันตกเฉียงเหนือ เลิมด่งเป็นจังหวัดบนที่สูงตอนกลางเพียงจังหวัดเดียวที่ไม่ได้ร่วมชายแดนทางทิศตะวันตกกับประเทศกัมพู.

ใหม่!!: ประเทศเวียดนามและจังหวัดเลิมด่ง · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดเหิ่วซาง

หิ่วซาง (Hậu Giang) เป็นจังหวัดในภูมิภาคดินดอนสามเหลี่ยมปากแม่น้ำโขงของประเทศเวียดนาม มีเมืองหลักคือ หวิทัญ ก่อนปี..

ใหม่!!: ประเทศเวียดนามและจังหวัดเหิ่วซาง · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดเหงะอาน

ที่ตั้งของจังหวัดเหงะอานในประเทศเวียดนาม เหงะอาน (Nghệ An) หรือ แง่อาน ตามที่ใช้ในเอกสารเก่าของไทย เป็นจังหวัดตอนเหนือของประเทศเวียดนาม เป็นบ้านเกิดของอดีตประธานาธิบดีโฮจิมินห.

ใหม่!!: ประเทศเวียดนามและจังหวัดเหงะอาน · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดเอียนบ๊าย

อียนบ๊าย (Yên Bái) เป็นจังหวัดที่มีพื้นฐานอยู่บนการเกษตร ตั้งอยู่ในภูมิภาคเต็ยบั๊กหรือภาคตะวันตกเฉียงเหนือ ทางภาคเหนือตอนกลางของประเทศเวียดนาม มีพรมแดนร่วมกับ 6 จังหวัด ได้แก่ จังหวัดห่าซาง, จังหวัดหล่าวกาย, จังหวัดลายเจิว, จังหวัดเซินลา, จังหวัดฟู้เถาะ และจังหวัดเตวียนกวาง จังหวัดครอบคลุมพื้นที่ทั้งหมด 6,899.5 ตารางกิโลเมตร และมีประชากรประมาณ 750,200 คนในปี..

ใหม่!!: ประเทศเวียดนามและจังหวัดเอียนบ๊าย · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดเถื่อเทียน-เว้

ื่อเทียน-เว้ หรือ เถื่อเทียน-เฮว้ (Thừa Thiên - Huế) เป็นจังหวัดในภูมิภาคชายฝั่งตอนกลางเหนือของประเทศเวียดนาม ตั้งอยู่บริเวณตอนกลางของประเทศ มีอาณาเขตทางทิศเหนือติดกับจังหวัดกว๋างจิ ทางทิศใต้ติดกับเขตเทศบาลนครดานังและจังหวัดกว๋างนาม ทางทิศตะวันตกติดกับประเทศลาว และทางทิศตะวันออกติดกับทะเลตะวันออก เป็นจังหวัดที่ชายฝั่งทะเลยาว 128 กิโลเมตร มีพื้นที่ทะเลสาบน้ำเค็มชายฝั่ง 22,000 เฮกตาร์ และมีพื้นที่ป่ามากกว่า 200,000 เฮกตาร์ ในเมืองเว้มีหมู่วัดและสุสานจักรพรรดิที่กว้างขวาง.

ใหม่!!: ประเทศเวียดนามและจังหวัดเถื่อเทียน-เว้ · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดเดี่ยนเบียน

ี่ยนเบียน (Điện Biên) เป็นจังหวัดที่อยู่ทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือของเวียดนาม ติดกับแขวงพงสาลีของลาวทางทิศตะวันตก และติดกับมณฑลยูนนานทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือ เดี่ยนเบียนในภาษาเวียดนามแปลว่า "เขตแดนมั่นคง" ที่นี้เคยมียุทธการที่เดียนเบียนฟูระหว่างเวียดนามกับฝรั่งเศส โดยชัยชนะเป็นของเวียดนาม.

ใหม่!!: ประเทศเวียดนามและจังหวัดเดี่ยนเบียน · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดเตวียนกวาง

ตวียนกวาง (Tuyên Quang) เป็นจังหวัดหนึ่งของประเทศเวียดนาม ตั้งอยู่ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศ ทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือของกรุงฮานอย ตรงใจกลางหุบเขาแม่น้ำโลซึ่งเป็นแควสาขาของแม่น้ำแดง การก่อตัวของดินดอนสามเหลี่ยมในจังหวัดนี้เรียกว่าดินดอนสามเหลี่ยมตังเกี๋ย เมืองหลักของจังหวัดคือเมืองเตวียนกวาง ในปี..

ใหม่!!: ประเทศเวียดนามและจังหวัดเตวียนกวาง · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดเตี่ยนซาง

ตี่ยนซาง (Tiền Giang) เป็นจังหวัดที่ตั้งอยู่ในดินดอนสามเหลี่ยมปากแม่น้ำโขงของประเทศเวียดนาม.

ใหม่!!: ประเทศเวียดนามและจังหวัดเตี่ยนซาง · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดเต็ยนิญ

ังหวัดเต็ยนิญ (Tây Ninh) เป็นหนึ่งจังหวัดในภาคตะวันออกเฉียงใต้ของประเทศเวียดนาม เมืองหลักคือเมืองเต็ยนิญ จังหวัดเต็ยนิญมีประชากรประมาณ 989,800 คน และพื้นที่ 4,028 ตารางกิโลเมตร.

ใหม่!!: ประเทศเวียดนามและจังหวัดเต็ยนิญ · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดเซินลา

ซินลา (Sơn La) เป็นจังหวัดที่ตั้งอยู่ในภาคตะวันตกเฉียงเหนือของประเทศเวียดนาม ทางทิศใต้ติดกับประเทศลาว ประชากรส่วนหนึ่งเป็นชาวไทขาวและชาวไทดำ เขื่อนเซินลาซึ่งเป็นโรงไฟฟ้าพลังน้ำที่ใหญ่ที่สุดในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ตั้งอยู่ในจังหวัดนี้.

ใหม่!!: ประเทศเวียดนามและจังหวัดเซินลา · ดูเพิ่มเติม »

จิ๋นซีฮ่องเต้

ฉินฉื่อหฺวังตี้ ตามสำเนียงกลาง หรือ จิ๋นซีฮ่องเต้ ตามสำเนียงอื่น (260–210 ก่อนคริสตกาลWood, Frances. (2008). China's First Emperor and His Terracotta Warriors, pp. 2-33. Macmillan Publishing, 2008. ISBN 0-312-38112-3.) เป็นชื่อที่ปัจจุบันใช้เรียกพระเจ้าเจิ้ง (Zhèng) แห่งเมืองฉิน มีความหมายตรงตัวว่า "ปฐมจักรพรรดิฉิน" พระองค์ทรงสถาปนาราชวงศ์ฉินเมื่อปีที่ 220 ก่อนคริสตกาล และทรงผนวกดินแดนจีนสำเร็จในปีที่ 221 ก่อนคริสตกาล เป็นอันสิ้นสุดยุครณรัฐDuiker, William J. & al.

ใหม่!!: ประเทศเวียดนามและจิ๋นซีฮ่องเต้ · ดูเพิ่มเติม »

จื๋อโกว๊กหงือ

ื๋อโกว๊กหงือ หรือ ตัวหนังสือของภาษาประจำชาติ (chữ Quốc ngữ) ใช้ในการเขียนภาษาเวียดนามอย่างเป็นทางการ จื๋อโกว๊กหงือเป็นอักษรละตินที่เพิ่มเติมเครื่องหมายต่าง ๆ เข้ามาเพื่อให้มีอักษรเพียงพอที่จะใช้เขียนภาษา อักษรดังกล่าวได้รับการคิดค้นขึ้นมาในคริสต์ศตวรรษที่ 17 โดยอาแล็กซ็องดร์ เดอ รอด ซึ่งเป็นมิชชันนารีชาวฝรั่งเศสที่เข้ามาเผยแผ่ศาสนา โดยมีรากฐานมาจากระบบที่มิชชันนารีชาวโปรตุเกสคิดไว้ก่อนหน้านั้น ในระหว่างที่เวียดนามยังเป็นอาณานิคมของฝรั่งเศสนั้น จื๋อโกว๊กหงือได้เป็นอักษรราชการของอาณานิคม ซึ่งได้ทำให้อักษรดังกล่าวเป็นที่แพร่หลายมากขึ้นเรื่อย ๆ จื๋อโกว๊กหงือในปัจจุบันมีรูปแบบการเขียนที่อ้างอิงการออกเสียงของภาษาถิ่นเวียดนามกลาง ซึ่งสระและพยัญชนะท้ายจะคล้ายคลึงกับภาษาถิ่นเหนือ ส่วนพยัญชนะต้นจะคล้ายกับภาษาถิ่นใต้ ก่อนที่ฝรั่งเศสจะเข้ามายังเวียดนามนั้น ภาษาเวียดนามมีระบบการเขียนสองแบบ ทั้งสองแบบก็มีที่มาจากอักษรจีนเช่นเดียวกัน คือ.

ใหม่!!: ประเทศเวียดนามและจื๋อโกว๊กหงือ · ดูเพิ่มเติม »

จื๋อโนม

ื๋อโนม (chữ Nôm, 字喃/𡨸喃/𡦂喃) เป็นระบบอักษรที่ใช้เขียนภาษาเวียดนาม ปัจจุบันเลิกใช้แล้ว จื๋อโนมประกอบด้วยอักษรจีน ("ฮั่นจื้อ" เรียกเป็นภาษาเวียดนามว่า "ฮ้านตึ" - Hán tự) และอักขระที่ประดิษฐ์ขึ้นตามแบบอักษรจีน ตัวอย่างที่เก่าที่สุดอยู่ในช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 13 มักนิยมใช้เฉพาะในหมู่ชนชั้นสูงของเวียดนาม โดยส่วนใหญ่ใช้บันทึกวรรณคดีเวียดนาม (งานเขียนที่เป็นทางการส่วนใหญ่จะใช้ภาษาจีนแบบแผน ไม่ใช่ภาษาเวียดนาม) ปัจจุบันถือว่าถูกแทนที่โดยสมบูรณ์ด้วยจื๋อโกว๊กหงือซึ่งดัดแปลงจากอักษรละติน.

ใหม่!!: ประเทศเวียดนามและจื๋อโนม · ดูเพิ่มเติม »

ถ่านหิน

นหิน ถ่านหิน คือ หินตะกอนชนิดหนึ่งที่เกิดจากการตกตะกอนสะสมของซากพืชในยุคดึกดำบรรพ์เป็นเวลายาวนานหลายล้านปี จนตะกอนนั้นได้เปลี่ยนสภาพไปและมีองค์ประกอบส่วนใหญ่เป็นธาตุคาร์บอน โดยมีธาตุอื่นๆทั้งที่เป็นก๊าซและของเหลวปนอยู่ด้วยในสัดส่วนที่น้อยกว่าและเป็นแร่เชื้อเพลิงสามารถติดไฟได้ มีสีน้ำตาลอ่อนจนถึงสีดำ มีทั้งชนิดผิวมันและผิวด้าน น้ำหนักเบา ถ่านหินประกอบด้วยธาตุที่สำคัญ 4 อย่างได้แก่ คาร์บอน ไฮโดรเจน ไนโตรเจน และออกซิเจน นอกจากนั้น มีธาตุหรือสารอื่น เช่น กำมะถัน เจือปนเล็กน้อย ถ่านหินที่มีจำนวนคาร์บอนสูงและมีธาตุอื่น ๆ ต่ำ เมื่อนำมาเผาจะให้ความร้อนมาก ถือว่าเป็นถ่านหินคุณภาพดี.

ใหม่!!: ประเทศเวียดนามและถ่านหิน · ดูเพิ่มเติม »

ทหาร

ทหารในประเทศเคนยา ทหาร หมายถึง ผู้มีหน้าที่ในเรื่องรบ นักรบ ผู้เป็นกำลังรักษาความมั่นคงและบำรุงประเทศและผู้เป็นกำลังรบและทำหน้าที่อื่นๆ ในยามสงคราม.

ใหม่!!: ประเทศเวียดนามและทหาร · ดูเพิ่มเติม »

ทะเลจีนใต้

แผนที่ทะเลจีนใต้ ทะเลจีนใต้ (South China Sea) เป็นทะเลปิดที่เป็นส่วนหนึ่งของมหาสมุทรแปซิฟิก ครอบคลุมอาณาบริเวณตั้งแต่ประเทศสิงคโปร์ไปจนถึงช่องแคบไต้หวัน รวมทั้งอ่าวตังเกี๋ยและอ่าวไทย มีเนื้อที่ประมาณ 3,500,000 ตารางกิโลเมตร พื้นที่ดังกล่าวมีความสำคัญเพราะมีเส้นทางขนส่งทางเรือผ่านคิดเป็นหนึ่งในสามของโลก นอกจากนี้ยังเชื่อกันว่า ใต้พื้นทะเลมีน้ำมันและแก๊สธรรมชาติสำรองขนาดใหญ่ด้วย อาณาเขตของทะเลจีนใต้ อยู่ทางใต้ของจีนแผ่นดินใหญ่และเกาะไต้หวัน, ตะวันตกของฟิลิปปินส์, ตะวันตกเฉียงเหนือของรัฐซาบะฮ์และรัฐซาราวะก์ของมาเลเซียและบรูไน, เหนือของอินโดนีเซีย, ตะวันออกเฉียงเหนือของคาบสมุทรมลายูและสิงคโปร์ และตะวันออกของเวียดนาม หมู่เกาะทะเลจีนใต้ ซึ่งส่วนใหญ่เป็นกลุ่มเกาะ มีจำนวนหลายร้อยเกาะ ทะเลและเกาะที่ไม่มีผู้คนอยู่อาศัยส่วนใหญ่นี้เป็นหัวข้อพิพาทอธิปไตยโดยหลายประเทศ ข้อพิพาทเหล่านี้ยังได้สะท้อนในชื่ออันหลากหลายที่ตั้งให้เกาะและทะเล.

ใหม่!!: ประเทศเวียดนามและทะเลจีนใต้ · ดูเพิ่มเติม »

ที่สูงตอนกลาง (เวียดนาม)

ที่ตั้งที่สูงตอนกลางในประเทศเวียดนาม ที่สูงตอนกลาง (Tây Nguyên; Central Highlands) เป็นหนึ่งในภูมิภาคของประเทศเวียดนาม ประกอบด้วยจังหวัดดั๊กลัก, จังหวัดดั๊กนง, จังหวัดซาลาย, จังหวัดกอนตูม และจังหวัดเลิมด่ง ภูมิภาคนี้บางครั้งเรียกว่า "ที่สูงในพื้นที่ตอนกลาง" (Cao nguyên Trung bộ) และเคยมีชื่อเรียกว่า "ที่สูงตอนกลาง" (Cao nguyên Trung phần) ในสมัยสาธารณรัฐเวียดนาม (เวียดนามใต้).

ใหม่!!: ประเทศเวียดนามและที่สูงตอนกลาง (เวียดนาม) · ดูเพิ่มเติม »

ท่าอากาศยานนานาชาติล็องถั่ญ

ท่าอากาศยานนานาชาติล็องถั่ญ (Cảng hàng không quốc tế Long Thành) เป็นท่าอากาศยานที่รัฐบาลเวียดนามมีแผนจะก่อสร้างในเขตอำเภอล็องถั่ญ จังหวัดด่งนาย ทางตอนใต้ของประเทศ อยู่ห่างจากนครโฮจิมินห์ไปทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือประมาณ 40 กิโลเมตร โดยคาดว่าจะเปิดใช้งานได้ภายในปี พ.ศ. 2563 และจะสามารถรองรับผู้โดยสารเต็มความจุได้ถึง 100 ล้านคนต่อปี สินค้า 5 ล้านตันต่อปี.

ใหม่!!: ประเทศเวียดนามและท่าอากาศยานนานาชาติล็องถั่ญ · ดูเพิ่มเติม »

ท่าอากาศยานนานาชาติดานัง

ท่าอากาศยานนานาชาติดานัง (Cảng hàng không quốc tế Đà Nẵng) เป็นท่าอากาศยานนานาชาติในเมืองดานัง ทางตอนกลางของประเทศเวียดนาม เป็นสนามบินนานาชาติแห่งที่ 3 ของประเทศ ถัดจากท่าอากาศยานนานาชาติเตินเซินเญิ้ตในโฮจิมินห์ซิตี และท่าอากาศยานนานาชาติโหน่ยบ่ายในกรุงฮานอย นอกจากจะให้บริการในเชิงพาณิชย์แล้ว สนามบินนี้ยังมีการใช้งานร่วมกับกองทัพอากาศเวียดนามอีกด้ว.

ใหม่!!: ประเทศเวียดนามและท่าอากาศยานนานาชาติดานัง · ดูเพิ่มเติม »

ท่าอากาศยานนานาชาติโหน่ยบ่าย

ท่าอากาศยานนานาชาติโหน่ยบ่าย (Sân bay Quốc tế Nội Bài) เป็นท่าอากาศยานที่ใหญ่ที่สุดในเวียดนามตอนเหนือ ให้บริการสำหรับบริเวณเมืองหลวงฮานอย ตั้งอยู่ห่างจากใจกลางเมือง 45 กิโลเมตร การเดินทางจากเมืองโดยรถแท็กซี่ใช้เวลา 30-45 นาที.

ใหม่!!: ประเทศเวียดนามและท่าอากาศยานนานาชาติโหน่ยบ่าย · ดูเพิ่มเติม »

ท่าอากาศยานนานาชาติเตินเซินเญิ้ต

ท่าอากาศยานนานาชาติเตินเซินเญิ้ต (Cảng hàng không quốc tế Tân Sơn Nhất) เป็นท่าอากาศยานนานาชาติที่ใหญ่ที่สุดในเวียดนาม ตั้งอยู่ในโฮจิมินห์ซิตี.

ใหม่!!: ประเทศเวียดนามและท่าอากาศยานนานาชาติเตินเซินเญิ้ต · ดูเพิ่มเติม »

ขุนศึก

นศึก เป็นบุคคลผู้มีอำนาจควบคุมทั้งทหารและพลเรือนเหนือพื้นที่เล็กกว่าชาติเนื่องจากกองทัพซึ่งภักดีต่อตัวขุนศึก แต่ไม่มีอำนาจถึงรัฐบาลกลาง คำว่า "ขุนศึก" ยังอาจหมายถึง ผู้รับอุดมการณ์ที่ว่า สงครามนั้นจำเป็น และมีหนทางและอำนาจในการเข้าสู่สงคราม ปัจจุบัน คำนี้มีความหมายโดยนัยรุนแรงว่า บุคคลซึ่งใช้อำนาจเกินกว่าที่กฎหมายอนุญาตให้ตำแหน่งหรือยศ (ถ้ามี) ของผู้นั้นใช้มาก ในทางกลับกัน ภายใต้ระบบเจ้าขุนมูลนาย ผู้นำทางทหารท้องถิ่นอาจมีอัตตาณัติสูงและมีกองทัพส่วนตัว และยังได้รับความชอบธรรมจากความจงรักภักดีอย่างเป็นทางการต่อรัฐบาลกลาง.

ใหม่!!: ประเทศเวียดนามและขุนศึก · ดูเพิ่มเติม »

ข้าราชสำนัก

มาดาม เดอ ปองปาดูร์ข้าราชสำนักในพระเจ้าหลุยส์ที่ 14 แห่งฝรั่งเศสผู้ต่อมาได้เป็นพระสนม ข้าราชสำนัก หรือ ข้าประจำสำนัก (Courtier) คือบุคคลที่รับราชการหรือมีหน้าที่ในราชสำนัก หรือ ในสำนักของขุนนาง หรือ สำนักของผู้มีอำนาจ ในประวัติศาสตร์ราชสำนักคือศูนย์กลางของรัฐบาลและสังคมและที่ประทับของพระมหากษัติรย์หรือที่พำนักของผู้มีอำนาจ ชีวิตทางด้านการเมืองและการสังคมจะมารวมอยู่ในที่เดียวกัน พระมหากษัตริย์หรือผู้มีอำนาจก็จะต้องให้ผู้ใกล้ชิดหรือขุนนางข้าราชการคนสำคัญๆ มาเฝ้าแหนหรือมาทำงานเป็นระยะเวลาหลายเดือนต่อปีภายในสำนัก ข้าราชสำนักไม่จำเป็นต้องเป็นขุนนาง แต่อาจจะเป็นนักบวช, ทหาร, เลขาธิการ หรือผู้แทนทางเศรษฐกิจหรือกิจการในสาขาและระดับต่างๆ การได้เลื่อนฐานะอาจจะเกิดขึ้นได้อย่างรวดเร็ว ฉะนั้นราชสำนัก/สำนักจึงเป็นสถานที่ที่ผู้มีความทะเยอทยานต่างก็พยายามเข้ามาปรากฏตัวเพื่อให้เป็นที่ใกล้ชิดบุคคลสำคัญ สิ่งที่สำคัญในการสร้างความก้าวหน้าให้แก่ตนเองภายในราชสำนัก/สำนักคือการเข้าถึงตัวผู้มีอำนาจ และ “ข้อมูล” ชีวิตภายในราชสำนัก/สำนักแบ่งเป็นหลายฝักหลายฝ่ายและหลายระดับ ผู้ที่ประสบความสำเร็จในหน้าที่การงานอาจจะไม่ต้องมีการติดต่อโดยตรงกับประมุขของสำนักเลยก็ได้ สตรีที่มีหน้าที่ในราชสำนักเรียกว่า “สตรีในราชสำนัก” (Courtesan) แต่ในปัจจุบันคำนี้แผลงไปใช้ในทางสตรีที่ใช้ความงามในการสร้างความก้าวหน้าให้แก่ตนเองที่อาจจะเรียกว่า “สตรีงามเมือง” ราชสำนักของยุโรปที่มีชื่อเสียงที่สุดก็ได้แก่ราชสำนักแวร์ซายส์ของพระเจ้าหลุยส์ที่ 14 แห่งฝรั่งเศส แต่ราชสำนักที่ใหญ่ที่สุดคือพระราชวังต้องห้ามแห่งกรุงปักกิ่งที่ยิ่งแยกจากสังคมภายนอกมากไปกว่าราชสำนักแวร์ซายส์ นอกจากราชสำนักหลักของราชอาณาจักรแล้ว ขุนนางหรือนักบวชในบางราชอาณาจักรในยุโรปก็อาจจะมีอำนาจที่เป็นอิสระจากพระมหากษัตริย์มากบ้างน้อยบ้าง ที่บางครั้งก็อาจจะมีสำนักของตนเองที่มีอำนาจอิสระจะอำนาจกลางของราชอาณาจักร ซึ่งทำให้ระบบราชสำนักของยุโรปออกจะเป็นระบบที่ซับซ้อนอยู่บ้าง ในปัจจุบันคำว่า “Courtier” มักจะใช้เป็นคำอุปลักษณ์สำหรับผู้เป็นผู้ใกล้ชิดกับผู้นำ หรือ ผู้ติดสอยห้อยตามผู้นำอย่างแยกไม่ได้.

ใหม่!!: ประเทศเวียดนามและข้าราชสำนัก · ดูเพิ่มเติม »

ข้าว

้าว ข้าว เป็นเมล็ดของพืชในสกุลข้าวที่พบมากในเอเชีย ข้าวเป็นธัญพืชซึ่งประชากรโลกบริโภคเป็นอาหารสำคัญ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในทวีปเอเชีย จากข้อมูลเมื่อปี 2553 ข้าวเป็นธัญพืชซึ่งมีการปลูกมากที่สุดเป็นอันดับสามทั่วโลก รองจากข้าวสาลีและข้าวโพด ข้าวเป็นธัญพืชสำคัญที่สุดในด้านโภชนาการและการได้รับแคลอรีของมนุษย์ เพราะข้าวโพดส่วนใหญ่ปลูกเพื่อจุดประสงค์อื่น มิใช่ให้มนุษย์บริโภค ทั้งนี้ ข้าวคิดเป็นพลังงานกว่าหนึ่งในห้าที่มนุษย์ทั่วโลกบริโภค หลักฐานพันธุศาสตร์แสดงว่าข้าวมาจากการนำมาปลูกเมื่อราว 8,200–13,500 ปีก่อน ในภูมิภาคหุบแม่น้ำจูเจียงของจีน ก่อนหน้านี้ หลักฐานโบราณคดีเสนอว่า ข้าวมีการนำมาปลูกในเขตหุบแม่น้ำแยงซีในจีน ข้าวแพร่กระจายจากเอเชียตะวันออกไปยังเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และเอเชียใต้ ข้าวถูกนำมายังทวีปยุโรปผ่านเอเชียตะวันตก และทวีปอเมริกาผ่านการยึดอาณานิคมของยุโรป ปกติการปลูกข้าวเป็นแบบปีต่อปี ทว่าในเขตร้อน ข้าวสามารถมีชีวิตอยู่ได้หลายปีและสามารถไว้ตอ (ratoon) ได้นานถึง 30 ปี ต้นข้าวสามารถโตได้ถึง 1–1.8 เมตร ขึ้นอยู่กับพันธุ์และความอุดมสมบูรณ์ของดินเป็นหลัก มีใบเรียว ยาว 50–100 เซนติเมตร และกว้าง 2–2.5 เซนติเมตร ช่อดอกห้อยยาว 30-50 เซนติเมตร เมล็ดกินได้เป็นผลธัญพืชยาว 5–12 มิลลิเมตร และหนา 2–-3 มิลลิเมตร การเตรียมดินสำหรับเพาะปลูกข้าวเหมาะกับประเทศและภูมิภาคที่ค่าแรงต่ำและฝนตกมาก เนื่องจากมันใช้แรงงานมากที่จะเตรียมดินและต้องการน้ำเพียงพอ อย่างไรก็ตาม ข้าวสามารถโตได้เกือบทุกที่ แม้บนเนินชันหรือเขตภูเขาที่ใช้ระบบควบคุมน้ำแบบขั้นบันได แม้ว่าสปีชีส์บุพการีของมันเป็นสิ่งพื้นเมืองของเอเชียและส่วนที่แน่นอนของแอฟริกา ร้อยปีของการค้าขายและการส่งออกทำให้มันสามัญในหลายวัฒนธรรมทั่วโลก วิธีแบบดั้งเดิมสำหรับเตรียมดินสำหรับข้าวคือทำให้น้ำท่วมแปลงชั่วขณะหนึ่งหรือหลังจากการตั้งของต้นกล้าอายุน้อย วิธีเรียบง่ายนี้ต้องการการวางแผนที่แข็งแรงและการให้บริการของเขื่อนและร่องน้ำ แต่ลดพัฒนาการของเมล็ดที่ไม่ค่อยแข็งแรงและวัชพืชที่ไม่มีภาวะเติบโตขณะจมน้ำ และยับยั้งศัตรูพืช ขณะที่การทำให้น้ำท่วมไม่จำเป็นสำหรับการเตรียมดินสำหรับเพาะปลูกข้าว วิธีทั้งหมดในการการชลประทานต้องการความพยายามสูงกว่าในการควบคุมวัชพืชและศัตรูพืชระหว่างช่วงเวลาการเจริญเติบโตและวิธีที่แตกต่างสำหรับใส่ปุ๋ยลงดิน.

ใหม่!!: ประเทศเวียดนามและข้าว · ดูเพิ่มเติม »

ดานัง

นัง หรือ ด่าหนัง (Da Nang; Đà Nẵng) เป็นเมืองท่าสำคัญของเวียดนามกลางตอนใต้ ตั้งอยู่ริมชายฝั่งทะเลจีนใต้ จัดเป็น 1 ใน 5 เขตการปกครองส่วนท้องถิ่นในเวียดนาม.

ใหม่!!: ประเทศเวียดนามและดานัง · ดูเพิ่มเติม »

ดินดอนสามเหลี่ยมปากแม่น้ำแดง

ที่ตั้งของภูมิภาคดินแดนสามเหลี่ยมปากแม่น้ำแดงในเวียดนาม ดินดอนสามเหลี่ยมปากแม่น้ำแดง (Đồng bằng sông Hồng) เป็นพื้นที่ขนาดใหญ่ตั้งอยู่ปลายน้ำของแม่น้ำแดง ทางตอนเหนือของประเทศเวียดนาม ครอบคลุม 8 จังหวัด กับ 2 เทศบาลนคร ได้แก่ จังหวัดบั๊กนิญ, จังหวัดห่านาม, จังหวัดหายเซือง, จังหวัดฮึงเอียน, จังหวัดนามดิ่ญ, จังหวัดนิญบิ่ญ, จังหวัดท้ายบิ่ญ, จังหวัดหวิญฟุก, เทศบาลนครฮานอย และเทศบาลนครไฮฟอง พื้นที่ส่วนใหญ่ใช้ในการปลูกข้าว.

ใหม่!!: ประเทศเวียดนามและดินดอนสามเหลี่ยมปากแม่น้ำแดง · ดูเพิ่มเติม »

ดินดอนสามเหลี่ยมปากแม่น้ำโขง

แผนที่แสดงตำแหน่งของดินดอนสามเหลี่ยมปากแม่น้ำโขง ดินดอนสามเหลี่ยมปากแม่น้ำโขง ถือเป็นดินดอนสามเหลี่ยมปากแม่น้ำที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในทวีปเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ตั้งอยู่ตรงบริเวณทางด้านตะวันตกเฉียงใต้ของประเทศเวียดนาม โดยเป็นบริเวณที่แม่น้ำโขงซึ่งมีต้นกำเนิดมาจากที่ราบสูงทิเบตแล้วไหลมาทางทิศใต้ผ่าน 7 ประเทศ ไหลออกสู่ทะเลจีนใต้ที่บริเวณนี้ โดยบริเวณที่เกิดการสะสมตัวของตะกอนในลักษณะของดินดอนสามเหลี่ยมปากแม่น้ำนั้นพบว่าแม่น้ำโขงมีการแตกออกเป็นสาขาย่อย ๆ หลายสาขา ปัจจุบันพบว่าดินดอนสามเหลี่ยมปากแม่น้ำโขงมีความกว้างของดินดอนสามเหลี่ยมใหญ่ที่สุดที่หนึ่งของโลกและกินพื้นที่ 39,000 ตารางกิโลเมตร ซึ่งเป็นสัดส่วนโดยมากของพื้นที่ทางตะวันตกเฉียงใต้ของประเทศเวียดนาม พื้นที่ของดินดอนสามเหลี่ยมปากแม่น้ำโขงส่วนที่ถูกปกคลุมด้วยน้ำนั้นขึ้นกับแต่ละฤดู เพราะปริมาณน้ำไม่เท่ากัน จากการศึกษาพบว่าบริเวณดินดอนสามเหลี่ยมปากแม่น้ำโขงนั้นมีการพัดพาของน้ำมาประมาณ 470 ลูกบากศ์กิโลเมตรต่อปี ซึ่งน้ำที่ไหลมาในบริเวณนี้ได้พัดพาตะกอนมาตกสะสมประมาณ 790,000-810,000 ตารางกิโลเมตรต่อปี นอกจากนี้พบว่าเมื่อประมาณ 6,000 ปีที่ผ่านมา มีการพอกของตะกอนในบริเวณนี้ในลักษณะการพอกคืบเข้าไปในทะเลคิดเป็น 200 กิโลเมตร รอบชายแดนของประเทศกัมพูชาและชายฝั่งทางตอนใต้ของประเทศเวียดนาม โดยในปัจจุบันพบว่าลักษณะปรากฏของดินดอนสามเหลี่ยมปากแม่น้ำโขงนั้น มีรูปร่างคล้ายรูปสามเหลี่ยมที่กินเนื้อที่เป็นบริเวณกว้าง ดินดอนสามเหลี่ยมปากแม่น้ำโขงได้มีการศึกษาเรื่องการกระจายตัวของสิ่งมีชีวิตบริเวณนี้ โดยพบว่าบริเวณนี้เป็นแหล่งรวมสิ่งมีชีวิตสายพันธุ์ใหม่กว่า 10,000 สายพันธุ์ ซึ่งทำให้บริเวฯดินดอนสามเหลี่ยมปากแม่น้ำโขงนี้นอกจากจะมีความน่าสนใจในการศึกษาเกี่ยวกับลักษณะทางธรณีวิทยาแล้วยังมีความน่าสนใจเป็นอย่างมากในการศึกษาเกี่ยวกับระบบชีววิทยาของพื้นที่ จากการสะสมตัวของตะกอนพบว่าตะกอนที่สะสมตัวในหุบเขาซึ่งทับอยู่บนชั้นตะกอนที่มีอายุสมัยไพลสโตซีน นั้นเกิดการสะสมตัวในช่วงที่มีเกิดเพิ่มขึ้นของระดับน้ำทะเลอย่างรวดเร็วครั้งล่าสุด ซึ่งพบว่าแม่น้ำโขงในช่วงยุคน้ำแข็งครั้งล่าสุดหรือเมื่อประมาณ 18,000 ปีมาแล้วนั้น ตำแหน่งของทางน้ำอยู่ทางตะวันออกของบริเวณที่เป็นหุบเขาทำให้บริเวณหุบเขามีลักษณะเป็นปากแม่น้ำ ขณะที่น้ำทะเลเพิ่มสูงขึ้นจึงเกิดการสะสมตัวของตะกอนที่เป็นตะกอนปากแม่น้ำ เมื่อน้ำทะเลเพิ่มสูงขึ้นปากแม่น้ำจึงย้ายเข้าไปในแผ่นดินมากขึ้นทำให้บริเวณนี้ได้รับอิทธิพลจากกระบวนการทางทะเลมากขึ้น จึงเกิดการสะสมตัวของที่ราบที่ได้รับผลจากน้ำขึ้น-น้ำลง หลังจากนั้นพบว่าเกิดการสะสมตัวของตะกอนดินดอนสามเหลี่ยมปากแม่น้ำเมื่อประมาณ 6,000 ปีที่แล้ว ซึ่งเป็นช่วงที่น้ำทะเลขึ้นสูงสุดและกำลังเริ่มลดลงเรื่อยๆ ทำให้พบลักษณะการเพิ่มขึ้นของขนาดเม็ดตะกอนเมื่อใกล้พื้นผิวมากขึ้น โดยเราสามารถแบ่งดินดอนสามเหลี่ยมปากแม่น้ำโขงออกเป็น 2 บริเวณตามอิทธิพลหลักที่มีผลต่อการสะสมตัวของตะกอนในแต่ละบริเวณ คือ.

ใหม่!!: ประเทศเวียดนามและดินดอนสามเหลี่ยมปากแม่น้ำโขง · ดูเพิ่มเติม »

ด่ง

อง (เวียดนาม Dong หรือ VND) คือหน่วยเงินของเวียดนามที่ใช้ในประเทศเวียดนาม อัตราแลกเปลี่ยนประมาณ 550 ด่งต่อบาท หรือ ประมาณ 16,000 ด่งต่อดอลลาร์สหรั.

ใหม่!!: ประเทศเวียดนามและด่ง · ดูเพิ่มเติม »

คริสต์

ริสต์ อาจหมายถึง.

ใหม่!!: ประเทศเวียดนามและคริสต์ · ดูเพิ่มเติม »

คริสต์ศาสนิกชน

ัญลักษณ์กางเขนและอิกธัส (Ichthys) ซึ่งคริสต์ศาสนิกชนมักใช้แทนศาสนาของตน คริสต์ศาสนิกชน หรือ คริสตชน หมายถึง บุคคลที่นับถือศาสนาคริสต์ ซึ่งเป็นศาสนาประเภทเอกเทวนิยมอันเกิดจากคำสอนของพระเยซูชาวนาซาเรธ คริสต์ศาสนิกชนเชื่อว่าพระองค์คือพระคริสต์หรือพระเมสสิยาห์ที่ถูกพยากรณ์ไว้ในคัมภีร์ฮีบรู และเป็นพระบุตรพระเป็นเจ้าด้วย, BBC คริสต์ศาสนิกชนส่วนใหญ่เชื่อเรื่องพระตรีเอกภาพ คือ เชื่อว่าพระเป็นเจ้าพระองค์เดียวได้ปรากฏเป็น 3 พระบุคคล คือ พระบิดา พระบุตร และพระวิญญาณบริสุทธิ์ อย่างไรก็ตามมีคริสต์ศาสนิกชนบางกลุ่มไม่ยอมรับเรื่องพระตรีเอกภาพ จึงเรียกว่า "อตรีเอกภาพนิยม" เช่น พยานพระยะโฮวา ในประเทศไทยเรียกคริสต์ศาสนิกชนชาวโรมันคาทอลิกว่าคริสตัง และชาวโปรเตสแตนต์ว่าคริสเตียน.

ใหม่!!: ประเทศเวียดนามและคริสต์ศาสนิกชน · ดูเพิ่มเติม »

ความร่วมมือทางเศรษฐกิจเอเชีย-แปซิฟิก

วามร่วมมือทางเศรษฐกิจเอเชีย-แปซิฟิก (เอเปก) (Asia-Pacific Economic Cooperation: APEC) เป็นกลุ่มความร่วมมือทางเศรษฐกิจ ระหว่างเขตเศรษฐกิจในภูมิภาคเอเชีย-แปซิฟิก เอเปคก่อตั้งขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 2532 โดยมีจุดประสงค์ มุ่งเน้นความเจริญเติบโตและการพัฒนาที่ยั่งยืนของภูมิภาค และผลักดันให้การเจรจาการค้าหลายฝ่าย รอบอุรุกวัย ประสบผลสำเร็จ ขณะเดียวกัน เอเปคก็ต้องการถ่วงดุลอำนาจทางเศรษฐกิจของกลุ่มเศรษฐกิจต่าง ๆ โดยเฉพาะกลุ่มสหภาพยุโรป อีกด้วย สิทธิประโยชน์ที่สมาชิกเอเปคให้แก่กัน จะมีผลต่อผู้ที่มิได้เป็นสมาชิกเอเปคด้ว.

ใหม่!!: ประเทศเวียดนามและความร่วมมือทางเศรษฐกิจเอเชีย-แปซิฟิก · ดูเพิ่มเติม »

ตรุษญวน

นนที่นครโฮจิมินห์ในเทศกาลตรุษญวน ประเพณีตรุษญวน หรือปีใหม่ของชาวเวียดนาม มีลักษณะเหมือนกับประเพณีตรุษจีนของชาวจีน ในอดีตสมัยที่เวียดนามตกเป็นเมืองขึ้นของจีนนานนับพันปี วัฒนธรรมทางความเชื่อและการดำรงชีวิตตลอดจนภาษาต่างก็ได้รับอิทธิพลจากจีนทั้งสิ้น ปฏิทินทางจันทรคติของเวียดนามจะตรงกับปฏิทินทางจันทรคติของจีน ดังนั้นวันตรุษญวนหรือวันขั้นปีใหม่เวียดนามจะตรงกับวันที่ 1 เดือน 1 ตามปฏิทินจันทรคติ หรือตรงกับวันตรุษจีนนั่นเอง ตรุษญวนในภาษาเวียดนามเรียกว่า เต๊ตเงวียนด๊าน (Tết Nguyên Đán) แปลว่าเทศกาลต้อนรับแสงรุ่งอรุณของปีใหม่ ในการเฉลิมฉลองเทศการตรุษญวนจะเริ่มขึ้นในวันที่ 23 เดือน 12 ตามปฏิทินจันทรคติของเวียดนาม (เจ็ดวันก่อนตรุษญวน) วันนี้จะมีการไหว้เทพเจ้าแห่งเตาไฟ ในภาษาเวียดนามเรียกว่า องต๊าว (Ông Táo) หรือ ต๊าวเกวิน (Táo Quân) เทพเจ้าเตาเป็นเทพเจ้าที่คอยสอดส่องดูแลความเป็นไปทุกอย่างภายในบ้าน เทพเจ้าเตาของเวียดนามมีสามองค์ ซึ่งแตกต่างกับของจีน พอถึงวันที่ 23 เดือน 12 จะมีการเซ่นไหว้เทพเจ้าโดยวัตถุประสงค์คือเพื่อส่งเทพเจ้าขึ้นสวรรค์ ในพิธีจะมีการไหว้ปลาคร๊าฟ ซึ่งเทพเจ้าจะขึ้นสวรรค์โดยขี่ปลาคร๊าฟนี้ พอไหว้เสร็จก็จะนำปลาคร๊าฟไปปล่อยในแม่น้ำหรือหนองน้ำเพราะเชื่อว่าปลาคร๊าฟจะแปลงกลายเป็นมังกรพาเทพเจ้าขึ้นสู่สวรรค์ หลังจากนั้นจะมีการทำความสะอาดบ้านเรือนประดับตกแต่งสวยงานเพื่อต้อนรับเทศกาลตรุษญวนที่จะมาถึง หลังจากไหว้เทพเจ้าเตาในวันที่ 23 เดือน 12 แล้ว พอถึงวันที่ 30 เดือน 1 ตามปฏิทินจันทรคติของเวียดนาม (ก่อนตรุษจีนหนึ่งวัน) จะมีการไหว้บรรพบุรุษเพื่อเชิญบรรพบุรุษกลับมาร่วมเฉลิมฉลองในเทศกาลตรุษญวน โดยญาติพี่น้องทุกคนที่อยู่ไกลบ้านจะต้องกลับมาเพื่อรวมกันพร้อมหน้าพร้อมตาในวันปีใหม่ การไหว้บรรพบุรุษจะเริ่มขึ้นในช่วงบ่าย การไหว้มีสองแบบคือ.

ใหม่!!: ประเทศเวียดนามและตรุษญวน · ดูเพิ่มเติม »

ตังเกี๋ย

อาณานิคมตังเกี๋ย (Bắc Kỳ บั๊กกี่; Tonkin, Tongkin, Tonquin หรือ Tongking) เป็นส่วนที่อยู่ทางเหนือสุดของประเทศเวียดนาม มีอาณาเขตติดต่อกับเขตปกครองตนเองกว่างซีจ้วงและมณฑลยูนนานของจีนทางเหนือ ทางตะวันตกติดต่อกับลาว และทางตะวันออกติดต่อกับอ่าวตังเกี๋ย ตังเกี๋ยตั้งอยู่บริเวณสามเหลี่ยมแม่น้ำแดงอันอุดมสมบูรณ์ และนับเป็นแหล่งปลูกข้าวที่สำคัญ.

ใหม่!!: ประเทศเวียดนามและตังเกี๋ย · ดูเพิ่มเติม »

ปฏิทินจันทรคติ

ปฏิทินจันทรคติ (อังกฤษ: lunar calendar) ใช้เรียกรูปแบบการใช้ปฏิทินรูปแบบหนึ่ง โดยใช้ดิถีของดวงจันทร์เพื่อบอกข้างขึ้นข้างแรมบอกเดือน ซึ่งในปัจจุบันระบบปฏิทินที่ใช้รูปแบบนี้ได้เปลี่ยนมาใช้ในรูปแบบปฏิทินสุริยจันทรคติแทนที่ โดยส่วนของจันทรคติใช้งานเฉพาะอ้างอิงวันสำคัญทางศาสนา หรือเทศกาลฉลองตามประเพณีดั้งเดิม เช่น ปฏิทินจันทรคติในหนึ่งเดือนจะนับตามการโคจรรอบโลกของดวงจันทร์ ซึ่งประมาณ 29 วันครึ่ง ซึ่งในหนึ่งปีจะแบ่งเป็น 12 เดือนซึ่งมีทั้งหมด 354 วัน โดยวันจะน้อยกว่าปฏิทินสุริยคติ 10 วันเศษ ซึ่งเมื่อถึงปีที่จำนวนวันที่เกินมาครบประมาณ 29.5 วันเศษ จะมีการเพิ่มเดือนเข้ามาอีกหนึ่งเดือน ซึ่งทำให้ปีนั้นมี 384 วัน ตัวอย่างเช่นในปฏิทินจันทรคติไทย จะเรียกว่าอธิกมาส โดยจะเพิ่มเดือน ๘ เข้ามาอีกหนึ่งเดือนซึ่งเรียกว่า เดือน ๘/๘ (หรือ ๘-๘ หรือ ๘๘ ก็เขียน) โดยในปีนั้นจะมี 13 เดือน ในปีที่ 3, 6, 9, 11, 14, 17 และ 19 ในปีทางจันทรคติ จะมี 12 เดือน ได้แก่ เดือนอ้าย เดือนยี่ เดือนสาม เดือนสี่ เดือนห้า เดือนหก เดือนเจ็ด เดือนแปด เดือนเก้า เดือนสิบ เดือนสิบเอ็ด เดือนสิบสอง โดยเดือนคู่จะมี 30 วัน คือวันขึ้น 1 ค่ำ ถึง วันขึ้น 15 ค่ำ และวันแรม 1 ค่ำ ถึง วันแรม 15 ค่ำ ส่วนเดือนคี่มี 29 วัน คือวันขึ้น 1 ค่ำ ถึง วันขึ้น 15 ค่ำ และวันแรม 1 ค่ำ ถึง วันแรม 14 ค่ำ นอกจากนี้ยังมีบางปีที่มีวันแรม 15 ค่ำ เดือน 7 เรียกว่าอธิกวาร โดยจะมีในปีที่ 6, 12, 17, 22, 28, 33 และ 38 ทั้งนี้ เพื่อให้เดือนแต่ละเดือนมีค่าเฉลี่ยของวันในเดือนเข้าใกล้ 29.530588 วันมากที.

ใหม่!!: ประเทศเวียดนามและปฏิทินจันทรคติ · ดูเพิ่มเติม »

ประชากร

ประชากร หมายถึง หมู่คนหรือสิ่งมีชีวิตสปีชีส์หนึ่ง ที่อาศัยอยู่ในพื้นที่ทางภูมิศาสตร์เดียวกัน ในระยะเวลาเดียวกัน วิชาพลศาสตร์ประชากร ศึกษาโครงสร้างประชากรทั้งในแง่ของขนาด อายุ และเพศ รวมถึงภาวะการตาย พฤติกรรมการสืบพันธุ์ และการเพิ่มของประชากร ประชากรศาสตร์ ศึกษาพลศาสตร์ประชากรของมนุษย์ นอกจากนี้ยังมีการศึกษาประชากรในด้านสังคมวิทยา เศรษฐศาสตร์ และภูมิศาสตร์ ประชากรนั้นต้องถือสัญชาติในรัฐที่ตนอยู่ แตกต่างจากบุคคลที่อยู่ภายใต้อำนาจรัฐ เช่น คนที่มาเปลี่ยนเที่ยวบินที่ประเทศไทย และ ต้องมีสิทธิพิเศษเหนือประชากรที่มาจากรัฐอื่น หากอยู่ในดินแดนของรัฐนั้น ตามสายโลหิต หรือตามสิทธิที่จะได้รับตามรัฐธรรมนูญ ความหนาแน่นประชากร คือ จำนวนคนหรือสิ่งมีชีวิตต่อหน่วยพื้นที่ พื้นที่ใดมีความหนาแน่นประชากรสูง แสดงว่ามีจำนวนประชากรมาก หมวดหมู่:สังคม * หมวดหมู่:ประชากร id:Penduduk#Penduduk dunia.

ใหม่!!: ประเทศเวียดนามและประชากร · ดูเพิ่มเติม »

ประมวลกฎหมาย

ประมวลกฎหมาย คือ กฎหมายซึ่งรวมบทกฎหมายต่าง ๆ ในเรื่องเดียวกันเข้าไว้ด้วยกัน และได้จัดให้มีการบัญญัติอย่างเป็นระบบ มีการจัดสรรให้เป็นหมวดหมู่อย่างเรียบร้อย และมีข้อความท้าวถึงซึ่งกันและกัน โดยประมวลกฎหมายมีลำดับศักดิ์ของกฎหมายเท่ากับพระราชบัญญัติเนื่องจากเป็นกฎหมายที่ออกโดยฝ่ายนิติบัญญัติ ประมวลกฎหมายฉบับแรกของประแทศไทย ก็คือ กฎหมายลักษณะอาญา ร..

ใหม่!!: ประเทศเวียดนามและประมวลกฎหมาย · ดูเพิ่มเติม »

ประวัติศาสตร์เวียดนาม

วียดนาม เรียกชื่ออย่างเป็นทางการว่า สาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม มีเนื้อที่ทั้งหมด 337,912 ตารางกิโลเมตร มีประชากรร่วม 89 ล้านคน (พ.ศ. 2554) เมืองหลวงคือ ฮานอย ประชากรส่วนใหญ่ของชาวเวียดนาม คือ ชาวเวียดนาม มีอยู่ประมาณร้อยละ 86 นอกจากนี้ยังมีชนกลุ่มน้อยอีก ได้แก่ โท้ ไต ม้ง เขมร และอื่นๆ ภาษาราชการ คือ ภาษาเวียดนาม ส่วนภาษาอื่นๆที่นิยมใช้ คือ ภาษาฝรั่งเศส และภาษาของแต่ละชนชาติ ประวัติความเป็นมาของเวียดนามสามารถสืบย้อนกลับไปได้มากกว่า 4000 ปีก่อน การค้นพบทางโบราณคดีจากปี..

ใหม่!!: ประเทศเวียดนามและประวัติศาสตร์เวียดนาม · ดูเพิ่มเติม »

ประธานาธิบดีเวียดนาม

ประธานาธิบดีแห่งสาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม (Chủ tịch nước Cộng hoà xã hội chủ nghĩa Việt Nam, "ประธานประเทศสาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม") หมายถึงประมุขแห่งรัฐของสาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม มีหน้าที่ดำเนินงานปกติและประสานงานด้านความมั่นคงของระบบรัฐบาลแห่งชาติ และปกป้องความสมบูรณ์ของความเป็นอิสระแก่ดินแดนของประเทศ ประธานาธิบดีมีอำนาจแต่งตั้ง นายกรัฐมนตรี รองประธานาธิบดี รัฐมนตรี และเจ้าหน้าที่อื่น ๆ ภายใต้ความยินยอมของรัฐสภา ประมุขแห่งรัฐจะดำรงตำแหน่งผู้บัญชาการทหารแห่งกองทัพประชาชนเวียดนาม และประธานสภากลาโหมและการรักษาความปลอดภัย ประธานาธิบดีมีวาระการดำรงตำแหน่ง 5 ปี และประธานาธิบดีสามารถดำรงตำแหน่งได้ 2 วาระ ในกรณีที่ประธานาธิบดีไม่สามารถปฏิบัติหน้าที่ได้ รองประธานาธิบดีจะทำหน้าที่เป็นรักษาการประธานาธิบดี จนกว่าประธานาธิบดีจะกลับมาปฏิบัติหน้าที่ได้หรือจนกว่าจะมีการเลือกตั้งประธานาธิบดีคนใหม.

ใหม่!!: ประเทศเวียดนามและประธานาธิบดีเวียดนาม · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศกัมพูชา

กัมพูชา หรือ ก็อมปุเจีย (កម្ពុជា กมฺพุชา) ชื่ออย่างเป็นทางการว่า ราชอาณาจักรกัมพูชา หรือ ราชอาณาจักรก็อมปุเจีย (ព្រះរាជាណាចក្រកម្ពុជា พฺระราชาณาจกฺรกมฺพุชา) เป็นประเทศตั้งอยู่ในส่วนใต้ของคาบสมุทรอินโดจีนในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ มีพื้นที่ 181,035 ตารางกิโลเมตร มีพรมแดนทิศตะวันตกติดต่อกับประเทศไทย ทิศเหนือติดกับประเทศไทยและลาว ทิศตะวันออกและทิศใต้ติดกับเวียดนาม และทิศตะวันตกเฉียงใต้ติดอ่าวไทย ด้วยประชากรกว่า 14.8 ล้านคน กัมพูชาเป็นประเทศที่มีประชากรมากที่สุดอันดับที่ 66 ของโลก ศาสนาพุทธนิกายเถรวาทเป็นศาสนาประจำชาติ ซึ่งประชากรกัมพูชานับถือประมาณ 95% ชนกลุ่มน้อยในประเทศมีชาวเวียดนาม ชาวจีน ชาวจาม และชาวเขากว่า 30 เผ่า เมืองหลวงและเมืองใหญ่สุด คือ พนมเปญ ซึ่งเป็นศูนย์กลางการเมือง เศรษฐกิจและวัฒนธรรมของกัมพูชา ราชอาณาจักรกัมพูชาปกครองแบบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญ มีพระบาทสมเด็จพระบรมนาถ นโรดม สีหมุนี มาจากการเลือกตั้งโดยราชสภาเพื่อราชบัลลังก์ เป็นประมุขแห่งรัฐ ประมุขรัฐบาล คือ สมเด็จอัครมหาเสนาบดีเดโช ฮุน เซน ผู้ซึ่งปัจจุบันเป็นผู้นำที่ดำรงตำแหน่งนานที่สุดในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ โดยได้ปกครองกัมพูชามาเป็นระยะเวลากว่า 25 ปี ใน..

ใหม่!!: ประเทศเวียดนามและประเทศกัมพูชา · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศญี่ปุ่น

ประเทศญี่ปุ่น (ชื่ออย่างเป็นทางการ) เป็นรัฐเอกราชหมู่เกาะในเอเชียตะวันออก ตั้งอยู่ในมหาสมุทรแปซิฟิกนอกฝั่งตะวันออกของแผ่นดินใหญ่เอเชีย ทางตะวันตกติดกับคาบสมุทรเกาหลีและประเทศจีน โดยมีทะเลญี่ปุ่นกั้น ส่วนทางทิศเหนือติดกับประเทศรัสเซีย มีทะเลโอค็อตสค์เป็นเส้นแบ่งแดน ตัวอักษรคันจิของชื่อญี่ปุ่นแปลว่า "ถิ่นกำเนิดของดวงอาทิตย์" จึงทำให้มักได้ชื่อว่า "ดินแดนแห่งอาทิตย์อุทัย" ประเทศญี่ปุ่นเป็นกลุ่มเกาะกรวยภูเขาไฟสลับชั้นซึ่งมีเกาะประมาณ 6,852 เกาะ เกาะใหญ่สุดคือ เกาะฮนชู ฮกไกโด คีวชู และชิโกกุ ซึ่งคิดเป็นพื้นที่แผ่นดินประมาณร้อยละ 97 ของประเทศญี่ปุ่น และมักเรียกว่าเป็นหมู่เกาะเหย้า (home islands) ประเทศแบ่งเป็น 47 จังหวัดใน 8 ภูมิภาค โดยมีฮกไกโดเป็นจังหวัดเหนือสุด และโอกินาวะเป็นจังหวัดใต้สุด ประเทศญี่ปุ่นมีประชากร 127 ล้านคน เป็นประเทศที่มีประชากรมากที่สุดเป็นอันดับ 10 ของโลก ชาวญี่ปุ่นเป็นร้อยละ 98.5 ของประชากรทั้งหมดของประเทศญี่ปุ่น ประมาณ 9.1 ล้านคนอาศัยอยู่ในกรุงโตเกียว เมืองหลวงของประเทศ การวิจัยทางโบราณคดีระบุว่ามีมนุษย์อาศัยในญี่ปุ่นปัจจุบันครั้งแรกตั้งแต่ยุคหินเก่า การกล่าวถึงญี่ปุ่นเป็นลายลักษณ์อักษรครั้งแรกปรากฏในบันทึกของราชสำนักจีนตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 1 ญี่ปุ่นได้รับอิทธิพลจากจีนในหลายด้าน เช่นภาษา การปกครองและวัฒนธรรม แต่ขณะเดียวกันก็มีการปรับเปลี่ยนให้เป็นเอกลักษณ์ของตนเอง จึงทำให้ญี่ปุ่นมีวัฒนธรรมที่โดดเด่นมาจนปัจจุบัน อีกหลายศตวรรษต่อมา ญี่ปุ่นก็รับเอาเทคโนโลยีตะวันตกและนำมาพัฒนาประเทศจนกลายเป็นประเทศที่ก้าวหน้าและมีอิทธิพลมากที่สุดในเอเชียตะวันออก หลังจากแพ้สงครามโลกครั้งที่สอง ญี่ปุ่นก็มีการเปลี่ยนแปลงทางการปกครองโดยการใช้รัฐธรรมนูญใหม่ใน..

ใหม่!!: ประเทศเวียดนามและประเทศญี่ปุ่น · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศฝรั่งเศส

ฝรั่งเศส (France ฟร็องส์) หรือชื่อทางการว่า สาธารณรัฐฝรั่งเศส (République française) เป็นประเทศที่มีศูนย์กลางตั้งอยู่ในภูมิภาคยุโรปตะวันตก ทั้งยังประกอบไปด้วยเกาะและดินแดนอื่น ๆ ในต่างทวีป ประเทศฝรั่งเศสแผ่นดินใหญ่ทอดตัวตั้งแต่ทะเลเมดิเตอร์เรเนียนจนถึงช่องแคบอังกฤษและทะเลเหนือ และจากแม่น้ำไรน์จนถึงมหาสมุทรแอตแลนติก ชาวฝรั่งเศสมักเรียกแผ่นดินใหญ่ว่า หกเหลี่ยม (L'Hexagone) เนื่องจากรูปทรงทางกายภาพของประเทศ ประเทศฝรั่งเศสปกครองด้วยระบอบกึ่งประธานาธิบดี โดยยึดอุดมการณ์จากปฏิญญาว่าด้วยสิทธิของมนุษย์และของพลเมือง ประเทศฝรั่งเศสมีพรมแดนติดกับประเทศเบลเยียม ลักเซมเบิร์ก เยอรมนี สวิตเซอร์แลนด์ อิตาลี โมนาโก อันดอร์ราและสเปน และเนื่องจากประเทศฝรั่งเศสมีดินแดนโพ้นทะเลไว้ในครอบครอง ทำให้มีอาณาเขตติดกับประเทศบราซิล ซูรินาม (ติดกับเฟรนช์เกียนา) และซินต์มาร์เตินของเนเธอร์แลนด์ (ติดกับแซ็ง-มาร์แต็ง) อีกด้วย นอกจากนั้นประเทศฝรั่งเศสยังเชื่อมกับสหราชอาณาจักรทางอุโมงค์ช่องแคบอังกฤษอีกด้วย ประเทศฝรั่งเศสเคยเป็นหนึ่งในประเทศมหาอำนาจของโลกตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 17 เป็นต้นมา ในคริสต์ศตวรรษที่ 18 และ 19 จักรวรรดิฝรั่งเศสเป็นหนึ่งในประเทศจักรวรรดินิยมที่มีอาณานิคมในครอบครองมากที่สุดในโลก แผ่อาณาเขตตั้งแต่แอฟริกาตะวันตกจนถึงเอเชียอาคเนย์ ซึ่งเห็นได้ชัดจากอิทธิพลทางวัฒนธรรม ภาษาและการเมืองการปกครองของดินแดนนั้น ๆ ประเทศฝรั่งเศสถูกจัดให้เป็นประเทศที่พัฒนาแล้วและมีเศรษฐกิจใหญ่เป็นอันดับที่ 6 ของโลก ประเทศฝรั่งเศสยังเป็นประเทศที่มีนักท่องเที่ยวมากที่สุดในโลกอีกด้วย โดยมีนักท่องเที่ยวชาวต่างชาติกว่า 82 ล้านคนต่อปี ประเทศฝรั่งเศสเป็นประเทศผู้ก่อตั้งสหภาพยุโรปและมีพื้นที่ใหญ่ที่สุดในกลุ่มประเทศอีกด้วย ประเทศฝรั่งเศสยังเป็นประเทศผู้ก่อตั้งสหประชาชาติ เป็นสมาชิกประชาคมผู้ใช้ภาษาฝรั่งเศสโลก จีแปด นาโต้และสหภาพละติน ประเทศฝรั่งเศสยังเป็นสมาชิกถาวรของคณะมนตรีความมั่นคงแห่งสหประชาชาติและเป็นมหาอำนาจนิวเคลียร์ที่มีหัวรบนิวเคลียร์กว่า 360 หัวรบและเตาปฏิกรณ์นิวเคลียร์ 59 แห่ง.

ใหม่!!: ประเทศเวียดนามและประเทศฝรั่งเศส · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศลาว

ลาว (ລາວ) หรือชื่ออย่างเป็นทางการคือ สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว (ສາທາລະນະລັດ ປະຊາທິປະໄຕ ປະຊາຊົນລາວ, อักษรย่อ: ປປ.ລາວ) เป็นประเทศที่ไม่มีทางออกสู่ทะเลในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ มีพื้นที่ 236,800 ตารางกิโลเมตร มีพรมแดนติดต่อกับจีน ทางทิศเหนือ ติดต่อกับพม่าทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือ ติดต่อกับเวียดนามทางทิศตะวันออก ติดต่อกับกัมพูชาทางทิศใต้ และติดต่อกับประเทศไทยทางทิศตะวันตก กั้นด้วยแม่น้ำโขงเป็นบางช่วง.

ใหม่!!: ประเทศเวียดนามและประเทศลาว · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศสวิตเซอร์แลนด์

วิตเซอร์แลนด์ (Switzerland; die Schweiz; la Suisse; Svizzera; Svizra) มีชื่อทางการว่า สมาพันธรัฐสวิส (Swiss Confederation; Confoederatio Helvetica) เป็นประเทศขนาดเล็กที่ไม่มีทางออกสู่ทะเล และตั้งอยู่ในทวีปยุโรปตะวันตก โดยมีพรมแดนติดกับ ประเทศเยอรมนี ประเทศฝรั่งเศส ประเทศอิตาลี ประเทศออสเตรีย และประเทศลิกเตนสไตน์ นอกจากจะมีความเป็นกลางทางการเมืองแล้ว สวิตเซอร์แลนด์นับว่ามีการร่วมมือกันระหว่างประเทศเป็นอย่างมาก เนื่องจากเป็นที่ตั้งขององค์กรนานาชาติหลายแห่ง นอกจากนี้ลักษณะของประเทศยังคล้ายกับประเทศเบลเยียม.

ใหม่!!: ประเทศเวียดนามและประเทศสวิตเซอร์แลนด์ · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศสิงคโปร์

ประเทศสิงคโปร์ มีชื่ออย่างเป็นทางการว่า สาธารณรัฐสิงคโปร์ เป็นนครรัฐสมัยใหม่และประเทศเกาะที่มีขนาดเล็กที่สุดในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ตั้งอยู่นอกปลายทิศใต้ของคาบสมุทรมลายูและอยู่เหนือเส้นศูนย์สูตร 137 กิโลเมตร ดินแดนของประเทศประกอบด้วยเกาะหลักรูปสี่เหลี่ยมขนมเปียกปูน ซึ่งมักเรียกว่าเกาะสิงคโปร์ในภาษาอังกฤษ และเกาะอูจง (Pulau Ujong) ในภาษามลายู และเกาะที่เล็กกว่ามากอีกกว่า 60 เกาะ ประเทศสิงคโปร์แยกจากคาบสมุทรมลายูโดยช่องแคบยะฮอร์ทางทิศเหนือ และจากหมู่เกาะเรียวของประเทศอินโดนีเซียโดยช่องแคบสิงคโปร์ทางทิศใต้ ประเทศมีลักษณะแบบเมืองอย่างสูง และคงเหลือพืชพรรณดั้งเดิมเล็กน้อย ดินแดนของประเทศขยายอย่างต่อเนื่องโดยการแปรสภาพที่ดิน หมู่เกาะมีการตั้งถิ่นฐานในคริสต์ศตวรรษที่ 2 และต่อมาเป็นของจักรวรรดิท้องถิ่นต่าง ๆ สิงคโปร์สมัยใหม่ก่อตั้งใน..

ใหม่!!: ประเทศเวียดนามและประเทศสิงคโปร์ · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศจีน

ประเทศจีน มีชื่ออย่างเป็นทางการว่า สาธารณรัฐประชาชนจีน (People's Republic of China (PRC)) เป็นรัฐเอกราชในเอเชียตะวันออก เป็นประเทศที่มีประชากรมากที่สุดในโลก กว่า 1,300 ล้านคน เป็นรัฐพรรคการเมืองเดียวปกครองโดยพรรคคอมมิวนิสต์จีน มีเมืองหลวงอยู่ที่กรุงปักกิ่ง ประเทศจีนแบ่งการปกครองออกเป็น 22 มณฑล (ไม่รวมพื้นที่พิพาทไต้หวัน) 5 เขตปกครองตนเอง 4 เทศบาลนคร (ปักกิ่ง เทียนจิน เซี่ยงไฮ้ และฉงชิ่ง) และ 2 เขตบริหารพิเศษ ได้แก่ ฮ่องกงและมาเก๊า ประเทศจีนมีพื้นที่ 9.6 ล้านตารางกิโลเมตร นับเป็นประเทศที่มีพื้นที่ทั้งหมดใหญ่ที่สุดในโลกเป็นอันดับ 3 หรือ 4 แล้วแต่วิธีการวัด ลักษณะภูมิประเทศของจีนมีความหลากหลาย ตั้งแต่ป่าสเต็ปป์และทะเลทรายในพื้นที่แห้งแล้งทางตอนเหนือของประเทศติดกับประเทศมองโกเลียและไซบีเรียของรัสเซีย และป่าฝนกึ่งโซนร้อนในพื้นที่ชื้นทางใต้ซึ่งติดกับเวียดนาม ลาว และพม่า ส่วนภูมิประเทศทางตะวันตกนั้นขรุขระและเป็นที่สูง โดยมีเทือกเขาหิมาลัยและเทือกเขาเทียนชานกั้นเป็นพรมแดนตามธรรมชาติกับประเทศอินเดีย เนปาล และเอเชียกลาง ในทางตรงกันข้าม แนวชายฝั่งด้านตะวันออกของจีนแผ่นดินใหญ่นั้นเป็นที่ราบต่ำ และมีแนวชายฝั่งยาว 14,500 กิโลเมตร (ยาวที่สุดเป็นอันดับที่ 11 ของโลก) ซึ่งติดต่อกับทะเลจีนใต้ทางใต้ และทะเลจีนตะวันออกทางตะวันออก นอกจากนี้ยังมีประเทศที่เป็นเกาะอยู่ใกล้เคียง ได้แก่ เกาหลี และญี่ปุ่น อารยธรรมจีนโบราณ ซึ่งถือว่าเป็นหนึ่งอารยธรรมยุคแรกเริ่มของโลก เจริญรุ่งเรืองในลุ่มแม่น้ำเหลืองอันอุดมสมบูรณ์ ซึ่งไหลผ่านที่ราบลุ่มจีนเหนือ จีนยึดระบบการเมืองแบบราชาธิปไตยหลายสหัสวรรษ จีนรวมกันเป็นปึกแผ่นครั้งแรกในสมัยราชวงศ์ฉินเมื่อ 221 ปีก่อนคริสตกาล ส่วนราชวงศ์สุดท้าย ราชวงศ์ชิง สิ้นสุดลงในปี..

ใหม่!!: ประเทศเวียดนามและประเทศจีน · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศไทย

ประเทศไทย มีชื่ออย่างเป็นทางราชการว่า ราชอาณาจักรไทย เป็นรัฐชาติอันตั้งอยู่ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เดิมมีชื่อว่า "สยาม" รัฐบาลประกาศเปลี่ยนชื่อเป็นประเทศไทยอย่างเป็นทางการตั้งแต่ปี 2482 ประเทศไทยมีขนาดใหญ่เป็นอันดับที่ 50 ของโลก มีเนื้อที่ 513,115 ตารางกิโลเมตร และมีประชากรมากเป็นอันดับที่ 20 ของโลก คือ ประมาณ 66 ล้านคน กรุงเทพมหานครเป็นศูนย์กลางการบริหารราชการแผ่นดินและนครใหญ่สุดของประเทศ และการปกครองส่วนภูมิภาค จัดระเบียบเป็น 76 จังหวัด แม้จะมีการสถาปนาระบอบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญและประชาธิปไตยระบบรัฐสภาในปี 2475 แต่กองทัพยังมีบทบาทในการเมืองไทยสูง ล่าสุด เกิดรัฐประหารเมื่อวันที่ 22 พฤษภาคม 2557 และมีการปกครองแบบเผด็จการทหารนับแต่นั้น พบหลักฐานการอยู่อาศัยอย่างต่อเนื่องในอาณาเขตประเทศไทยปัจจุบันตั้งแต่ 20,000 ปีก่อนคริสตกาล ชาวไทเริ่มอพยพเข้าสู่บริเวณนี้ในคริสต์ศตวรรษที่ 11 แล้วเข้ามาตั้งแว่นแคว้นต่าง ๆ ที่สำคัญได้แก่ อาณาจักรสุโขทัย อาณาจักรล้านนาและอาณาจักรอยุธยา นักประวัติศาสตร์มักถือว่าอาณาจักรสุโขทัยเป็นจุดเริ่มต้นของประวัติศาสตร์ไทย ต่อมาอาณาจักรอยุธยาค่อย ๆ เรืองอำนาจมากขึ้นจนเป็นมหาอำนาจในภูมิภาคในปลายคริสต์ศตวรรษที่ 14 การติดต่อกับชาติตะวันตกเริ่มด้วยผู้แทนทางทูตชาวโปรตุเกสในปี 2054 อาณาจักรรุ่งเรืองอย่างมากในรัชกาลสมเด็จพระนารายณ์มหาราช (ครองราชย์ปี 2199–2231) แต่หลังจากนั้นค่อย ๆ เสื่อมอำนาจโดยมีสาเหตุส่วนหนึ่งจากการผลัดแผ่นดินที่มีการนองเลือดหลายรัชกาล จนสุดท้ายกรุงศรีอยุธยาถูกทำลายสิ้นเชิงในปี 2310 สมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรีทรงรวบรวมแผ่นดินที่แตกออกเป็นก๊กต่าง ๆ และสถาปนาอาณาจักรธนบุรีที่มีอายุ 15 ปี ความวุ่นวายในช่วงปลายอาณาจักรนำไปสู่การสำเร็จโทษพระองค์โดยพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช ปฐมราชวงศ์จักรีแห่งกรุงรัตนโกสินทร์ ช่วงต้นกรุงรัตนโกสินทร์ ประเทศเผชิญภัยคุกคามจากชาติใกล้เคียง แต่หลังรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวเป็นต้นมา ชาติตะวันตกเริ่มมีอิทธิพลในภูมิภาคเป็นอย่างมาก นำไปสู่การเข้าเป็นภาคีแห่งสนธิสัญญาไม่เป็นธรรมหลายฉบับ กระนั้น สยามไม่ตกเป็นอาณานิคมของตะวันตกชาติใด มีการปรับให้สยามทันสมัยและรวมอำนาจปกครองในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (ครองราชย์ปี 2411–53) สยามเข้าร่วมกับฝ่ายสัมพันธมิตรในสงครามโลกครั้งที่หนึ่งในปี 2460; ในปี 2475 เกิดการปฏิวัติเปลี่ยนแปลงการปกครองสู่ระบอบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญโดยไม่เสียเลือดเนื้อ คณะราษฎรมีบทบาทนำทางการเมือง และในพุทธทศวรรษ 2480 นายกรัฐมนตรี จอมพล แปลก พิบูลสงคราม ดำเนินนโยบายชาตินิยมเข้มข้น ระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง ไทยเข้ากับฝ่ายอักษะ แต่ฝ่ายสัมพันธมิตรส่วนใหญ่ไม่ยอมรับการประกาศสงคราม ในช่วงสงครามเย็น ประเทศไทยเป็นพันธมิตรกับสหรัฐซึ่งสนับสนุนรัฐบาลทหารมาก รัฐประหารที่มีจอมพล สฤษดิ์ ธนะรัชต์เป็นหัวหน้าคณะในปี 2500 ทำให้คณะราษฎรหมดอำนาจ รัฐบาลฟื้นฟูพระราชอำนาจและมีมาตรการต่อต้านคอมมิวนิสต์ในภูมิภาค ผลของเหตุการณ์ 14 ตุลา 2516 ทำให้เกิดประชาธิปไตยระบบรัฐสภาช่วงสั้น ๆ ประเทศไทยมีนายกรัฐมนตรีจากการเลือกตั้งครั้งแรกในปี 2531 หลังพุทธทศวรรษ 2540 มีวิกฤตการเมืองระหว่างฝ่ายที่สนับสนุนและต่อต้านอดีตนายกรัฐมนตรีทักษิณ ชินวัตรมาจนปัจจุบัน รวมทั้งเกิดรัฐประหารสองครั้ง โดยครั้งล่าสุดเกิดในปี 2557 รัฐธรรมนูญฉบับปัจจุบันเป็นฉบับที่ 20 ประกาศใช้เมื่อวันที่ 6 เมษายน 2560 หลังมีการลงประชามติรับร่างเมื่อหนึ่งปีก่อน ประเทศไทยเป็นสมาชิกสหประชาชาติ เอเปก อีกทั้งเป็นร่วมผู้ก่อตั้งอาเซียน ประเทศไทยเป็นพันธมิตรของสหรัฐตั้งแต่สนธิสัญญาซีโต้ในปี 2497 ถือเป็นประเทศอำนาจนำภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และประเทศอำนาจปานกลางในเวทีโลก ประเทศไทยเป็นประเทศที่มีรายได้ปานกลาง-สูงและประเทศอุตสาหกรรมใหม่ มีรายได้หลักจากภาคอุตสาหกรรมและบริการ การเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจทำให้มีการอพยพเข้าสู่เมืองในคริสต์ศตวรรษที่ 20 ตามประมาณการในปี 2560 จีดีพีของประเทศไทยมีมูลค่าราว 432,898 ล้านดอลลาร์สหรัฐ นับว่าเศรษฐกิจไทยเป็นเศรษฐกิจใหญ่สุดเป็นอันดับ 2 ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และใหญ่เป็นอันดับที่ 26 ของโลก.

ใหม่!!: ประเทศเวียดนามและประเทศไทย · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศไต้หวัน

ประเทศไต้หวัน (Taiwan) หรือชื่อทางการว่า สาธารณรัฐจีน (Republic of China) เป็นรัฐในทวีปเอเชียตะวันออก ปัจจุบันประกอบด้วยเกาะใหญ่ 5 แห่ง คือ จินเหมิน (金門), ไต้หวัน, เผิงหู (澎湖), หมาจู่ (馬祖), และอูชิว (烏坵) กับทั้งเกาะเล็กเกาะน้อยอีกจำนวนหนึ่ง ท้องที่ดังกล่าวเรียกรวมกันว่า "พื้นที่ไต้หวัน" (臺灣地區) ไต้หวันด้านตะวันตกติดกับจีนแผ่นดินใหญ่ ด้านตะวันออกและตะวันออกเฉียงเหนือติดกับญี่ปุ่น และด้านใต้ติดกับฟิลิปปินส์ กรุงไทเปเป็นเมืองหลวง ส่วนไทเปใหม่เป็นเขตปกครองที่จัดตั้งขึ้นใหม่ กินพื้นที่กรุงไทเป และเป็นเขตซึ่งประชากรหนาแน่นที่สุดในเวลานี้ เกาะไต้หวันนั้นเดิมเป็นที่อยู่ของชนพื้นเมือง และมีชาวจีนจากแผ่นดินใหญ่เข้ามาอาศัยร่วมด้วย จนกระทั่งชาววิลันดาและสเปนเดินทางเข้ามาในยุคสำรวจเมื่อศตวรรษที่ 17 และมาตั้งบ้านเรือนกลายเป็นนิคมใหญ่โต ต่อมาในปี 1662 ราชวงศ์หมิงในแผ่นดินใหญ่ถูกราชวงศ์ชิงแทนที่ เจิ้ง เฉิงกง (鄭成功) ขุนศึกหมิง รวมกำลังหนีมาถึงเกาะไต้หวัน และเข้ารุกไล่ฝรั่งออกไปได้อย่างราบคาบ เขาจึงตั้งราชอาณาจักรตงหนิง (東寧) ขึ้นบนเกาะเพื่อ "โค่นชิงฟื้นหมิง" (反清復明) แต่ในปี 1683 ราชวงศ์ชิงปราบปรามอาณาจักรตงหนิงและเข้าครอบครองไต้หวันเป็นผลสำเร็จ ไต้หวันจึงกลายเป็นมณฑลหนึ่งของจีน อย่างไรก็ดี ความบาดหมางระหว่างจีนกับญี่ปุ่นเป็นเหตุให้ญี่ปุ่นได้ไต้หวันไปในปี 1895 ก่อนเสียไต้หวันคืนให้แก่จีนหลังสงครามโลกครั้งที่สอง ช่วงนั้น มีการเปลี่ยนแปลงการปกครองในจีน พรรคชาตินิยม (國民黨) ได้เป็นใหญ่ แต่ไม่นานก็เสียทีให้แก่พรรคสังคมนิยม (共产党) พรรคชาตินิยมจึงหนีมายังเกาะไต้หวัน แล้วสถาปนาสาธารณรัฐจีนขึ้นบนเกาะไต้หวันแยกต่างหากจากสาธารณรัฐประชาชนจีนบนแผ่นดินใหญ่ อย่างไรก็ดี จีนยังคงถือว่า ไต้หวันเป็นมณฑลหนึ่งของตน และไต้หวันเองก็ยังมิได้รับการยอมรับจากนานาชาติว่าเป็นประเทศเอกราชมาจนบัดนี้ ในช่วงทศวรรษ 1980 ถึงต้นทศวรรษ 1990 การเมืองการปกครองสาธารณรัฐจีน (ไต้หวัน) ได้เจริญรุ่งเรืองจนเป็นประชาธิปไตยที่มีพรรคการเมืองหลายพรรคและมีการเลือกตั้งทั่วหน้า อนึ่ง ในช่วงกลางศตวรรษที่ 20 เศรษฐกิจไต้หวันงอกงามอย่างรวดเร็ว ไต้หวันจึงกลายเป็นประเทศพัฒนาแล้ว ทั้งได้ชื่อว่าเป็นหนึ่งในสี่เสือแห่งเอเชีย มีอุตสาหกรรมล้ำหน้า และมีเศรษฐกิจใหญ่โตเป็นอันดับที่ 19 ของโลก อุตสาหกรรมที่ใช้เทคโนโลยีชั้นสูงของไต้หวันยังมีบทบาทสำคัญมากในเศรษฐกิจโลก เป็นเหตุให้ไต้หวันได้เป็นสมาชิกองค์การการค้าโลกและความร่วมมือทางเศรษฐกิจเอเชีย-แปซิฟิก นอกจากนี้ เสรีภาพของสื่อมวลชน เสรีภาพทางเศรษฐกิจ การสาธารณสุข การศึกษา และการพัฒนามนุษย์ในไต้หวันยังได้รับการจัดอยู่ในอันดับสูงด้วยhttp://www.dgbas.gov.tw/public/Data/366166371.pdf.

ใหม่!!: ประเทศเวียดนามและประเทศไต้หวัน · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศเกาหลีใต้

รณรัฐเกาหลี (Republic of Korea; 대한민국 (ฮันกึล); 大韓民國 (ฮันจา)) หรือที่เรียกกันทั่วไปว่า เกาหลีใต้ (South Korea) เป็นประเทศในเอเชียตะวันออก มีพื้นที่ครอบคลุมส่วนใต้ของคาบสมุทรเกาหลี พรมแดนทางเหนือติดกับประเทศเกาหลีเหนือ มีประเทศญี่ปุ่นตั้งอยู่ทางตะวันออกเฉียงใต้โดยมีทะเลญี่ปุ่นและช่องแคบเกาหลีกั้นไว้ ในภาษาเกาหลีอ่านชื่อประเทศว่า แทฮันมินกุก (대한민국; 大韓民國) โดยเรียกสั้น ๆ ว่า ฮันกุก (한국) ที่หมายถึงเกาหลี และบางครั้งจะใช้ชื่อว่า นัมฮัน (남한) ที่หมายถึง เกาหลีทางใต้ ส่วนชาวเกาหลีเหนือจะเรียกเกาหลีใต้ว่า นัมโชซ็อน (남조선) ที่หมายถึง โชซ็อนใต้.

ใหม่!!: ประเทศเวียดนามและประเทศเกาหลีใต้ · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศเวียดนาม

วียดนาม (Việt Nam เหฺวียดนาม) มีชื่ออย่างเป็นทางการคือ สาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม (Cộng hòa xã hội chủ nghĩa Việt Nam, ก่ง ฮหว่า สา โห่ย จู๋ เหงีย เหวียต นาม) เป็นประเทศในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ตั้งอยู่ทางด้านตะวันออกสุดของคาบสมุทรอินโดจีน มีพรมแดนติดกับประเทศจีน ทางทิศเหนือ ประเทศลาว และประเทศกัมพูชา ทางทิศตะวันตก และอ่าวตังเกี๋ย ทะเลจีนใต้ ทางทิศตะวันออกและใต้ หรือในภาษาเวียดนามเรียกเฉพาะทะเลทางทิศตะวันออกว่า ทะเลตะวันออก (Biển Đông, เบี๋ยน ดง) เวียดนามมีประชากรมากกว่า 89 ล้านคน ถือเป็นประเทศที่มีประชากรมากที่สุดเป็นอันดับ 13 ของโลก.

ใหม่!!: ประเทศเวียดนามและประเทศเวียดนาม · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศเวียดนามใต้

รณรัฐเวียดนาม เป็นรัฐที่ปกครองบริเวณตอนใต้ของเวียดนามระหว่างปี พ.ศ. 2498 ถึง พ.ศ. 2518 ซึ่งต่างชาติโดยเฉพาะรัฐประชาธิปไตยและชาติต่อต้านคอมมิวนิสต์นิยมเรียกในชื่อว่า เวียดนามใต้ คำเรียก เวียดนามเหนือ และเวียดนามใต้ ถูกใช้อย่างแพร่หลายในปี พ.ศ. 2497 ในการประชุมที่เจนีวา ซึ่งแบ่งประเทศเวียดนามออกเป็นสองส่วนโดยเส้นขนานที่ 17 ในระหว่างสงครามเวียดนาม เวียดนามใต้ได้รับการสนับสนุนจากสหรัฐอเมริกา ในอดีต เวียดนามใต้เคยเป็นอาณานิคมของฝรั่งเศสในชื่อ โคชินไชนา หลังสงครามโลกครั้งที่ 2 เวียดมินห์ซึ่งนำโดยโฮจิมินห์ สถาปนารัฐคอมมิวนิสต์ขึ้นที่ฮานอย ในปีพ.ศ. 2492นักการเมืองที่ไม่ฝักใฝ่คอมมิวนิสต์ ก่อตั้งรัฐบาลขึ้นที่เมืองไซ่ง่อนซึ่งนำโดยอดีตจักรพรรดิบ๋าว ดั่ย ในปี 2498 บ๋าว ดั่ย ถูกปลดโดยนายกรัฐมนตรีโง ดิ่ญ เสี่ยม และแต่งตั้งตนขึ้นเป็นประธานาธิบดี หลังจากเสี่ยมเสียชีวิตจากการรัฐประหารในปี พ.ศ. 2506 ได้มีรัฐบาลทหารอายุสั้นหลายสมัยได้ปกครองเวียดนามใต้จนถึงปี พ.ศ. 2510 พลโท เหงียน วัน เถี่ยวได้ขึ้นเป็นประธานาธิบดีและได้ปกครองเวียดนามใต้จนถึงปี พ.ศ. 2518 สงครามเวียดนามเริ่มต้นในปี..

ใหม่!!: ประเทศเวียดนามและประเทศเวียดนามใต้ · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศเวียดนามเหนือ

วียดนามเหนือ หรือชื่ออย่างเป็นทางการว่า สาธารณรัฐประชาธิปไตยเวียดนาม (Việt Nam Dân Chủ Cộng Hòa) คือประเทศที่เกิดจากการรวมของแคว้นตังเกี๋ยและแคว้นอันนัมของฝรั่งเศส ประกาศก่อตั้งเมื่อวันที่ 2 กันยายน พ.ศ. 2488 (ค.ศ. 1945) โดยประธานาธิบดีโฮจิมินห์ ตั้งอยู่บริเวณครึ่งบนของประเทศเวียดนามในปัจจุบัน.

ใหม่!!: ประเทศเวียดนามและประเทศเวียดนามเหนือ · ดูเพิ่มเติม »

ปารีส

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: ประเทศเวียดนามและปารีส · ดูเพิ่มเติม »

ปิโตรเลียม

แหล่งน้ำมันสำรองทั่วโลกที่พิสูจน์แล้วใน ค.ศ. 2009 บ่อปิโตรเลียมแห่งหนึ่งในเท็กซัส ปิโตรเลียม (petroleum, petra (หิน) + oleum (น้ำมัน) รวมหมายถึง "น้ำมันที่ได้จากหิน") หรือ น้ำมันดิบ เป็นของเหลวไวไฟที่เกิดเองตามธรรมชาติ ประกอบด้วยสารผสมซับซ้อนระหว่างไฮโดรคาร์บอนที่มีน้ำหนักโมเลกุลต่างกัน กับสารประกอบอินทรีย์ที่เป็นของเหลวอื่น ๆ ซึ่งพบในชั้นธรณีวิทยาใต้ผิวโลก เป็นเชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์ เกิดได้จากซากสิ่งมีชีวิต (มักเป็นแพลงก์ตอนสัตว์และสาหร่าย) จำนวนมากทับถมกันใต้หินตะกอนและได้รับความร้อนและความดันมหาศาล การขุดเจาะน้ำมันเป็นวิธีการส่วนใหญ่ในการได้มาซึ่งปิโตรเลียม ซึ่งเป็นขั้นตอนหลังการศึกษาโครงสร้างธรณีวิทยา การวิเคราะห์แอ่งตะกอน และลักษณะหินกักเก็บปิโตรเลียม หลังขุดเจาะขึ้นมาแล้ว ปิโตรเลียมจะถูกกลั่นและแยกเป็นผลิตภัณฑ์บริโภคหลายชนิด ตั้งแต่แก๊สโซลีนและน้ำมันก๊าด ไปจนถึงยางมะตอยและตัวทำปฏิกิริยาเคมีซึ่งใช้ในการทำพลาสติกและเภสัชภัณฑ์ นอกจากนี้ ปิโตรเลียมยังใช้ในการผลิตวัสดุอีกหลายชนิด ปิโตรเลียมมีธาตุองค์ประกอบหลัก 2 ชนิด คือ คาร์บอนและไฮโดรเจน และอาจมีธาตุอโลหะชนิดอื่นปนอยู่ด้วย เช่น กำมะถัน ออกซิเจน และไนโตรเจน ทั้งนี้ปิโตรเลียมเป็นได้ทั้ง 3 สถานะ คือ ของแข็ง ของเหลว และแก๊ส ขึ้นอยู่กับองค์ประกอบ รวมถึงความร้อนและความดันของสภาพแวดล้อมในการเกิดและการกักเก็บปิโตรเลียม แบ่งตามสถานะได้เป็นสองชนิดหลัก คือ น้ำมันดิบและแก๊สธรรมชาติ โดยแก๊สธรรมชาตินั้น ประกอบด้วยคาร์บอนตั้งแต่ 1-4 อะตอม.

ใหม่!!: ประเทศเวียดนามและปิโตรเลียม · ดูเพิ่มเติม »

ป้อมสนาม

กำแพงเมืองจีน ที่มีหอสังเกตการณ์ประเป็นระยะๆ เป็น “ระบบป้อมปราการ” ชนิดหนึ่ง ป้อมสนาม (Fortification) คือสิ่งก่อสร้างทางยุทธศาสตร์หรือตึกที่ออกแบบเพื่อการป้องกันตนเองในยามสงครามหรือใช้เป็นที่มั่น การสร้างระบบป้อมปราการเป็นการก่อสร้างที่เริ่มทำกันมาเป็นเวลาหลายพันปีในรูปแบบที่เริ่มตั้งแต่เพียงโครงสร้างง่ายๆ มาจนเป็นระบบที่สลับซับซ้อน เช่นในการสร้างป้อมดาวในยุคกลาง ในภาษาอังกฤษ “Fortification” แผลงมาจากภาษาลาติน “Fortis” ที่แปลว่า “แข็งแรง” และคำว่า “Facere” ที่แปลว่า “สร้าง”.

ใหม่!!: ประเทศเวียดนามและป้อมสนาม · ดูเพิ่มเติม »

นายกรัฐมนตรีเวียดนาม

นายกรัฐมนตรีเวียดนาม หรือ นายกรัฐมนตรีแห่งสาธารณรัฐสังคมนิยม เป็นตำแหน่งหัวหน้ารัฐบาลของสาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม.

ใหม่!!: ประเทศเวียดนามและนายกรัฐมนตรีเวียดนาม · ดูเพิ่มเติม »

นุง

วนุง หรือ ชาวไทนุง เป็นกลุ่มชนซึ่งมีความคล้ายคลึงกับในหลายด้าน ทั้งด้านภาษา วัฒนธรรม และเครื่องแต่งกายแบบเดียวกัน และชนกลุ่มนี้มักอยู่ด้วยกันในหมู่บ้านกัน ที่พวกเขาซึ่งมักถูกเรียกว่าชาวไตนุง ชนกลุ่มนี้อาศัยอยู่ทางจังหวัดเกาบัง และจังหวัดลางเซิน และอาจถือได้ว่าชาวไทนุงเป็นพวกเดียวกับกลุ่มชาติพันธุ์ไท-กะไดในท้องถิ่นต่างต่างๆของประเทศเวียดนาม.

ใหม่!!: ประเทศเวียดนามและนุง · ดูเพิ่มเติม »

นครโฮจิมินห์

นครโฮจิมินห์ (Thành phố Hồ Chí Minh, ถั่ญโฟ้โห่จี๊มิญ) หรือชื่อเดิม ไซ่ง่อน (Sài Gòn ส่ายก่อน) เป็นเมืองใหญ่ที่สุดของประเทศเวียดนาม ตั้งอยู่บริเวณสามเหลี่ยมปากแม่น้ำโขง นครโฮจิมินห์เป็นศูนย์กลางทางเศรษฐกิจของเวียดนาม จากประชากรร้อยละ 7.5 ของประเทศ แต่มีจีดีพีถึงร้อยละ 20.2 และการลงทุนจากต่างประเทศมากถึงร้อยละ 34.9 ของทั้งประเท.

ใหม่!!: ประเทศเวียดนามและนครโฮจิมินห์ · ดูเพิ่มเติม »

แก๊สธรรมชาติ

ประเทศผู้ผลิตแก๊สธรรมชาติ แก๊สธรรมชาติ (Natural gas) เป็นสารประกอบไฮโดรคาร์บอนชนิดหนึ่งที่ประกอบด้วยไฮโดรเจนและคาร์บอนที่เกิดจากการทับถมของซากพืชซากสัตว์ประเภทจุลินทรีย์ที่มีอายุหลายร้อยล้านปี ซึ่งสามารถแยกส่วนประกอบได้ เป็นมีเทน อีเทน โพรเพน บิวเทน เพนเทน เป็นต้น หรือ หมายถึง ปิโตรเลียมที่มีสภาพเป็นแก๊ส ณ ที่อุณหภูมิและความดันมาตรฐาน 15.6 องศาเซลเซียส และ 101 กิโลปาสคาล โดยในแหล่งธรรมชาติอาจมีเฉพาะ มีเทน หรือ อีเทนล้วนหรืออาจ เจือปนโพรเพน และบิวเทนในบางแหล่ง ซึ่งถ้าแยกโพรเพน และบิวเทน ออกมาบรรจุลงในถังแก๊ส เรียกว่า แก๊สปิโตรเลียมเหลว (Liquefied Petroleum Gas) หรือ LPG หรือ แก๊สหุงต้ม แก๊สธรรมชาติไม่มีสี ไม่มีกลิ่น ไม่มีสารพิษ ถือว่าเป็นผลิตภัณฑ์ที่ปลอดภัยสูงสุดผลิตภัณฑ์หนึ่งในปัจจุบัน เมื่อเผาไหม้แล้วจะเป็นเชื้อเพลิงสะอาดและส่งผลกระทบแก่สิ่งแวดล้อมน้อยมาก เมื่อเปรียบเทียบกับน้ำมันเตาและแก๊สหุงต้ม ด้วยเหตุนี้หลายประเทศจึงนิยมใช้แก๊สธรรมชาติ โดยทั่วไปสามารถแบ่งออกตามสมบัติทางเทคนิคได้ 4 ประเภท ดังนี้ 1.

ใหม่!!: ประเทศเวียดนามและแก๊สธรรมชาติ · ดูเพิ่มเติม »

แม่น้ำแดง

ทิวทัศน์แม่น้ำแดงช่วงที่ไหลผ่านประเทศจีน แม่น้ำแดง (红河; Sông Hồng) เป็นแม่น้ำที่ไหลจากทางตะวันตกเฉียงใต้ของประเทศจีนผ่านทางตอนเหนือของประเทศเวียดนาม ไปสิ้นสุดที่อ่าวตังเกี๋ย แม่น้ำแดงมีจุดกำเนิดในเทือกเขาทางตอนใต้ของต้าหลี่ในมณฑลยูนนาน ไหลไปทางตะวันออกเฉียงใต้ผ่านพื้นที่ที่เป็นถิ่นที่อยู่ของชาวไทลื้อ และไหลออกจากจีนที่เขตปกครองตนเองชนชาติอาข่าและอี๋ หงเหอ เข้าสู่เวียดนามที่จังหวัดหล่าวกาย เมื่อแม่น้ำไหลถึงที่ลุ่มใกล้ ๆ กับเหวียตจี่ก็จะเริ่มเข้าสู่พื้นที่ที่เรียกว่าดินดอนสามเหลี่ยมปากแม่น้ำแดง หลังจากนั้นแม่น้ำแดงจะไหลผ่านฮานอย และไหลลงสู่อ่าวตัวเกี๋ยในที่สุด ด ด หมวดหมู่:แม่น้ำแดง หมวดหมู่:แม่น้ำนานาชาติในทวีปเอเชีย.

ใหม่!!: ประเทศเวียดนามและแม่น้ำแดง · ดูเพิ่มเติม »

แม่น้ำโขง

แม่น้ำโขง (မဲခေါင်မြစ်; ແມ່ນ້ຳຂອງ; ទន្លេដ៏ធំ; Mê Kông) มีต้นกำเนิดจากเทือกเขาหิมาลัย ไหลผ่านบริเวณที่ราบสูงทิเบตและมณฑลชิงไห่ ประเทศจีน ผ่านประเทศจีน ประเทศพม่า ประเทศลาว ประเทศไทย ประเทศกัมพูชา และออกสู่ทะเลจีนใต้ที่ประเทศเวียดนาม มีความยาวทั้งหมด 4,880 กิโลเมตร เป็นความยาวในประเทศจีน 2,130 กิโลเมตร ช่วงที่แม่น้ำไหลผ่านประเทศจีนมีชื่อเรียกว่า แม่น้ำหลานชาง หรือ หลานชางเจียง (จีนตัวย่อ: 澜沧江, จีนตัวเต็ม: 瀾滄江) แปลว่า "แม่น้ำที่มีความเชี่ยวกราก" และเมื่อไหลผ่านเข้าเขตประเทศพม่าและประเทศลาว เรียกว่า แม่น้ำของ รวมถึงคำเมืองล้านนาก็เรียก น้ำของ เช่นกัน ส่วนในภาษาไทยเรียกว่า แม่น้ำโขง ลักษณะสำคัญของแม่น้ำโขงคือ มีตลิ่งที่สูงชันมากทั้งสองฝั่ง ไหลเลี้ยวเลาะไปตามไหล่เขา กระแสน้ำจะไหลจากทางเหนือลงสู่ทางใต้ตลอดทั้งปี ระดับน้ำในฤดูฝนกับฤดูแล้งจะมีความแตกต่างกันอย่างมาก ความเร็วของกระแสน้ำขึ้นอยู่กับแต่ละฤดูกาล ดินในแม่น้ำโขงเป็นดินทราย มีเกาะแก่งน้อยใหญ่กว่าหนึ่งร้อยแห่งเรียงรายตลอดแม่น้ำ การที่แม่น้ำโขงไหลผ่านหลายประเทศเช่นเดียวกับแม่น้ำดานูบในยุโรป ทำให้บางคนเรียกว่าแม่น้ำนานาชาติ และทำให้ได้รับการขนานนามว่า แม่น้ำดานูบตะวันออก นอกจากนี้ ในประเทศจีน แม่น้ำโขงยังเป็น 1 ในแม่น้ำ 3 สาย ที่ได้รับการขึ้นทะเบียนเป็นมรดกโลกร่วมกับแม่น้ำแยงซีและแม่น้ำสาละวินในเขตพื้นที่มณฑลยูนนาน ภายใต้ชื่อ พื้นที่คุ้มครองแม่น้ำขนานสามสายแห่งยูนนาน พื้นที่ดังกล่าวนับได้ว่าเป็นสถานที่แห่งหนึ่งบนโลกที่มีความอุดมสมบูรณ์และความหลายหลายทางชีวภาพสูง สัตว์น้ำขนาดใหญ่ที่มีความสำคัญและพบได้เฉพาะในแม่น้ำโขงได้แก่ ปลาบึก.

ใหม่!!: ประเทศเวียดนามและแม่น้ำโขง · ดูเพิ่มเติม »

แนวร่วมปลดปล่อยแห่งชาติเวียดนามใต้

แนวร่วมปลดปล่อยแห่งชาติเวียดนามใต้ หรือ เวียดกง หรือ เหวียดกง (Mặt trận Dân tộc Giải phóng miền Nam Việt Nam หรือ Việt Cộng) ก่อตั้งเมื่อ 26 ธันวาคม พ.ศ. 2503 เป็นตัวแทนของพรรคคอมมิวนิสต์ในเวียดนามใต้ เพื่อหาเสียงสนับสนุนจากประชาชนและต่อต้านรัฐบาลของโง ดิ่ญ เสี่ยม เวียดกงได้รับการสนับสนุนทางอาวุธยุทโธปกรณ์จากฝ่ายคอมมิวนิสต์ในเวียดนามใต้ และกองทัพประชาชนเวียดนาม แนวร่วมนี้ก่อตั้งตามแนวชายแดนกัมพูชา ประธานคือ เหงียน หืว เถาะ พรรคนี้ได้เข้าร่วมในรัฐบาลปฏิวัติเฉพาะกาลแห่งสาธารณรัฐเวียดนามใต้ เมื่อเดือนมิถุนายน..

ใหม่!!: ประเทศเวียดนามและแนวร่วมปลดปล่อยแห่งชาติเวียดนามใต้ · ดูเพิ่มเติม »

โฮจิมินห์

มินห์ (Hồ Chí Minh, โห่ จี๊ มิญ; คำแปล "แสงสว่างที่นำทาง") เป็นนักปฏิวัติชาวเวียดนาม ซึ่งในภายหลังได้กลายมาเป็นนายกรัฐมนตรีและประธานาธิบดีแห่งสาธารณรัฐประชาธิปไตยเวียดนาม (เวียดนามเหนือ) หลังจากสิ้นสุดของสงครามเวียดนาม ไซ่ง่อน เมืองหลวงเก่าของเวียดนามใต้ ได้ถูกเปลี่ยนชื่อมาเป็นนครโฮจิมินห์ เพื่อเป็นเกียรติแก่โฮจิมินห์ โฮจิมินห์ เป็นบุคคลที่ชาวเวียดนามถือว่าเป็นบุคคลที่มีความสำคัญเป็นอย่างยิ่งต่อการประกาศอิสรภาพของเวียดนาม.

ใหม่!!: ประเทศเวียดนามและโฮจิมินห์ · ดูเพิ่มเติม »

โคชินไชนา

อาณานิคมโคชินไชนา หรือ อาณานิคมโคชินจีน (Cochinchina; Nam Kỳ, Kampuchea Krom) เป็นบริเวณที่อยู่ทางใต้ของเวียดนามซึ่งมีเมืองสำคัญคือไซ่ง่อนหรือไพรนครในภาษาเขมร ดินแดนนี้เป็นอาณานิคมของฝรั่งเศสตั้งแต..

ใหม่!!: ประเทศเวียดนามและโคชินไชนา · ดูเพิ่มเติม »

ไฟร์วอลล์

ฟร์วอลล์ (อังกฤษ: firewall; ศัพท์บัญญัติ ด่านกันบุกรุก) คือซอฟต์แวร์หรือฮาร์ดแวร์ในระบบเครือข่าย ซอฟต์แวร์หรือฮาร์ดแวร์ในระบบเครือข่าย หน้าที่ของไฟร์วอลล์คือเป็นตัวกรองข้อมูลสื่อสาร โดยการกำหนดกฎและระเบียบมาบังคับใช้โดยเฉพาะเรื่องของการดูแลระบบเครือข่าย โดยความผิดพลาดของการปรับแต่งอาจส่งผลทำให้ไฟล์วอลล์มีช่องโหว่ และนำไปสู่สาเหตุของการโจรกรรมข้อมูลคอมพิวเตอร์ได้.

ใหม่!!: ประเทศเวียดนามและไฟร์วอลล์ · ดูเพิ่มเติม »

ไฮฟอง

ฟอง (Haiphong) หรือ หายฝ่อง (Hải Phòng) เป็นเมืองที่ใหญ่เป็นอันดับ 3 ในเวียดนาม ตั้งอยู่ในจังหวัดไฮฟองและเป็นเมืองท่าที่สำคัญที่สุดของภาคเหนือ ตั้งขึ้นเมื่อปี ค.ศ. 1888.

ใหม่!!: ประเทศเวียดนามและไฮฟอง · ดูเพิ่มเติม »

ไผ่

ผ่ เป็นไม้พุ่มหลายชนิดและหลายสกุลใน วงศ์หญ้า (วงศ์ Poaceae; เดิมคือวงศ์ Gramineae) วงศ์ย่อย Bambusoideae เป็นไม้ไม่ผลัดใบใน ขึ้นเป็นกอ ลำต้นเป็นปล้องๆ เช่น ไผ่จีน (Arundinaria suberecta Munro) ไผ่ป่า (Bambusa arundinacea Willd.) ไผ่สีสุก (B. flexuosa Munro และ B. blumeana Schult.) ไผ่ไร่ (Gigantochloa albociliata Munro) ไผ่ดำ (Phyllostachys nigra Munro) ผลผลิตจากไผ่ที่สำคัญคือ หน่อไม้ ซึ่งเป็นอาหารสำคัญของคนไทย นิยมทานกันมากในเกือบทุกภาคของประเทศไทย โดยเฉพาะภาคเหนือและอีสาน นอกจากนี้ไม้ไผ่ยังมีคุณสมบัติพิเศษทั้งด้านความแข็งแรงและยืดหยุ่นที่เหนือกว่าวัสดุสังเคราะห์หลายชนิด ดังนั้นจึงยังได้รับความนิยมในการทำเครื่องมือเครื่องใช้หลายประเภท ใช้ชะลอน้ำที่เข้าป่าชายเลน นั่งร้านก่อสร้างและบันได เป็นต้น.

ใหม่!!: ประเทศเวียดนามและไผ่ · ดูเพิ่มเติม »

เกษตรกรรม

กษตรกรรม (agriculture) เป็นการเพาะปลูกพืช เห็ดรา เลี้ยงสัตว์ และรูปแบบของชีวิตแบบอื่น ๆ เพื่อเป็นอาหาร เส้นใย เชื้อเพลิงชีวภาพ ยารักษาโรคและผลิตภัณฑ์อื่นเพื่อความยั่งยืนและเพิ่มสมรรถนะชีวิตมนุษย์ เกษตรกรรมเป็นพัฒนาการที่สำคัญในความเจริญของอารยธรรมมนุษย์ที่ไม่ย้ายที่อยู่ซึ่งการเพาะปลูกหรือเลี้ยงสัตว์ในสปีชีส์ที่ถูกทำให้เชื่องได้ผลิตอาหารส่วนเกิน ซึ่งช่วยหล่อเลี้ยงพัฒนาการของอารยธรรม การศึกษาด้านเกษตรกรรมถูกเรียกว่า เกษตรศาสตร์ ประวัติศาสตร์ของเกษตรกรรมย้อนกลับไปหลายพันปี และการพัฒนาของมันได้ถูกขับเคลื่อนโดยความแตกต่างอย่างมากของภูมิอากาศ วัฒนธรรมและเทคโนโลยี อย่างไรก็ตาม เกษตรกรรมทั้งหมดโดยทั่วไปพึ่งพาเทคนิคต่างๆเพื่อการขยายและบำรุงที่ดินที่เหมาะสมต่อการเลี้ยงสปีชีส์ที่ถูกทำให้เชื่อง สำหรับพืช เทคนิคนี้มักอาศัยการชลประทานบางรูปแบบ แม้จะมีหลายวิธีการของเกษตรกรรมในพื้นที่แห้งแล้งอยู่ก็ตาม ปศุสัตว์จะถูกเลี้ยงในระบบทุ่งหญ้าผสมกับระบบที่ไม่เป็นเจ้าของที่ดิน ในอุตสาหกรรมที่ครอบคลุมพื้นที่เกือบหนึ่งในสามของพื้นที่ที่ปราศจากน้ำแข็งและปราศจากน้ำของโลก ในโลกพัฒนาแล้วเกษตรอุตสาหกรรมที่ยึดการปลูกพืชเชิงเดี่ยวขนาดใหญ่ได้กลายเป็นระบบเกษตรกรรมสมัยใหม่ที่โดดเด่น แม้ว่าจะมีแรงสนับสนุนที่เพิ่มมากขึ้นสำหรับเกษตรกรรมแบบยั่งยืน รวมถึงเกษตรถาวรและเกษตรกรรมอินทรีย์ จนกระทั่งมีการปฏิวัติอุตสาหกรรม ส่วนใหญ่ของประชากรมนุษย์ทำงานในภาคการเกษตร การเกษตรแบบก่อน-อุตสาหกรรมโดยทั่วไปเป็นการเกษตรเพื่อการดำรงชีวิต/การพึ่งตัวเองในที่ซึ่งเกษตรกรส่วนใหญ่ปลูกพืชเพื่อการบริโภคของตัวเองแทน'พืชเงินสด'เพื่อการค้า การปรับเปลี่ยนที่โดดเด่นในการปฏิบัติทางการเกษตรได้เกิดขึ้นในช่วงศตวรรษที่ผ่านมาในการตอบสนองต่อเทคโนโลยีใหม่ๆและการพัฒนาของตลาดโลก มันยังได้นำไปสู่การปรับปรุงด้านเทคโนโลยีในเทคนิคการเกษตร เช่นวิธีของ 'ฮาเบอร์-Bosch' สำหรับการสังเคราะห์แอมโมเนียมไนเตรตซึ่งทำให้การปฏิบัติแบบดั้งเดิมของสารอาหารที่รีไซเคิลด้วยการปลูกพืชหมุนเวียนและมูลสัตว์มีความสำคัญน้อยลง เศรษฐศาสตร์การเกษตร การปรับปรุงพันธุ์พืช เกษตรเคมีเช่นยาฆ่าแมลงและปุ๋ยและการปรับปรุงเทคโนโลยีที่ทันสมัยได้เพิ่มอัตราผลตอบแทนอย่างรวดเร็วจากการเพาะปลูก แต่ในเวลาเดียวกันได้ทำให้เกิดความเสียหายของระบบนิเวศอย่างกว้างขวางและผลกระทบต่อสุขภาพของมนุษย์ในเชิงลบ การคัดเลือกพันธุ์และการปฏิบัติที่ทันสมัยในการเลี้ยงสัตว์ได้เพิ่มขึ้นในทำนองเดียวกันของการส่งออกของเนื้อ แต่ได้เพิ่มความกังวลเกี่ยวกับสวัสดิภาพของสัตว์และผลกระทบต่อสุขภาพของยาปฏิชีวนะ ฮอร์โมนที่สร้างการเจริญเติบโต และสารเคมีอื่นๆที่ใช้ทั่วไปในอุตสาหกรรมการผลิตเนื้อสัตว์ สิ่งมีชีวิตดัดแปลงพันธุกรรมเป็นองค์ประกอบที่เพิ่มขึ้นของการเกษตร แม้ว่าพวกมันจะเป็นสิ่งต้องห้ามในหลายประเทศ การผลิตอาหารการเกษตรและการจัดการน้ำจะได้กลายเป็นเป็นปัญหาระดับโลกเพิ่มขึ้นที่ได้รับการสนับสนุนให้เกิดการอภิปรายเกี่ยวกับจำนวนของ fronts การเสื่อมสลายอย่างมีนัยสำคัญของทรัพยากรดินและน้ำ รวมถึงการหายไปของชั้นหินอุ้มน้ำ ได้รับการตั้งข้อสังเกตในทศวรรษที่ผ่านมา และผลกระทบของภาวะโลกร้อนกับการเกษตรและผลของการเกษตรต่อภาวะโลกร้อนยังคงไม่เป็นที่เข้าใจอย่างเต็มที่ สินค้าเกษตรที่สำคัญสามารถแบ่งออกเป็นกลุ่มกว้างๆได้แก่อาหาร เส้นใย เชื้อเพลิง และวัตถุดิบ อาหารที่เฉพาะได้แก่(เมล็ด)ธัญพืช ผัก ผลไม้ น้ำมันปรุงอาหาร เนื้อสัตว์และเครื่องเทศ เส้นใยรวมถึงผ้าฝ้าย ผ้าขนสัตว์ ป่าน ผ้าไหมและผ้าลินิน วัตถุดิบได้แก่ ไม้และไม้ไผ่ วัสดุที่มีประโยชน์อื่นๆมีการผลิตจากพืช เช่นเรซิน สีธรรมชาติ ยา น้ำหอม เชื้อเพลิงชีวภาพและผลิตภัณฑ์ใช้ประดับเช่นไม้ตัดดอกและพืชเรือนเพาะชำ กว่าหนึ่งในสามของคนงานในโลกมีการจ้างงานในภาคเกษตร เป็นที่สองรองจากภาคบริการเท่านั้น แม้ว่าร้อยละของแรงงานเกษตรในประเทศที่พัฒนาแล้วได้ลดลงอย่างมีนัยสำคัญในช่วงหลายศตวรรษที่ผ่านม.

ใหม่!!: ประเทศเวียดนามและเกษตรกรรม · ดูเพิ่มเติม »

เกิ่นเทอ

กิ่นเทอ (Cần Thơ) เป็นเมืองใหญ่อันดับสี่ของประเทศเวียดนามและเมืองใหญ่ที่สุดในบริเวณดินดอนสามเหลี่ยมปากแม่น้ำโขง Emmons, Ron,, (2012), p. 341.

ใหม่!!: ประเทศเวียดนามและเกิ่นเทอ · ดูเพิ่มเติม »

เว้

ว้ (Huế เฮฺว้; จื๋อโนม: 化) เป็นเมืองเอกของจังหวัดเถื่อเทียน-เว้ ประเทศเวียดนาม และเคยเป็นเมืองหลวงเก่าในสมัยราชวงศ์เหงียนช่วงปี..

ใหม่!!: ประเทศเวียดนามและเว้ · ดูเพิ่มเติม »

เศรษฐกิจ

รษฐกิจ (economy) นั้น พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2542 นิยามว่า "งานอันเกี่ยวกับการผลิต การจำหน่ายจ่ายแจก และการบริโภคใช้สอยสิ่งต่าง ๆ ของชุมชน." รวมถึงด้านการใช้บริการและการท่องเที่ยวที่มีปัจจัยกระตุ้นต่อการเติบโตของเศรษฐกิจ เศรษฐกิจยังอาจอธิบายได้ว่าเป็นเครือข่ายจำกัดโดยพื้นที่และเครือข่ายสังคมที่ซึ่งมีการแลกเปลี่ยนสินค้าและบริการตามอุปสงค์และอุปทานระหว่างผู้มีส่วนโดยการแลกเปลี่ยนหรือสื่อกลางการแลกเปลี่ยนด้วยมูลค่าเครดิตหรือเดบิตที่ยอมรับกันภายในเครือข่าย เศรษฐกิจหนึ่ง ๆ เป็นผลมาจากกระบวนการซึ่งเกี่ยวข้องทั้งวิวัฒนาการทางเทคโนโลยี ประวัติศาสตร์และสถาบันสังคม เช่นเดียวกับภูมิศาสตร์ การมีทรัพยากรธรรมชาติ และนิเวศวิทยา เป็นปัจจัยหลัก ปัจจัยเหล่านี้ให้บริบท สาร ตลอดจนจัดสภาพและตัวแปรซึ่งเศรษฐกิจทำงานอยู่ หมวดหมู่:ระบบเศรษฐกิจ หมวดหมู่:เศรษฐศาสตร์.

ใหม่!!: ประเทศเวียดนามและเศรษฐกิจ · ดูเพิ่มเติม »

เหงียน ซวน ฟุก

หงียน ซวน ฟุก (Nguyễn Xuân Phúc; 20 กรกฎาคม พ.ศ. 2497 —) เป็นนายกรัฐมนตรีเวียดนามคนที่ 8 และคนปัจจุบัน ดำรงตำแหน่งตั้งแต่ 7 เมษายน..

ใหม่!!: ประเทศเวียดนามและเหงียน ซวน ฟุก · ดูเพิ่มเติม »

เอเชียตะวันออกเฉียงใต้

อเชียตะวันออกเฉียงใต้, อุษาคเนย์ หรือ เอเชียอาคเนย์ เป็นอนุภูมิภาคของทวีปเอเชีย ประกอบด้วยประเทศต่าง ๆ ซึ่งทิศเหนือติดจีน ทิศตะวันตกติดอินเดีย ทิศตะวันออกติดปาปัวนิวกินี และทิศใต้ติดออสเตรเลีย ภูมิภาคดังกล่าวตั้งอยู่บนรอยต่อของแผ่นทวีปหลายแผ่นที่ยังมีการไหวสะเทือนรุนแรงและการปะทุของภูเขาไฟอยู่ต่อเนื่อง เอเชียตะวันออกเฉียงใต้แบ่งได้ภาคภูมิศาสตร์ได้สองภาค ได้แก่ เอเชียตะวันออกเฉียงใต้แผ่นดินใหญ่หรืออินโดจีน ประกอบด้วย กัมพูชา ลาว พม่า ไทย เวียดนาม และมาเลเซียตะวันตก และเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ภาคพื้นสมุทร ประกอบด้วยบรูไน มาเลเซียตะวันออก ติมอร์-เลสเต อินโดนีเซีย ฟิลิปปินส์ และสิงคโปร.

ใหม่!!: ประเทศเวียดนามและเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ · ดูเพิ่มเติม »

เจิ่น ดั่ย กวาง

น ดั่ย กวาง (Trần Đại Quang) เป็นประธานาธิบดีคนปัจจุบันของเวียดนามและอดีตรัฐมนตรีกระทรวงความมั่นคงสาธารณะ เขาได้รับเลือกให้เป็นประธานาธิบดีเมื่อวันที่ 2 เมษายน..

ใหม่!!: ประเทศเวียดนามและเจิ่น ดั่ย กวาง · ดูเพิ่มเติม »

เทศกาลไหว้พระจันทร์

ทศกาลไหว้พระจันทร์ หรือ เทศกาลกลางฤดูใบไม้ร่วง (Moon Festival, Mid-Autumn Festival; จีนตัวเต็ม: 中秋節; จีนตัวย่อ: 中秋节; พินอิน: zhōngqiū jié; เวียดนาม: Tết Trung Thu) เป็นเทศกาลตามวัฒนธรรมจีนที่มีขึ้นในกลางฤดูใบไม้ร่วง เพื่อเฉลิมฉลองการเก็บเกี่ยว จะมีขึ้นในคืนวันเพ็ญเดือน 8 ตามปฏิทินจันทรคติ (กันยายนตามปฏิทินสากล) ในเทศกาลนี้ ชาวจีนจะเฉลิมฉลองด้วยการไหว้ดวงจันทร์ในเวลากลางคืน ในบางประเทศ เช่น สิงคโปร์ หรือเวียดนาม จะจัดเป็นประเพณีใหญ่ มีการเฉลิมฉลองด้วยโคมไฟสีแดง เป็นสีสันยามค่ำคืน หรือบางแห่งอาจมีการเชิดมังกร ทั้งนี้จะมีชื่อเรียกต่างกันออกไปตามแต่ท้องถิ่น นอกจากนี้แล้ว ยังมีขนมชนิดหนึ่ง เรียกว่า "ขนมไหว้พระจันทร์" (月饼) ที่มีสันฐานกลมคล้ายขนมเค้ก ทำจากแป้ง มีไส้ต่าง ๆ เป็นธัญพืช ใช้เซ่นไหว้และรับประทานกันจนเป็นเอกลักษณ์สำหรับเทศกาลนี้ ที่มาของเทศกาลนี้ เกี่ยวกับเทพปกรณัมจีนที่เล่าถึง เทพธิดาแห่งดวงจันทร์ ที่ชื่อ "ฉางเอ๋อ" (嫦娥) ซึ่งเป็นหญิงคนรักของโฮวอี้ นักยิงธนูแห่งสวรรค์ ที่ใช้ธนูยิงดวงอาทิตย์ตกลงไปถึง 9 ดวงจากทั้งหมด 10 ดวง ซึ่งเป็นการกระทำที่ฝ่าฝืนบัญชาสวรรค์ จึงโดนลงทัณฑ์ให้ไปใช้ชีวิตธรรมดาเช่นมนุษย์ทั่วไปบนโลกมนุษย์กับฉางเอ๋อ แต่แล้วโฮวอี้ก็ถูกคนสนิททรยศฆ่าตาย ส่วนฉางเอ๋อนางได้ดื่มน้ำอมฤตเพื่อที่จะมีชีวิตอมตะ แล้วเหาะกลับไปยังดวงจันทร์อีกครั้งตามลำพังด้วยความเศร้าสร้อย ในยุคของฮั่นเหวินตี้ (漢文帝) แห่งราชวงศ์ฮั่น ได้ทรงพระสุบินว่า พระองค์ลอยขึ้นไปเที่ยวชมพระราชวังบนดวงจันทร์ และได้พบกับฉางเอ๋อกำลังร่ายรำอยู่อย่างงดงาม ในสุบินนั้น พระองค์ทรงเพลิดเพลินและเกษมสำราญเป็นอย่างยิ่ง กระทั่งเมื่อตื่นพระบรรทมและโปรดให้สุบินนั้นเป็นความจริง จึงมีรับสั่งให้นางสนมแต่งตัวและร่ายรำเลียนแบบเทพธิดาฉางเอ๋อที่พระองค์ได้พบเจอมา จนแพร่หลายไปสู่ราษฎรและเป็นประเพณีมา ซึ่งในอดีต ชาวจีนโดยเฉพาะหญิงสาวจะสวดขอพรจากฉางเอ๋อเพื่อที่ขอให้มีความเยาว์วัยและงดงามตลอดไปดุจดั่งนาง นอกจากนี้แล้ว ยังมีอีกตำนานหนึ่งที่เกี่ยวกับประวัติศาสตร์ ขณะที่ชาวฮั่นถูกปกครองอย่างกดขี่จากชาวมองโกล (ราชวงศ์หยวน) ได้มีการก่อกบฏขึ้นของชาวฮั่น ด้วยการแอบส่งสาสน์บอกต่อ ๆ กันในไส้ขนม ความว่า คืนนี้เมื่อเวลายาม 3 ให้ทุกบ้านจัดการสังหารทหารมองโกลให้หมด อันเป็นที่มาของขนมไหว้พระจันทร.

ใหม่!!: ประเทศเวียดนามและเทศกาลไหว้พระจันทร์ · ดูเพิ่มเติม »

เขตการค้าเสรี

MERCOSUR เป็นตัวอย่างของเขตการค้าเสรีระหว่างประเทศกรวยภาคใต้ เขตการค้าเสรี (Free trade area, FTA) เป็นกลุ่มประเทศที่ได้ทำข้อตกลงที่จะทำการค้าแบบเสรี โดยกำจัด การเก็บภาษีศุลกากร การจำกัดส่วนแบ่ง (โควตา) และการให้สิทธิพิเศษ กับสินค้าส่วนใหญ่ (ถ้าไม่ทั้งหมด) ที่ทำการค้าขายระหว่างกัน.

ใหม่!!: ประเทศเวียดนามและเขตการค้าเสรี · ดูเพิ่มเติม »

.vn

.vn เป็นโดเมนอินเทอร์เน็ตระดับบนสุดตามรหัสประเทศ (ccTLD) สำหรับประเทศเวียดนาม เริ่มใช้ครั้งแรกเมื่อ พ.ศ. 2537.

ใหม่!!: ประเทศเวียดนามและ.vn · ดูเพิ่มเติม »

2 กรกฎาคม

วันที่ 2 กรกฎาคม เป็นวันที่ 183 ของปี (วันที่ 184 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 182 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: ประเทศเวียดนามและ2 กรกฎาคม · ดูเพิ่มเติม »

2 กันยายน

วันที่ 2 กันยายน เป็นวันที่ 245 ของปี (วันที่ 246 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 120 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: ประเทศเวียดนามและ2 กันยายน · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

Vietnamญวนสาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนามสาธารณรัฐประชาธิปไตยเวียดนามประเทศเวียตนามประเทศเหวียดนามเวียดนามเวียตนาม

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »