โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

จังหวัดบูลูบุนดูคิน

ดัชนี จังหวัดบูลูบุนดูคิน

ังหวัดบูลูบุนดูคิน (Lalawigang Bulubundukin) เป็นจังหวัดที่ไม่มีทางออกสู่ทะเลในเขตบริหารคอร์ดิลเยรา เกาะลูซอน ประเทศฟิลิปปินส์ มีเมืองหลักคือบอนต็อก จังหวัดนี้มักรู้จักกันในชื่อ จังหวัดเมาต์เทน เนื่องจากพื้นที่ส่วนใหญ่เป็นแนวเทือกเขาคอร์ดิลเยราเซนทรัล ซึ่งอยู่ทางตอนบนของเกาะลูซอน จังหวัดเมาต์เทน เคยเป็นชื่อจังหวัดในอดีตที่ครอบคลุมพื้นที่จังหวัดในเขตบริหารคอร์ดิลเยราในปัจจุบัน อดีตจังหวัดแห่งนั้นจัดตั้งโดยคณะกรรมาธิการฟิลิปปินในปี..

20 ความสัมพันธ์: บารังไกย์กูเกิลภาษาอังกฤษภาษาอีโลกาโนภาษาตากาล็อกภาษาปังกาซีนันมหาวิทยาลัยมิชิแกนมัมมี่จังหวัดอาบราจังหวัดอาปาเยาจังหวัดอีฟูเกาจังหวัดอีซาเบลาจังหวัดคาลิงกาจังหวัดตีโมกอีโลโคสจังหวัดเบงเก็ตซังกูเนียงปันลาลาวีกันประเทศฟิลิปปินส์โบนโตก (จังหวัดบูลูบุนดูคิน)เกาะลูซอนเขตบริหารคอร์ดิลเยรา

บารังไกย์

รังไกย์ เป็นหน่วยการปกครองท้องถิ่นของรัฐบาลที่เล็กที่สุดในประเทศฟิลิปปินส์ เป็นคำที่ชาวฟิลิปปินส์พื้นเมืองสำหรับหมู่บ้านตำบลหรือวอร์ด ในการใช้งานเป็นภาษาพูดคำที่มักจะหมายถึงเขตเมืองชั้นในย่านชานเมืองหรือย่านชานเมือง คำว่าบารังไกย์คำมาจาก Balangay ชนิดของเรือที่ใช้โดยกลุ่มของประชาชนออสโตรนีเชียน เมื่อพวกเขาอพยพไปอยู่ในฟิลิปปินส์ ในเขตเทศบาลเมืองและเมืองที่มีองค์ประกอบของเกส์และพวกเขาอาจจะถูกแบ่งออกเป็นพื้นที่ขนาดเล็กที่เรียกว่า Purok (ไทย:เขต) และ Sitio ซึ่งเป็นดินแดนที่อยู่ภายในวงล้อมรังเกย์โดยเฉพาะอย่างยิ่งในพื้นที่ชนบท ณ วันที่ 30 กันยายน 2012 จำนวนบารังไกย์มีจำนวน 42,028 บารังไกย์ทั่วฟิลิปปิน.

ใหม่!!: จังหวัดบูลูบุนดูคินและบารังไกย์ · ดูเพิ่มเติม »

กูเกิล

กูเกิล (Google Inc.) (และ) เป็นบริษัทมหาชนอเมริกัน มีรายได้หลักจากการโฆษณาออนไลน์ที่ปรากฏในเสิร์ชเอนจินของกูเกิล อีเมล แผนที่ออนไลน์ ซอฟต์แวร์จัดการด้านสำนักงาน เครือข่ายออนไลน์ และวิดีโอออนไลน์ รวมถึงการขายอุปกรณ์ช่วยในการค้นหา กูเกิลสำนักงานใหญ่ที่รู้จักในชื่อกูเกิลเพล็กซ์ตั้งอยู่ที่เมืองเมาน์เทนวิว รัฐแคลิฟอร์เนีย โดยมีพนักงาน 16,805 คน (31 ธันวาคม 2550) โดยกูเกิลเป็นบริษัทอเมริกันที่ใหญ่ที่สุดที่ไม่ได้เป็นส่วนหนึ่งของดัชนีดาวโจนส์ (ข้อมูล 31 ตุลาคม พ.ศ. 2550) กูเกิลก่อตั้งโดย แลร์รี เพจ และ เซอร์เกย์ บริน ขณะที่ทั้งคู่กำลังศึกษาอยู่ที่มหาวิทยาลัยสแตนฟอร์ด ซึ่งภายหลังทั้งคู่ได้ก่อตั้งบริษัทเมื่อวันที่ 4 กันยายน พ.ศ. 2541 ในโรงจอดรถของเพื่อนที่ เมืองเมนโลพาร์ก ในรัฐแคลิฟอร์เนีย และมีการเสนอขายหุ้นใหม่แก่ประชาชนทั่วไปเป็นครั้งแรก เมื่อ 19 สิงหาคม พ.ศ. 2547 เพิ่มมูลค่าของบริษัท 1.67 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ และหลังจากนั้นทางกูเกิลได้มีการขยายตัวตลอดเวลาจากการพัฒนาซอฟต์แวร์ใหม่และการซื้อกิจการอื่นรวมเข้ามา เช่น กูเกิล ดีปไมด์ รวมถึงก่อตั้งบริษัทลูกอย่างกูเกิล เอกซ์กูเกิลได้ถูกจัดอันดับให้เป็นบริษัทที่น่าทำงานมากที่สุดในสหรัฐอเมริกาโดยนิตยสารฟอร์จูน"." นิตยสารฟอร์จูน 22 มกราคม พ.ศ. 2550 เรียกข้อมูลวันที่ 29 กุมภาพันธ์ 2551 ซึ่งมีคติพจน์ประจำบริษัทคือ Don't be evil อย่างไรก็ตามทางบริษัทได้รับการวิพากษ์วิจารณ์ในด้านการละเมิดข้อมูลส่วนตัว การละเมิดลิขสิทธิ์ และการเซ็นเซอร์ในหลายส่วน วันที่ 10 สิงหาคม..

ใหม่!!: จังหวัดบูลูบุนดูคินและกูเกิล · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาอังกฤษ

ษาอังกฤษ หรือ ภาษาอังกฤษใหม่ เป็นภาษาในกลุ่มภาษาเจอร์แมนิกตะวันตกที่ใช้ครั้งแรกในอังกฤษสมัยต้นยุคกลาง และปัจจุบันเป็นภาษาที่ใช้กันแพร่หลายที่สุดในโลก ประชากรส่วนใหญ่ในหลายประเทศ รวมทั้ง สหราชอาณาจักร สหรัฐอเมริกา แคนาดา ออสเตรเลีย ไอร์แลนด์ นิวซีแลนด์ และประเทศในแคริบเบียน พูดภาษาอังกฤษเป็นภาษาที่หนึ่ง ภาษาอังกฤษเป็นภาษาแม่ที่มีผู้พูดมากที่สุดเป็นอันดับสามของโลก รองจากภาษาจีนกลางและภาษาสเปน มักมีผู้เรียนภาษาอังกฤษเป็นภาษาที่สองอย่างกว้างขวาง และภาษาอังกฤษเป็นภาษาราชการของสหภาพยุโรป หลายประเทศเครือจักรภพแห่งชาติ และสหประชาชาติ ตลอดจนองค์การระดับโลกหลายองค์การ ภาษาอังกฤษเจริญขึ้นในราชอาณาจักรแองโกล-แซ็กซอนอังกฤษ และบริเวณสกอตแลนด์ตะวันออกเฉียงใต้ในปัจจุบัน หลังอิทธิพลอย่างกว้างขวางของบริเตนใหญ่และสหราชอาณาจักรตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 17 จนถึงกลางคริสต์ศตวรรษที่ 20 ผ่านจักรวรรดิอังกฤษ และรวมสหรัฐอเมริกาด้วยตั้งแต่กลางคริสต์ศตวรรษที่ 20 ภาษาอังกฤษได้แพร่หลายทั่วโลก กลายเป็นภาษาชั้นนำของวจนิพนธ์ระหว่างประเทศและเป็นภาษากลางในหลายภูมิภาค ในประวัติศาสตร์ ภาษาอังกฤษกำเนิดจากการรวมภาษาถิ่นหลายภาษาที่สัมพันธ์อย่างใกล้ชิด ซึ่งปัจจุบันเรียกรวมว่า ภาษาอังกฤษเก่า ซึ่งผู้ตั้งนิคมนำมายังฝั่งตะวันออกของบริเตนใหญ่เมื่อคริสต์ศตวรรษที่ 5 คำในภาษาอังกฤษจำนวนมากสร้างขึ้นบนพื้นฐานรากศัพท์ภาษาละติน เพราะภาษาละตินบางรูปแบบเป็นภาษากลางของคริสตจักรและชีวิตปัญญาชนยุโรปDaniel Weissbort (2006).

ใหม่!!: จังหวัดบูลูบุนดูคินและภาษาอังกฤษ · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาอีโลกาโน

ษาอีโลกาโนเป็นภาษาที่มีผู้พูดมากเป็นลำดับสามในฟิลิปปินส์ เป็นภาษาตระกูลออสโตรนีเซียนซึ่งใกล้เคียงกับภาษาอินโดนีเซีย ภาษามลายู ภาษาฟิจิ ภาษาเมารี ภาษาฮาวาย ภาษามาลากาซี ภาษาซามัว ภาษาตาฮิติ ภาษาชาร์โมโร ภาษาเตตุมและภาษาไปวัน.

ใหม่!!: จังหวัดบูลูบุนดูคินและภาษาอีโลกาโน · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาตากาล็อก

ษาตากาล็อก เป็นหนึ่งในภาษาหลักของสาธารณรัฐฟิลิปปินส์ เป็นหนึ่งในตระกูลภาษาออสโตรนีเซียน มีความสัมพันธ์กับภาษาอินโดนีเซีย ภาษามลายู ภาษาฟิจิ ภาษาเมารี ภาษาฮาวาย ภาษามาลากาซี ภาษาซามัว ภาษาตาฮีตี ภาษาชามอร์โร ภาษาเตตุม และตระกูลภาษาออสโตรนีเซียนในไต้หวันเป็นภาษาประจำชาติและภาษาราชการคู่กับภาษาอังกฤษในประเทศฟิลิปปินส์ ใช้เป็นภาษากลางภายในประเทศ มีผู้พูดราว 85 ล้านคน ในทางธุรกิจนิยมใช้ภาษาอังกฤษมากกว.

ใหม่!!: จังหวัดบูลูบุนดูคินและภาษาตากาล็อก · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาปังกาซีนัน

ษาปังกาซีนัน (ฟิลิปีโนและPangasinan) เป็นภาษาตระกูลออสโตรนีเซียน สาขามาเลโย-พอลินีเชียน มีผู้พูดราว 1.5 ล้านคนในจังหวัดปังกาซีนัน ทางภาคตะวันตกของเกาะลูซอน คำว่าปังกาซีนันแปลว่าแผ่นดินเกลือหรือแหล่งบรรจุเกลือ เรียงประโยคแบบกริยา-ประธาน-กรรม.

ใหม่!!: จังหวัดบูลูบุนดูคินและภาษาปังกาซีนัน · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิทยาลัยมิชิแกน

รีเจนต์พลาซา ในมหาวิทยาลัยมิชิแกน มหาวิทยาลัยมิชิแกน แอนน์อาร์เบอร์ (University of Michigan, Ann Arbor) เป็นมหาวิทยาลัยรัฐ ตั้งอยู่ในเมืองแอนน์อาร์เบอร์ รัฐมิชิแกน สหรัฐอเมริกา มหาวิทยาลัยก่อตั้งเมื่อวันที่ 26 สิงหาคม..

ใหม่!!: จังหวัดบูลูบุนดูคินและมหาวิทยาลัยมิชิแกน · ดูเพิ่มเติม »

มัมมี่

มัมมี่ มัมมี่ (Mummy) คือศพที่ดองหรือแช่ในน้ำยาพิเศษในประเทศอียิปต์ พันทั่วทั้งร่างกายด้วยผ้าลินินสีขาว เพื่อเป็นการรักษาสภาพของศพเพื่อรอการกลับคืนร่างของวิญญาณผู้ตาย ตามความเชื่อของชาวอียิปต์โบราณ คำว่า "มัมมี่" มาจากคำว่า "มัมมียะ" (Mummiya) ซึ่งเป็นคำในภาษาเปอร์เซีย มีความหมายถึงร่างของซากศพที่ถูกดองจนกลายเป็นสีดำ โดยชาวอียิปต์โบราณจะทำมัมมี่ของฟาโรห์และเชื้อพระวงศ์ทุกพระองค์ และนำไปฝังในลักษณะแนวนอนภายใต้พื้นแผ่นทรายของอียิปต์ อาศัยแรงลมที่พัดผ่านในแถบทะเลทรายอาระเบียและทะเลทรายในพื้นที่รอบบริเวณของอียิปต์ เพื่อป้องกันการเน่าเปื่อยของซากศพที่อาบด้วยน้ำยา ในอียิปต์โบราณมีความเชื่อเกี่ยวกับเรื่องของชีวิตหลังความตาย เกี่ยวกับการหวนกลับคืนร่างของวิญญาณ โดยมีความเชื่อว่าเมื่อวิญญาณออกจากร่างไปชั่วระยะเวลาหนึ่งจะหวนกลับคืนสู่ร่างเดิมของผู้เป็นเจ้าของ จึงต้องมีการถนอมและรักษาสภาพของร่างเดิม โดยการแช่และดองด้วยน้ำยาบีทูมิน ซึ่งจะช่วยรักษาและป้องกันไม่ให้ซากศพเน่าเปื่อยผุผังไปตามกาลเวล.

ใหม่!!: จังหวัดบูลูบุนดูคินและมัมมี่ · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดอาบรา

ังหวัดอาบรา (อีโลกาโน: Probinsia ti Abra; Lalawigan ng Abra) เป็นจังหวัดที่ไม่มีทางออกสู่ทะเลในเขตบริหารคอร์ดิลเยราของประเทศฟิลิปปินส์ เมืองหลักคือบันเกด มีอาณาเขตติดต่อกับจังหวัดฮีลากังอีโลโคสทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือ, จังหวัดอาปาเยาทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือ, จังหวัดคาลิงกาทางทิศตะวันออก, จังหวัดบูลูบุนดูคินทางทิศตะวันออกเฉียงใต้ และจังหวัดตีโมกอีโลโคสทางทิศตะวันตกเฉียงใต้.

ใหม่!!: จังหวัดบูลูบุนดูคินและจังหวัดอาบรา · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดอาปาเยา

ังหวัดอาปาเยา (อีโลกาโน: Probinsia ti Apayao) เป็นจังหวัดที่ไม่มีทางออกสู่ทะเลในเขตบริหารคอร์ดิลเยรา ประเทศฟิลิปปินส์ เมืองหลักคือคาบูเกา อาณาเขตติดต่อกับจังหวัดคากายันทางทิศเหนือและตะวันออก, จังหวัดอาบราและฮีลากังอีโลโคสทางทิศตะวันตก และจังหวัดคาลิงกาทางทิศใต้ ก่อนปี..

ใหม่!!: จังหวัดบูลูบุนดูคินและจังหวัดอาปาเยา · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดอีฟูเกา

ังหวัดอีฟูเกา (อีฟูเกา: Probinsia ti Ifugao; Lalawigan ng Ifugao) เป็นจังหวัดไม่มีทางออกสู่ทะเลในเขตบริหารคอร์ดิลเยรา เกาะลูซอน ประเทศฟิลิปปินส์ เมืองหลักคือลากาเว มีอาณาเขตติดต่อกับจังหวัดเบงเก็ตทางทิศตะวันตก จังหวัดบูลูบุนดูคินทางทิศเหนือ จังหวัดอีซาเบลาทางทิศตะวันออก และจังหวัดนูเวบาบิซคายาทางทิศใต้ จังหวัดนี้เป็นที่ตั้งของนาขั้นบันไดฟิลิปปินคอร์ดิลเยราและนาขั้นบันไดบานาเว ซึ่งเป็นแหล่งท่องเที่ยวสำคัญของจังหวัด เชื่อกันว่านาขั้นบันไดเหล่านี้มีอายุประมาณ 2,000 ปี อย่างไรก็ตาม จากการวิจัยโดยใช้การหาอายุจากคาร์บอนกัมมันตรังสี นาขั้นบันไดมีอายุน้อยกว่านั้น ในปี..

ใหม่!!: จังหวัดบูลูบุนดูคินและจังหวัดอีฟูเกา · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดอีซาเบลา

ังหวัดอีซาเบลา (อีโลกาโน: Probinsia ti Isabela; Lalawigan ng Isabela) เป็นจังหวัดที่ใหญ่เป็นอันดับที่สองของประเทศฟิลิปปินส์ และเป็นจังหวัดที่ใหญ่ที่สุดบนเกาะลูซอน เมืองหลักคืออีลากัน ตั้งอยู่ในเขตลัมบักนางคากายัน อยู่ติดกับจังหวัดคากายันทางทิศเหนือ, ติดกับจังหวัดกาลิงกาทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือ, ติดกับจังหวัดเมาน์เทนทางทิศตะวันตก, ติดกับจังหวัดอีฟูเกาและนูเวบาบิซคายาทางทิศตะวันตกเฉียงใต้, ติดกับจังหวัดคีรีโนและเอาโรรา‎ทางทิศใต้ และติดกับทะเลฟิลิปปินทางทิศตะวันออก ผลผลิตทางเกษตรกรรมที่สำคัญได้แก่ ข้าว และข้าวโพด ในปี..

ใหม่!!: จังหวัดบูลูบุนดูคินและจังหวัดอีซาเบลา · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดคาลิงกา

ังหวัดคาลิงกา (อีโลกาโน: Probinsia ti Kalinga; Lalawigan ng Kalinga) เป็นจังหวัดที่ไม่มีทางออกสู่ทะเลในเขตบริหารคอร์ดิลเยรา เกาะลูซอน ประเทศฟิลิปปินส์ มีเมืองหลักคือตาบุก โดยจังหวัดคาลิงกาแยกตัวออกจากจังหวัดคาลิงกา-อาปาเยาในปี..

ใหม่!!: จังหวัดบูลูบุนดูคินและจังหวัดคาลิงกา · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดตีโมกอีโลโคส

ังหวัดตีโมกอีโลโคส (อีโลกาโน: Makin-abagatan nga Ilocos) เป็นจังหวัดหนึ่งของเขตอีโลโคส เกาะลูซอน ประเทศฟิลิปปินส์ มีเมืองหลักคือเมืองวีกัน ซึ่งตั้งอยู่ปากแม่น้ำเมสตีโซ จังหวัดตีโมกอีโลโคสมีอาณาเขตติดต่อกับจังหวัดฮีลากังอีโลโคสและอาบราทางทิศเหนือ, ติดกับจังหวัดเมาน์เทนทางทิศตะวันออก, ติดกับจังหวัดลาอูนีโยนและเบงแกตทางทิศใต้ และติดกับทะเลจีนใต้ทางทิศตะวันตก จังหวัดตีโมกอีโลโคส ก่อตั้งโดยชาวสเปนนามว่า Juan de Salcedo ในปี..

ใหม่!!: จังหวัดบูลูบุนดูคินและจังหวัดตีโมกอีโลโคส · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดเบงเก็ต

ังหวัดเบงเก็ต (อีบาโลอิ: Probinsya ne Benguet; อีโลกาโน: Probinsia ti Benguet; ปังกาซีนัน: Luyag na Benguet; Lalawigan ng Benguet) เป็นจังหวัดที่ไม่มีทางออกสู่ทะเลและอยู่ทางใต้สุดของเขตบริหารคอร์ดิลเยรา เกาะลูซอน ประเทศฟิลิปปินส์ เมืองหลักคือลาตรินิแดด พื้นที่สูงของจังหวัดนี้ได้รับการขนานนามว่าเป็น ชามสลัดแห่งฟิลิปปินส์ เนื่องจากมีการปลูกผักบนที่สูงเป็นจำนวนมาก ภายในตัวจังหวัดมีนครที่มีความหนาแน่นแห่งหนึ่ง ชื่อว่า บาเกียว ซึ่งปกครองอย่างเป็นอิสระจากจังหวั.

ใหม่!!: จังหวัดบูลูบุนดูคินและจังหวัดเบงเก็ต · ดูเพิ่มเติม »

ซังกูเนียงปันลาลาวีกัน

ซังกูเนียงปันลาลาวีกัน (Sangguniang Panlalawigan; Provincial Council) หรือ โปรวินเชียลบอร์ด เป็นคำภาษาฟิลิปีโนที่ใช้เรียกแทนสภานิติบัญญัติประจำจังหวัดของประเทศฟิลิปปินส์ อำนาจหน้าที่ของสภานิติบัญญัตินี้ ถูกกำหนดโดย ประมวลรัฐบาลท้องถิ่น ตั้งแต..

ใหม่!!: จังหวัดบูลูบุนดูคินและซังกูเนียงปันลาลาวีกัน · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศฟิลิปปินส์

ฟิลิปปินส์ (Philippines; Pilipinas) หรือชื่อทางการว่า สาธารณรัฐฟิลิปปินส์ (Republic of the Philippines; Republika ng Pilipinas) เป็นประเทศเอกราชที่เป็นหมู่เกาะในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ตั้งอยู่ในมหาสมุทรแปซิฟิกตะวันตก ประกอบด้วยเกาะ 7,641 เกาะ ซึ่งจัดอยู่ในเขตภูมิศาสตร์ใหญ่ 3 เขตจากเหนือจรดใต้ ได้แก่ ลูซอน, วิซายัส และมินดาเนา เมืองหลวงของประเทศคือมะนิลา ส่วนเมืองที่มีประชากรมากที่สุดคือนครเกซอน ทั้งสองเป็นส่วนหนึ่งของเมโทรมะนิลา ฟิลิปปินส์มีอาณาเขตติดต่อกับทะเลจีนใต้ทางทิศตะวันตก ทะเลฟิลิปปินทางทิศตะวันออก และทะเลเซเลบีสทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ โดยมีพรมแดนทางทะเลร่วมกับไต้หวันทางทิศเหนือ ปาเลาทางทิศตะวันออก มาเลเซียและอินโดนีเซียทางทิศใต้ และเวียดนามทางทิศตะวันตก ฟิลิปปินส์ตั้งอยู่ในแถบวงแหวนไฟและใกล้กับเส้นศูนย์สูตร ทำให้มีแนวโน้มสูงที่จะประสบภัยจากแผ่นดินไหวและไต้ฝุ่น แต่ก็ทำให้มีทั้งทรัพยากรธรรมชาติที่อุดมสมบูรณ์และความหลากหลายทางชีวภาพอย่างยิ่งเช่นกัน ฟิลิปปินส์มีเนื้อที่ประมาณ 300,000 ตารางกิโลเมตร (115,831 ตารางไมล์) และมีประชากรประมาณ 100 ล้านคน นับเป็นประเทศที่มีประชากรมากที่สุดเป็นอันดับที่ 8 ในเอเชีย และเป็นประเทศที่มีประชากรมากที่สุดเป็นอันดับที่ 12 ของโลก นอกจากนี้ ณ ปี..

ใหม่!!: จังหวัดบูลูบุนดูคินและประเทศฟิลิปปินส์ · ดูเพิ่มเติม »

โบนโตก (จังหวัดบูลูบุนดูคิน)

ทศบาลโบนโตก (อีโลกาโน: Ili ti Bontoc) เป็นเทศบาลระดับที่สอง และเป็นเมืองศูนย์กลางของจังหวัดบูลูบุนดูคิน ประเทศฟิลิปปินส์ ในปี..

ใหม่!!: จังหวัดบูลูบุนดูคินและโบนโตก (จังหวัดบูลูบุนดูคิน) · ดูเพิ่มเติม »

เกาะลูซอน

ลูซอน (Luzon) เป็นเกาะที่ใหญ่ที่สุดและมีความสำคัญทางเศรษฐกิจและการเมืองมากที่สุดของประเทศฟิลิปปินส์ และเป็นหนึ่งในกลุ่มเกาะทั้งสามกลุ่มของประเทศ (อีกสองกลุ่มได้แก่ วีซายันและมินดาเนา) โดยกลุ่มเกาะลูซอน ได้แก่ ตัวเกาะลูซอนเอง รวมทั้งหมู่เกาะบาตันและหมู่เกาะบาบูยันทางทิศเหนือ และเกาะต่าง ๆ ทางทิศใต้ ได้แก่ เกาะกาตันดัวเนส เกาะมารินดูเก เกาะมัสบาเต เกาะรอมบลอน และเกาะมินโดโร เกาะลูซอนปรากฏในประวัติศาสตร์จีนในชื่อว่า "จักรวรรดิซ้องน้อย" (Lesser Song Empire) หรือ Lusong Kok จากนั้นนักสำรวจชาวโปรตุเกสได้บันทึกเกาะนี้ไว้ในแผนที่ของพวกเขาในชื่อ "ลูโซเนีย" (Luçonia) หรือ "ลูซอน" (Luçon) ชาวสเปนเข้ามาถึงเกาะนี้และอ้างกรรมสิทธิ์เพื่อครอบครองในปลายคริสต์ศตวรรษที่ 16 ภายใต้การปกครองของสเปน ลูซอนยังมีชื่อเรียกว่า นวยบากัสตียา (Nueva Castilla) หรือ นิวคาสตีล (New Castile) อีกด้วย ต่อมาในช่วงการปฏิวัติฟิลิปปินส์ เอมีลีโอ อากีนัลโดได้ประกาศเอกราชจากสเปนและจัดตั้งสาธารณรัฐฟิลิปปินส์ที่ 1 ที่เกาะแห่งนี้ แต่หลังจากนั้นทั้งหมู่เกาะก็ตกไปอยู่ในการปกครองของสหรัฐอเมริกา จนกระทั่งเกาะลูซอนและเกาะอื่น ๆ ได้เอกราชอย่างสมบูรณ์อีกครั้งในปี ค.ศ. 1946 ลูซอน.

ใหม่!!: จังหวัดบูลูบุนดูคินและเกาะลูซอน · ดูเพิ่มเติม »

เขตบริหารคอร์ดิลเยรา

ตบริหารคอร์ดิลเยรา (อีโลกาโน: Rehion/Deppaar Administratibo ti Kordiliera; Rehiyong Pampangasiwaan ng Cordillera) หรือชื่อย่อ CAR เป็นเขตบริหารเขตหนึ่งของประเทศฟิลิปปินส์ ตั้งอยู่บนเกาะลูซอน เป็นเพียงเขตเดียวของประเทศที่ไม่มีทางออกสู่ทะเล ล้อมรอบด้วยเขตอีโลโคสทางทิศตะวันตกและตะวันตกเฉียงใต้ และเขตลัมบักนางคากายันทางทิศเหนือ ตะวันออก และตะวันออกเฉียงใต้ อ้างอิงจากสำมะโนประชากร..

ใหม่!!: จังหวัดบูลูบุนดูคินและเขตบริหารคอร์ดิลเยรา · ดูเพิ่มเติม »

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »