โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

รถไฟฟ้ามหานคร สายฉลองรัชธรรม

ดัชนี รถไฟฟ้ามหานคร สายฉลองรัชธรรม

รถไฟฟ้ามหานคร สายฉลองรัชธรรม (Metropolitan Rapid Transit Chalong Ratchadham Line) หรือ รถไฟฟ้ามหานคร สายสีม่วง (MRT Purple Line) ซึ่งเรียกตามสีที่กำหนดในแผนแม่บทโครงการระบบขนส่งมวลชนทางรางในกรุงเทพมหานครและปริมณฑล เป็นหนึ่งในโครงการก่อสร้างเส้นทางรถไฟฟ้าในระบบรถไฟฟ้ามหานคร โดย การรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนแห่งประเทศไทย (รฟม. หรือ MRTA) เส้นทางรถไฟฟ้าสายนี้เกิดขึ้นจากการปรับแผนแม่บทระบบขนส่งมวลชนทางราง พ.ศ. 2538 ที่นำเอาเส้นทางรถไฟฟ้าสายเฉลิมรัชมงคล (สายสีน้ำเงิน) ส่วนต่อขยายเดิมช่วงเตาปูน-บางใหญ่, สายสีม่วงเดิม ช่วงหอสมุดแห่งชาติ-เตาปูน และสายสีส้มเดิม ช่วงสามเสน (หอสมุดแห่งชาติ)-ราษฎร์บูรณะ มาเชื่อมต่อเข้าด้วยกัน กลายเป็นรถไฟฟ้าเส้นทางใหม่ที่กำหนดให้เป็นสายสีม่วง บรรจุในแผนแม่บทฯ ของสำนักงานนโยบายและแผนการขนส่งและจราจร (สนข.) เป็นครั้งแรกเมื่อปี พ.ศ. 2547 นาม ฉลองรัชธรรม เป็นชื่อที่พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานเพื่อเป็นชื่ออย่างเป็นทางการของโครงการรถไฟฟ้ามหานคร สายสีม่วง ระยะแรก สายคลองบางไผ่-นนทบุรี-เตาปูน มีความหมายว่า “เฉลิมฉลองพระราชาที่ปกครองโดยธรรม” โดยการรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนแห่งประเทศไทยได้ยื่นเรื่องขอพระราชทานชื่อเส้นทาง เนื่องในโอกาสฉลองสิริราชสมบัติครบ 70 ปี และเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ ในโอกาสพระราชพืธีมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา 7 รอบ 12 สิงหาคม..

133 ความสัมพันธ์: บริษัทวิศวกรรมการขนส่งญี่ปุ่นบางลำพูบิ๊กซี ซูเปอร์เซ็นเตอร์บุหรี่พ.ศ. 2538พ.ศ. 2547พ.ศ. 2559พ.ศ. 2561พ.ศ. 2567พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชพระราชพิธีถวายพระเพลิงพระบรมศพพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชพงษ์ศักดิ์ รักตพงศ์ไพศาลกฎหมายอาญากระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ (ประเทศไทย)กระทรวงสาธารณสุข (ประเทศไทย)กรุงเทพมหานครการกระทำอนาจารต่อหน้าธารกำนัลการรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนแห่งประเทศไทยการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2554กิโลเมตรระบบขนส่งมวลชนเร็วรัฐมนตรีว่าการกระทรวงคมนาคมของไทยรัฐสภาไทยรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (ฉบับชั่วคราว) พุทธศักราช 2557รายชื่อศูนย์การค้าและห้างสรรพสินค้าของกลุ่มเซ็นทรัลรายชื่อเขตของกรุงเทพมหานครรางที่สามรถโดยสารด่วนพิเศษ สายสาทร-ราชพฤกษ์รถโดยสารประจำทางด่วนพิเศษรถไฟฟ้าชานเมืองสายสีแดงอ่อนรถไฟฟ้าชานเมืองสายสีแดงเข้มรถไฟฟ้าบีทีเอส สายสีลมรถไฟฟ้ามหานครรถไฟฟ้ามหานคร สายสีส้มรถไฟฟ้ามหานคร สายฉลองรัชธรรมรถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคลรถไฟฟ้าสายสีชมพูรถไฟฟ้าสายสีทองรถไฟฟ้าในกรุงเทพมหานครและปริมณฑลวัดพระสมุทรเจดีย์วังบูรพาภิรมย์วันพ่อแห่งชาติวันแม่แห่งชาติ (ประเทศไทย)วงเวียนใหญ่สมัคร สุนทรเวชสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีสวนรมณีนาถสะพานพระราม 7สะพานพระปกเกล้าสะพานพระนั่งเกล้า...สะพานกาญจนาภิเษกสะพานหันสะพานผ่านฟ้าลีลาศสะพานเทเวศรนฤมิตรสำนักหอสมุดแห่งชาติสำนักงานนโยบายและแผนการขนส่งและจราจรสุราสถานการณ์ฉุกเฉินสถานีบางซื่อสถานีบางซื่อ (รถไฟฟ้ามหานคร)สถานีรถไฟวงเวียนใหญ่สถานีวงเวียนใหญ่ (รถไฟฟ้าบีทีเอส)สถานีสามยอดสถานีคลองบางไผ่สงกรานต์หมากฝรั่งอาเจียนอำเภอบางบัวทองอำเภอบางใหญ่อำเภอพระประแดงอำเภอเมืองนนทบุรีจอดแล้วจรจังหวัดสมุทรปราการจังหวัดนนทบุรีถนนพระรามที่ 2ถนนพระสุเมรุถนนพาหุรัดถนนกรุงเทพฯ-นนทบุรีถนนกาญจนาภิเษกถนนมหาไชยถนนราชพฤกษ์ถนนสมเด็จพระเจ้าตากสินถนนสามเสนถนนสุขสวัสดิ์ถนนจักรเพชรถนนประชาธิปกทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 302ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 306ทางด่วนและรถไฟฟ้ากรุงเทพทางแยกต่างระดับบางใหญ่ทีโอทีท้องสนามหลวงขนาดความกว้างรางรถไฟคลองรอบกรุงตำบลตลาดขวัญ (อำเภอเมืองนนทบุรี)ตำบลไทรม้าปฏิกูลประตูกั้นชานชาลาประเทศญี่ปุ่นปัสสาวะปูนซิเมนต์ไทยป้อมพระจุลจอมเกล้าน้ำลายแม่น้ำเจ้าพระยาแยกบางบัวทองแยกบางพลูแยกบางกระบือแยกบางลำพูแยกมไหสวรรย์แยกวงศ์สว่างแยกสำราญราษฎร์แยกติวานนท์แยกแครายแยกเกียกกายแขวงบางมด (เขตจอมทอง)แขวงบางปะกอกแขวงราษฎร์บูรณะแขวงจอมทองโจรกรรมโตชิบาเมตรเสมหะเทศบาลนครนนทบุรีเทสโก้ โลตัสเขตบางซื่อเขตพระนครเขตราษฎร์บูรณะเขตจอมทองเขตธนบุรีเขตดุสิตเขตคลองสานเซ็นทรัลพัฒนา6 สิงหาคม ขยายดัชนี (83 มากกว่า) »

บริษัทวิศวกรรมการขนส่งญี่ปุ่น

รื่องหมาย J-TREC ในตู้รถไฟ บริษัทวิศวกรรมการขนส่งญี่ปุ่น (Japan Transport Engineering Company: J-TREC) หรือชื่อตามที่จดทะเบียนคือ โรงงานประกอบยานล้อเลื่อน (総合車両製作所 โซโง ชะเรียว เซซะกุโช) เป็นโรงงานรับจ้างผลิตรถไฟรางหนักในประเทศญี่ปุ่น มีที่ตั้งอยู่ในเขตคะนะซะวะ นครโยะโกะฮะมะ และเป็นโรงงานในเครือของ บริษัทรถไฟญี่ปุ่นตะวันออก (JR ตะวันออก) อย่างไรก็ตาม โรงงานแห่งนี้ไม่ได้ผลิตเฉพาะรถไฟให้แก่ JR ตะวันออกและโทกีวคอร์ปอเรชันเท่านั้น แต่ยังผลิตให้ผู้ดำเนินงานรถไฟเจ้าอื่นของกลุ่มบริษัทรถไฟญี่ปุ่นด้วย ตลอดจนบริษัทรถไฟฟ้ากรุงเทพ และเอสเอ็มอาร์ทีคอร์ปอเรชันของสิงคโปร์ ก่อตั้งเมื่อ 23 สิงหาคม..

ใหม่!!: รถไฟฟ้ามหานคร สายฉลองรัชธรรมและบริษัทวิศวกรรมการขนส่งญี่ปุ่น · ดูเพิ่มเติม »

บางลำพู

ซอยชนะสงคราม แหล่งที่พักนักท่องเที่ยวอีกแห่งในย่านบางลำพู ต้นลำพู ต้นสุดท้ายของกรุงเทพมหานครในสวนสันติชัยปราการ อันเป็นที่มาของชื่อบางลำพู บางลำพู (มักสะกดผิดเป็น บางลำภู) เป็นย่านหนึ่งในพื้นที่เกาะรัตนโกสินทร์ ในเขตพระนคร กรุงเทพมหานคร บางลำพู ได้ชื่อมาจากในอดีตมีต้นลำพูอยู่เป็นจำนวนมาก ริมคลอง เดิมเป็นชุมนุมและตลาดเล็ก ๆ ริมน้ำก่อนการสถาปนากรุงรัตนโกสินทร์ มีวัดเก่าแก่ปรากฏอยู่ในพื้นที่ ได้แก่ วัดสังเวชวิศยาราม (วัดบางลำพู, วัดกลางนา) และวัดชนะสงครามราชวรมหาวิหาร ก่อนจะพัฒนาเป็นแหล่งพำนักของบรรดาเจ้านาย ขุนนาง ข้าราชบริพาร และประชาชนพลเมืองหลายหลากชาติพันธุ์ ทั้งไทย, จีน, มอญ และมุสลิม ที่มาตั้งบ้านเรือนอยู่อาศัยคละเคล้ากัน จนทำให้เป็นแหล่งเกิดอาชีพที่หลากหลาย ต่อมาเมื่อมีการตัดคลองรอบกรุง ทำให้ย่านบางลำพูกลายเป็นท่าน้ำใช้สำหรับขนถ่ายและแลกเปลี่ยนสินค้า เช่น พืชผักผลไม้จากฝั่งธนบุรี ก่อนจะพัฒนากลายเป็นตลาดบกที่สำคัญในเวลาต่อมา ในรัชสมัยรัชกาลที่ 5 เมื่อมีการสร้างพระราชวังดุสิตขึ้น ได้มีการตัดถนนหลายสายขึ้นมาจากถนนสามเสน เช่น ถนนจักรพงษ์, ถนนพระอาทิตย์, ถนนพระสุเมรุ, ถนนข้าวสาร, ถนนรามบุตรี, ถนนตะนาว และถนนสิบสามห้าง จึงให้บางลำพูมีความคึกคักมากขึ้นด้วย ปัจจุบัน บางลำพูเป็นที่รู้จักกันดีในฐานะเป็นแหล่งของการค้าขายเสื้อผ้า เครื่องนุ่งห่มต่าง ๆ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ชุดนักเรียน มีห้างร้านสำหรับจัดจำหน่ายโดยเฉพาะเคยเป็นที่ตั้งของห้างสรรพสินค้าหลายแห่ง และยังเป็นแหล่งที่พักชั่วคราวสำหรับนักท่องเที่ยวต่างชาติ โดยเฉพาะอย่างยิ่งชาวตะวันตก และได้มีร้านอาหาร, ร้านกาแฟ ตลอดจนร้านจำหน่ายเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ ไว้ให้บริการด้วย โดยเฉพาะที่ถนนข้าวสาร หรือถนนรามบุตรี.

ใหม่!!: รถไฟฟ้ามหานคร สายฉลองรัชธรรมและบางลำพู · ดูเพิ่มเติม »

บิ๊กซี ซูเปอร์เซ็นเตอร์

กซี ซูเปอร์เซ็นเตอร์ สาขาแจ้งวัฒนะ บิ๊กซี (Big C) ชื่อเต็ม บริษัท บิ๊กซี ซูเปอร์เซ็นเตอร์ จำกัด (มหาชน) (BIG C SUPERCENTER PUBLIC COMPANY LIMITED ชื่อย่อ:BIGC) เป็นบริษัทที่ดำเนินกิจการค้าปลีกสินค้าอุปโภคบริโภค ในรูปแบบร้านไฮเปอร์มาร์ทขนาดใหญ่ชื่อ บิ๊กซี (Big C) มีสาขาอยู่ทั่วประเทศไทย ลาว และเวียดนาม โดยข้อมูลในปี 2554 หลังจากควบรวมกิจการของคาร์ฟูร์ในประเทศไทย (บริษัท เซ็นคาร์ จำกัด) เข้ามา ทำให้บิ๊กซี มีสาขาทั้งหมด 122 สาขาในประเทศไทย และในปัจจุบันมีสาขาทั้งหมด 185 สาขาแบ่งออกเป็นบิ๊กซี ซูเปอร์เซ็นเตอร์ 133 สาขา บิ๊กซี เอ็กซ์ตร้า 16 สาขา บิ๊กซี จัมโบ้ 3 สาขา บิ๊กซี มาร์เก็ต 33 สาขา โดยบิ๊กซีได้ให้ความหมายของคำว่า Big C คือ Big หมายถึง พื้นที่ที่มีขนาดใหญ่ พร้อมด้วยบริการและสิ่งอำนวยความสะดวกต่างๆ สำหรับลูกค้า และยังครอบคลุมไปถึงความหลากหลายของสินค้าที่บิ๊กซีคัดสรรมาจำหน่าย โดยบิ๊กซีมีสินค้ามากกว่า 100,000 รายการ เพื่อตอบสนองทุกความต้องการของลูกค้า C หมายถึงลูกค้าที่ให้การสนับสนุนบิ๊กซีตลอดม.

ใหม่!!: รถไฟฟ้ามหานคร สายฉลองรัชธรรมและบิ๊กซี ซูเปอร์เซ็นเตอร์ · ดูเพิ่มเติม »

บุหรี่

หรี่สองมวน ขณะยังไม่จุด บุหรี่ มีลักษณะเป็นทรงกระบอกม้วนห่อด้วยกระดาษ ขนาดปกติจะมีความยาวสั้นกว่า 120 มิลลิเมตร และขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางไม่เกิน 10 มิลลิเมตร) มีใบยาสูบบดหรือซอยบรรจุภายในห่อกระดาษ ปลายด้านหนึ่งเป็นปลายเปิดสำหรับจุดไฟ และอีกด้านหนึ่งจะมีตัวกรอง ไว้สำหรับใช้ปากสูดควัน คำนี้ปกติจะใช้หมายถึงเฉพาะที่บรรจุใบยาสูบภายใน แต่ในบางครั้งก็อาจใช้หมายถึงมวนกระดาษที่บรรจุสมุนไพรอื่น ๆ เช่น กัญชา บุหรี่ ต่างจาก ซิการ์ (en:cigar) ตรงที่บุหรี่นั้นมีขนาดเล็กว่า และใบยาสูบนั้นจะมีการบดหรือซอย รวมทั้งกระดาษที่ห่อ ซิการ์โดยปกติจะใช้ใบยาสูบทั้งใบ ซิการ์ชนิดที่มีขนาดเล็กพิเศษเท่าบุหรี่ เรียกว่า ซิการ์ริลโล (en:cigarillo) บุหรี่เป็นที่รู้จักในกลุ่มคนที่ใช้ภาษาอังกฤษตั้งแต่ก่อนสงครามแห่งครายเมีย เมื่อทหารแห่งจักรวรรดิอังกฤษ เริ่มเลียนแบบการใช้กระดาษหนังสือพิมพ์ห่อใบยาสูบ จากทหารตุรกีแห่งอาณาจักรออตโตมัน.

ใหม่!!: รถไฟฟ้ามหานคร สายฉลองรัชธรรมและบุหรี่ · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2538

ทธศักราช 2538 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1995 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: รถไฟฟ้ามหานคร สายฉลองรัชธรรมและพ.ศ. 2538 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2547

ทธศักราช 2547 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2004 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดีตามปฏิทินเกรกอเรียน เป็นปีอธิกมาส ปกติวาร ตามปฏิทินไทยจันทรคติ และกำหนดให้เป็น.

ใหม่!!: รถไฟฟ้ามหานคร สายฉลองรัชธรรมและพ.ศ. 2547 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2559

ทธศักราช 2559 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2016 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันศุกร์ และเป็น.

ใหม่!!: รถไฟฟ้ามหานคร สายฉลองรัชธรรมและพ.ศ. 2559 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2561

ทธศักราช 2561 เป็นปีปัจจุบัน ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2018 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ใหม่!!: รถไฟฟ้ามหานคร สายฉลองรัชธรรมและพ.ศ. 2561 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2567

ทธศักราช 2567 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2024 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ใหม่!!: รถไฟฟ้ามหานคร สายฉลองรัชธรรมและพ.ศ. 2567 · ดูเพิ่มเติม »

พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช

ระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช (5 ธันวาคม พ.ศ. 2470 — 13 ตุลาคม พ.ศ. 2559) เป็นพระมหากษัตริย์ไทย รัชกาลที่ 9 แห่งราชวงศ์จักรี เสด็จสู่พระราชสมบัติตั้งแต่วันที่ 9 มิถุนายน..

ใหม่!!: รถไฟฟ้ามหานคร สายฉลองรัชธรรมและพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช · ดูเพิ่มเติม »

พระราชพิธีถวายพระเพลิงพระบรมศพพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช

ระเมรุมาศพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช พระราชพิธีถวายพระเพลิงพระบรมศพพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช เป็นพระราชพิธีที่รัฐบาลไทยจัดขึ้นเพื่อแสดงความอาลัยเป็นครั้งสุดท้าย ภายหลังการเสด็จสวรรคตของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช จัดขึ้น ณ พระเมรุมาศ มณฑลพิธีท้องสนามหลวง ระหว่างวันที่ 25 – 29 ตุลาคม..

ใหม่!!: รถไฟฟ้ามหานคร สายฉลองรัชธรรมและพระราชพิธีถวายพระเพลิงพระบรมศพพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช · ดูเพิ่มเติม »

พงษ์ศักดิ์ รักตพงศ์ไพศาล

งษ์ศักดิ์ รักตพงศ์ไพศาล (เกิด: 16 กันยายน พ.ศ. 2493 -) อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงพลังงานในรัฐบาลนางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร และอดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงพาณิชย์ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรม และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงคมนาคมในรัฐบาลทักษิณ ชินวัตร.

ใหม่!!: รถไฟฟ้ามหานคร สายฉลองรัชธรรมและพงษ์ศักดิ์ รักตพงศ์ไพศาล · ดูเพิ่มเติม »

กฎหมายอาญา

กฎหมายอาญา เป็นกฎหมายที่รัฐบัญญัติขึ้นเพื่อกำหนดลักษณะของการกระทำที่ถือว่าเป็นความผิด และกำหนดบทลงโทษทางอาญาสำหรับความผิดนั้น เป็นกฎหมายที่บัญญัติว่าการกระทำหรือไม่กระทำการอย่างใดเป็นความผ.

ใหม่!!: รถไฟฟ้ามหานคร สายฉลองรัชธรรมและกฎหมายอาญา · ดูเพิ่มเติม »

กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ (ประเทศไทย)

กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ (Ministry of Social Development and Human Security) เป็นหน่วยงานราชการไทยประเภทกระทรวง ทำหน้าที่เกี่ยวกับการพัฒนาสังคม การสร้างความเป็นธรรมและความเสมอภาคในสังคม การส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพและความมั่นคงในชีวิต สถาบันครอบครัวและชุมชน.

ใหม่!!: รถไฟฟ้ามหานคร สายฉลองรัชธรรมและกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ (ประเทศไทย) · ดูเพิ่มเติม »

กระทรวงสาธารณสุข (ประเทศไทย)

กระทรวงสาธารณสุข (Ministry of Public Health) เป็นหน่วยงานราชการไทย ประเภทกระทรวง มีอำนาจหน้าที่เกี่ยวกับการสร้างเสริมสุขภาพอนามัย การป้องกัน ควบคุม และรักษาโรคภัย การฟื้นฟูสมรรถภาพของประชาชน และราชการอื่นตามที่มีกฎหมายกำหนดให้เป็นอำนาจหน้าที่ของกระทรวงสาธารณสุขหรือส่วนราชการที่สังกัดกระทรวงสาธารณสุขปัจจุบันตั้งอยู่ที่ ถนนติวานนท์ ตำบลตลาดขวัญ อำเภอเมืองนนทบุรี จังหวัดนนทบุรี.

ใหม่!!: รถไฟฟ้ามหานคร สายฉลองรัชธรรมและกระทรวงสาธารณสุข (ประเทศไทย) · ดูเพิ่มเติม »

กรุงเทพมหานคร

กรุงเทพมหานคร เป็นเมืองหลวงและนครที่มีประชากรมากที่สุดของประเทศไทย เป็นศูนย์กลางการปกครอง การศึกษา การคมนาคมขนส่ง การเงินการธนาคาร การพาณิชย์ การสื่อสาร และความเจริญของประเทศ เป็นเมืองที่มีชื่อยาวที่สุดในโลก ตั้งอยู่บนสามเหลี่ยมปากแม่น้ำเจ้าพระยา มีแม่น้ำเจ้าพระยาไหลผ่านและแบ่งเมืองออกเป็น 2 ฝั่ง คือ ฝั่งพระนครและฝั่งธนบุรี กรุงเทพมหานครมีพื้นที่ทั้งหมด 1,568.737 ตร.กม.

ใหม่!!: รถไฟฟ้ามหานคร สายฉลองรัชธรรมและกรุงเทพมหานคร · ดูเพิ่มเติม »

การกระทำอนาจารต่อหน้าธารกำนัล

การกระทำอนาจารต่อหน้าธารกำนัล (public indecency หรือ indecent exposure) ได้แก่ การกระทำใด ๆ ของบุคคลโดยจงใจจะให้ปรากฏแก่สาธารณชนซึ่งความลามกอนาจารหรือสิ่งอันขัดต่อความสงบเรียบร้อยหรือศีลธรรมอันดีของประชาชน ซึ่งการกระทำเช่นนี้บางทีก็เป็นความผิดตามกฎหมาย เช่น ในประเทศไทยถือเป็นความผิดอาญาขั้นลหุโทษ หมวดหมู่:ความผิดอาญา de:Exhibitionismus#Nude in Public.

ใหม่!!: รถไฟฟ้ามหานคร สายฉลองรัชธรรมและการกระทำอนาจารต่อหน้าธารกำนัล · ดูเพิ่มเติม »

การรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนแห่งประเทศไทย

การรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนแห่งประเทศไทย หรือ รฟม. (Mass Rapid Transit Authority of Thailand ย่อว่า MRTA) เป็นรัฐวิสาหกิจในสังกัดกระทรวงคมนาคม มีภาระหน้าที่ในการจัดให้มี และให้บริการรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนในกรุงเทพมหานครและปริมณฑล และจังหวัดอื่นๆ รฟม.

ใหม่!!: รถไฟฟ้ามหานคร สายฉลองรัชธรรมและการรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนแห่งประเทศไทย · ดูเพิ่มเติม »

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2554

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป..

ใหม่!!: รถไฟฟ้ามหานคร สายฉลองรัชธรรมและการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2554 · ดูเพิ่มเติม »

กิโลเมตร

กิโลเมตร อักษรย่อ กม. (mètre, km) เป็นหน่วยวัดความยาว มีขนาดเท่ากับ 1 × 103 เมตร.

ใหม่!!: รถไฟฟ้ามหานคร สายฉลองรัชธรรมและกิโลเมตร · ดูเพิ่มเติม »

ระบบขนส่งมวลชนเร็ว

รถไฟฟ้าใต้ดินในกรุงวอชิงตัน ดี.ซี. ระบบขนส่งมวลชนเร็ว (rapid transit) หรือที่มักเรียกว่า รถไฟฟ้า รถไฟใต้ดิน (subway, underground) รถไฟในเมือง (metro) รถไฟรางหนัก (heavy rail) มักจะมีในเมืองใหญ่ที่สำคัญทั่วโลก รถไฟฟ้าใต้ดินที่เก่าแก่ที่สุดในโลกอยู่ที่กรุงลอนดอน เปิดใช้เมื่อ พ.ศ. 2406 ปัจจุบันมีเมืองทั้งหมด 162 เมืองที่มีรถไฟฟ้าใต้ดิน.

ใหม่!!: รถไฟฟ้ามหานคร สายฉลองรัชธรรมและระบบขนส่งมวลชนเร็ว · ดูเพิ่มเติม »

รัฐมนตรีว่าการกระทรวงคมนาคมของไทย

รายพระนาม รายนาม เสนาบดีและรัฐมนตรีว่าการกระทรวงคมนาคม.

ใหม่!!: รถไฟฟ้ามหานคร สายฉลองรัชธรรมและรัฐมนตรีว่าการกระทรวงคมนาคมของไทย · ดูเพิ่มเติม »

รัฐสภาไทย

รัฐสภาแห่งราชอาณาจักรไทย เป็นสภานิติบัญญัติระดับชาติของประเทศไทย เป็นผู้ใช้อำนาจนิติบัญญัติอันเป็นส่วนหนึ่งของอำนาจอธิปไตยของปวงชนชาวไทยตามบทบัญญัติแห่งรัฐธรรมนูญ รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560 บัญญัติให้รัฐสภาประกอบด้วยวุฒิสภาและสภาผู้แทนราษฎร ซึ่งเป็นการปกครองโดยใช้ระบบสองสภา โดยทั้งสองสภาจะประชุมร่วมกันหรือแยกกันแล้วแต่ตามบทบัญญัติรัฐธรรมนูญ โดยมีประธานสภาผู้แทนราษฎรเป็นประธานรัฐสภา และประธานวุฒิสภาเป็นรองประธานรัฐสภา โดยตำแหน่ง อย่างไรก็ดีตามบทเฉพาะกาลของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560 บัญญัติให้สภานิติบัญญัติแห่งชาติที่ตั้งขึ้นตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (ฉบับชั่วคราว) พุทธศักราช 2557 ยังคงทำหน้าที่รัฐสภา สภาผู้แทนราษฎร และวุฒิสภาต่อไป และให้สภานิติบัญญัติแห่งชาติแห่งชาติสิ้นสุดลงในวันก่อนวันเรียกประชุมรัฐสภาครั้งแรกภายหลังการเลือกตั้งทั่วไปที่จัดขึ้นตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560.

ใหม่!!: รถไฟฟ้ามหานคร สายฉลองรัชธรรมและรัฐสภาไทย · ดูเพิ่มเติม »

รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (ฉบับชั่วคราว) พุทธศักราช 2557

รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (ฉบับชั่วคราว) พุทธศักราช 2557 เป็นรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย ฉบับที่ 19 จัดร่างโดยคณะรักษาความสงบแห่งชาติ (คสช.) คณะผู้ยึดอำนาจการปกครองหลังรัฐประหารเมื่อวันที่ 22 พฤษภาคม..

ใหม่!!: รถไฟฟ้ามหานคร สายฉลองรัชธรรมและรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (ฉบับชั่วคราว) พุทธศักราช 2557 · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อศูนย์การค้าและห้างสรรพสินค้าของกลุ่มเซ็นทรัล

รายชื่อศูนย์การค้าและห้างสรรพสินค้าที่บริหารงานโดย บริษัท กลุ่มเซ็นทรัล จำกัด และบริษัทในเครือ.

ใหม่!!: รถไฟฟ้ามหานคร สายฉลองรัชธรรมและรายชื่อศูนย์การค้าและห้างสรรพสินค้าของกลุ่มเซ็นทรัล · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อเขตของกรุงเทพมหานคร

ต (district หรือ khet) เป็นชื่อเรียกหน่วยการปกครองทางมหาดไทย อยู่ระดับเดียวกับอำเภอซึ่งอยู่รองจากจังหวัด แต่ใช้เฉพาะในกรุงเทพมหานครซึ่งไม่มีสถานะเป็นจังหวัด ในแต่ละเขตแบ่งออกเป็นแขวง.

ใหม่!!: รถไฟฟ้ามหานคร สายฉลองรัชธรรมและรายชื่อเขตของกรุงเทพมหานคร · ดูเพิ่มเติม »

รางที่สาม

รางที่สามที่สถานีใกล้กรุงวอชิงตัน ดีซี มีแรงดันที่ 750V DC รางที่สามอยู่บนสุดของภาพมีกันสาดสีขาว สองรางล่างเป็นรางวิ่งทั่วไป กระแสจากรางที่สามวิ่งกลับสถานีจ่ายไฟด้วยรางวิ่งนี้ รางที่สาม เป็นรางตัวนำลักษณะกึ่งแข็งที่มีกระแสไฟฟ้าเพื่อจ่ายพลังงานไฟฟ้าให้กับขบวนรถไฟอย่างต่อเนื่อง รางนี้จะถูกวางที่ด้านข้างหรือระหว่างรางวิ่งของรถไฟ โดยทั่วไปมันมักจะถูกใช้ในระบบขนส่งมวลชนหรือระบบรถไฟฟ้าขนส่งความเร็วสูง ส่วนใหญ่รางที่สามจะจ่ายไฟฟ้ากระแสตรง ระบบรถไฟฟ้ามหานครกรุงเทพ ใช้ไฟ 750 VDC ระบบรางที่สามของการจ่ายไฟฟ้าโดยทั่วไปไม่มีความเกี่ยวข้องกับระบบรางที่สามที่ใช้ในการรถไฟ.

ใหม่!!: รถไฟฟ้ามหานคร สายฉลองรัชธรรมและรางที่สาม · ดูเพิ่มเติม »

รถโดยสารด่วนพิเศษ สายสาทร-ราชพฤกษ์

รถโดยสารประจำทางด่วนพิเศษ ยี่ห้อ Sunlong SLK6125CNG ที่สถานีสาทร รถโดยสารประจำทางด่วนพิเศษ สายสาทร-ราชพฤกษ์ หรือสายช่องนนทรี-ราชพฤกษ์ เป็นระบบรถโดยสารประจำทางด่วนพิเศษ หรือบีอาร์ที (BRT) สายนำร่องของกรุงเทพมหานคร และเป็นสายแรกของประเทศไทย เดินรถบนถนนนราธิวาสราชนครินทร์, ถนนพระรามที่ 3, สะพานพระราม 3 และถนนรัชดาภิเษก-ท่าพระ ระยะทาง 15.9 กิโลเมตร มีจุดจอดรับส่งผู้โดยสาร 12 สถานี โดยจัดช่องทางการเดินรถแยกจากช่องทางปกติบนพื้นถนนเดิมในทิศทางเดียวกัน ยกเว้นบนสะพานข้ามทางแยกและสะพานพระราม 3ที่เดินรถในช่องเดินรถมวลชน (high-occupancy vehicle/HOV lane) ร่วมกับรถยนต์ที่มีผู้โดยสารตั้งแต่ 3 คนขึ้นไป และบริเวณทางแยกบางจุดที่ใช้ช่องทางร่วมกับรถทั่วไป โครงการนี้เริ่มขึ้นเมื่อปี..

ใหม่!!: รถไฟฟ้ามหานคร สายฉลองรัชธรรมและรถโดยสารด่วนพิเศษ สายสาทร-ราชพฤกษ์ · ดูเพิ่มเติม »

รถโดยสารประจำทางด่วนพิเศษ

รถโดยสารประจำทางด่วนพิเศษ ในเมืองกูรีตีบา ประเทศบราซิล เป็นระบบแรกที่มีของรถด่วนพิเศษที่มีแห่งแรกในโลก รถโดยสารประจำทางด่วนพิเศษ หรือ บีอาร์ที เป็นระบบขนส่งมวลชนรูปแบบหนึ่งที่ใช้รถโดยสาร ให้บริการเร็วขึ้นและมีประสิทธิภาพมากขึ้นจากรถโดยสารประจำทางทั่วไป โดยพัฒนารูปแบบการเดินรถ ตัวรถโดยสาร ตารางการเดินรถ ระบบขนส่งอัจฉริยะ และที่สำคัญคือจะมีช่องทางวิ่งแยกออกมาจากถนนปกติเป็นช่องทางเฉพาะ โดยมีจุดมุ่งหมายให้มีคุณภาพของบริการเทียบเท่ากับระบบขนส่งมวลชนระบบราง ในความเร็วและความจุผู้โดยสารที่เทียบเท่ากับระบบรถไฟฟ้ารางเบา ในขณะที่ต้นทุนการก่อสร้างและการเดินรถโดยสารประจำทางที่ประหยัดกว่า ทั้งยังสามารถจัดเส้นทางการเดินรถได้ยืดหยุ่นมากกว่าระบบราง Select Bus Service website, NY Metropolitan Transit Authority.

ใหม่!!: รถไฟฟ้ามหานคร สายฉลองรัชธรรมและรถโดยสารประจำทางด่วนพิเศษ · ดูเพิ่มเติม »

รถไฟฟ้าชานเมืองสายสีแดงอ่อน

รถไฟฟ้าชานเมืองสายสีแดงอ่อน หรือ รถไฟชานเมืองสายตะวันออก-ตะวันตก เป็นโครงการรถไฟชานเมืองในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล และเป็นส่วนหนึ่งของโครงการระบบรถไฟชานเมืองสายสีแดง โดยการรถไฟแห่งประเทศไทย (รฟท.) มีแนวเส้นทางตามแกนหลักทิศตะวันตก-ตะวันออก โดยตามแผนแม่บท พื้นที่โครงการจะมีระยะทาง 127.5 กิโลเมตรคำนวณระยะทางจาก ช่วงนครปฐม-ตลิ่งชัน 43 กม.

ใหม่!!: รถไฟฟ้ามหานคร สายฉลองรัชธรรมและรถไฟฟ้าชานเมืองสายสีแดงอ่อน · ดูเพิ่มเติม »

รถไฟฟ้าชานเมืองสายสีแดงเข้ม

รถไฟฟ้าชานเมืองสายสีแดงเข้ม (บ้านภาชี-มหาชัย) เป็นส่วนหนึ่งของโครงการระบบรถไฟชานเมืองสายสีแดง โดยการรถไฟแห่งประเทศไทย (รฟท.) ซึ่งเป็นเส้นทางรถไฟที่เป็นแกนหลักของแผนแม่บทระบบขนส่งมวลชนทางราง ในกรุงเทพมหานครและปริมณฑล โดยสำนักงานนโยบายและแผนการขนส่งและจราจร (สนข.) มีแนวเส้นทางตามแกนหลักทิศเหนือ-ทิศใต้/ตะวันตกเฉียงใต้ พื้นที่โครงการส่วนใหญ่อยู่ในเขตทางของการรถไฟแห่งประเทศไทย รถไฟฟ้าชานเมืองสายสีแดงเข้ม มีแผนงานรวม 114.3 กม.

ใหม่!!: รถไฟฟ้ามหานคร สายฉลองรัชธรรมและรถไฟฟ้าชานเมืองสายสีแดงเข้ม · ดูเพิ่มเติม »

รถไฟฟ้าบีทีเอส สายสีลม

รถไฟฟ้าเฉลิมพระเกียรติ 6 รอบพระชนมพรรษา สาย 2 หรือ รถไฟฟ้าบีทีเอส สายสีลม หรือ รถไฟฟ้าสายสีเขียวเข้ม เป็นส่วนหนึ่งของแผนแม่บทระบบขนส่งมวลชนทางราง ในกรุงเทพมหานครและปริมณฑล โดยจะครอบคลุมพื้นที่ทั้งฝั่งพระนคร และฝั่งธนบุรี กรุงเทพมหานคร เปิดให้บริการครั้งแรกในปี..

ใหม่!!: รถไฟฟ้ามหานคร สายฉลองรัชธรรมและรถไฟฟ้าบีทีเอส สายสีลม · ดูเพิ่มเติม »

รถไฟฟ้ามหานคร

รถไฟฟ้ามหานคร (Metropolitan Rapid Transit, MRT) เป็นระบบรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนในกรุงเทพมหานครและปริมณฑล ที่ดำเนินการโดยการรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนแห่งประเทศไทย (รฟม.) เป็นส่วนหนึ่งของโครงข่ายระบบขนส่งมวลชนทางราง ในกรุงเทพมหานครและปริมณฑลนอกเหนือไปจากระบบรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนอื่น ได้แก่ ระบบขนส่งมวลชนกรุงเทพมหานคร (รถไฟฟ้าบีทีเอส) ของกรุงเทพมหานคร (กทม.) และโครงการระบบรถไฟชานเมือง (สายสีแดง) ของการรถไฟแห่งประเทศไทย (รฟท.) รถไฟฟ้ามหานครที่เปิดให้บริการแล้วในปัจจุบันได้แก่ รถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคล และสายฉลองรัชธรรม.

ใหม่!!: รถไฟฟ้ามหานคร สายฉลองรัชธรรมและรถไฟฟ้ามหานคร · ดูเพิ่มเติม »

รถไฟฟ้ามหานคร สายสีส้ม

รถไฟฟ้ามหานคร สายสีส้ม (Metropolitan Rapid Transit Orange Line, MRT Orange Line) เป็นหนึ่งในโครงการก่อสร้างเส้นทางรถไฟฟ้าในระบบรถไฟฟ้ามหานคร ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของโครงการระบบขนส่งมวลชนทางรางในกรุงเทพมหานคร และปริมณฑล โดยการรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนแห่งประเทศไทย (รฟม.) เป็นระบบรถไฟฟ้าที่มีทั้งโครงสร้างใต้ดิน และยกระดับ มีแนวเส้นทางที่รองรับการเดินทางภายในเขตเมืองตามแนวตะวันออก - ตะวันตก เริ่มต้นจากสถานีรถไฟชุมทางตลิ่งชัน ชานเมืองด้านทิศตะวันตกเฉียงเหนือของกรุงเทพฯ ฝั่งธนบุรี เข้าสู่ย่านบางกอกน้อย แล้วลอดใต้แม่น้ำเจ้าพระยา เข้าสู่ย่านเมืองเก่าในเขตพระนคร, ป้อมปราบศัตรูพ่าย และดุสิต ผ่านสถานที่สำคัญเช่น สนามหลวง, ถนนราชดำเนิน, ภูเขาทอง, ตลาดมหานาค เข้าสู่ใจกลางเมืองย่านราชเทวี, ประตูน้ำ, ดินแดง ไปยังชุมชนประชาสงเคราะห์, ถนนวัฒนธรรม ออกสู่ถนนรามคำแหง, บางกะปิ, สะพานสูง มาสิ้นสุดเส้นทางที่เขตมีนบุรี ชานเมืองด้านทิศตะวันออกเฉียงเหนือของกรุงเทพฯเอกสารโครงการศึกษาปรับแผนแม่บทระบบขนส่งมวลชนทางรางในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล: การสัมมนารับฟังความคิดเห็นครั้งที่ 3 วันที่ 19 พฤศจิกายน..

ใหม่!!: รถไฟฟ้ามหานคร สายฉลองรัชธรรมและรถไฟฟ้ามหานคร สายสีส้ม · ดูเพิ่มเติม »

รถไฟฟ้ามหานคร สายฉลองรัชธรรม

รถไฟฟ้ามหานคร สายฉลองรัชธรรม (Metropolitan Rapid Transit Chalong Ratchadham Line) หรือ รถไฟฟ้ามหานคร สายสีม่วง (MRT Purple Line) ซึ่งเรียกตามสีที่กำหนดในแผนแม่บทโครงการระบบขนส่งมวลชนทางรางในกรุงเทพมหานครและปริมณฑล เป็นหนึ่งในโครงการก่อสร้างเส้นทางรถไฟฟ้าในระบบรถไฟฟ้ามหานคร โดย การรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนแห่งประเทศไทย (รฟม. หรือ MRTA) เส้นทางรถไฟฟ้าสายนี้เกิดขึ้นจากการปรับแผนแม่บทระบบขนส่งมวลชนทางราง พ.ศ. 2538 ที่นำเอาเส้นทางรถไฟฟ้าสายเฉลิมรัชมงคล (สายสีน้ำเงิน) ส่วนต่อขยายเดิมช่วงเตาปูน-บางใหญ่, สายสีม่วงเดิม ช่วงหอสมุดแห่งชาติ-เตาปูน และสายสีส้มเดิม ช่วงสามเสน (หอสมุดแห่งชาติ)-ราษฎร์บูรณะ มาเชื่อมต่อเข้าด้วยกัน กลายเป็นรถไฟฟ้าเส้นทางใหม่ที่กำหนดให้เป็นสายสีม่วง บรรจุในแผนแม่บทฯ ของสำนักงานนโยบายและแผนการขนส่งและจราจร (สนข.) เป็นครั้งแรกเมื่อปี พ.ศ. 2547 นาม ฉลองรัชธรรม เป็นชื่อที่พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานเพื่อเป็นชื่ออย่างเป็นทางการของโครงการรถไฟฟ้ามหานคร สายสีม่วง ระยะแรก สายคลองบางไผ่-นนทบุรี-เตาปูน มีความหมายว่า “เฉลิมฉลองพระราชาที่ปกครองโดยธรรม” โดยการรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนแห่งประเทศไทยได้ยื่นเรื่องขอพระราชทานชื่อเส้นทาง เนื่องในโอกาสฉลองสิริราชสมบัติครบ 70 ปี และเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ ในโอกาสพระราชพืธีมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา 7 รอบ 12 สิงหาคม..

ใหม่!!: รถไฟฟ้ามหานคร สายฉลองรัชธรรมและรถไฟฟ้ามหานคร สายฉลองรัชธรรม · ดูเพิ่มเติม »

รถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคล

| open.

ใหม่!!: รถไฟฟ้ามหานคร สายฉลองรัชธรรมและรถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคล · ดูเพิ่มเติม »

รถไฟฟ้าสายสีชมพู

รงการรถไฟฟ้าสายสีชมพู ช่วงแคราย-มีนบุรี เป็นโครงการก่อสร้างระบบขนส่งมวลชนในพื้นที่จังหวัดนนทบุรี และกรุงเทพมหานคร ซึ่งได้รับการกำหนดให้ใช้ระบบรถไฟฟ้ารางเดี่ยว (monorail) เป็นระบบหลัก เป็นโครงการรถไฟฟ้าโครงการหนึ่งตามแผนแม่บทโครงการระบบขนส่งมวลชนทางรางในกรุงเทพมหานครและปริมณฑล และเป็นหนึ่งในโครงการก่อสร้างเส้นทางรถไฟฟ้าในระบบรถไฟฟ้ามหานคร โดยการรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนแห่งประเทศไทย ในระยะแรกโครงการดังกล่าวมีระยะทางรวมทั้งสิ้น 27 กิโลเมตร แต่ต่อมาก็ได้มีการขยายต้นทางจากปากเกร็ดมายังแคราย เพื่อเชื่อมกับโครงการรถไฟฟ้ามหานคร สายฉลองรัชธรรม ทำให้เส้นทางของโครงการเริ่มต้นที่ศูนย์ราชการจังหวัดนนทบุรี และสิ้นสุดที่มีนบุรี ระยะทางรวมประมาณ 34–36 กิโลเมตร.

ใหม่!!: รถไฟฟ้ามหานคร สายฉลองรัชธรรมและรถไฟฟ้าสายสีชมพู · ดูเพิ่มเติม »

รถไฟฟ้าสายสีทอง

รงการระบบขนส่งมวลชนขนาดรอง สายสีทอง (สถานีรถไฟฟ้ากรุงธนบุรี-สำนักงานเขตคลองสาน-ประชาธิปก) เป็นโครงการระบบขนส่งมวลชนรองบนพื้นที่ฝั่งธนบุรี ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของโครงการระบบขนส่งมวลชนทางราง ในกรุงเทพมหานครและปริมณฑล ระยะที่สอง (M-Map Phase 2) มีจุดประสงค์เพื่อเชื่อมต่อการเดินทางบนถนนเจริญนคร และเป็นการเชื่อมต่อเข้ากับศูนย์การค้าไอคอนสยาม ดำเนินการโดย กรุงเทพมหานคร และบริษัท กรุงเทพธนาคม จำกัด ดำเนินการในรูปแบบรถไฟฟ้าล้อยาง และมีแนวเส้นทางเริ่มต้นจากสถานีต้นทางของโครงการใกล้กับสถานีกรุงธนบุรี ของรถไฟฟ้าบีทีเอส สายสีลม วิ่งไปตามแนวถนนเจริญนคร ผ่านศูนย์การค้าไอคอนสยาม สำนักงานเขตคลองสาน สิ้นสุดในระยะแรกที่บริเวณแยกสมเด็จเจ้าพระยา-ประชาธิปก รวมระยะทาง 5.7 กิโลเมตร คาดว่าจะมีผู้โดยสาร 50,000 เที่ยวต่อวันเมื่อเปิดทำการ ปัจจุบัน (พ.ศ. 2561) โครงการอยู่ในระหว่างการก่อสร้างในเส้นทางระยะที่ 1 กรุงธนบุรี - เจริญนคร กำหนดแล้วเสร็จ 19 พฤษภาคม..

ใหม่!!: รถไฟฟ้ามหานคร สายฉลองรัชธรรมและรถไฟฟ้าสายสีทอง · ดูเพิ่มเติม »

รถไฟฟ้าในกรุงเทพมหานครและปริมณฑล

รถไฟฟ้าในกรุงเทพมหานครและปริมณฑล หรือ โครงข่ายระบบรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนในกรุงเทพมหานครและพื้นที่ต่อเนื่อง เป็นระบบขนส่งมวลชนแบบรางใน กรุงเทพมหานครและปริมณฑล เริ่มเปิดให้บริการเป็นครั้งแรกเมื่อปี พ.ศ. 2542 ในเส้นทาง รถไฟฟ้าบีทีเอส สายสุขุมวิท สถานีหมอชิต-สถานีอ่อนนุช และ รถไฟฟ้าบีทีเอส สายสีลม สถานีสนามกีฬาแห่งชาติ-สถานีสะพานตากสิน โดยในปัจจุบันมีรถไฟฟ้าที่เปิดให้บริการแล้วทั้งสิ้น 5 สาย 77 สถานี ครอบคลุมระยะทางกว่า 112 กิโลเมตร*.

ใหม่!!: รถไฟฟ้ามหานคร สายฉลองรัชธรรมและรถไฟฟ้าในกรุงเทพมหานครและปริมณฑล · ดูเพิ่มเติม »

วัดพระสมุทรเจดีย์

วัดพระสมุทรเจดีย์ หมู่ 3 บ้านเจดีย์ ตำบลปากคลองบางปลากด อำเภอพระสมุทรเจดีย์ จังหวัดสมุทรปราการ เป็นวัดราษฎร์ ฝั่งตรงข้ามศาลากลางจังหวัดสมุทรปราการ มีผู้คนมาเคารพสักการบูชา และยังเป็นสัญลักษณ์ประจำจังหวัดสมุทรปราการ ผู้คนทั่วไปจะเรียกกันติดปากว่า พระเจดีย์กลางน้ำ เนื่องจากเดิม บริเวณที่ก่อสร้างพระสมุทรเจดีย์เป็นเกาะแม่น้ำ ต่อมาชายตลิ่งฝั่งขวาของแม่น้ำตื้นเขินงอกออกมา เชื่อมติดกับเกาะอันเป็นที่ตั้งพระเจดีย์ สมุทรปราการ เป็นเมืองที่สร้างขึ้นในสมัยกรุงศรีอยุธยา ตัวเมืองเก่าอยู่แถบอำเภอพระประแดงและมีชื่อเรียกว่า “เมืองพระประแดง” เป็นสถานที่พักของเมืองสินค้าต่างชาติที่มาติดต่อค้าขายกับไทย ที่บริเวณริมทะเลมีการสร้างป้อมค่ายคูเมืองอย่างมั่นคงแข็งแรง ต่อมา ในสมัยกรุงธนบุรี สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช โปรดให้รื้อกำแพงเมืองพระประแดงออก ในปี พ.ศ. 2362 สมัยแผ่นดินพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย (รัชกาลที่ 2) ทรงเห็นว่าจะเป็นช่องทางที่ข้าศึกจะยกทัพมาได้ จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้สร้างเมืองสมุทรปราการขึ้นที่ตำบลปากน้ำ โดยใช้เวลาสร้าง 3 ปี และได้จัดสร้างป้อมปราการขึ้นทั้งสองฝั่งแม่น้ำถึง 6 ป้อม คือ ป้อมประโคนชัย ป้อมนารายณ์ปราบศึก ป้อมปราการ ป้อมประกายสิทธิ์ ป้อมนาคราช และป้อมผีเสื้อสมุทร ในขณะที่สร้างเมืองนั้น รัชกาลที่ 2 ได้เสด็จทอดพระเนตรหลายครั้งและทรงสร้างพระมหาเจดีย์ ขึ้นที่เกาะกลางน้ำแล้วพระราชทานนามว่า “พระสมุทรเจดีย์” การสร้างยังมิทันเสร็จได้เสด็จสวรรคตเสียก่อน ต่อมา ในรัชกาลที่ 3 ได้ทรงสร้างต่อจนสำเร็จและสร้างป้อมขึ้นอีก 3 แห่ง คือ ป้อมตรีเพชร ป้อมคงกระพัน และป้อมเสือซ่อนเล็บ ต่อมาในปี พ.ศ. 2402 พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (รัชกาลที่ 5) ได้ทรงปฏิสังขรณ์พระสมุทรเจดีย์ให้สูงขึ้นและทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้สร้างป้อมชายทะเลอีกแห่งหนึ่ง พระราชทานนามว่า “ป้อมพระจุลจอมเกล้า” ซึ่งในปัจจุบันป้อมต่างๆ ได้ปรักหักพังลงคงเหลือแต่ป้อมผีเสื้อสมุทรและป้อมพระจุลจอมเกล้าเท่าทุกวันนี้ บ้านสาขลา ตั้งอยู่ ใน ต.นาเกลือ อ.พระสมุทรเจดี.สมุทรปราการ เป็นชุมชนชาวประมงเก่าแก่ริมปากอ่าวไทยที่ตั้งถิ่นฐานในบริเวณนี้มาช้านานหลายชั่วอายุคน "สันนิษฐานว่าหมู่บ้านนี้มีมาตั้งแต่สมัยสุโขทัยหรือต้นอยุธยาตอนต้น ต่อมาสมัยรัชกาลที่ 1 เกิดสงคราม 9 ทัพขึ้น ผู้ชายทุกคนในหมู่บ้านถูกเกณฑ์ไปเป็นทหารหมด เหลือแต่ผู้หญิง คนแก่ และเด็ก ยุคนั้นหมู่บ้านนี้ถือเป็นแหล่งเสบียงสำคัญเพราะมีทรัพยากรอุดมสมบูรณ์ ทัพพม่าเมื่อเคลื่อนทัพผ่านมาจึงกวาดต้อนคนไทยและพยายามยามยึดเอาเสบียงอาหารไป แต่ชาวบ้านในหมู่บ้านนี้ไม่ยอมจึงได้รวมพลังผู้หญิง เด็ก และคนชรา จับอาวุธเท่าที่หาได้ไม่ว่าจะเป็นดาบ มีด พร้า รวมถึงสากตำข้าวขนาดใหญ่ออกมาต่อสู้กับพม่าอย่างห้าวหาญ และด้วยแผนการรบที่ดีและความชำนาญภูมิประเทศ ทำให้สาวๆในหมู่บ้านนี้รบกับกองลาดตระเวนของพม่าจนพม่าต้องพ่ายแพ้ถอยทัพกลับไป".

ใหม่!!: รถไฟฟ้ามหานคร สายฉลองรัชธรรมและวัดพระสมุทรเจดีย์ · ดูเพิ่มเติม »

วังบูรพาภิรมย์

วังบูรพาภิรมย์ นักเรียนโรงเรียนภานุทัต สมัยที่อยู่วังบูรพาภิรมย์ วังบูรพาภิรมย์ เป็นวังที่พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว โปรดเกล้าฯ ให้สร้างขึ้นพระราชทาน สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าภาณุรังษีสว่างวงศ์ กรมพระยาภาณุพันธุวงศ์วรเดช พระเจ้าลูกยาเธอพระองค์สุดท้องในสมเด็จพระเทพศิรินทราบรมราชินี เมื่อ..

ใหม่!!: รถไฟฟ้ามหานคร สายฉลองรัชธรรมและวังบูรพาภิรมย์ · ดูเพิ่มเติม »

วันพ่อแห่งชาติ

วันพ่อแห่งชาติ ตรงกับวันที่ 5 ธันวาคม ของทุกปี เป็นวันคล้ายวันเฉลิมพระชนมพรรษาของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชและเป็นวันชาติ กิจกรรมวันพ่อแห่งชาติจัดติดต่อกันทุกปีตั้งแต..

ใหม่!!: รถไฟฟ้ามหานคร สายฉลองรัชธรรมและวันพ่อแห่งชาติ · ดูเพิ่มเติม »

วันแม่แห่งชาติ (ประเทศไทย)

วันแม่แห่งชาติ ในประเทศไทย ปัจจุบันตรงกับวันที่ 12 สิงหาคม ของทุกปี ซึ่งตรงกับวันคล้ายวันพระราชสมภพของสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ โดยเริ่มใช้วันดังกล่าวเป็นวันแม่แห่งชาติเมื่อ..

ใหม่!!: รถไฟฟ้ามหานคร สายฉลองรัชธรรมและวันแม่แห่งชาติ (ประเทศไทย) · ดูเพิ่มเติม »

วงเวียนใหญ่

วงเวียนใหญ่ เป็นวงเวียนที่ถนนประชาธิปก ถนนลาดหญ้า ถนนสมเด็จพระเจ้าตากสิน และถนนอินทรพิทักษ์มาบรรจบกันในพื้นที่เขตธนบุรี กรุงเทพมหานคร เป็นที่ตั้งของพระบรมราชานุสาวรีย์ สมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรี บริเวณใกล้เคียงเป็นที่ตั้งของสถานีรถไฟวงเวียนใหญ่ ซึ่งเป็นสถานีต้นทางของทางรถไฟสายแม่กลอง (วงเวียนใหญ่-มหาชัย).

ใหม่!!: รถไฟฟ้ามหานคร สายฉลองรัชธรรมและวงเวียนใหญ่ · ดูเพิ่มเติม »

สมัคร สุนทรเวช

มัคร สุนทรเวช (ชื่อจีน: 李沙馬 Lǐ Shāmǎ; 13 มิถุนายน พ.ศ. 2478 – 24 พฤศจิกายน พ.ศ. 2552) เป็นนายกรัฐมนตรีไทยคนที่ 25 และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม หัวหน้าพรรคพลังประชาชน อดีตผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร และผู้ก่อตั้งพรรคประชากรไทย เกิดที่กรุงเทพมหานคร เป็นนักการเมืองเก่าแก่ ที่มีเสียงพูดและลีลาการพูดเป็นเอกลักษณ์ เคยดำรงตำแหน่งสำคัญมากมาย เช่น รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย รัฐมนตรีว่าการกระทรวงคมนาคม (2 สมัย) ได้ฉายาจากสื่อมวลชนทั่วไปว่า "น้าหมัก" "ออหมัก" หรือ "ชมพู่" (มาจากลักษณะจมูกของสมัคร) "ชาวนา" (จากกรณีกลุ่มงูเห่า) เป็นต้น สมัครเริ่มทำงานหลังจบนิติศาสตร์ ธรรมศาสตร์ เป็นสื่อมวลชนสายการเมือง โดยเขียนบทความ และความคิดเห็น ทางการเมืองแบบไม่ประจำใน หนังสือพิมพ์สยามรัฐ, สยามรัฐสัปดาห์วิจารณ์ และชาวกรุง ตั้งแต..

ใหม่!!: รถไฟฟ้ามหานคร สายฉลองรัชธรรมและสมัคร สุนทรเวช · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี

ตราจารย์ พลเอกหญิง พลเรือเอกหญิง พลอากาศเอกหญิง นายกองใหญ่ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี (2 เมษายน พ.ศ. 2498) เป็นพระราชธิดาในพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช และสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ และเป็นพระโสทรกนิษฐภคินีในสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร เสด็จพระราชสมภพเมื่อวันเสาร์ที่ 2 เมษายน..

ใหม่!!: รถไฟฟ้ามหานคร สายฉลองรัชธรรมและสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี · ดูเพิ่มเติม »

สวนรมณีนาถ

วนรมณีนาถ หรือที่นิยมเรียกกันติดปากว่า คุกเก่า เป็นสวนสาธารณะที่จัดสร้างขึ้นใหม่ เพื่อน้อมเกล้าน้อมกระหม่อมถวายแด่สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ ในวโรกาสที่มีพระชนมายุ 60 พรรษา เมื่อ..

ใหม่!!: รถไฟฟ้ามหานคร สายฉลองรัชธรรมและสวนรมณีนาถ · ดูเพิ่มเติม »

สะพานพระราม 7

นพระราม 7 (Rama VII Bridge) เป็นสะพานข้ามแม่น้ำเจ้าพระยา เชื่อมระหว่างตำบลบางกรวย อำเภอบางกรวย จังหวัดนนทบุรี กับแขวงวงศ์สว่าง เขตบางซื่อ กรุงเทพมหานคร สะพานพระราม 7 เป็นสะพานแบบคอนกรีตอัดแรงชนิดต่อเนื่อง มีจำนวนช่องทางรถวิ่ง 6 ช่องทางจราจร ความกว้างของสะพาน 29.10 เมตร และมีความยาว 934 เมตร สร้างเสร็จและเปิดการจราจรเมื่อวันที่ 23 กันยายน พ.ศ. 2535 มีนายมานะ มหาสุวีระชัย เป็นผู้อำนวยการโครงการ โดยเปิดใช้เป็นสะพานข้ามแม่น้ำเจ้าพระยาแทนสะพานพระราม 6 ปัจจุบันสะพานแห่งนี้อยู่ในความรับผิดชอบของกรมทางหลวงชนบท.

ใหม่!!: รถไฟฟ้ามหานคร สายฉลองรัชธรรมและสะพานพระราม 7 · ดูเพิ่มเติม »

สะพานพระปกเกล้า

นพระปกเกล้า (Phra Pok Klao Bridge) เป็นสะพานข้ามแม่น้ำเจ้าพระยาแห่งหนึ่งในกรุงเทพมหานคร เชื่อมระหว่างถนนจักรเพชร ในพื้นที่แขวงวังบูรพาภิรมย์ เขตพระนคร (ฝั่งพระนคร) กับถนนประชาธิปก ในพื้นที่แขวงสมเด็จเจ้าพระยา เขตคลองสาน ฝั่งธนบุรี เป็นสะพานคู่ขาไปและขากลับ สร้างเคียงข้างขนานกันกับสะพานพระพุทธยอดฟ้า เนื่องจากการจราจรบริเวณนั้นถึงจุดวิกฤต รัฐบาลจึงเห็นว่าควรมีสะพานอีกแห่งหนึ่งเพื่อช่วยระบายการจราจร โดยได้เว้นที่ช่วงกลางสะพานไว้สำหรับก่อสร้างรถไฟฟ้าลาวาลินด้วย ปัจจุบันสะพานแห่งนี้อยู่ในความรับผิดชอบของกรมทางหลวงชนบท.

ใหม่!!: รถไฟฟ้ามหานคร สายฉลองรัชธรรมและสะพานพระปกเกล้า · ดูเพิ่มเติม »

สะพานพระนั่งเกล้า

link.

ใหม่!!: รถไฟฟ้ามหานคร สายฉลองรัชธรรมและสะพานพระนั่งเกล้า · ดูเพิ่มเติม »

สะพานกาญจนาภิเษก

นกาญจนาภิเษก (Kanchanaphisek Bridge) เป็นสะพานขึงข้ามแม่น้ำเจ้าพระยาแห่งใหม่ของประเทศไทย เป็นส่วนหนึ่งของถนนกาญจนาภิเษก (ทางหลวงพิเศษหมายเลข 9 ช่วงทางพิเศษสายบางพลี-สุขสวัสดิ์) ลักษณะการก่อสร้างเป็นสะพานขึงระนาบคู่ขนาด 6 ช่องจราจร ข้ามแม่น้ำเจ้าพระยาระหว่างท้องที่ตำบลบางจาก (เขตเทศบาลเมืองลัดหลวง) กับตำบลบางหัวเสือ (เขตเทศบาลเมืองปู่เจ้าสมิงพราย) อำเภอพระประแดง จังหวัดสมุทรปราการ มีความสูงจากระดับน้ำทะเล 52 เมตร เพื่อให้เรือสินค้าสามารถเข้าออกได้ ตัวสะพานมีความยาวช่วงกลางแม่น้ำ 500 เมตร ซึ่งถือว่าเป็น "สะพานขึง" ที่มีช่วงกลางแม่น้ำยาวที่สุดในประเทศไทย และถือว่าเป็นสะพานข้ามแม่น้ำที่สูงที่สุดในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เปิดให้บริการเมื่อวันที่ 15 พฤศจิกายน..

ใหม่!!: รถไฟฟ้ามหานคร สายฉลองรัชธรรมและสะพานกาญจนาภิเษก · ดูเพิ่มเติม »

สะพานหัน

นหัน เป็นสะพานขนาดเล็ก ตั้งอยู่ในย่านสำเพ็ง แขวงจักรวรรดิ เขตสัมพันธวงศ์ ทอดข้ามคลองรอบกรุงหรือคลองโอ่งอ่าง ชื่อนี้เรียกตามจาก ลักษณะของตัวสะพานที่ สมัยก่อนนั้นจะเป็นไม้แผ่นเดียวพาดข้ามคลอง ปลายข้างหนึ่งตรึงแน่นกับที่ ส่วนอีกข้างจะไม่ตอกติด จับหันไปมาได้เพื่อให้เรือแล่นผ่าน ต่อมาในสมัยรัชกาลที่ 4 โปรดเกล้า ฯ ให้สร้างใหม่เป็นสะพานโครงเหล็กพื้นไม้ จนถึงสมัยรัชกาลที่ 5 ได้เปลี่ยนทำเป็นแบบสะพานริอัลโตที่นครเวนิส และที่ปองเตเวกคิโอ เมืองฟลอเรนซ์ ประเทศอิตาลี คือ เป็นสะพานไม้โค้งกว้าง สองฟากสะพานมีห้องแถวเล็ก ๆ ให้เช่าขายของ ส่วนตรงกลางเป็นทางเดิน สำหรับตัวสะพานปัจจุบัน ได้สร้างใหม่ขึ้นแทนของเก่าที่ชำรุด ในปี พ.ศ. 2505 ปัจจุบัน สะพานหันได้ปิดงานใช้ไปนานแล้ว และได้กลายมาเป็นศูนย์การค้า โดยมากจะจำหน่ายสินค้าประเภทเสื้อผ้า และแฟชั่น.

ใหม่!!: รถไฟฟ้ามหานคร สายฉลองรัชธรรมและสะพานหัน · ดูเพิ่มเติม »

สะพานผ่านฟ้าลีลาศ

นผ่านฟ้าลีลาศ เป็นสะพานข้ามคลองรอบกรุง ตอนที่เรียกว่าคลองบางลำพู เชื่อมถนนราชดำเนินกลางและถนนราชดำเนินนอก บริเวณใกล้กับป้อมมหากาฬ ในพื้นที่เขตพระนครและเขตป้อมปราบศัตรูพ่าย กรุงเทพมหานคร สะพานผ่านฟ้าลีลาศสร้างในปีใดไม่ปรากฏหลักฐาน แต่สันนิษฐานว่าน่าจะสร้างพร้อมกับถนน เดิมเป็นสะพานโครงเหล็ก ต่อมาพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวโปรดเกล้าฯ ให้สร้างสะพานใหม่ให้มีลักษณะใหม่และงดงามขึ้น และพระราชทานนามว่าสะพานผ่านฟ้าลีลาศ แม้ในสมัยต่อมาจะมีการปรับปรุงขยายสะพานผ่านฟ้าลีลาศอีกหลายครั้ง เพื่อรองรับกับจำนวนยวดยานพาหนะที่สัญจรผ่านไปมา แต่ก็ยังรักษาลักษณะศิลปกรรมเดิมไว้ให้มากที่สุด สะพานผ่านฟ้าลีลาศเป็นสะพานที่สวยงาม ปลายสะพานทั้ง 2 ฝั่งมีเสาหินอ่อนประดับด้วยเครื่องสำริดและมีลวดลายสลักที่เสาหินอ่อน มีลักษณะงดงามมาก เดิมบริเวณสะพานผ่านฟ้าลีลาศยังเคยเป็นที่ทำการสอนของ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ในปี..

ใหม่!!: รถไฟฟ้ามหานคร สายฉลองรัชธรรมและสะพานผ่านฟ้าลีลาศ · ดูเพิ่มเติม »

สะพานเทเวศรนฤมิตร

นเทเวศรนฤมิตร เป็นสะพานข้ามคลองผดุงกรุงเกษม ตั้งอยู่บนถนนสามเสน แขวงวชิรพยาบาล เขตดุสิต กรุงเทพมหานคร เป็นสะพานที่สร้างขึ้นโดยพระราชดำริของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ที่ประสงค์สร้างสะพานข้ามคลองผดุงกรุงเกษมทั้งหมดห้าสะพานและทรงโปรดเกล้าฯ พระราชทานนามให้มีชื่อคล้องจองกันทั้งหมด โดยทรงปรึกษากับพระราชเลขานุการที่เชี่ยวชาญภาษามคธ ได้นามเป็นมงคลคล้องจองกัน โดยมีความหมายโดยรวมว่า "สะพานที่เทวดานฤมิตร" คือ สะพานเทเศวรนฤมิตร, สะพานวิศสุกรรมนฤมาณ, สะพานมัฆวานรังสรรค์, สะพานเทวกรรมรังรักษ์ และสะพานจตุรภักตร์รังสฤษดิ์ โดยในส่วนของสะพานเทเวศรนฤมิตร นั้นมีความหมายถึง "สะพานที่เทวดาผู้เป็นใหญ่สร้าง" หรือ "สะพานที่พระอิศวรเป็นผู้สร้าง" เมื่อสร้างเสร็จแล้ว พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวได้เสด็จทำพิธีเปิดเมื่อวันที่ 30 มิถุนายน..

ใหม่!!: รถไฟฟ้ามหานคร สายฉลองรัชธรรมและสะพานเทเวศรนฤมิตร · ดูเพิ่มเติม »

สำนักหอสมุดแห่งชาติ

ำนักหอสมุดแห่งชาติ (ตัวย่อ: หสช.) ก่อตั้งเมื่อปี..

ใหม่!!: รถไฟฟ้ามหานคร สายฉลองรัชธรรมและสำนักหอสมุดแห่งชาติ · ดูเพิ่มเติม »

สำนักงานนโยบายและแผนการขนส่งและจราจร

ำนักงานนโยบายและแผนการขนส่งและจราจร หรือ สน. เป็นส่วนราชการระดับกรม สังกัดกระทรวงคมนาคม จัดตั้งขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 2545.

ใหม่!!: รถไฟฟ้ามหานคร สายฉลองรัชธรรมและสำนักงานนโยบายและแผนการขนส่งและจราจร · ดูเพิ่มเติม »

สุรา

ราที่วางขายในร้าน สุรา (liquor หรือ spirit) หมายถึง น้ำเมาที่ได้จากการกลั่นสารบางประเภท อาทิ เอทิลแอลกอฮอล์ และเมรัย คือ น้ำเมาที่เกิดจากการหมักหรือแช่ให้เกิดสารบางประเภท เมื่อดื่มแล้วสารนั้นจะออกฤทธิ์กดระบบประสาทส่วนกลาง หากดื่มไม่มากอาจรู้สึกผ่อนคลายเนื่องจากสารกดจิตใต้สำนึกที่คอยควบคุมตนเองทำให้กล้าแสดงออกมากขึ้น แต่เมื่อดื่มมากขึ้นก็จะกดสมองบริเวณอื่น ๆ ทำให้เสียการทรงตัว พูดไม่ชัด จนแม้กระทั่งหมดสติในที่สุด ทั้งสุราและเมรัยเรียกโดยภาษาปากว่า "เหล้า" ประเทศต่าง ๆ ได้วางกฎเกณฑ์สำหรับการผลิต การขาย และการบริโภคเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์ ตัวอย่างเช่น กฎหมายที่กำหนดอายุขั้นต่ำสำหรับผู้ที่สามารถบริโภคได้อย่างถูกกฎหมาย ซึ่งแตกต่างกันในแต่ละประเทศ เช่น อายุไม่ต่ำกว่า 16 ปีสำหรับประเทศเยอรมนี ฝรั่งเศส ออสเตรียและสวิสเซอร์แลนด์, ไม่ต่ำกว่า 18 ปีในประเทศไทย หรือไม่ต่ำกว่า 21 ปีในสหรัฐอเมริกา การบริโภคทั้งสุราและเมรัยเป็นข้อห้ามในข้อสุราเมรยมัชปมาทัฏฐานหรือข้อที่ 5 แห่งเบญจศีลของพุทธศาสนา ซึ่งว่า "สุราเมรยมชฺชปมาทฏฺฐานา เวรมณี สิกฺขาปทํสมาทิยามิ" แปลได้ว่า "เราจักถือศีลโดยเว้นจากการบริโภคสุรายาเมาอันเป็นที่ตั้งแห่งความประมาท".

ใหม่!!: รถไฟฟ้ามหานคร สายฉลองรัชธรรมและสุรา · ดูเพิ่มเติม »

สถานการณ์ฉุกเฉิน

นการณ์ฉุกเฉิน (state of emergency) คือ สถานการณ์อันอาจเป็นภัยต่อความมั่นคงหรือความปลอดภัยแห่งรัฐ หรืออันอาจทำให้รัฐตกอยู่ในภาวะคับขันหรือภาวะการรบหรือการสงคราม ซึ่งฝ่ายบริหารรัฐมีอำนาจประกาศว่าพื้นที่ใดกำลังตกอยู่ในสถานการณ์เช่นว่าโดยอาศัยอำนาจตามกฎหมายของรัฐนั้น ๆ ซึ่งให้อำนาจพิเศษในการจัดการสถานการณ์ฉุกเฉิน และมักเป็นกฎหมายที่มีบทบัญญัติบางประการเกี่ยวกับการจำกัดสิทธิและเสรีภาพของบุคคล อย่างไรก็ดี กฎหมายว่าด้วยสถานการณ์ฉุกเฉินเป็นกฎหมายที่ให้อำนาจพิเศษแก่เจ้าหน้าที่ไม่เบ็ดเสร็จเท่ากฎอัยการศึกหรือกฎหมายที่ใช้ในสภาวะสงคราม การประกาศสถานการณ์ฉุกเฉินมักมีภายหลังจากการเกิดภัยธรรมชาติ การก่อความไม่สงบ หรือการประกาศสงคราม ซึ่งอาจมีผลให้เจ้าหน้าที่บางฝ่ายต้องหยุดการปฏิบัติการตามอำนาจหน้าที่ลงชั่วคราว โดยอำนาจหน้าที่เช่นว่านั้นอาจรวมศูนย์ไปยังเจ้าหน้าที่อีกฝ่ายเพื่ออำนวยความสะดวกในการควบคุมสถานการณ์โดยไม่ชักช้า และอาจนำไปสู่การห้ามออกจากเคหสถาน (curfew) หรือการห้ามมั่วสุมชุมนุมกันเพื่อการใด ๆ ก็ดี ณ พื้นที่นั้นในระหว่างที่มีการประกาศสถานการณ์ฉุกเฉิน.

ใหม่!!: รถไฟฟ้ามหานคร สายฉลองรัชธรรมและสถานการณ์ฉุกเฉิน · ดูเพิ่มเติม »

สถานีบางซื่อ

นีบางซื่อ สามารถหมายถึง.

ใหม่!!: รถไฟฟ้ามหานคร สายฉลองรัชธรรมและสถานีบางซื่อ · ดูเพิ่มเติม »

สถานีบางซื่อ (รถไฟฟ้ามหานคร)

นีบางซื่อ (รหัส BAN) เป็นสถานีรถไฟฟ้าใต้ดินในเส้นทางรถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคล บริเวณสถานีรถไฟชุมทางบางซื่อ กรุงเทพมหานคร.

ใหม่!!: รถไฟฟ้ามหานคร สายฉลองรัชธรรมและสถานีบางซื่อ (รถไฟฟ้ามหานคร) · ดูเพิ่มเติม »

สถานีรถไฟวงเวียนใหญ่

นีรถไฟวงเวียนใหญ่ เป็นสถานีรถไฟระดับ 3 ตั้งอยู่ที่ถนนริมทางรถไฟ (วงเวียนใหญ่-ตลาดพลู) ใกล้วงเวียนใหญ่ แขวงบางยี่เรือ เขตธนบุรี เป็นสถานีต้นทางของทางรถไฟสายแม่กลอง เดิมสถานีต้นทางของรถไฟสายแม่กลองคือสถานีรถไฟปากคลองสาน แต่ไม่มีการเดินรถช่วงปากคลองสาน-วงเวียนใหญ่มาตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2504 สืบเนื่องจากมติคณะรัฐมนตรีเมื่อวันที่ 24 พฤศจิกายน พ.ศ. 2502 ในรัฐบาลจอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต์ โดยรางรถไฟยังคงอยู่ แต่ราดยางมะตอยทับไว้ใต้พื้นถนน.

ใหม่!!: รถไฟฟ้ามหานคร สายฉลองรัชธรรมและสถานีรถไฟวงเวียนใหญ่ · ดูเพิ่มเติม »

สถานีวงเวียนใหญ่ (รถไฟฟ้าบีทีเอส)

นีวงเวียนใหญ่ (Wongwian Yai Station รหัสสถานี S8) เป็นสถานีรถไฟลอยฟ้า ในเส้นทาง รถไฟฟ้าเฉลิมพระเกียรติ 6 รอบพระชนมพรรษา สายสีลม ส่วนต่อขยายตากสิน-บางหว้า ช่วงที่ 1 (สะพานตากสิน-แยกตากสิน) ยกระดับเหนือถนนกรุงธนบุรี ใกล้แยกตากสิน ฝั่งธนบุรี กรุงเทพมหานคร.

ใหม่!!: รถไฟฟ้ามหานคร สายฉลองรัชธรรมและสถานีวงเวียนใหญ่ (รถไฟฟ้าบีทีเอส) · ดูเพิ่มเติม »

สถานีสามยอด

นีสามยอด (Sam Yot Station) เป็นสถานีรถไฟฟ้าใต้ดิน ในเส้นทางรถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคล และรถไฟฟ้ามหานคร สายฉลองรัชธรรม ซึ่งโครงการยังอยู่ระหว่างการก่อสร้าง โดยเป็นสถานีในระบบใต้ดินที่อยู่ภายในอาณาบริเวณเกาะรัตนโกสินทร์รอบนอก ในแนวถนนเจริญกรุงตัดกับถนนมหาไชยที่แยกสามยอด จนถึงถนนเจริญกรุงตัดกับถนนอุณากรรณและถนนบูรพาที่แยกอุณากรรณ ในพื้นที่แขวงวังบูรพาภิรมย์ เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร.

ใหม่!!: รถไฟฟ้ามหานคร สายฉลองรัชธรรมและสถานีสามยอด · ดูเพิ่มเติม »

สถานีคลองบางไผ่

นีคลองบางไผ่ (อังกฤษ: Khlong Bangphai Station, รหัส PP01) เป็นสถานีรถไฟลอยฟ้า ในเส้นทางรถไฟฟ้ามหานคร สายฉลองรัชธรรม ที่ถนนกาญจนาภิเษก อำเภอบางบัวทอง จังหวัดนนทบุรี ตั้งอยู่บริเวณใกล้แหล่งชุมชนบริเวณนอกพื้นที่เศรษฐกิจอำเภอบางใหญ่ โดยเป็นสถานีต้นทางของรถไฟฟ้าสายนี้.

ใหม่!!: รถไฟฟ้ามหานคร สายฉลองรัชธรรมและสถานีคลองบางไผ่ · ดูเพิ่มเติม »

สงกรานต์

ำหรับ สงกรานต์ ความหมายอื่น ดูที่: สงกรานต์ (แก้ความกำกวม) สงกรานต์ (សង្រ្កាន្ត; သင်္ကြန်; ສົງການ; 泼水节) เป็นประเพณีของประเทศไทย กัมพูชา ลาว พม่า ชนกลุ่มน้อยชาวไทแถบเวียดนามและมณฑลยูนนานของจีน ศรีลังกาและทางตะวันออกของประเทศอินเดีย สันนิษฐานว่า สงกรานต์ได้รับอิทธิพลมาจากเทศกาลโฮลี (होली) ในอินเดีย แต่เทศกาลโฮลีจะใช้การสาดสีแทน เริ่มในทุกวันแรม 1 ค่ำเดือน 4 คือ ในเดือนมีนาคม สงกรานต์เป็นคำสันสกฤต หมายถึง "การเคลื่อนย้าย" ซึ่งเป็นการอุปมาถึงการเคลื่อนย้ายของการประทับในจักรราศี คือการเคลื่อนขึ้นปีใหม่ในความเชื่อของไทยและบางประเทศในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ สงกรานต์สืบทอดมาแต่โบราณคู่กับตรุษ จึงเรียกรวมกันว่า ประเพณีตรุษสงกรานต์ หมายถึง ส่งท้ายปีเก่าต้อนรับปีใหม่ เดิมวันที่จัดเทศกาลกำหนดโดยการคำนวณทางดาราศาสตร์ แต่ปัจจุบันระบุแน่นอนว่า 13 ถึง 15 เมษายน วันขึ้นปีใหม่ไทยเป็นวันเริ่มปีปฏิทินของไทยจนถึง..

ใหม่!!: รถไฟฟ้ามหานคร สายฉลองรัชธรรมและสงกรานต์ · ดูเพิ่มเติม »

หมากฝรั่ง

หมากฝรั่ง หมายถึงยางสังเคราะห์ที่ถูกแต่งกลิ่น รส และสีให้เป็นกลิ่นรสต่างๆ ตามที่ต้องการ เช่น โคคาโคล่า ส้ม มินต์ เป็นต้น โดยในอดีตมักทำมาจากยาง.

ใหม่!!: รถไฟฟ้ามหานคร สายฉลองรัชธรรมและหมากฝรั่ง · ดูเพิ่มเติม »

อาเจียน

อาเจียน เป็นอาการขับออกซึ่งสิ่งต่างๆ ที่อยู่ในท้องอย่างเฉียบพลันออกทางปาก และบางครั้งทางจมูกด้วย การอาเจียนที่ไม่พึงประสงค์เกิดมาจากหลายสาเหตุตั้งแต่เยื่อบุกระเพาะอักเสบ หรือ ได้รับสารพิษ จนไปถึงเนื้องอกในสมอง เมารถเมาเรือ หรือแม้กระทั่งมาจากความดันในกะโหลกสูง อาการที่อยากจะอาเจียนเรียกว่าอาการคลื่นไส้ อาการนี้มักจะเกิดก่อนการอาเจียน แต่ไม่ได้แปลว่ามีอาการนี้แล้วจะต้องอาเจียนเสมอไป ยาแก้อาเจียนอาจจะต้องใช้ระงับการอาเจียนในรายที่มีอาการหนักมาก.

ใหม่!!: รถไฟฟ้ามหานคร สายฉลองรัชธรรมและอาเจียน · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอบางบัวทอง

งบัวทอง เป็นอำเภอหนึ่งของจังหวัดนนทบุรี ในอดีตมีพื้นที่กว้างใหญ่มากโดยคลุมพื้นที่อำเภอไทรน้อย อำเภอบางใหญ่ และบางส่วนของอำเภอปากเกร็ด (ปัจจุบันแยกออกไปแล้ว) มีประวัติศาสตร์มาตั้งแต่ พ.ศ. 2445 เดิมพื้นที่ส่วนใหญ่เป็นพื้นที่เกษตรกรรม แต่ปัจจุบันเมื่อความเจริญจากกรุงเทพมหานครแผ่ขยายออกมาจนถึงบางบัวทอง ทำให้มีหมู่บ้านจัดสรร บริษัทห้างร้าน สำนักงานจำนวนมาก รวมถึงหน่วยงานราชการต่าง ๆ ทยอยย้ายเข้ามาอยู่ในท้องที่นี้ แต่ก็ยังคงเห็นท้องนาบางส่วนอยู่ นอกจากนี้ อำเภอบางบัวทองยังเป็นอำเภอที่มีจำนวนประชากรมากที่สุดเป็นอันดับที่ 2 ของจังหวัดนนทบุรีด้วย (และมีความหนาแน่นมากเป็นอันดับ 3).

ใหม่!!: รถไฟฟ้ามหานคร สายฉลองรัชธรรมและอำเภอบางบัวทอง · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอบางใหญ่

งใหญ่ เป็นอำเภอหนึ่งของจังหวัดนนทบุรี มีประชากรค่อนข้างมาก แต่เดิมตั้งอยู่บริเวณที่คลองสามสายมาบรรจบกันได้แก่ ปลายคลองอ้อมนนท์ สุดคลองบางกอกน้อย และต้นคลองบางใหญ่ แต่ปัจจุบันตัวอำเภอได้ย้ายมาอยู่ในหมู่บ้านบางใหญ่ซิตี้ ซึ่งได้รับความเจริญอย่างรวดเร็วจากการก่อสร้างถนนกาญจนาภิเษกและถนนรัตนาธิเบศร์ มีบริการที่ทันสมัย เช่น โรงพยาบาล ห้างสรรพสินค้า ตลาดกลางของจังหวัด หน่วยงานราชการ หมู่บ้านจัดสรรที่เกิดใหม่ ดังนั้น พื้นที่การเกษตรอาจไม่พบเห็นในเขตเมืองแล้ว โดยส่วนหนึ่งของเขตเมืองบางใหญ่อยู่ในพื้นที่ของอำเภอบางบัวทอง.

ใหม่!!: รถไฟฟ้ามหานคร สายฉลองรัชธรรมและอำเภอบางใหญ่ · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอพระประแดง

ระประแดง เป็นอำเภอที่มีขนาดพื้นที่เล็กที่สุดในจังหวัดสมุทรปราการ ในอดีตมีฐานะเป็นศูนย์กลางของจังหวัดพระประแดง แต่ต่อมาถูกยุบรวมเข้ากับจังหวัดสมุทรปราการดังเช่นปัจจุบัน.

ใหม่!!: รถไฟฟ้ามหานคร สายฉลองรัชธรรมและอำเภอพระประแดง · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอเมืองนนทบุรี

มืองนนทบุรี เป็นอำเภอศูนย์กลางการปกครอง การศึกษา เศรษฐกิจ และการสาธารณสุขของจังหวัดนนทบุรี.

ใหม่!!: รถไฟฟ้ามหานคร สายฉลองรัชธรรมและอำเภอเมืองนนทบุรี · ดูเพิ่มเติม »

จอดแล้วจร

จอดแล้วจร เป็นชื่ออาคาร ตั้งอยู่บนถนนรัชดาภิเษก ตัดกับถนนลาดพร้าว เป็นอาคารจอดรถเพื่อให้ประชาชนใช้รถไฟฟ้าใต้ดิน โดยคิดค่าจอดรถเป็นชั่วโมง เหมาะแก่ผู้เดินทางโดยรถไฟฟ้าใต้ดิน หมวดหมู่:อาคาร หมวดหมู่:รถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคล.

ใหม่!!: รถไฟฟ้ามหานคร สายฉลองรัชธรรมและจอดแล้วจร · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดสมุทรปราการ

ังหวัดสมุทรปราการ เป็นจังหวัดหนึ่งในภาคกลางของประเทศไทย และยังเป็นจังหวัดในเขตปริมณฑลของกรุงเทพมหานคร จัดตั้งขึ้นครั้งล่าสุดโดย พระราชบัญญัติจัดตั้งจังหวัดสมุทรปราการ จังหวัดนนทบุรี จังหวัดสมุทรสาคร และจังหวัดนครนายก พุทธศักราช 2489 ซึ่งมีผลใช้บังคับตั้งแต่วันที่ 9 พฤษภาคม พ.ศ. 2489.

ใหม่!!: รถไฟฟ้ามหานคร สายฉลองรัชธรรมและจังหวัดสมุทรปราการ · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดนนทบุรี

ังหวัดนนทบุรี เป็นจังหวัดหนึ่งในภาคกลางของประเทศไทย จัดตั้งขึ้นครั้งล่าสุดโดยพระราชบัญญัติจัดตั้งจังหวัดสมุทรปราการ จังหวัดนนทบุรี จังหวัดสมุทรสาคร และจังหวัดนครนายก พุทธศักราช 2489 ซึ่งมีผลใช้บังคับตั้งแต่วันที่ 9 พฤษภาคม..

ใหม่!!: รถไฟฟ้ามหานคร สายฉลองรัชธรรมและจังหวัดนนทบุรี · ดูเพิ่มเติม »

ถนนพระรามที่ 2

นนพระรามที่ 2 (Thanon Rama II) หรือ ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 35 สายธนบุรี–ปากท่อ เป็นถนนที่ตัดผ่านกรุงเทพมหานคร จังหวัดสมุทรสาคร จังหวัดสมุทรสงคราม และจังหวัดราชบุรี เป็นเส้นทางหลักที่มุ่งสู่ภาคใต้ของประเทศไทย และยังเป็นหนึ่งในถนนพระรามทั้ง 7 สาย ซึ่งอยู่ในความรับผิดชอบของกรุงเทพมหานคร ยกเว้นถนนพระรามที่ 2 ที่อยู่ในความรับผิดชอบของกรมทางหลวง ถนนพระรามที่ 2 มีระยะทางรวม 84.041 กิโลเมตร.

ใหม่!!: รถไฟฟ้ามหานคร สายฉลองรัชธรรมและถนนพระรามที่ 2 · ดูเพิ่มเติม »

ถนนพระสุเมรุ

ป้ายชื่อถนนบริเวณป้อมพระสุเมรุ ถนนพระสุเมรุ (Thanon Phra Sumen) เป็นถนนสายหนึ่งในพื้นที่แขวงชนะสงคราม และแขวงบวรนิเวศ เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร โดยชื่อถนนมาจากป้อมพระสุเมรุ ป้อมปราการป้องกันพระนครป้อมแรกรอบเกาะรัตนโกสินทร์ ซึ่งเป็นจุดเริ่มต้น เป็นถนนสายสั้น ๆ ที่มีจุดเริ่มต้นที่บริเวณข้างป้อมพระสุเมรุ ซึ่งเป็นจุดสิ้นสุดของถนนพระอาทิตย์ ในย่านบางลำพู ทอดผ่านแยกบางลำพู ซึ่งเป็นจุดตัดกับถนนจักรพงษ์และถนนสามเสน จากนั้นทอดผ่านวงเวียนสิบสามห้างเลียบไปกับวัดบวรนิเวศวิหาร ไปยังแยกสะพานวันชาติ อันเป็นจุดตัดกับถนนดินสอและถนนประชาธิปไตย จากนั้นเป็นเส้นทางโค้งไปสิ้นสุดลงที่แยกป้อมมหากาฬ อันเป็นจุดตัดกับถนนราชดำเนินกลาง บริเวณป้อมมหากาฬ และเชิงสะพานผ่านฟ้าลีลาศ บริเวณถนนพระสุเมรุ เป็นที่ตั้งของร้านอาหาร, ร้านกาแฟ และร้านหนังสือต่าง ๆ เหมือนกับถนนพระอาทิตย์ที่อยู่ใกล้กัน โดยร้านค้าและอาคารบ้านเรือนบางส่วนยังคงเป็นอาคารเก่าแก่ที่สร้างด้วยสถาปัยกรรมแบบโคโลเนียล รวมถึงยังคงเหลือซากกำแพงพระนครและป้อมปราการรอบพระนคร อันได้แก่ วังริมป้อมพระสุเมรุ และป้อมยุคนธร ป้อมสุดท้ายของเกาะรัตนโกสินทร.

ใหม่!!: รถไฟฟ้ามหานคร สายฉลองรัชธรรมและถนนพระสุเมรุ · ดูเพิ่มเติม »

ถนนพาหุรัด

นนพาหุรัด คุรุดวาราศรีคุรุสิงห์สภา ถนนพาหุรัด (Thanon Phahurat) เป็นถนนในท้องที่แขวงวังบูรพาภิรมย์ เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร เริ่มตั้งแต่ถนนบ้านหม้อ (สี่แยกบ้านหม้อ) ไปทางทิศตะวันออก ตัดกับถนนตรีเพชร (สี่แยกพาหุรัด) จนถึงถนนจักรเพชร ถนนพาหุรัดเป็นถนนที่พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้สร้างขึ้นโดยทรงใช้ทรัพย์ส่วนพระองค์ของสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าพาหุรัดมณีมัย กรมพระเทพนารีรัตน์ พระราชธิดาซึ่งประสูติจากสมเด็จพระศรีพัชรินทราบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง และสิ้นพระชนม์ขณะพระชันษา 10 ปี จึงโปรดเกล้าฯ ให้สร้างถนนขึ้นเพื่ออุทิศส่วนกุศลพระราชทานและพระราชทานนามถนนว่า "ถนนพาหุรัด" ทุกวันนี้ถนนพาหุรัด เป็นย่านที่มีสินค้าที่มีให้เลือกสรรอย่างมากมายและหลากหลายทั้งผ้าตัด อุปกรณ์ตัดเย็บ รวมไปถึงเสื้อผ้าสำเร็จรูปสารพัดชาติ ทั้งชุดไทย-การแสดงนาฏศิลป์ ชุดจีน โดยเฉพาะส่าหรี นอกจากนี้พาหุรัดยังมีชุมชนเล็กๆที่ยังคงดำเนินวิถีแบบภารตะอยู่ จนทำให้หลายๆคน ขนานนามย่านพาหุรัด ว่าเป็น “ลิตเติ้ล อินเดีย”เมืองไทย สถานที่สำคัญในบริเวณนั้น มีวัดคุรุดวาราศรีคุรุสิงห์สภา(วัดซิกข์) เป็นวัดซิกข์แห่งแรกของไทย และยังมีห้างดิโอลด์สยามพลาซ่า ห้างไชน่า เวิลด์ (เดิมชื่อห้างเซ็นทรัลวังบูรพา)และ ห้างอินเดีย เอ็มโพเรียม (เดิมชือห้างเอทีเอ็ม).

ใหม่!!: รถไฟฟ้ามหานคร สายฉลองรัชธรรมและถนนพาหุรัด · ดูเพิ่มเติม »

ถนนกรุงเทพฯ-นนทบุรี

นนกรุงเทพฯ-นนทบุรี (Thanon Krung Thep - Nonthaburi) เป็นถนนเชื่อมระหว่างพื้นที่เขตบางซื่อ กรุงเทพมหานคร กับอำเภอเมืองนนทบุรี จังหวัดนนทบุรี มีระยะทางเริ่มต้นจากถนนประชาราษฎร์ สาย 2 (ทางแยกเตาปูน) ในพื้นที่แขวงบางซื่อ เขตบางซื่อ ตรงไปทางทิศเหนือ ตัดผ่านทางรถไฟสายใต้ เข้าพื้นที่แขวงวงศ์สว่าง จากนั้นโค้งไปทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือ ตัดกับถนนวงศ์สว่าง (ทางแยกวงศ์สว่าง) ข้ามคลองบางเขนเข้าสู่เขตตำบลบางเขน อำเภอเมืองนนทบุรี ข้ามคลองบางตะนาวศรีเข้าเขตตำบลตลาดขวัญ และไปสิ้นสุดที่จุดตัดระหว่างถนนสายนี้กับถนนติวานนท์และถนนนครอินทร์ (ทางแยกติวานนท์) โดยมีแนวถนนที่ตรงต่อเนื่องไปคือถนนประชาราษฎร์ ถนนกรุงเทพฯ-นนทบุรีเป็นถนนขนาด 4 ช่องทางจราจร (เกาะกลางเป็นที่ตั้งของรถไฟฟ้ามหานคร สายฉลองรัชธรรม) ระยะทางรวม 5.358 กิโลเมตร ความกว้างประมาณ 25 เมตร ตัดขึ้นตามพระราชกฤษฎีกาว่าด้วยการจัดซื้อที่ดินและอสังหาริมทรัพย์อย่างอื่นเพื่อตัดถนนเชื่อมคมนาคมกรุงเทพพระมหานครกับจังหวัดนนทบุรี เมื่อปี พ.ศ. 2474 โดยมีแนวเส้นทางเริ่มจากถนนพระรามที่ 5 (แต่เมื่อก่อสร้างจริงนั้นเริ่มที่ถนนประชาราษฎร์ สาย 2) ไปถึงบริเวณเหนือวัดลานวัว ทั้งนี้เพื่อให้การจราจรทางบกระหว่างสองจังหวัดรวดเร็วยิ่งขึ้น หลังจากเมื่อปี พ.ศ. 2471 พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวได้โปรดเกล้าฯ ให้ย้ายศาลากลางจังหวัดนนทบุรีจากปากคลองบางซื่อลงมาตั้งที่ตำบลบางขวาง รวมทั้งยังโปรดเกล้าฯ ให้สร้างเรือนจำมหันตโทษกลางขึ้นที่นั่นด้วย ในปีต่อมา (พ.ศ. 2475) พระองค์โปรดเกล้าฯ พระราชทานนามถนนสายนี้รวมกับถนนที่มาจากตัวจังหวัดนนทบุรีถึงวัดลานวัวว่า ถนนประชาราษฎร์ จนกระทั่งภายหลังได้มีการเปลี่ยนชื่อถนนช่วงทางแยกเตาปูนถึงทางแยกติวานนท์เป็น ถนนกรุงเทพฯ-นนทบุรี ปัจจุบันถนนกรุงเทพฯ-นนทบุรีในเขตบางซื่ออยู่ในการดูแลของสำนักการโยธา กรุงเทพมหานคร มีระยะทาง 3.617 กิโลเมตร ส่วนช่วงที่อยู่ในเขตอำเภอเมืองนนทบุรีนั้นถือเป็น ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 301 สายคลองบางเขน - ติวานนท์ และเป็นเขตควบคุมของหมวดทางหลวงนนทบุรี แขวงทางหลวงนนทบุรี (หน่วยงานของกรมทางหลวง) ระยะทาง 1.741 กิโลเมตร อนึ่ง การใช้ชื่อซอยย่อยของถนนระหว่างสองพื้นที่ยังมีความแตกต่างกันอีกด้วย กล่าวคือ กรุงเทพมหานครใช้ชื่อซอยว่า "กรุงเทพ-นนทบุรี" ฝั่งขาออก (ฝั่งซอยเลขคี่) มี 24 ซอย และฝั่งขาเข้า (ฝั่งซอยเลขคู่) มี 31 ซอย ส่วนเทศบาลนครนนทบุรีจะเริ่มนับตัวเลขใหม่เมื่อเข้าเขตจังหวัดนนทบุรี โดยใช้ชื่อซอยว่า "กรุงเทพนนท์" ฝั่งขาออกมี 8 ซอย และฝั่งขาเข้ามี 7 ซอ.

ใหม่!!: รถไฟฟ้ามหานคร สายฉลองรัชธรรมและถนนกรุงเทพฯ-นนทบุรี · ดูเพิ่มเติม »

ถนนกาญจนาภิเษก

นนกาญจนาภิเษก (Thanon Kanchanaphisek) หรือ ถนนวงแหวนรอบนอกกรุงเทพมหานคร ซึ่งมีระยะทางส่วนใหญ่เป็น ทางหลวงพิเศษหมายเลข 9 เป็นถนนสายสำคัญที่มีเส้นทางเชื่อมต่อกันเป็นวงแหวนล้อมรอบตัวเมืองกรุงเทพมหานคร จังหวัดนนทบุรี ปทุมธานี และสมุทรปราการ รวมถึงผ่านจังหวัดพระนครศรีอยุธยาด้วย มีระยะทางตลอดทั้งสายรวม 168 กิโลเมตร ถนนสายนี้สร้างขึ้นเพื่อแก้ปัญหาการจราจรที่ติดขัดในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑลที่มีปริมาณการจราจรและการขนส่งเพิ่มขึ้น อันเป็นผลจากความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ และเป็นทางเลี่ยงเมืองกรุงเทพมหานครที่เป็นตัวเชื่อมทางสายหลักเข้าไปสู่ทุกภาคของประเทศ เริ่มก่อสร้างครั้งแรกเมื่อปี..

ใหม่!!: รถไฟฟ้ามหานคร สายฉลองรัชธรรมและถนนกาญจนาภิเษก · ดูเพิ่มเติม »

ถนนมหาไชย

นนมหาไชยช่วงใกล้กับสามแยกเรือนจำ ถนนมหาไชย (Thanon Maha Chai) เป็นถนนสายหนึ่งในเขตพระนคร กรุงเทพมหานคร เริ่มต้นจากถนนราชดำเนินกลางที่สี่แยกป้อมมหากาฬ ในท้องที่แขวงวัดบวรนิเวศ ไปทางทิศใต้ ข้ามคลองหลอดวัดราชนัดดาเข้าสู่ท้องที่แขวงสำราญราษฎร์ ผ่านวัดเทพธิดาราม ตัดกับถนนบำรุงเมือง (สี่แยกสำราญราษฎร์) และถนนหลวง (สามแยกเรือนจำ) ข้ามคลองหลอดวัดราชบพิธเข้าสู่ท้องที่แขวงวังบูรพาภิรมย์ ตัดกับถนนเจริญกรุง (สี่แยกสามยอด) จนกระทั่งไปบรรจบกับถนนพีระพงษ์ ถนนเยาวราช และถนนจักรเพชร (สี่แยกวังบูรพา) ถนนมหาไชยเป็นถนนที่ได้นามมาจากชื่อป้อมปราการที่พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราชโปรดเกล้าฯ ให้สร้างขึ้นเมื่อทรงสถาปนากรุงเทพมหานครเป็นราชธานี นับเป็น 1 ใน 14 ป้อมปราการที่โปรดเกล้าฯ ให้สร้างขึ้น ต่อมาเมื่อบ้านเมืองเจริญขึ้นความจำเป็นในการมีป้อมปราการไว้ป้องกันพระนครก็หมดไป ป้อมมหาไชยจึงถูกรื้อถอน และปัจจุบันชื่อป้อมมหาไชยได้กลายมาเป็นชื่อถนนมหาไชย เนื่องจากเป็นถนนที่ตัดผ่านบริเวณที่เป็นป้อมมห.

ใหม่!!: รถไฟฟ้ามหานคร สายฉลองรัชธรรมและถนนมหาไชย · ดูเพิ่มเติม »

ถนนราชพฤกษ์

นนราชพฤกษ์ (Thanon Ratchaphruek) หรือ ทางหลวงชนบท น.3021 สายราชพฤกษ์ เป็นถนนที่ทอดยาวจากกรุงเทพมหานครสู่จังหวัดนนทบุรี เป็นเส้นทางคมนาคมสำคัญสายหนึ่ง โดยสามารถเดินทางจากถนนสาทรถึงอำเภอบางบัวทองได้โดยไม่ต้องผ่านทางแยกสัญญาณไฟจราจร (ไม่ติดไฟแดง) แม้แต่แห่งเดียว.

ใหม่!!: รถไฟฟ้ามหานคร สายฉลองรัชธรรมและถนนราชพฤกษ์ · ดูเพิ่มเติม »

ถนนสมเด็จพระเจ้าตากสิน

นนสมเด็จพระเจ้าตากสิน ช่วงตลาดดาวคะนอง ถนนสมเด็จพระเจ้าตากสิน (Thanon Somdet Phra Chao Tak Sin) เป็นถนนสายสำคัญสายหนึ่งทางฝั่งธนบุรี กรุงเทพมหานคร.

ใหม่!!: รถไฟฟ้ามหานคร สายฉลองรัชธรรมและถนนสมเด็จพระเจ้าตากสิน · ดูเพิ่มเติม »

ถนนสามเสน

แผนที่เขตดุสิต ถนนสามเสนอยู่บริเวณซ้ายบน ใกล้กับแม่น้ำเจ้าพระยา ถนนสามเสน (Thanon Sam Sen) เป็นถนนสายสำคัญในพื้นที่เขตพระนครและเขตดุสิต กรุงเทพมหานคร.

ใหม่!!: รถไฟฟ้ามหานคร สายฉลองรัชธรรมและถนนสามเสน · ดูเพิ่มเติม »

ถนนสุขสวัสดิ์

นนสุขสวัสดิ์ (Thanon Suk Sawat) ซึ่งระยะทางส่วนใหญ่ของถนนมีฐานะเป็น ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 303 สายราษฎร์บูรณะ–พระสมุทรเจดีย์ (ในสมัยก่อนมีชื่อว่า "ทางหลวงแผ่นดินสายดาวคะนอง - ป้อมพระจุล") สร้างตั้งแต่สมัยจอมพล ป. พิบูลสงคราม ถนนนี้ตั้งชื่อนี้เพื่อเป็นเกียรติแก่ร้อยโทหม่อมเจ้าธัญญลักษณ์ สุขสวัสดิ์ นายช่างหัวหน้าการก่อสร้าง กรมทางหลวง เมื่อวันที่ 10 ธันวาคม พ.ศ. 2493 ตามนโยบายของรัฐบาล มีความยาวทั้งหมด 28 กิโลเมตร มีจุดเริ่มต้นตั้งแต่สะพานข้ามคลองดาวคะนองจนถึงป้อมพระจุลจอมเกล้า เริ่มต้นทางหลวงแผ่นดินตั้งแต่ถนนพระรามที่ 2 เป็นถนนขนาด 8 ช่องทางจราจรตั้งแต่ดาวคะนองถึงสามแยกวัดพระสมุทรเจดีย์ แล้วส่วนของสามแยกพระสมุทรเจดีย์-ป้อมพระจุลจอมเกล้ามีขนาด 2 ช่องทางจราจร อนึ่ง ถนนสุขสวัสดิ์ช่วงตั้งแต่สะพานข้ามคลองดาวคะนองถึงสะพานข้ามคลองบางปะแก้วเป็นเส้นแบ่งเขตการปกครองระหว่างเขตจอมทองกับเขตราษฎร์บูรณะ ถนนสุขสวัสดิ์ช่วงตั้งแต่กิโลเมตรที่ 1 ถึงกิโลเมตรที่ 6 อยู่ในความรับผิดชอบของ กรุงเทพมหานคร ส่วนตั้งแต่กิโลเมตรที่ 6+463 เป็นต้นไป อยู่ในความรับผิดชอบของ แขวงทางหลวงสมุทรปรากร.

ใหม่!!: รถไฟฟ้ามหานคร สายฉลองรัชธรรมและถนนสุขสวัสดิ์ · ดูเพิ่มเติม »

ถนนจักรเพชร

นนจักรเพชร (Thanon Chak Phet) เป็นถนนในท้องที่แขวงวังบูรพาภิรมย์ เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร เริ่มจากถนนเยาวราชตรงข้ามกับถนนมหาไชย ตามแนวขนานคลองรอบกรุง (คลองโอ่งอ่าง) แยกเลี้ยวตรงไปปากคลองตลาด ช่วงหัวเลี้ยวเป็นเชิงสะพานพระปกเกล้า ตัดผ่านถนนตรีเพชร ผ่านปลายถนนบ้านหม้อถึงเชิงสะพานเจริญรัช 31 มีความยาวทั้งสิ้น 1,120 เมตร ถนนจักรเพชรสร้างในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เมื่อ พ.ศ. 2441 โปรดเกล้าฯ ให้กรมโยธาธิการก่อสร้างถนนมีทางเดินสองข้างจากป้อมจักรเพชร หน้าวัดราชบุรณราชวรวิหาร (วัดเลียบ) ไปถึงปากคลองตลาด ต่อมาโปรดเกล้าฯ ให้สร้างถนนต่ออีกช่วงหนึ่ง จากถนนเยาวราชมาตามแนวถนนกับกำแพงพระนครจนถึงป้อมจักรเพชร แล้วพระราชทานชื่อว่า "ถนนจักรเพชร" ตามชื่อป้อมจักรเพชรที่ถนนสายนี้ตัดผ่าน ทั้งนี้บริเวณรอบ ๆ ถนนจักรเพชรยังมีสิ่งก่อสร้างที่มีความสำคัญทางประวัติศาสตร์และมีความเก่าแก่สวยงามหลายแห่ง เช่น พระบรมราชานุสรณ์พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช ณ เชิงสะพานปฐมบรมราชานุสรณ์ หรือสะพานพุทธ, อาคารพาณิชย์ตามแนวปากคลองตลาด เป็นต้น.

ใหม่!!: รถไฟฟ้ามหานคร สายฉลองรัชธรรมและถนนจักรเพชร · ดูเพิ่มเติม »

ถนนประชาธิปก

นนประชาธิปก ถนนประชาธิปก (Thanon Prajadhipok) เป็นถนนสายสำคัญในพื้นที่เขตธนบุรี กรุงเทพมหานคร โดยมีจุดเริ่มต้นจากวงเวียนใหญ่ ตรงไปทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือในพื้นที่แขวงหิรัญรูจี ผ่านทางแยกบ้านแขก (ตัดกับถนนอิสรภาพ) และเข้าพื้นที่แขวงวัดกัลยาณ์ ข้ามคลองสมเด็จเจ้าพระยา ผ่านวงเวียนเล็ก (ตัดกับถนนอรุณอมรินทร์และถนนสมเด็จเจ้าพระยา) หลังจากนั้นถนนจะแยกออกเป็นสามทาง ทางแรกมุ่งหน้าข้ามสะพานพระปกเกล้า เชื่อมกับถนนจักรเพชรในพื้นที่แขวงวังบูรพาภิรมย์ เขตพระนคร และทางที่สองมุ่งหน้าข้ามสะพานปฐมบรมราชานุสรณ์ เชื่อมกับถนนตรีเพชรในพื้นที่แขวงวังบูรพาภิรมย์ เขตพระนคร และทางที่สามมุ่งวัดประยุรวงศาวาส ไปสิ้นสุดที่ใต้สะพานปฐมบรมราชานุสรณ์ โดยมีแนวถนนที่ต่อเนื่องไปคือถนนพญาไม้ในพื้นที่แขวงสมเด็จเจ้าพระยา เขตคลองสาน ระยะทางจากวงเวียนใหญ่ถึงสะพานพระปกเกล้ายาวประมาณ 900 เมตร และยังเป็นเส้นแบ่งระหว่างเขตธนบุรี (ฝั่งขาเข้าเมือง) กับเขตคลองสาน (ฝั่งขาออกเมือง) อีกด้วย ถนนประชาธิปกเป็น "ถนนสายที่ 1" ในโครงการตัดและขยายถนน 11 สายในจังหวัดธนบุรีและจังหวัดพระนครเพื่อรองรับการก่อสร้างสะพานปฐมบรมราชานุสรณ์ (สะพานพระพุทธยอดฟ้า) เมื่อปี พ.ศ. 2472 ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว โดยพระราชกฤษฎีกาว่าด้วยการจัดซื้อที่ดินและอสังหาริมทรัพย์อย่างอื่น เพื่อตัดและขยายถนนฝั่งจังหวัดธนบุรีและจังหวัดพระนคร พ.ศ. 2473 ได้กำหนดแนวเส้นทางถนนสายที่ 1 ไว้ตั้งแต่เชิงสะพานปฐมบรมราชานุสรณ์ ตัดกับถนนสายที่ 2 (ปัจจุบันคือถนนอรุณอมรินทร์และถนนสมเด็จเจ้าพระยา) ถนนสายที่ 3 (ปัจจุบันคือถนนอิสรภาพ) และถนนสายที่ 4 (ปัจจุบันคือถนนอินทรพิทักษ์และถนนลาดหญ้า) ไปจนถึงคลองดาวคะนอง สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาดำรงราชานุภาพ ทรงเสนอชื่อถนนสายที่ 1 ของโครงการนี้ถวายพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวว่า "ถนนพระปกเกล้า" และ "ถนนประชาธิปก" เพื่อเป็นการเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว (พระนามเดิมคือสมเด็จพระเจ้าลูกยาเธอ เจ้าฟ้าประชาธิปกศักดิเดชน์) ที่ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้สร้างสะพานปฐมบรมราชานุสรณ์ข้ามแม่น้ำเจ้าพระยาและสร้างถนนเชื่อมจังหวัดธนบุรีกับจังหวัดพระนคร เมื่อพระองค์มีพระบรมราชวินิจฉัยแล้วได้โปรดเกล้าฯ พระราชทานชื่อถนนสายนี้ว่า ถนนประชาธิปกกนกวลี ชูชั.

ใหม่!!: รถไฟฟ้ามหานคร สายฉลองรัชธรรมและถนนประชาธิปก · ดูเพิ่มเติม »

ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 302

ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 302 สายแยกมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์–ต่างระดับบางใหญ่ เป็นทางหลวงแผ่นดินในกรุงเทพมหานครและจังหวัดนนทบุรี ครอบคลุมถนนสองสายต่อเนื่องกัน ได้แก่ ถนนรัตนาธิเบศร์ และถนนงามวงศ์วาน ทางหลวงสายนี้ช่วงที่อยู่ในเขตกรุงเทพมหานครจะอยู่ในเขตควบคุมของกรุงเทพมหานครและแขวงทางหลวงกรุงเทพ ส่วนช่วงที่อยู่ในเขตจังหวัดนนทบุรีจะอยู่ในเขตควบคุมของแขวงทางหลวงนนทบุรี โดยสองหน่วยงานหลังเป็นหน่วยงานสังกัดสำนักงานทางหลวงที่ 13 กรุงเท.

ใหม่!!: รถไฟฟ้ามหานคร สายฉลองรัชธรรมและทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 302 · ดูเพิ่มเติม »

ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 306

ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 306 สายพระราม 7–บางพูน เป็นทางหลวงแผ่นดินที่ก่อสร้างเลียบแม่น้ำเจ้าพระยาทางฝั่งตะวันออก โดยเริ่มต้นตั้งแต่ในเขตกรุงเทพมหานคร บริเวณหน้ามหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ เข้าเขตจังหวัดนนทบุรี ผ่านท้องที่อำเภอเมืองนนทบุรีและอำเภอปากเกร็ด เข้าสู่เขตจังหวัดปทุมธานี มีขนาด 6 ช่องจราจรตลอดเส้นทาง.

ใหม่!!: รถไฟฟ้ามหานคร สายฉลองรัชธรรมและทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 306 · ดูเพิ่มเติม »

ทางด่วนและรถไฟฟ้ากรุงเทพ

ริษัท ทางด่วนและรถไฟฟ้ากรุงเทพ จำกัด (มหาชน) (Bangkok Expressway and Metro Public Company Limited ย่อว่า BEM) บริษัทที่ดำเนินธุรกิจคมนาคมขนส่งซึ่งเป็นโครงการก่อสร้างขนาดใหญ่ซึ่งเป็นความร่วมมือกันระหว่างภาครัฐและเอกชนโดยบริษัทแห่งนี้เป็นคู่สัมปทานกับ การรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนแห่งประเทศไทย (รฟม.) และ การทางพิเศษแห่งประเทศไทย (กทพ.).

ใหม่!!: รถไฟฟ้ามหานคร สายฉลองรัชธรรมและทางด่วนและรถไฟฟ้ากรุงเทพ · ดูเพิ่มเติม »

ทางแยกต่างระดับบางใหญ่

ทางแยกต่างระดับบางใหญ่ (Bang Yai Interchange) หรือ สามแยกบางใหญ่ เป็นทางแยกต่างระดับบริเวณจุดตัดถนนรัตนาธิเบศร์ กับถนนกาญจนาภิเษก ในเขตตำบลเสาธงหิน อำเภอบางใหญ่ จังหวัดนนทบุรี.

ใหม่!!: รถไฟฟ้ามหานคร สายฉลองรัชธรรมและทางแยกต่างระดับบางใหญ่ · ดูเพิ่มเติม »

ทีโอที

ริษัท ทีโอที จำกัด (มหาชน) (TOT Public Company Limited) เป็นรัฐวิสาหกิจประเภทสื่อสารโทรคมนาคม และถือเป็นกิจการโทรศัพท์แห่งชาติของไทย ดำเนินกิจการเกี่ยวกับโทรศัพท์และการสื่อสาร แปรรูปมาจาก องค์การโทรศัพท์แห่งประเทศไทย ซึ่งก่อตั้งเมื่อวันที่ 24 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2497 ปัจจุบันยังคงมีสถานะเป็นรัฐวิสาหกิจ ในสังกัดกระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม โดยมีกระทรวงการคลังเป็นผู้ถือหุ้นทั้งหมด ทีโอที ทำหน้าที่ให้บริการสื่อสารโทรคมนาคมทุกประเภท ทั้งในและระหว่างประเทศ ผ่านบริการต่าง ๆ ทั้งทางสายโทรศัพท์ อินเทอร์เน็ต โทรศัพท์เคลื่อนที่ ซึ่งประกอบด้วยใบอนุญาตแบบที่ 3 (ที่มีโครงข่ายของตนเองเพื่อให้เช่าใช้) เดิมเป็นองค์กรที่ทั้งควบคุมการให้บริการโทรคมนาคม และเป็นผู้ให้บริการวิทยุสื่อสาร แต่ในปัจจุบัน โอนหน้าที่กำกับดูแลไปยัง คณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ (กสทช.).

ใหม่!!: รถไฟฟ้ามหานคร สายฉลองรัชธรรมและทีโอที · ดูเพิ่มเติม »

ท้องสนามหลวง

ท้องสนามหลวง ท้องสนามหลวง หรือ สนามหลวง เป็นสนามขนาดใหญ่ ตั้งอยู่ด้านหน้าวัดมหาธาตุยุวราชรังสฤษฎิ์ ระหว่างพระบรมมหาราชวังกับพระราชวังบวรสถานมงคล เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร มีเนื้อที่ 74 ไร่ 63 ตารางวา ปัจจุบันกรมศิลปากรได้ประกาศขึ้นทะเบียนเป็นโบราณสถานสำคัญของชาติ ในราชกิจจานุเบกษา เล่มที่ 94 ตอนที่ 126 ลงวันที่ 13 ธันวาคม..

ใหม่!!: รถไฟฟ้ามหานคร สายฉลองรัชธรรมและท้องสนามหลวง · ดูเพิ่มเติม »

ขนาดความกว้างรางรถไฟ

นาดความกว้างรางรถไฟ (Track gauge) หรือเรียกอย่างง่ายว่า เกจ (gauge) คือระยะห่างของรางรถไฟ โดยวัดจากหัวรางด้านในข้างซ้ายถึงหัวรางด้านในข้างขวา สแตนดาร์ดเกจ (standard gauge) เป็นชื่อของขนาดความกว้างรางที่นิยมใช้มากที่สุดทั่วโลก โดยประมาณ 60% ของรางรถไฟทั้งหมด โดยมีขนาด 1,435 มม.

ใหม่!!: รถไฟฟ้ามหานคร สายฉลองรัชธรรมและขนาดความกว้างรางรถไฟ · ดูเพิ่มเติม »

คลองรอบกรุง

ลองรอบกรุงและป้ายในปัจจุบัน คลองรอบกรุงในอดีต ด้านหลังคือ ภูเขาทอง วัดสระเกศ คลองรอบกรุง (Khlong Rop Krung) เป็นคลองขุด ที่พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราชโปรดเกล้าฯให้ขุดขึ้นเมื่อ..

ใหม่!!: รถไฟฟ้ามหานคร สายฉลองรัชธรรมและคลองรอบกรุง · ดูเพิ่มเติม »

ตำบลตลาดขวัญ (อำเภอเมืองนนทบุรี)

ตลาดขวัญ เป็นตำบลหนึ่งที่อยู่ในเขตเทศบาลนครนนทบุรี อำเภอเมืองนนทบุรี จังหวัดนนทบุรี ในอดีตยังเป็นชื่อชุมชนเก่าแก่ของจังหวัดนนทบุรีที่เรียกว่า บ้านตลาดขวัญ ซึ่งมีการตั้งถิ่นฐานอยู่อาศัยมาตั้งแต่สมัยกรุงศรีอยุธยา ต่อมาในรัชสมัยสมเด็จพระมหาจักรพรรดิ พระองค์ได้ทรงยกฐานะหมู่บ้านเล็ก ๆ ที่ชื่อว่าบ้านตลาดขวัญแห่งนี้ให้มีฐานะเป็นเมืองนนทบุรีในปี พ.ศ. 2092คณะกรรมการฝ่ายประมวลเอกสารและจดหมายเหตุ ในคณะกรรมการอำนวยการจัดงานเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว.

ใหม่!!: รถไฟฟ้ามหานคร สายฉลองรัชธรรมและตำบลตลาดขวัญ (อำเภอเมืองนนทบุรี) · ดูเพิ่มเติม »

ตำบลไทรม้า

ตำบลไทรม้า เป็นตำบลหนึ่งของอำเภอเมืองนนทบุรี จังหวัดนนทบุรี.

ใหม่!!: รถไฟฟ้ามหานคร สายฉลองรัชธรรมและตำบลไทรม้า · ดูเพิ่มเติม »

ปฏิกูล

ปฏิกูล, ขยะ, ของเสีย หรือ ของทิ้ง (waste) หมายถึง สิ่งที่มนุษย์ไม่ต้องการและหมดประโยชน์แล้ว ปฏิกูลคือสสารใด ๆ ที่ถูกทิ้งหลังจากใช้งานหลัก ไม่มีค่า มีตำหนิ หรือใช้การไม่ได้แล้ว คำว่าปฏิกูล หรือขยะ มักจะเป็นอัตวิสัย (เนื่องจากปฏิกูลของคนคนหนึ่งอาจไม่จำเป็นต้องเป็นปฏิกูลของอีกคนหนึ่ง) และบางครั้งไม่เป็นที่ถูกต้องตามปรวิสัย (ตัวอย่างเช่น การส่งเศษโลหะไปยังหลุมฝังกลบปฏิกูลเป็นการจัดให้เป็นปฏิกูลที่ไม่ถูกต้อง เนื่องจากมันสามารถแปรใช้ใหม่ได้) ตัวอย่างปฏิกูลได้แก่ปฏิกูลจากชุมชน (ขยะจากบ้านเรือน) ปฏิกูลที่เป็นสารอันตราย น้ำเสีย (เช่น น้ำโสโครก ซึ่งประกอบด้วยของเสียจากร่างกาย (อุจจาระ และปัสสาวะ) และน้ำผิวดิน) ปฏิกูลกัมมันตรังสี และอื่น.

ใหม่!!: รถไฟฟ้ามหานคร สายฉลองรัชธรรมและปฏิกูล · ดูเพิ่มเติม »

ประตูกั้นชานชาลา

ประตูกั้นชานชาลาของสถานีรถไฟใต้ดินเซนต์ปีเตอร์สเบิร์ก ประตูกั้นชานชาลาของสถานีรถไฟใต้ดินสิงคโปร์ ประตูกั้นชานชาลาของสถานีรถไฟฟ้าปารีส สาย 14 ประตูกั้นชานชาลาของสถานีรถไฟใต้ดินบาร์เซโลนา ประตูกั้นชานชาลาของสถานีรถไฟใต้ดินไทเป ประตูกั้นชานชาลาของสถานีรถไฟฟ้าเชื่อมท่าอากาศยานโตรอนโต ประตูกั้นชานชาลาของสถานีรถไฟใต้ดินควังจู ประตูกั้นชานชาลาของสถานีรถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคล กรุงเทพมหานคร ประตูกั้นชานชาลาของสถานีรถไฟใต้ดินลอนดอน ประตูกั้นชานชาลา (Platform screen doors, PSDs) เป็นประตูที่กั้นระหว่างชานชาลาสถานีรถไฟฟ้าและขบวนรถไฟฟ้า ส่วนใหญ่มักจะติดตั้งพร้อมกับวันเปิดเดินรถ หรือภายหลังจากนั้น ประตูกั้นชานชาลาแห่งแรกของโลก อยู่ที่สถานีรถไฟใต้ดินเซนต์ปีเตอร์สเบิร์ก ซึ่งเปิดในปี ค.ศ. 1961.

ใหม่!!: รถไฟฟ้ามหานคร สายฉลองรัชธรรมและประตูกั้นชานชาลา · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศญี่ปุ่น

ประเทศญี่ปุ่น (ชื่ออย่างเป็นทางการ) เป็นรัฐเอกราชหมู่เกาะในเอเชียตะวันออก ตั้งอยู่ในมหาสมุทรแปซิฟิกนอกฝั่งตะวันออกของแผ่นดินใหญ่เอเชีย ทางตะวันตกติดกับคาบสมุทรเกาหลีและประเทศจีน โดยมีทะเลญี่ปุ่นกั้น ส่วนทางทิศเหนือติดกับประเทศรัสเซีย มีทะเลโอค็อตสค์เป็นเส้นแบ่งแดน ตัวอักษรคันจิของชื่อญี่ปุ่นแปลว่า "ถิ่นกำเนิดของดวงอาทิตย์" จึงทำให้มักได้ชื่อว่า "ดินแดนแห่งอาทิตย์อุทัย" ประเทศญี่ปุ่นเป็นกลุ่มเกาะกรวยภูเขาไฟสลับชั้นซึ่งมีเกาะประมาณ 6,852 เกาะ เกาะใหญ่สุดคือ เกาะฮนชู ฮกไกโด คีวชู และชิโกกุ ซึ่งคิดเป็นพื้นที่แผ่นดินประมาณร้อยละ 97 ของประเทศญี่ปุ่น และมักเรียกว่าเป็นหมู่เกาะเหย้า (home islands) ประเทศแบ่งเป็น 47 จังหวัดใน 8 ภูมิภาค โดยมีฮกไกโดเป็นจังหวัดเหนือสุด และโอกินาวะเป็นจังหวัดใต้สุด ประเทศญี่ปุ่นมีประชากร 127 ล้านคน เป็นประเทศที่มีประชากรมากที่สุดเป็นอันดับ 10 ของโลก ชาวญี่ปุ่นเป็นร้อยละ 98.5 ของประชากรทั้งหมดของประเทศญี่ปุ่น ประมาณ 9.1 ล้านคนอาศัยอยู่ในกรุงโตเกียว เมืองหลวงของประเทศ การวิจัยทางโบราณคดีระบุว่ามีมนุษย์อาศัยในญี่ปุ่นปัจจุบันครั้งแรกตั้งแต่ยุคหินเก่า การกล่าวถึงญี่ปุ่นเป็นลายลักษณ์อักษรครั้งแรกปรากฏในบันทึกของราชสำนักจีนตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 1 ญี่ปุ่นได้รับอิทธิพลจากจีนในหลายด้าน เช่นภาษา การปกครองและวัฒนธรรม แต่ขณะเดียวกันก็มีการปรับเปลี่ยนให้เป็นเอกลักษณ์ของตนเอง จึงทำให้ญี่ปุ่นมีวัฒนธรรมที่โดดเด่นมาจนปัจจุบัน อีกหลายศตวรรษต่อมา ญี่ปุ่นก็รับเอาเทคโนโลยีตะวันตกและนำมาพัฒนาประเทศจนกลายเป็นประเทศที่ก้าวหน้าและมีอิทธิพลมากที่สุดในเอเชียตะวันออก หลังจากแพ้สงครามโลกครั้งที่สอง ญี่ปุ่นก็มีการเปลี่ยนแปลงทางการปกครองโดยการใช้รัฐธรรมนูญใหม่ใน..

ใหม่!!: รถไฟฟ้ามหานคร สายฉลองรัชธรรมและประเทศญี่ปุ่น · ดูเพิ่มเติม »

ปัสสาวะ

ตัวอย่างปัสสาวะมนุษย์ปัสสาวะ (ภาษาปากว่า ฉี่, เยี่ยว หรือ เบา) เป็นของเสียในรูปของเหลวที่ร่างกายขับถ่ายออกมาโดยไต ด้วยกระบวนการกรองจากเลือดและขับออกทางท่อปัสสาวะ ซึ่งเป็นผลจากกระบวนการสร้างและสลายในระดับเซลล์ (cellular metabolism) แล้วทำให้เกิดสารประกอบไนโตรเจนที่เป็นของเสียจำนวนมาก ซึ่งจำเป็นต้องกำจัดออกจากกระแสเลือ.

ใหม่!!: รถไฟฟ้ามหานคร สายฉลองรัชธรรมและปัสสาวะ · ดูเพิ่มเติม »

ปูนซิเมนต์ไทย

อสซีจี หรือ บริษัท ปูนซิเมนต์ไทย จำกัด (มหาชน) (Siam Cement Group ชื่อย่อ: SCG) เอสซีจี หรือเรียกสั้นๆว่า "ปูนใหญ่" เป็นกลุ่มบริษัทชั้นนำในภูมิภาคอาเซียนที่ดำเนินธุรกิจมากว่า 100 ปี ก่อตั้งในประเทศไทยเมื่อปี 2456 ตามพระบรมราชโองการในพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 6 เพื่อผลิตปูนซีเมนต์ วัสดุก่อสร้าง ปัจจุบันเอสซีจีประกอบด้วย 3 กลุ่มธุรกิจหลัก ได้แก่ เอสซีจี ซิเมนต์-ผลิตภัณฑ์ก่อสร้าง เอสซีจี เคมิคอลส์ และ เอสซีจี แพคเกจจิ้ง.

ใหม่!!: รถไฟฟ้ามหานคร สายฉลองรัชธรรมและปูนซิเมนต์ไทย · ดูเพิ่มเติม »

ป้อมพระจุลจอมเกล้า

ป้อมพระจุลจอมเกล้า หรือเรียกสั้นๆว่า "ป้อมพระจุล" เป็นป้อมปราการทางน้ำ ตั้งอยู่ที่ตำบลแหลมฟ้าผ่า อำเภอพระสมุทรเจดีย์ จังหวัดสมุทรปราการ สร้างขึ้นเมื่อใด ไม่พบหลักฐานแน่ชัด แต่คาดว่าสร้างขึ้นในราวเดือน มีนาคม พ.ศ. 2427 ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เพื่อป้องกันการรุกรานจากอังกฤษและฝรั่งเศส ซึ่งเป็นชัยภูมิเหมาะสม หากมีเรือรบของข้าศึกบุกเข้ามาทางปากน้ำ ป้อมแห่งนี้สร้างเป็นป้อมปืนใหญ่แบบตะวันตก และได้ติดตั้งปืนใหญ่อาร์มสตรอง 152 มม.

ใหม่!!: รถไฟฟ้ามหานคร สายฉลองรัชธรรมและป้อมพระจุลจอมเกล้า · ดูเพิ่มเติม »

น้ำลาย

แพทย์กำลังเก็บตัวอย่างน้ำลายของคนไข้ น้ำลาย คือสสารที่คล้ายน้ำและมักจะเป็นฟอง ถูกผลิตขึ้นในปากของมนุษย์และสัตว์อื่นๆ เป็นส่วนใหญ่ น้ำลายถูกผลิตขึ้นจากต่อมน้ำลาย น้ำลายของมนุษย์ประกอบด้วยน้ำ 98% ส่วนที่เหลือเป็นอิเล็กโทรไลต์ เมือก สารยับยั้งแบคทีเรีย และเอนไซม์ชนิดต่างๆ เอนไซม์ในน้ำลายสามารถย่อยแป้งที่อยู่ในอาหารในระดับโมเลกุล ซึ่งเป็นจุดเริ่มต้นของกระบวนการย่อยอาหาร น้ำลายช่วยชะล้างอาหารที่ติดอยู่ตามซอกฟันและปกป้องไม่ให้เกิดการเน่าเสียจากแบคทีเรีย นอกจากนี้ น้ำลายยังช่วยหล่อลื่นและปกป้องฟัน ลิ้น และเนื้อเยื่ออ่อนบางภายในช่องปาก สัตว์หลายชนิดมีพัฒนาการการใช้น้ำลายเฉพาะทางมากไปกว่าการย่อยอาหาร นกนางแอ่นใช้น้ำลายที่เหนียวคล้ายยางในการสร้างรัง ซึ่งรังนกนางแอ่นนี้ใช้ทำเครื่องดื่มรังนก Marcone, M. F. (2005).

ใหม่!!: รถไฟฟ้ามหานคร สายฉลองรัชธรรมและน้ำลาย · ดูเพิ่มเติม »

แม่น้ำเจ้าพระยา

แม่น้ำเจ้าพระยา เป็นแม่น้ำสายหลักสายหนึ่งของประเทศไทย เกิดจากการรวมตัวของแม่น้ำสายหลัก 2 สายจากภาคเหนือ คือแม่น้ำปิงและแม่น้ำน่าน ที่ตำบลปากน้ำโพ อำเภอเมืองนครสวรรค์ จังหวัดนครสวรรค์ จากนั้นไหลลงไปทางทิศใต้ ผ่านจังหวัดอุทัยธานี ชัยนาท สิงห์บุรี อ่างทอง พระนครศรีอยุธยา ปทุมธานี นนทบุรี และกรุงเทพมหานคร ก่อนออกสู่อ่าวไทยที่ปากน้ำ ซึ่งอยู่ระหว่างเขตตำบลท้ายบ้าน ตำบลบางปูใหม่ อำเภอเมืองสมุทรปราการ และตำบลแหลมฟ้าผ่า อำเภอพระสมุทรเจดีย์ จังหวัดสมุทรปราการ.

ใหม่!!: รถไฟฟ้ามหานคร สายฉลองรัชธรรมและแม่น้ำเจ้าพระยา · ดูเพิ่มเติม »

แยกบางบัวทอง

แยกบางบัวทอง (Bang Bua Thong Intersection) เป็นสี่แยกจุดตัดถนนกาญจนาภิเษกกับถนนบางกรวย-ไทรน้อย ในเขตตำบลบางบัวทอง อำเภอบางบัวทอง จังหวัดนนทบุรี.

ใหม่!!: รถไฟฟ้ามหานคร สายฉลองรัชธรรมและแยกบางบัวทอง · ดูเพิ่มเติม »

แยกบางพลู

แยกบางพลู (Bang Phlu Intersection) เป็นสี่แยกจุดตัดระหว่างถนนรัตนาธิเบศร์กับถนนบางกรวย-ไทรน้อย ในเขตตำบลบางรักใหญ่ อำเภอบางบัวทอง จังหวัดนนทบุรี.

ใหม่!!: รถไฟฟ้ามหานคร สายฉลองรัชธรรมและแยกบางพลู · ดูเพิ่มเติม »

แยกบางกระบือ

แยกบางกระบือ (Bang Krabue Intersection) ทางแยกหนึ่งในพื้นที่แขวงถนนนครไชยศรี เขตดุสิต กรุงเทพมหานคร เป็นสี่แยกที่ตัดกันระหว่างถนนสามเสน, ถนนอำนวยสงคราม และถนนเขียวไข่กา ชื่อ "บางกระบือ" มาจากในอดีต พื้นที่นี้เป็นบริเวณที่ติดริมแม่น้ำเจ้าพระยา เป็นสถานที่ ๆ พักขบวนวัวควายที่ต้อนมาจากภาคอีสาน โดยผ่านมาจากสะพานควายในพื้นที่อำเภอพญาไท และยังใช้เป็นที่ตกลงซื้อขายกันอีกด้วย โดยพื้นที่บางกระบือนี้ในรัชสมัยรัชกาลที่ 5 มีฐานะเป็นตำบลมี 13 หมู่บ้าน ขึ้นกับอำเภอบางซื่อ จังหวัดพระนคร และมีเส้นทางคมนาคมหลัก คือ ทางน้ำโดยคลองบางกระบือ ซึ่งเชื่อมต่อจากแม่น้ำเจ้าพระยา มาบรรจบกับคลองเปรมประชากร บริเวณสะพานวัดบางกระบือ (วัดประชาระบือธรรม) และบริเวณถนนสามเสนริมฝั่งแม่น้ำเจ้าพระยาไปจนถึงแยกเกียกกาย ยังเป็นที่ตั้งของโรงสีจำนวนมากถึง 84 แห่ง มีท่าเรือและอู่เรือ รวมถึงเป็นต้นสายของรถราง และยังเป็นแหล่งชุมนุมของนกนางนวลอพยพที่หนีหนาวมาจากต่างประเทศอีกด้ว.

ใหม่!!: รถไฟฟ้ามหานคร สายฉลองรัชธรรมและแยกบางกระบือ · ดูเพิ่มเติม »

แยกบางลำพู

แยกบางลำพู (Bang Lamphu Intersection) เป็นทางแยกในลักษณะสี่แยกในพื้นที่บางลำพู แขวงชนะสงคราม เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร เป็นจุดตัดกันของถนนพระสุเมรุ, ถนนสามเสน และถนนจักรพงษ์ โดยถือว่าเป็นจุดเริ่มต้นของถนนสามเสนและถนนจักรพงษ์ ในอดีต บริเวณทางแยกทางฝั่งถนนพระสุเมรุนี้เป็นที่ตั้งห้างนิวเวิลด์ ห้างสรรพสินค้าขนาดใหญ่ที่เปิดดำเนินกิจการมาตั้งแต่ปี..

ใหม่!!: รถไฟฟ้ามหานคร สายฉลองรัชธรรมและแยกบางลำพู · ดูเพิ่มเติม »

แยกมไหสวรรย์

แยกมไหสวรรย์ (Mahaisawan Intersection) เป็นสี่แยกบริเวณจุดตัดระหว่างถนนสมเด็จพระเจ้าตากสิน, ถนนรัชดาภิเษก และถนนมไหสวรรย์ ตั้งอยู่ในพื้นที่แขวงดาวคะนอง เขตธนบุรี กรุงเทพมหานคร โดยเป็นจุดเริ่มต้นของถนนรัชดาภิเษกและถนนมไหสวรรย์ ทางแยกนี้อยู่ใต้สะพานพระราม 3 (สะพานกรุงเทพ 2) ในฝั่งธนบุรี และมีโครงการก่อสร้างอุโมงค์ลอดทางแยกในแนวถนนสมเด็จพระเจ้าตากสินซึ่งคาดว่าจะแล้วเสร็จในเดือนมกราคม..

ใหม่!!: รถไฟฟ้ามหานคร สายฉลองรัชธรรมและแยกมไหสวรรย์ · ดูเพิ่มเติม »

แยกวงศ์สว่าง

แยกวงศ์สว่าง (Wong Sawang Intersection) เป็นสี่แยกจุดตัดระหว่างถนนกรุงเทพฯ-นนทบุรี ถนนวงศ์สว่าง และถนนรัชดาภิเษก ในท้องที่แขวงวงศ์สว่าง เขตบางซื่อ กรุงเทพมหานคร.

ใหม่!!: รถไฟฟ้ามหานคร สายฉลองรัชธรรมและแยกวงศ์สว่าง · ดูเพิ่มเติม »

แยกสำราญราษฎร์

แยกสำราญราษฎร์ (Samran Rat Intersection) เป็นสี่แยกจุดตัดถนนบำรุงเมืองและถนนมหาไชย ในพื้นที่เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร ซึ่งสำราญราษฎร์เป็นชื่อที่ทางการตั้งให้แทนชื่อย่านที่เรียกดั้งเดิมว่า ประตูผี.

ใหม่!!: รถไฟฟ้ามหานคร สายฉลองรัชธรรมและแยกสำราญราษฎร์ · ดูเพิ่มเติม »

แยกติวานนท์

แยกติวานนท์ (Tiwanon Intersection) เป็นสี่แยกจุดตัดระหว่างถนนติวานนท์ ถนนประชาราษฎร์ ถนนกรุงเทพฯ-นนทบุรี และถนนนครอินทร์ ในเขตตำบลตลาดขวัญ อำเภอเมืองนนทบุรี จังหวัดนนทบุรี.

ใหม่!!: รถไฟฟ้ามหานคร สายฉลองรัชธรรมและแยกติวานนท์ · ดูเพิ่มเติม »

แยกแคราย

แยกแคราย (Khae Rai Intersection) เป็นทางแยกจุดตัดระหว่างถนนติวานนท์ ถนนรัตนาธิเบศร์ และถนนงามวงศ์วาน ในท้องที่หมู่ที่ 9 ตำบลบางกระสอ อำเภอเมืองนนทบุรี จังหวัดนนทบุรี การจราจรบริเวณทางแยกนี้จะติดขัดมากเป็นพิเศษในช่วงเวลาเร่งด่วน.

ใหม่!!: รถไฟฟ้ามหานคร สายฉลองรัชธรรมและแยกแคราย · ดูเพิ่มเติม »

แยกเกียกกาย

แยกเกียกกาย (Kiakkai Intersection) เป็นสี่แยกจุดตัดระหว่างถนนประชาราษฎร์ สาย 1, ถนนทหาร และถนนสามเสน ในพื้นที่แขวงถนนนครไชยศรี เขตดุสิต กรุงเทพมหานคร คำว่า "เกียกกาย" เป็นศัพท์โบราณที่ใช้เรียกกองทหารส่วนดูแลเสบียง หรือเทียบได้กับกองพลาธิการ ในยุคปัจจุบัน รอบ ๆ แยกเกียกกายเป็นแหล่งที่ตั้งของค่ายทหารต่าง ๆ ในส่วนของกองทัพบก เช่น กองพันทหารม้าที่ 3 รักษาพระองค์ กรมทหารม้าที่ 1 รักษาพระองค์, กองพันทหารม้าที่ 4 กองพลที่ 1 รักษาพระองค์, กองพลทหารปืนใหญ่ต่อสู้อากาศยาน, กรมทหารปืนใหญ่ที่ 1 รักษาพระองค์ สถานีวิทยุกระจายเสียง ศูนย์การทหารม้า (วิทยุยานเกราะ) เป็นต้น ซึ่งหลายแห่งได้เป็นหน่วยที่ได้เกี่ยวข้องกับประวัติศาสตร์ความเปลี่ยนแปลงของประเทศชาติในหลายยุคสมัย เช่น การเปลี่ยนแปลงการปกครอง พ.ศ. 2475, เหตุการณ์ 6 ตุลา, กบฏเมษาฮาวาย หรือกบฏ 9 กันยา เป็นต้น และเคยเป็นที่ตั้งของโรงเรียนโยธินบูรณะ ที่อยู่ฝั่งถนนสามเสน ริมฝั่งแม่น้ำเจ้าพระยา ต่อมาในปี..

ใหม่!!: รถไฟฟ้ามหานคร สายฉลองรัชธรรมและแยกเกียกกาย · ดูเพิ่มเติม »

แขวงบางมด (เขตจอมทอง)

แขวงบางมด เป็นท้องที่การปกครองระดับแขวงที่มีพื้นที่มากที่สุดในเขตจอมทอง กรุงเทพมหานคร สภาพพื้นที่โดยทั่วไปเป็นแหล่งที่อยู่อาศั.

ใหม่!!: รถไฟฟ้ามหานคร สายฉลองรัชธรรมและแขวงบางมด (เขตจอมทอง) · ดูเพิ่มเติม »

แขวงบางปะกอก

แขวงบางปะกอก เป็นท้องที่การปกครองระดับแขวงหนึ่งในสองแห่งของเขตราษฎร์บูรณะ กรุงเทพมหานคร สภาพพื้นที่โดยทั่วไปเป็นแหล่งที่อยู่อาศั.

ใหม่!!: รถไฟฟ้ามหานคร สายฉลองรัชธรรมและแขวงบางปะกอก · ดูเพิ่มเติม »

แขวงราษฎร์บูรณะ

แขวงราษฎร์บูรณะ เป็นท้องที่การปกครองระดับแขวงหนึ่งในสองแห่งของเขตราษฎร์บูรณะ กรุงเทพมหานคร สภาพพื้นที่โดยทั่วไปเป็นแหล่งที่อยู่อาศั.

ใหม่!!: รถไฟฟ้ามหานคร สายฉลองรัชธรรมและแขวงราษฎร์บูรณะ · ดูเพิ่มเติม »

แขวงจอมทอง

แขวงจอมทอง เป็นท้องที่การปกครองแห่งหนึ่งของเขตจอมทอง กรุงเทพมหานคร สภาพโดยทั่วไปเป็นที่อยู่อาศั.

ใหม่!!: รถไฟฟ้ามหานคร สายฉลองรัชธรรมและแขวงจอมทอง · ดูเพิ่มเติม »

โจรกรรม

รกรรม (ศัพท์ทางศาสนาเรียกว่า ไถยกรรม) หมายถึงการกระทำที่นำเอาทรัพย์สินของผู้อื่นโดยเจตนา เพื่อยึดทรัพย์สินนั้นมาเป็นของตน ซึ่งเจ้าของทรัพย์สินไม่ได้อนุญาตหรือยินยอม คำนี้สามารถเรียกแทนอาชญากรรมบางประเภทที่เกี่ยวข้องกับทรัพย์สินอาทิ การลักทรัพย์ (ขโมย) การลักทรัพย์ในเคหสถาน (ย่องเบา/ยกเค้า) การลักทรัพย์ในร้านค้า การยักยอก การชิงทรัพย์ (ปล้น) การฉกชิงทรัพย์ (ปล้นสะดม) และการฉ้อโกง ในบางเขตอำนาจศาล "โจรกรรม" (theft) มีความหมายเหมือนกับ "การลักทรัพย์" (larceny) โจร หมายถึงผู้ที่กระทำโจรกรรมดังกล่าว ภาษาพูดอาจเรียกว่า ผู้ร้าย โบราณเรียก ฎางการ ก็มี ราชบัณฑิตยสถาน.

ใหม่!!: รถไฟฟ้ามหานคร สายฉลองรัชธรรมและโจรกรรม · ดูเพิ่มเติม »

โตชิบา

ตชิบา คอร์ปอเรชัน (株式会社東芝 คะบุชิกิ-ไงฉะ โทชิบะ) หรือเรียกสั้นๆว่า โตชิบา เป็นกลุ่มบริษัทข้ามชาติจากประเทศญี่ปุ่น มีสำนักงานใหญ่ตั้งอยู่ในกรุงโตเกียว มีผลิตภัณฑ์และบริการมากมายหลากหลายกลุ่ม ซึ่งรวมไปถึงเทคโนโลยีสารสนเทศและอุปกรณ์และระบบโทรคมนาคม เครื่องใช้ไฟฟ้าและชิ้นส่วน, ระบบไฟฟ้าและพลังงาน, โครงสร้างพื้นฐานทางสังคมและอุตสาหกรรม, เครื่องใช้ไฟฟ้าในครัวเรือน, อุปกรณ์ภายในบ้าน เครื่องมือทางการแพทย์, อุปกรณ์สำนักงาน, ระบบส่องสว่าง และระบบขนส่ง โตชิบา คอร์ปอเรชัน จกทะเบียนขึ้นในปี..

ใหม่!!: รถไฟฟ้ามหานคร สายฉลองรัชธรรมและโตชิบา · ดูเพิ่มเติม »

เมตร

มตร อักษรย่อ ม. (mètre → metre meter The Metric Conversion Act of 1975 gives the Secretary of Commerce of the US the responsibility of interpreting or modifying the SI for use in the US., m) เป็นหน่วยฐานเอสไอของความยาวในหน่วยเอสไอ แต่เดิมนิยามว่าหนึ่งเมตรเท่ากับ 1/10,000,000 ของระยะทางจากเส้นศูนย์สูตรของโลกไปยังขั้วโลกเหนือวัดจากเส้นรอบวงที่ผ่านเมืองปารีส แต่เนื่องจากความแม่นยำทางมาตรวิทยา ที่มีมากขึ้น ตั้งแต่ปีพ.ศ. 2526 ความยาวหนึ่งเมตรจึงถูกนิยามไว้ให้เท่ากับความยาวที่แสงเดินทางได้ในสุญญากาศ ในช่วงเวลา วินาที.

ใหม่!!: รถไฟฟ้ามหานคร สายฉลองรัชธรรมและเมตร · ดูเพิ่มเติม »

เสมหะ

มหะ เสลดหรือสิ่งขาก (Phlegm) เป็นของไหลเหนียวที่ผลิตโดยเยื่อเมือกของมนุษย์และสัตว์อื่นๆ คำจำกัดความของเสหะคือเมือกที่ผลิตโดยระบบการหายใจนอกจากเมือกที่ออกมาทางช่องจมูกโดยเฉพาะที่ออกมาจากร่างกายโดยการจาม ส่วนผสมของเสหะอาจไม่เหมือนกันในแต่ละคนขึ้นอยู่กับสภาพอากาศ สถานะของระบบภูมิต้านทาน หรือพันธุกรรมของคน ทั้งนี้ เสมหะยังเป็นเจลที่มีส่วนผสมของน้ำเป็นหลักและมีสารประกอบโปรตีน โปรตีนที่เกี่ยวกับภูมิคุ้มกันโรค ลิพิดและอื่นๆอีกมากมาย เสมหะอาจจะมีหลายสีแตกต่างกันไป.

ใหม่!!: รถไฟฟ้ามหานคร สายฉลองรัชธรรมและเสมหะ · ดูเพิ่มเติม »

เทศบาลนครนนทบุรี

นนทบุรี เป็นเทศบาลนครขนาดใหญ่ ตั้งอยู่ในเขตอำเภอเมืองนนทบุรี จังหวัดนนทบุรี เป็นเมืองหลักของจังหวัดนนทบุรี ภายในเขตเทศบาลมีประชากรกว่า 250,000 คน ทำให้เป็นเทศบาลนครที่มีจำนวนประชากรมากที่สุดในประเทศไทย เนื่องจากตั้งอยู่ในชานเมืองซึ่งมีอาณาเขตติดต่อกับกรุงเทพมหานคร และเป็นส่วนหนึ่งของพื้นที่กรุงเทพมหานครและปริมณฑล.

ใหม่!!: รถไฟฟ้ามหานคร สายฉลองรัชธรรมและเทศบาลนครนนทบุรี · ดูเพิ่มเติม »

เทสโก้ โลตัส

ทสโก้ โลตัส (Tesco Lotus) เป็นกลุ่มไฮเปอร์มาร์เก็ตในประเทศไทย ดำเนินการตั้งแต่ปี 2537 เดิมใช้ชื่อว่า โลตัส ซูเปอร์เซ็นเตอร์ (Lotus Supercenter) โดยเครือเจริญโภคภัณฑ์ ในนามของบริษัท เอก-ชัย ดิสทริบิวชั่นซิสเทม จำกัด เปิดให้บริการสาขาแรกที่ซีคอนสแควร์ เครือเจริญโภคภัณฑ์ขายหุ้นส่วนใหญ่ให้กับกลุ่มเทสโก้เมื่อปี พ.ศ. 2541 ซึ่งเป็นกลุ่มธุรกิจค้าปลีกข้ามชาติจากสหราชอาณาจักร ซึ่งเป็นที่มาให้เกิดการควบรวมชื่อเป็น เทสโก้โลตัส ในปัจจุบัน โดยเทสโก้โลตัสในปัจจุบัน ได้มีการแบ่งรูปแบบตามขนาด และวิถีชีวิตของแต่ละท้องที.

ใหม่!!: รถไฟฟ้ามหานคร สายฉลองรัชธรรมและเทสโก้ โลตัส · ดูเพิ่มเติม »

เขตบางซื่อ

ตบางซื่อ เป็น 1 ใน 50 เขตการปกครองของกรุงเทพมหานคร จัดอยู่ในกลุ่มเขตกรุงเทพเหนือ สภาพพื้นที่โดยทั่วไปเป็นแหล่งการค้า การบริการ และแหล่งที่อยู่อาศัยหนาแน่นมาก.

ใหม่!!: รถไฟฟ้ามหานคร สายฉลองรัชธรรมและเขตบางซื่อ · ดูเพิ่มเติม »

เขตพระนคร

ตพระนคร เป็น 1 ใน 50 เขตการปกครองของกรุงเทพมหานคร อยู่ในกลุ่มเขตกรุงเทพกลาง ถือเป็นเขตอนุรักษ์เมืองเก่า แหล่งท่องเที่ยวเชิงประวัติศาสตร์และศิลปวัฒนธรรมทางฝั่งพระนคร เนื่องจากมีสถานที่สำคัญทั้งทางด้านวัฒนธรรมและด้านการเมืองการปกครองตั้งอยู่เป็นจำนวนมาก ซึ่งเขตพระนครเป็นที่ตั้งของเกาะรัตนโกสินทร์ในปัจจุบัน.

ใหม่!!: รถไฟฟ้ามหานคร สายฉลองรัชธรรมและเขตพระนคร · ดูเพิ่มเติม »

เขตราษฎร์บูรณะ

ตราษฎร์บูรณะ เป็น 1 ใน 50 เขตการปกครองของกรุงเทพมหานคร อยู่ในกลุ่มเขตตากสิน ซึ่งถือเป็นแหล่งจ้างงานใหม่ ที่อยู่อาศัยหนาแน่นมาก และศูนย์ราชการทางทิศตะวันตกของกรุงเทพมหานคร.

ใหม่!!: รถไฟฟ้ามหานคร สายฉลองรัชธรรมและเขตราษฎร์บูรณะ · ดูเพิ่มเติม »

เขตจอมทอง

ตจอมทอง เป็น 1 ใน 50 เขตการปกครองของกรุงเทพมหานคร จัดอยู่ในกลุ่มเขตตากสิน ซึ่งถือเป็นแหล่งจ้างงานใหม่ ที่อยู่อาศัยหนาแน่นมาก และศูนย์ราชการทางทิศตะวันตกของกรุงเทพมหานคร.

ใหม่!!: รถไฟฟ้ามหานคร สายฉลองรัชธรรมและเขตจอมทอง · ดูเพิ่มเติม »

เขตธนบุรี

ตธนบุรี เป็น 1 ใน 50 เขตการปกครองของกรุงเทพมหานคร อยู่ในกลุ่มเขตกรุงธนเหนือ ซึ่งถือเป็นเขตอนุรักษ์เมืองเก่า แหล่งท่องเที่ยวเชิงประวัติศาสตร์และศิลปวัฒนธรรมทางฝั่งธนบุรี.

ใหม่!!: รถไฟฟ้ามหานคร สายฉลองรัชธรรมและเขตธนบุรี · ดูเพิ่มเติม »

เขตดุสิต

ตดุสิต เป็น 1 ใน 50 เขตการปกครองของกรุงเทพมหานคร อยู่ในกลุ่มเขตกรุงเทพกลาง สภาพพื้นที่ประกอบไปด้วยแหล่งการค้า แหล่งที่อยู่อาศัยหนาแน่นมาก เขตทหาร แหล่งท่องเที่ยวเชิงประวัติศาสตร์และศิลปวัฒนธรรม นอกจากนี้ยังเป็นสถานที่ที่ตั้งรัฐสภา กระทรวงต่าง ๆ และพระราชวัง จึงทำให้เขตนี้มีลักษณะราวกับว่าเป็นเขตการปกครองส่วนกลางของประเทศไทย อนึ่ง ที่ทำการสำนักงานส่วนภูมิภาคและสำนักงานประจำประเทศไทย ขององค์การสหประชาชาติ และขององค์การระหว่างประเทศหลายองค์การ ก็อยู่ในพื้นที่เขตนี้.

ใหม่!!: รถไฟฟ้ามหานคร สายฉลองรัชธรรมและเขตดุสิต · ดูเพิ่มเติม »

เขตคลองสาน

ตคลองสาน เป็น 1 ใน 50 เขตการปกครองของกรุงเทพมหานคร อยู่ในกลุ่มเขตกรุงธนบุรี ซึ่งถือเป็นเขตอนุรักษ์เมืองเก่า แหล่งท่องเที่ยวเชิงประวัติศาสตร์และศิลปวัฒนธรรมทางฝั่งธนบุรี.

ใหม่!!: รถไฟฟ้ามหานคร สายฉลองรัชธรรมและเขตคลองสาน · ดูเพิ่มเติม »

เซ็นทรัลพัฒนา

ริษัท เซ็นทรัลพัฒนา จำกัด (มหาชน) (ย่อ: CPN) เป็นบริษัทสำหรับการพัฒนา ดูแล และบริหารโครงการอสังหาริมทรัพย์ขนาดใหญ่ทั้งในและต่างประเทศ ภายใต้การดำเนินการของกลุ่มเซ็นทรัล กลุ่มเตชะไพบูลย์ กลุ่มสหยูเนี่ยน และกลุ่มบุคคลอื่น ๆ ปัจจุบันดูแลโครงการอสังหาริมทรัพย์อยู่ทั้งหมด 30 แห่ง และกำลังก่อสร้างเพิ่มอีก 4 แห่ง.

ใหม่!!: รถไฟฟ้ามหานคร สายฉลองรัชธรรมและเซ็นทรัลพัฒนา · ดูเพิ่มเติม »

6 สิงหาคม

วันที่ 6 สิงหาคม เป็นวันที่ 218 ของปี (วันที่ 219 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 147 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: รถไฟฟ้ามหานคร สายฉลองรัชธรรมและ6 สิงหาคม · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

รถไฟฟ้า สายสีม่วงรถไฟฟ้ามหานคร สายสีม่วงรถไฟฟ้ามหานครสายสีม่วงรถไฟฟ้าสายสีม่วงสถานีกระทรวงสาธารณสุขสถานีรัฐสภาสถานีราษฎร์บูรณะสถานีวงศ์สว่างสถานีวงเวียนใหญ่ (รถไฟฟ้ามหานคร)สถานีศรีย่านสถานีศรีพรสวรรค์สถานีศูนย์ราชการจังหวัดนนทบุรีสถานีศูนย์ราชการนนทบุรีสถานีสะพานพระนั่งเกล้าสถานีสะพานพุทธสถานีสามแยกบางใหญ่สถานีสามเสน (รถไฟฟ้ามหานคร)สถานีสำเหร่สถานีหอสมุดแห่งชาติสถานีบางกระสอสถานีบางรักน้อย-ท่าอิฐสถานีบางรักใหญ่สถานีบางพลูสถานีบางขุนพรหมสถานีบางปะกอกสถานีบางปะแก้วสถานีพระประแดงสถานีจอมทองสถานีท่าอิฐสถานีดาวคะนองสถานีครุในสถานีประชาอุทิศสถานีแยกติวานนท์สถานีแยกนนทบุรี 1สถานีไทรม้าสถานีเตาปูนสถานีเตาปูน (รถไฟฟ้ามหานคร สายสายเฉลิมรัชมงคล)สถานีเตาปูน (รถไฟฟ้ามหานคร สายฉลองรัชธรรม)

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »