สารบัญ
23 ความสัมพันธ์: พระบรมบรรพตกรุงเทพมหานครภัตตาคารมิชลินไกด์รายชื่อทางแยกในกรุงเทพมหานครร้านเจ๊ไฝวัดสระเกศราชวรมหาวิหารวัดเทพธิดารามวรวิหารสวนรมณีนาถสะพานสมมตอมรมารคอาหารข้างถนนผัดไทยถนนบำรุงเมืองถนนมหาไชยขนมเบื้องคลองรอบกรุงป้อมมหากาฬไทยรัฐเย็นตาโฟเสาชิงช้าเอ็มไทยเอเอสทีวีผู้จัดการเขตพระนคร
- ทางแยกในกรุงเทพมหานคร
- แขวงในกรุงเทพมหานคร
พระบรมบรรพต
รมบรรพต หรือ ภูเขาทอง เป็นเจดีย์บนภูเขาจำลองตั้งอยู่ในวัดสระเกศราชวรมหาวิหาร เขตป้อมปราบศัตรูพ่าย กรุงเทพมหานคร จากพระราชประสงค์เดิมของพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว ที่ทรงดำริให้สร้างพระปรางค์ย่อมุมไม้สิบสองขนาดใหญ่อยู่ทางทิศตะวันออกของพระนคร คล้ายพระเจดีย์วัดภูเขาทองที่กรุงศรีอยุธยา แต่เนื่องจากโครงสร้างมีน้ำหนักมาก ดินเลนในบริเวณนั้นไม่สามารถรองรับได้ องค์ปรางค์จึงทะลายลงมา ต่อมาในสมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว มีการเปลี่ยนแบบให้เป็นภูเขาทองขึ้นดั่งเช่นในปัจจุบัน ซึ่งพระองค์ได้ทรงวางศิลาฤกษ์เมื่อปี..
ดู แยกสำราญราษฎร์และพระบรมบรรพต
กรุงเทพมหานคร
กรุงเทพมหานคร เป็นเมืองหลวงและนครที่มีประชากรมากที่สุดของประเทศไทย เป็นศูนย์กลางการปกครอง การศึกษา การคมนาคมขนส่ง การเงินการธนาคาร การพาณิชย์ การสื่อสาร และความเจริญของประเทศ เป็นเมืองที่มีชื่อยาวที่สุดในโลก ตั้งอยู่บนสามเหลี่ยมปากแม่น้ำเจ้าพระยา มีแม่น้ำเจ้าพระยาไหลผ่านและแบ่งเมืองออกเป็น 2 ฝั่ง คือ ฝั่งพระนครและฝั่งธนบุรี กรุงเทพมหานครมีพื้นที่ทั้งหมด 1,568.737 ตร.กม.
ดู แยกสำราญราษฎร์และกรุงเทพมหานคร
ภัตตาคาร
ัตตาคาร หรือ ร้านอาหาร เป็นร้านที่คอยบริการอาหารตามความต้องการของลูกค้า ตามพจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน..
มิชลินไกด์
หน้าปกมิชลินไกด์ฉบับปี ค.ศ. 1929 สัญลักษณ์ดาวสามดวง มิชลินไกด์ (Michelin Guide) หรือ กีดมิชแล็ง เป็นหนังสือคู่มือที่บรรจุเนื้อหาเกี่ยวกับข้อมูลการเดินทาง แผนที่ สถานที่ท่องเที่ยว สถานที่พักแรม รวมถึงร้านอาหารขึ้นชื่อของสถานที่หรือประเทศต่าง ๆ โดยบริษัทมิชลิน บริษัทยางรถยนต์รายใหญ่ของโลกสัญชาติฝรั่งเศส ที่ก่อตั้งขึ้นในปี..
ดู แยกสำราญราษฎร์และมิชลินไกด์
รายชื่อทางแยกในกรุงเทพมหานคร
รายชื่อทางแยกในกรุงเทพมหานคร เฉพาะทางแยกสัญญาณไฟจราจร ทางแยกต่างระดับ รวมทั้งทางแยกบางแห่งที่ไม่มีสัญญาณไฟจราจรและไม่ใช่ทางแยกต่างระดับ แต่มีชื่อเรียกอย่างเป็นทางการ.
ดู แยกสำราญราษฎร์และรายชื่อทางแยกในกรุงเทพมหานคร
ร้านเจ๊ไฝ
ญญา จันสุตะ หรือเจ๊ไฝ บรรยากาศภายในร้าน ร้านเจ๊ไฝ เป็นร้านอาหารริมทางบริเวณทางแยกสำราญราษฎร์ (ประตูผี) เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร มีชื่อเสียงจากเป็นร้านอาหารริมทางแห่งแรกของโลกที่ได้ 1 ดาวจากมิชลินไก.
วัดสระเกศราชวรมหาวิหาร
วัดสระเกศ เป็นพระอารามหลวงชั้นโท ชนิดราชวรมหาวิหาร ตั้งอยู่ริมคลองมหานาค เขตป้อมปราบศัตรูพ่าย มีจุดเด่นคือ พระบรมบรรพต.
ดู แยกสำราญราษฎร์และวัดสระเกศราชวรมหาวิหาร
วัดเทพธิดารามวรวิหาร
วัดเทพธิดารามวรวิหาร เป็นพระอารามหลวงชั้นตรี ตั้งอยู่ที่ริมถนนมหาไชย ใกล้วัดราชนัดดา วัดเทพธิดารามวรวิหาร เดิมชื่อ วัดบ้านพระยาไกรสวนหลวง สันนิษฐานว่า เรียกตามบริเวณที่สร้าง ที่เป็นสวนไร่นา และคงเป็นที่ของพระยาไกร เจ้านายหรือขุนนาง วัดเทพธิดารามวรวิหารเป็นวัดที่พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัวได้โปรดฯ ให้สร้างเพื่อเฉลิมพระเกียรติพระราชทานแก่พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหมื่นอัปสรสุดาเทพ หรือ สมเด็จพระเจ้าลูกเธอพระองศ์เจ้าวิลาส พระราชธิดาองค์ใหญ่ใน รัชกาลที่ 3 สร้างเมื่อปี พ.ศ.
ดู แยกสำราญราษฎร์และวัดเทพธิดารามวรวิหาร
สวนรมณีนาถ
วนรมณีนาถ หรือที่นิยมเรียกกันติดปากว่า คุกเก่า เป็นสวนสาธารณะที่จัดสร้างขึ้นใหม่ เพื่อน้อมเกล้าน้อมกระหม่อมถวายแด่สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ ในวโรกาสที่มีพระชนมายุ 60 พรรษา เมื่อ..
ดู แยกสำราญราษฎร์และสวนรมณีนาถ
สะพานสมมตอมรมารค
นสมมตอมรมารค สะพานสมมตอมรมารค (/สมมดอะมอนมาก/) เป็นสะพานข้ามคลองรอบกรุงในส่วนของคลองบางลำพู ตั้งอยู่บนถนนบำรุงเมือง ในพื้นที่แขวงสำราญราษฎร์ เขตพระนคร และแขวงบ้านบาตร เขตป้อมปราบศัตรูพ่าย กรุงเทพมหานคร เดิมเป็นสะพานไม้ที่มีโครงเหล็กรองรับพื้นที่ชักเลื่อนออกจากกัน มีชื่อเรียกโดยผู้คนที่อาศัยอยู่แถบนี้ว่า "สะพานเหล็กประตูผี" เนื่องจากตั้งอยู่ด้านทิศตะวันตกของประตูพระบรมมหาราชวัง หรือที่นิยมเรียกกันว่า "ประตูผี" อันเป็นทางที่ใช้สำหรับขนถ่ายศพของผู้เสียชีวิตในพระบรมมหาราชวังออกมาปลงศพด้านนอก ในช่วงต้นกรุงรัตนโกสินทร์ ต่อมาในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว สะพานแห่งนี้มีความทรุดโทรมมาก จึงทรงโปรดเกล้าฯ ให้มีการบูรณะใหม่ พร้อม ๆ กับการสร้างถนนและสะพานอีกหลายแห่งเพื่อรองรับความเจริญของบ้านเมือง โดยเป็นสะพานปูนปั้นเสริมโครงเหล็กเหมือนแบบเก่า และพระราชทานชื่อให้ว่า "สะพานสมมตอมรมารค" เมื่อแล้วเสร็จเมื่อปี..
ดู แยกสำราญราษฎร์และสะพานสมมตอมรมารค
อาหารข้างถนน
ร้านขายกวยจั๊บข้างถนนในค่ำคืนของกรุงเทพมหานคร อาหารข้างถนน คืออาหารพร้อมรับประทานหรือเครื่องดื่มที่ขายข้างถนนหรือสถานที่สาธารณะต่าง ๆ เช่น ตลาด หรือ งานออกร้าน มักจะมาจากซุ้มขายอาหาร รถเข็นอาหาร หรือรถบรรทุกอาหาร ขณะที่อาหารข้างถนนจะมีเฉพาะท้องถิ่น มักจะมีแพร่หลายตามบริเวณที่เป็นต้นกำเนิด อาหารข้างถนนส่วนใหญ่ยังแบ่งเป็นอาหารที่รับประทานด้วยนิ้วมือและอาหารจานด่วน และราคาถูกกว่าอาหารในภัตตาคาร จากการศึกษาขององค์การอาหารและการเกษตรแห่งสหประชาชาติ เมื่อปี..
ดู แยกสำราญราษฎร์และอาหารข้างถนน
ผัดไทย
ผัดไทย (ผัดไท เป็นตัวสะกดผิดที่พบได้บ่อย) เป็นอาหารไทยที่สามารถหารับประทานได้ทั่วประเทศไทย โดยเฉพาะในภาคกลาง และอาจพบได้ในร้านอาหารไทยในต่างประเทศบางแห่ง.
ถนนบำรุงเมือง
นนบำรุงเมือง ช่วงผ่านเสาชิงช้า ถนนบำรุงเมือง (Thanon Bamrung Mueang) ตั้งต้นจากถนนอัษฎางค์ที่แยกสะพานช้างโรงสี ไปทางทิศตะวันออก ตัดกับถนนเฟื่องนครและถนนตะนาว และเป็นเส้นแบ่งเขตการปกครองระหว่างแขวงวัดราชบพิธกับแขวงศาลเจ้าพ่อเสือและแขวงเสาชิงช้าไปจนถึงเสาชิงช้า จากนั้นตัดกับถนนอุณากรรณเข้าสู่ท้องที่แขวงสำราญราษฎร์ ตัดกับถนนมหาไชย (แยกสำราญราษฎร์) ข้ามคลองรอบกรุง (คลองโอ่งอ่าง) เข้าสู่ท้องที่แขวงบ้านบาตร เขตป้อมปราบศัตรูพ่าย ตัดกับถนนบริพัตร (แยกเมรุปูน) ตัดกับถนนวรจักรและถนนจักรพรรดิพงษ์ (แยกแม้นศรี) เป็นเส้นแบ่งเขตการปกครองระหว่างแขวงคลองมหานาคกับแขวงวัดเทพศิรินทร์ ผ่านสามแยกที่ตัดกับถนนยุคล 2 (แยกยุคล 2) และสามแยกที่ตัดกับถนนพลับพลาไชย (แยกอนามัย) ไปจนถึงถนนกรุงเกษม (แยกกษัตริย์ศึก) โดยมีถนนที่ต่อเนื่องไปคือถนนพระรามที่ 1 ถนนบำรุงเมืองเป็นถนนรุ่นแรกที่ใช้เทคนิคการสร้างตามแบบตะวันตก หลังจากที่พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวโปรดเกล้าฯ ให้สร้างถนนเจริญกรุงซึ่งเป็นถนนสมัยใหม่ และเป็นที่นิยมใช้สัญจรไปมาของชาวไทยและชาวยุโรป ใน พ.ศ.
ดู แยกสำราญราษฎร์และถนนบำรุงเมือง
ถนนมหาไชย
นนมหาไชยช่วงใกล้กับสามแยกเรือนจำ ถนนมหาไชย (Thanon Maha Chai) เป็นถนนสายหนึ่งในเขตพระนคร กรุงเทพมหานคร เริ่มต้นจากถนนราชดำเนินกลางที่สี่แยกป้อมมหากาฬ ในท้องที่แขวงวัดบวรนิเวศ ไปทางทิศใต้ ข้ามคลองหลอดวัดราชนัดดาเข้าสู่ท้องที่แขวงสำราญราษฎร์ ผ่านวัดเทพธิดาราม ตัดกับถนนบำรุงเมือง (สี่แยกสำราญราษฎร์) และถนนหลวง (สามแยกเรือนจำ) ข้ามคลองหลอดวัดราชบพิธเข้าสู่ท้องที่แขวงวังบูรพาภิรมย์ ตัดกับถนนเจริญกรุง (สี่แยกสามยอด) จนกระทั่งไปบรรจบกับถนนพีระพงษ์ ถนนเยาวราช และถนนจักรเพชร (สี่แยกวังบูรพา) ถนนมหาไชยเป็นถนนที่ได้นามมาจากชื่อป้อมปราการที่พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราชโปรดเกล้าฯ ให้สร้างขึ้นเมื่อทรงสถาปนากรุงเทพมหานครเป็นราชธานี นับเป็น 1 ใน 14 ป้อมปราการที่โปรดเกล้าฯ ให้สร้างขึ้น ต่อมาเมื่อบ้านเมืองเจริญขึ้นความจำเป็นในการมีป้อมปราการไว้ป้องกันพระนครก็หมดไป ป้อมมหาไชยจึงถูกรื้อถอน และปัจจุบันชื่อป้อมมหาไชยได้กลายมาเป็นชื่อถนนมหาไชย เนื่องจากเป็นถนนที่ตัดผ่านบริเวณที่เป็นป้อมมห.
ขนมเบื้อง
นมเบื้องไทย ขนมเบื้องเป็นขนมไทยที่มีมาตั้งแต่สมัยโบราณ มีลักษณะเป็นแผ่นแป้ง มีไส้รสต่างๆ มีหลักฐานกล่าวถึงในคำให้การขุนหลวงหาวัดว่า "บ้านหม้อปั้นหม้อข้าวหม้อแกงใหญ่เล็ก และกระทะเตาขนมครกขนมเบื้อง" ขนมเบื้องมีหลายแ.
คลองรอบกรุง
ลองรอบกรุงและป้ายในปัจจุบัน คลองรอบกรุงในอดีต ด้านหลังคือ ภูเขาทอง วัดสระเกศ คลองรอบกรุง (Khlong Rop Krung) เป็นคลองขุด ที่พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราชโปรดเกล้าฯให้ขุดขึ้นเมื่อ..
ดู แยกสำราญราษฎร์และคลองรอบกรุง
ป้อมมหากาฬ
ป้อมมหากาฬ ตั้งอยู่บริเวณเชิงสะพานผ่านฟ้าลีลาศ ติดกับถนนมหาไชย แขวงบวรนิเวศ เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร ทางด้านหลังมีกำแพงเมืองพระนครหลงเหลืออยู่ ป้อมมหากาฬสร้างขึ้นในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช ในปี พ.ศ.
ดู แยกสำราญราษฎร์และป้อมมหากาฬ
ไทยรัฐ
ทยรัฐ (Thai Rath) เป็นหนังสือพิมพ์รายวันภาษาไทย นำเสนอข่าวทั่วไป ที่มียอดจำหน่ายมากที่สุดในประเทศไทย จากการสำรวจเมื่อปี พ.ศ.
เย็นตาโฟ
็นตาโฟ เย็นตาโฟ เป็นชื่อเรียกของ ก๋วยเตี๋ยวชนิดหนึ่ง เหมือนก๋วยเตี๋ยวลูกชิ้นปลาทั่วไป แต่ที่มีความเป็นเอกลักษณ์ที่เหมือนกันในการทำ คือ ต้องใส่ซอสเย็นตาโฟ ลงไปในน้ำก๋วยเตี๋ยว ทำให้น้ำก๋วยเตี๋ยวมีสีแดง ซอสเย็นตาโฟ มีลักษณะของซอสเป็นสีแดงที่ทำมาจากเต้าหู้ยี้และ ซอสแดง หรือซอสมะเขือเทศหรือซอสพริก พริกป่น ตามแต่สูตรใคร ที่มาของชื่อ เย็นตาโฟ มาจากภาษาจีนแคะ ตัวเต็ม 釀豆腐 ตัวย่อ 酿豆腐 อ่านว่า ย้องแท้วฟู้ yòng-theu-fú ภาษาจีนกลางอ่านว่า เนี่ยงโต้วฟุ niàng dòufu หมายถึงเต้าหู้บ่มสอดไส้หมูสับ (ลักษณะเดียวกับส่วนประกอบของก๋วยเตี๋ยวแคะ) ซึ่งเป็นอาหารเลื่องชื่อของชาวจีนแคะมาแต่โบราณ ไม่ได้แปลว่า เต้าหู้หมัก (ที่หมายถึงเต้าหู้ยี้หรือ แท้วฟู้ยู้ ในภาษาจีนแคะ) ก่อนหน้านี้มีผู้สันนิษฐานว่าชาวแต้จิ๋วรับมาแล้วออกเสียงตามแบบถนัดว่า เยี่ยงเต่าฮู และเพี้ยนมาเป็นเย็นตาโฟในปัจจุบัน แต่ถ้าพิจารณาคำอ่านภาษาจีนฮากกา หรือ คากกา ที่เขียนเป็นภาษาอังกฤษ ก็เพี้ยนเป็นเย็นตาโฟได้เช่นกัน "ย้องแท้วฟู้" หรือเต้าหู้ยัดไส้ที่ชาวไทยรู้จักในชื่อ “เต้าหู้แคะ” ซึ่งเป็นเครื่องประกอบอย่างหนึ่งของ “ก๋วยเตี๋ยวแคะ” ในประเทศไทยด้วยนั้น เป็นวัฒนธรรมอาหารพื้นบ้านโบราณของชาวแคะที่สืบทอดมาเป็นเวลายาวนานนับพันปีจนกลายเป็นอาหารพื้นเมืองเลื่องชื่อของประเทศจีนเอง ตลอดจนประเทศมาเลเซีย สิงคโปร์ ฮ่องกง ไต้หวัน ไทย และอื่นๆ ที่มีชนเชื้อชาติแคะอาศัยอยู่ ซึ่งเป็นชนเชื้อชาติจีนที่มีพลเมืองรวมกันมากที่สุดในโลก และประเทศมาเลเซียยังได้ขึ้นบัญชี "ย้องแท้วฟู้" เป็นหนึ่งใน 100 รายการมรดกวัฒนธรรมอาหารแห่งชาติมาเลเซียด้วย นอกจากเครื่องที่เป็นเอกลักษณ์แล้วยังมี เต้าหู้ทอด ปาท่องโก๋ชิ้นเล็ก ปลาหมึกกรอบ เลือดหมูก้อน และผักนิยมใช้ ผักบุ้ง อาจจะใส่ เกี๊ยวทอดกรอบหรือ ปลาชิ้น ลูกชิ้นปลา ในแถบจังหวัดระยอง สูตรของเย็นตาโฟมีหลายสูตร ทั้งแบบธรรมดา แบบต้มยำทะเล โดยใส่เครื่องปรุงที่เป็นอาหารทะเลไปด้วย ตามการเปลี่ยนแปลงตามยุคสมัย ก๋วยเตี๋ยวถูกปรุงแต่งเป็นเย็นตาโฟเมื่อใด ยังไม่มีการบันทึกไว้ แต่ตามที่มีการศึกษา ต้นตำรับอาหารของจีนจะมีรสชาติจืด ซึ่งคนไทยในสมัยก่อนนั้นไม่ชอบอาหารจืด ชอบอาหารที่มีรสจัด โดยมีการนำเต้าหู้ยี้มาใส่เพื่อปรุง และนำชื่อเรียกของเต้าหู้ชนิดนั้นมาตั้งเป็นชื่อของก๋วยเตี๋ยวใส่เต้าหู้ยี้ว่า เย็นตาโฟ โดยจะเป็นที่รู้จักกันทั่วไป.
เสาชิงช้า
งช้า เป็น สถาปัตยกรรม ที่สร้างขึ้นเพื่อใช้ประกอบพิธีโล้ชิงช้า ใน พระราชพิธีตรียัมพวาย ตรีปวาย ของ ศาสนาพราหมณ์-ฮินดู โดยทั่วไปหมายถึงเสาชิงช้าที่ตั้งอยู่หน้า วัดสุทัศน์เทพวราราม และลานหน้า ศาลาว่าการกรุงเทพมหานคร (ลานคนเมือง) ใกล้กับ เทวสถานโบสถ์พราหมณ์ ในพื้นที่แขวงเสาชิงช้าและแขวงวัดราชบพิธ เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร ซึ่งถือเป็นสัญลักษณ์อย่างหนึ่งของ กรุงเทพมหานคร แม้พิธีโล้ชิงช้าได้เลิกไปแล้วตั้งแต่สมัย พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 7 ก็ตาม นอกจากนี้ ใน ประเทศไทย ยังมีเสาชิงช้าอีกแห่งหนึ่ง ตั้งอยู่ที่ หน้าหอพระอิศวร เมืองนครศรีธรรมราช ซึ่งมีการประกอบพิธีโล้ชิงช้ามาแต่โบราณเช่นกัน แต่ได้เลิกไปก่อนที่จะมีการก่อสร้างขึ้นใหม่ในภายหลัง โดยจำลองแบบมาจากเสาชิงช้าที่ กรุงเทพมหานคร เสาชิงช้าที่ กรุงเทพมหานคร แห่งนี้ มีลักษณะเป็นเสาชิงช้าขนาดใหญ่ ตั้งอยู่บนแท่นหินขนาดใหญ่ สูง 21.15 ม.
เอ็มไทย
อ็มไทย (mthai.com) เป็นเว็บท่าและเว็บบอร์ดของประเทศไทย เริ่มให้บริการประมาณปี..
เอเอสทีวีผู้จัดการ
ผู้จัดการ 360° เป็นหนังสือพิมพ์ธุรกิจรายวันภาษาไทย ในเครือผู้จัดการ วางแผง(วันจันทร์-วันเสาร์)โดยฉบับ(วันเสาร์จะควบวันอาทิตย์) วางจำหน่ายฉบับปฐมฤกษ์ (ในชื่อเอเอสทีวีผู้จัดการ) เมื่อวันศุกร์ที่ 21 พฤศจิกายน..
ดู แยกสำราญราษฎร์และเอเอสทีวีผู้จัดการ
เขตพระนคร
ตพระนคร เป็น 1 ใน 50 เขตการปกครองของกรุงเทพมหานคร อยู่ในกลุ่มเขตกรุงเทพกลาง ถือเป็นเขตอนุรักษ์เมืองเก่า แหล่งท่องเที่ยวเชิงประวัติศาสตร์และศิลปวัฒนธรรมทางฝั่งพระนคร เนื่องจากมีสถานที่สำคัญทั้งทางด้านวัฒนธรรมและด้านการเมืองการปกครองตั้งอยู่เป็นจำนวนมาก ซึ่งเขตพระนครเป็นที่ตั้งของเกาะรัตนโกสินทร์ในปัจจุบัน.
ดูเพิ่มเติม
ทางแยกในกรุงเทพมหานคร
- กล้วยน้ำไท
- ตลาดพลู
- ถนนตก
- ถนนพลับพลาไชย
- ถนนราชวงศ์
- ถนนวรจักร
- ถนนเสือป่า
- ถนนแปลงนาม
- ราชประสงค์
- วงเวียน 22 กรกฎาคม
- วงเวียนโอเดียน
- วงเวียนใหญ่
- สะพานควาย
- สะพานช้างโรงสี
- สะพานผ่านฟ้าลีลาศ
- สะพานมอญ (กรุงเทพมหานคร)
- สะพานมัฆวานรังสรรค์
- สะพานเฉลิมวันชาติ
- สะพานเทวกรรมรังรักษ์
- สี่กั๊กพระยาศรี
- สี่กั๊กเสาชิงช้า
- อนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ
- อนุสาวรีย์ประชาธิปไตย
- เสาชิงช้า
- แยกกษัตริย์ศึก
- แยกคอกวัว
- แยกท่าพระ
- แยกบางกระบือ
- แยกบ้านขมิ้น
- แยกบ้านเนิน
- แยกมไหสวรรย์
- แยกราชเทวี
- แยกลำสาลี
- แยกวัดตึก
- แยกศาลาแดง
- แยกสามยอด
- แยกสามเหลี่ยมดินแดง
- แยกหมอมี
- แยกอุรุพงษ์
- แยกเกียกกาย
- แยกเฉลิมบุรี
- แยกเอส. เอ. บี.
- แยกแม้นศรี
- แยกโพธิ์สามต้น
- แยกไฟฉาย
แขวงในกรุงเทพมหานคร
- แขวงคลองบางบอน
- แขวงคลองบางพราน
- แขวงจอมทอง
- แขวงตลาดน้อย
- แขวงทรายกองดิน
- แขวงทรายกองดินใต้
- แขวงทวีวัฒนา
- แขวงทับช้าง
- แขวงทุ่งครุ
- แขวงทุ่งสองห้อง
- แขวงท่าข้าม
- แขวงบางขุนเทียน
- แขวงบางค้อ
- แขวงบางบำหรุ
- แขวงบางปะกอก
- แขวงบางพลัด
- แขวงบางมด (เขตจอมทอง)
- แขวงบางมด (เขตทุ่งครุ)
- แขวงบางยี่เรือ
- แขวงบางอ้อ
- แขวงบางแค
- แขวงบางแคเหนือ
- แขวงบางไผ่
- แขวงบ้านช่างหล่อ
- แขวงราษฎร์บูรณะ
- แขวงราษฎร์พัฒนา
- แขวงลาดยาว
- แขวงศาลาธรรมสพน์
- แขวงสี่แยกมหานาค
- แขวงหนองค้างพลู
- แขวงหนองแขม
- แขวงหลักสอง
- แขวงอรุณอมรินทร์
- แขวงแสมดำ
หรือที่รู้จักกันในชื่อ สี่แยกสำราญราษฎร์ประตูผี