โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

รถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคล

ดัชนี รถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคล

| open.

187 ความสัมพันธ์: ช.การช่างบางแคบุหรี่พ.ศ. 2542พ.ศ. 2547พ.ศ. 2548พ.ศ. 2553พ.ศ. 2554พ.ศ. 2555พ.ศ. 2557พ.ศ. 2560พ.ศ. 2562พ.ศ. 2563พ.ศ. 2568พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชพระราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา 7 รอบ 5 ธันวาคม 2554พระราชวังสราญรมย์กฎหมายอาญากระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ (ประเทศไทย)กรุงเทพมหานครกันยายนการกระทำอนาจารต่อหน้าธารกำนัลการรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนแห่งประเทศไทยการรถไฟแห่งประเทศไทยการทางพิเศษแห่งประเทศไทยการประชาสัมพันธ์การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2554มิวเซียมสยามมีนาคมระบบขนส่งมวลชนเร็วรถไฟฟ้าชานเมืองสายสีแดงอ่อนรถไฟฟ้าชานเมืองสายสีแดงเข้มรถไฟฟ้าบีทีเอสรถไฟฟ้าบีทีเอส สายสุขุมวิทรถไฟฟ้าบีทีเอส สายสีลมรถไฟฟ้ากรุงเทพรถไฟฟ้ามหานครรถไฟฟ้ามหานคร สายสีส้มรถไฟฟ้ามหานคร สายฉลองรัชธรรมรถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคลรถไฟฟ้าสายสีเหลืองรถไฟฟ้าสายสีเทารถไฟฟ้าในกรุงเทพมหานครและปริมณฑลรถไฟฟ้าโมโนเรล สายจุฬาฯ-สยามสแควร์รถไฟความเร็วสูงสายตะวันออกวัดพระเชตุพนวิมลมังคลารามราชวรมหาวิหารวัดกัลยาณมิตรวรมหาวิหารวัดมังกรกมลาวาสวังบูรพาภิรมย์วัน แบงค็อก...วันพ่อแห่งชาติวันแม่แห่งชาติ (ประเทศไทย)ศาลาเฉลิมกรุงศูนย์การประชุมแห่งชาติสิริกิติ์ศูนย์วัฒนธรรมแห่งประเทศไทยสวนลุมพินีสวนจตุจักรสหพัฒนพิบูลสุราสถานการณ์ฉุกเฉินสถานีบางซื่อสถานีบางซื่อ (รถไฟฟ้ามหานคร)สถานีบางแคสถานีพระราม 9สถานีพหลโยธิน (รถไฟฟ้ามหานคร)สถานีกำแพงเพชรสถานีภาษีเจริญสถานีมักกะสันสถานีรับส่งผู้โดยสารอากาศยานในเมืองสถานีรัชดาภิเษกสถานีรถไฟกรุงเทพสถานีลาดพร้าวสถานีลุมพินีสถานีวัดมังกรสถานีศาลาแดงสถานีศูนย์การประชุมแห่งชาติสิริกิติ์สถานีศูนย์วัฒนธรรมแห่งประเทศไทยสถานีสวนจตุจักรสถานีสามยอดสถานีสามย่านสถานีสุทธิสารสถานีสุขุมวิทสถานีสีลมสถานีสนามไชยสถานีหมอชิตสถานีหลักสองสถานีหัวลำโพงสถานีหัวลำโพง (รถไฟฟ้ามหานคร)สถานีห้าแยกลาดพร้าวสถานีอิสรภาพสถานีอโศกสถานีท่าพระสถานีคลองเตยสถานีเพชรบุรีสถานีเพชรบุรี (รถไฟฟ้ามหานคร)สงกรานต์หมากฝรั่งอาเจียนอำเภอกระทุ่มแบนอำเภอหาดใหญ่อุทกภัยในประเทศไทย พ.ศ. 2554จังหวัดสมุทรสาครจังหวัดสงขลาจังหวัดนครปฐมจัตุรัสจามจุรีจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยถนนพระรามที่ 4ถนนกาญจนาภิเษกถนนรัชดาภิเษกถนนลาดพร้าวถนนวิภาวดีรังสิตถนนสนามไชยถนนอิสรภาพถนนจรัญสนิทวงศ์ถนนเพชรเกษมถนนเยาวราชถนนเจริญกรุงทรู คอร์ปอเรชั่นทรูมูฟ เอชทางพิเศษศรีรัชทางรถไฟสายตะวันออกทางด่วนและรถไฟฟ้ากรุงเทพท่าอากาศยานดอนเมืองคลองบางกอกน้อยคลองบางกอกใหญ่คลองมอญคลองถมตลาดบางแคตุลาคมซีคอนบางแคซีเมนส์ซีเมนส์ โมดูลาร์ เมโทรปฏิกูลปัสสาวะปากคลองตลาดปูนซิเมนต์ไทยน้ำลายแม่น้ำเจ้าพระยาแยกบรมราชชนนีแยกบางขุนนนท์แยกบางโพแยกวงเวียน รด. และแยกท้ายวังแยกหัวลำโพงแยกท่าพระแยกไฟฉายแอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิสโจรกรรมโทเทิ่ล แอ็คเซ็ส คอมมูนิเคชั่นโครงการระบบรถไฟชานเมือง (สายสีแดง)เกาะรัตนโกสินทร์เสมหะเอสพลานาด รัชดาภิเษกเทศบาลนครอ้อมน้อยเขตบางพลัดเขตบางกอกน้อยเขตบางกอกใหญ่เขตบางรักเขตบางซื่อเขตบางแคเขตบางเขนเขตพระนครเขตภาษีเจริญเขตราชเทวีเขตวัฒนาเขตสัมพันธวงศ์เขตสาทรเขตหนองแขมเขตห้วยขวางเขตจอมทองเขตจตุจักรเขตดินแดงเขตคลองเตยเขตปทุมวันเขตป้อมปราบศัตรูพ่ายเดอะมอลล์เซ็นทรัลพัฒนา1 กรกฎาคม11 สิงหาคม13 มกราคม13 เมษายน15 พฤศจิกายน17 มกราคม19 พฤษภาคม19 เมษายน3 กรกฎาคม4 เมษายน9 ตุลาคม ขยายดัชนี (137 มากกว่า) »

ช.การช่าง

ริษัท.การช่าง จำกัด (มหาชน) (CH. ชื่อย่อ: CK) เป็นหนึ่งในผู้รับเหมาก่อสร้างรายใหญ่ 3 รายที่จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยซึ่งมีลักษณะการประกอบธุรกิจที่แตกต่างจากบริษัทรับเหมาก่อสร้างแห่งอื่น โดยมีโครงสร้างทางธุรกิจหลักของบริษัท 2 ประเภทด้วยกัน คือ ธุรกิจรับเหมาก่อสร้าง และธุรกิจการลงทุนในโครงการสาธารณูปโภค แบบรายงาน 56-1.การช่าง จำกัด (มหาชน) ประจำปี:2557 ในส่วนของธุรกิจรับเหมาก่อสร้างนั้น.การช่างสามารถดำเนินการก่อสร้างโครงการขนาดใหญ่ในหลายรูปแบบ อาทิ รถไฟฟ้าขนส่งมวลชน, ท่าอากาศยาน, โรงไฟฟ้าพลังน้ำ, โรงไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์, ทางด่วน, ท่าเรือน้ำลึก และในส่วนของธุรกิจการลงทุนในโครงการสาธารณูป.การช่างได้มีการเข้าไปลงทุนในธุรกิจทั้งหมด 3 ด้านคือ ธุรกิจด้านการคมนาคมขนส่ง ธุรกิจด้านระบบน้ำและธุรกิจด้านพลังงาน.

ใหม่!!: รถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคลและช.การช่าง · ดูเพิ่มเติม »

บางแค

งแค อาจหมายถึง.

ใหม่!!: รถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคลและบางแค · ดูเพิ่มเติม »

บุหรี่

หรี่สองมวน ขณะยังไม่จุด บุหรี่ มีลักษณะเป็นทรงกระบอกม้วนห่อด้วยกระดาษ ขนาดปกติจะมีความยาวสั้นกว่า 120 มิลลิเมตร และขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางไม่เกิน 10 มิลลิเมตร) มีใบยาสูบบดหรือซอยบรรจุภายในห่อกระดาษ ปลายด้านหนึ่งเป็นปลายเปิดสำหรับจุดไฟ และอีกด้านหนึ่งจะมีตัวกรอง ไว้สำหรับใช้ปากสูดควัน คำนี้ปกติจะใช้หมายถึงเฉพาะที่บรรจุใบยาสูบภายใน แต่ในบางครั้งก็อาจใช้หมายถึงมวนกระดาษที่บรรจุสมุนไพรอื่น ๆ เช่น กัญชา บุหรี่ ต่างจาก ซิการ์ (en:cigar) ตรงที่บุหรี่นั้นมีขนาดเล็กว่า และใบยาสูบนั้นจะมีการบดหรือซอย รวมทั้งกระดาษที่ห่อ ซิการ์โดยปกติจะใช้ใบยาสูบทั้งใบ ซิการ์ชนิดที่มีขนาดเล็กพิเศษเท่าบุหรี่ เรียกว่า ซิการ์ริลโล (en:cigarillo) บุหรี่เป็นที่รู้จักในกลุ่มคนที่ใช้ภาษาอังกฤษตั้งแต่ก่อนสงครามแห่งครายเมีย เมื่อทหารแห่งจักรวรรดิอังกฤษ เริ่มเลียนแบบการใช้กระดาษหนังสือพิมพ์ห่อใบยาสูบ จากทหารตุรกีแห่งอาณาจักรออตโตมัน.

ใหม่!!: รถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคลและบุหรี่ · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2542

ทธศักราช 2542 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1999 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันศุกร์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน และสหประชาชาติกำหนดให้เป็น ปีสากลแห่งผู้สูงอายุและเป็นปีมหามงคลในโอกาสที่ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมีพระชนมพรรษาครบ 6 รอบ (พระราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนม์พรรรษา ๖ รอบ ๕ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๔๒).

ใหม่!!: รถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคลและพ.ศ. 2542 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2547

ทธศักราช 2547 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2004 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดีตามปฏิทินเกรกอเรียน เป็นปีอธิกมาส ปกติวาร ตามปฏิทินไทยจันทรคติ และกำหนดให้เป็น.

ใหม่!!: รถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคลและพ.ศ. 2547 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2548

ทธศักราช 2548 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2005 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ตามปฏิทินเกรโกเรียน และเป็น.

ใหม่!!: รถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคลและพ.ศ. 2548 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2553

ทธศักราช 2553 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2010 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันศุกร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็นปีแรกในคริสต์ทศวรรษที่ 2010.

ใหม่!!: รถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคลและพ.ศ. 2553 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2554

ทธศักราช 2554 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2011 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ใหม่!!: รถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคลและพ.ศ. 2554 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2555

ทธศักราช 2555 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2012 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็นปีมะโรง จัตวาศก จุลศักราช 1374 (วันที่ 15 เมษายน เป็นวันเถลิงศก) สมัชชาใหญ่แห่งสหประชาชาติประกาศให้..

ใหม่!!: รถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคลและพ.ศ. 2555 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2557

ทธศักราช 2557 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2014 วันแรกของปีตรงกับวันพุธตามปฏิทินเกรกอเรียน นับเป็นปีที่ 2014 ตามกำหนดสากลศักราช และปีที่ 2557 ตามกำหนดพุทธศักร.

ใหม่!!: รถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคลและพ.ศ. 2557 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2560

ทธศักราช 2560 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2017 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ (ลิงก์ไปยังปฏิทิน) ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ใหม่!!: รถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคลและพ.ศ. 2560 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2562

ทธศักราช 2562 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2019 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคารตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ใหม่!!: รถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคลและพ.ศ. 2562 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2563

ทธศักราช 2563 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2020 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันพุธตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ใหม่!!: รถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคลและพ.ศ. 2563 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2568

ทธศักราช 2568 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2025 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพุธตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ใหม่!!: รถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคลและพ.ศ. 2568 · ดูเพิ่มเติม »

พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช

ระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช (5 ธันวาคม พ.ศ. 2470 — 13 ตุลาคม พ.ศ. 2559) เป็นพระมหากษัตริย์ไทย รัชกาลที่ 9 แห่งราชวงศ์จักรี เสด็จสู่พระราชสมบัติตั้งแต่วันที่ 9 มิถุนายน..

ใหม่!!: รถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคลและพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช · ดูเพิ่มเติม »

พระราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา 7 รอบ 5 ธันวาคม 2554

ระวังสับสนกับ พระราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา 7 รอบ 12 สิงหาคม 2559 พระราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา 7 รอบ 5 ธันวาคม 2554 (Celebration on the Auspicious Occasion of His Majesty the King's 7th Cycle Birthday Anniversary, 5th December 2011) เป็นชื่องานเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชในโอกาสที่มีพระชนมายุครบ 7 รอบ แปดสิบสี่พรรษาใน..

ใหม่!!: รถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคลและพระราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา 7 รอบ 5 ธันวาคม 2554 · ดูเพิ่มเติม »

พระราชวังสราญรมย์

ระราชวังสราญรมย์ เป็นวังที่ตั้งอยู่ระหว่างพระบรมมหาราชวัง กับวัดราชประดิษฐสถิตมหาสีมาราม ทางทิศตะวันออกของพระบรมมหาราชวัง สร้างขึ้นในสมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เคยใช้เป็นที่ทำการของกระทรวงการต่างประเทศ และเป็นบ้านพักรับรองพระราชอาคันตุกะ พระราชวังสราญรมย์ เป็นอาคารก่ออิฐถือปูนสองชั้น ออกแบบโดย เฮนรี อาลาบาศเตอร์ เริ่มก่อสร้างเมื่อ..

ใหม่!!: รถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคลและพระราชวังสราญรมย์ · ดูเพิ่มเติม »

กฎหมายอาญา

กฎหมายอาญา เป็นกฎหมายที่รัฐบัญญัติขึ้นเพื่อกำหนดลักษณะของการกระทำที่ถือว่าเป็นความผิด และกำหนดบทลงโทษทางอาญาสำหรับความผิดนั้น เป็นกฎหมายที่บัญญัติว่าการกระทำหรือไม่กระทำการอย่างใดเป็นความผ.

ใหม่!!: รถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคลและกฎหมายอาญา · ดูเพิ่มเติม »

กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ (ประเทศไทย)

กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ (Ministry of Social Development and Human Security) เป็นหน่วยงานราชการไทยประเภทกระทรวง ทำหน้าที่เกี่ยวกับการพัฒนาสังคม การสร้างความเป็นธรรมและความเสมอภาคในสังคม การส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพและความมั่นคงในชีวิต สถาบันครอบครัวและชุมชน.

ใหม่!!: รถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคลและกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ (ประเทศไทย) · ดูเพิ่มเติม »

กรุงเทพมหานคร

กรุงเทพมหานคร เป็นเมืองหลวงและนครที่มีประชากรมากที่สุดของประเทศไทย เป็นศูนย์กลางการปกครอง การศึกษา การคมนาคมขนส่ง การเงินการธนาคาร การพาณิชย์ การสื่อสาร และความเจริญของประเทศ เป็นเมืองที่มีชื่อยาวที่สุดในโลก ตั้งอยู่บนสามเหลี่ยมปากแม่น้ำเจ้าพระยา มีแม่น้ำเจ้าพระยาไหลผ่านและแบ่งเมืองออกเป็น 2 ฝั่ง คือ ฝั่งพระนครและฝั่งธนบุรี กรุงเทพมหานครมีพื้นที่ทั้งหมด 1,568.737 ตร.กม.

ใหม่!!: รถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคลและกรุงเทพมหานคร · ดูเพิ่มเติม »

กันยายน

กันยายน เป็นเดือนที่ 9 ของปี ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็นหนึ่งในเดือน 4 เดือนที่มี 30 วัน ตามหลักโหราศาสตร์ เดือนกันยายนเริ่มต้นขึ้นเมื่อดวงอาทิตย์ยกเข้าสู่ราศีกันย์ และสิ้นสุดเมื่อยกเข้าสู่ราศีตุล แต่ในทางดาราศาสตร์ ต้นเดือนกันยายนดวงอาทิตย์อยู่ในกลุ่มดาวสิงโตและปลายเดือนไปอยู่ในกลุ่มดาวหญิงสาว เดือนกันยายนในภาษาอังกฤษ September มาจากภาษาละติน septem เนื่องจากเป็นเดือนที่ 7 ในปฏิทินโรมันดั้งเดิมที่เริ่มต้นปีในเดือนมีนาคม ประเทศไทยเริ่มใช้ชื่อเดือนกันยายนในปี พ.ศ. 2432 ตรงกับสมัยรัชกาลที่ 5 โดยสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอกรมพระยาเทววงศ์วโรปการ เป็นผู้เสนอให้ใช้ราศีกำหนดชื่อเดือน.

ใหม่!!: รถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคลและกันยายน · ดูเพิ่มเติม »

การกระทำอนาจารต่อหน้าธารกำนัล

การกระทำอนาจารต่อหน้าธารกำนัล (public indecency หรือ indecent exposure) ได้แก่ การกระทำใด ๆ ของบุคคลโดยจงใจจะให้ปรากฏแก่สาธารณชนซึ่งความลามกอนาจารหรือสิ่งอันขัดต่อความสงบเรียบร้อยหรือศีลธรรมอันดีของประชาชน ซึ่งการกระทำเช่นนี้บางทีก็เป็นความผิดตามกฎหมาย เช่น ในประเทศไทยถือเป็นความผิดอาญาขั้นลหุโทษ หมวดหมู่:ความผิดอาญา de:Exhibitionismus#Nude in Public.

ใหม่!!: รถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคลและการกระทำอนาจารต่อหน้าธารกำนัล · ดูเพิ่มเติม »

การรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนแห่งประเทศไทย

การรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนแห่งประเทศไทย หรือ รฟม. (Mass Rapid Transit Authority of Thailand ย่อว่า MRTA) เป็นรัฐวิสาหกิจในสังกัดกระทรวงคมนาคม มีภาระหน้าที่ในการจัดให้มี และให้บริการรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนในกรุงเทพมหานครและปริมณฑล และจังหวัดอื่นๆ รฟม.

ใหม่!!: รถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคลและการรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนแห่งประเทศไทย · ดูเพิ่มเติม »

การรถไฟแห่งประเทศไทย

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: รถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคลและการรถไฟแห่งประเทศไทย · ดูเพิ่มเติม »

การทางพิเศษแห่งประเทศไทย

การทางพิเศษแห่งประเทศไทย (ชื่อย่อ: กทพ.; EXAT) เป็นรัฐวิสาหกิจสังกัดกระทรวงคมนาคม ก่อตั้งขึ้นตามประกาศคณะปฏิวัติ ฉบับที่ 290 ลงวันที่ 27 พฤศจิกายน พ.ศ. 2515 โดยมีวัตถุประสงค์ที่จะสร้าง หรือจัดให้มีทางพิเศษด้วยวิธีการใดๆ ตลอดจนบำรุงรักษาทางพิเศษและดำเนินงานต่างๆ ที่เกี่ยวกับทางพิเศษ โดยเฉพาะในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล.

ใหม่!!: รถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคลและการทางพิเศษแห่งประเทศไทย · ดูเพิ่มเติม »

การประชาสัมพันธ์

การประชาสัมพันธ์ (Public relations หรือ PR) คือการทำงานในการจัดการการสื่อสารระหว่างองค์กรและสาธารณะ การประชาสัมพันธ์นั้นช่วยทำให้องค์กรหรือบุคคล ได้แสดงสู่ผู้ชม ผู้อ่าน โดยใช้เรื่องที่เป็นที่สนใจของสาธารณะและใช้เป็นการรายงานข่าวโดยไม่เสียค่าใช้จ่ายโดยตรง.

ใหม่!!: รถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคลและการประชาสัมพันธ์ · ดูเพิ่มเติม »

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2554

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป..

ใหม่!!: รถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคลและการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2554 · ดูเพิ่มเติม »

มิวเซียมสยาม

มิวเซียมสยาม หรือ พิพิธภัณฑ์การเรียนรู้ (Museum Siam, Discovery Museum) เป็นพิพิธภัณฑ์ตั้งอยู่บนถนนสนามไชย แขวงพระบรมมหาราชวัง เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร เปิดให้บริการเมื่อ 2 เมษายน พ.ศ. 2551 เป็นพิพิธภัณฑ์ที่ใช้เทคนิคการเล่าเรื่องแบบโต้ตอบโดยใช้ตัวละคร 7 ตัวเป็นตัวกลาง มิวเซียมสยามดูแลโดยสถาบันพิพิธภัณฑ์การเรียนรู้แห่งชาติ มิวเซียมสยาม พิพิธภัณฑ์การเรียนรู้นี้ ถือเป็นแหล่งการเรียนรู้หนึ่งที่เน้นจุดมุ่งหมายในการแสดงตัวตนของชนในชาติ ซึ่งจะทำให้ผู้เข้าชม โดยเฉพาะอย่างยิ่งผู้เข้าชมที่อยู่ในวัยเด็กและเยาวชน ได้เรียนรู้รากเหง้าของชาวไทย โดยเน้นไปที่กลุ่มชนในเขตเมืองบางกอก หรือที่เรียกในปัจจุบันว่า กรุงเทพมหานคร เป็นสำคัญ เนื่องจากตัวมิวเซียมสยามแห่งนี้ได้ตั้งอยู่ในเขตกรุงเทพมหานคร แต่มิได้หมายความว่าถ้าเป็นคนไทยต่างจังหวัด จะไม่สามารถมาเรียนรู้จากพิพิธภัณฑ์นี้ได้ ด้วยเพราะสิ่งที่จัดแสดงในมิวเซียมสยามนี้ แสดงถึงความเป็นมาของชนชาติไทย ตั้งแต่อดีตถึงปัจจุบัน ผ่านการนำเสนอด้วยสื่อผสมหลายรูปแบบ ทำให้มีความน่าสนใจ และดึงดูดใจผู้เข้าชมได้เป็นอย่างยิ่ง ทั้งยังตั้งอยู่ในสถานที่สวยงาม ปัจจุบัน ได้ทำการปรับปรุงนิทรรศการชุด เรียงความปะรเทศไทย เมื่อวันที่ 18 เมษายน 2559 ต่อมาได้มีการจัดทำนิทรรศการชุดใหม่โดยมีจุดประสงค์ให้มีเนื้อหาเท่าทันสมัย และตอบโจทย์ความต้องการของผู้เข้าชม มีชื่อชุดว่า นิทรรศการ "ถอดรหัสไทย" นำเสนอภายใน 14 ห้องนิทรรศการ ที่จะพาไปเรียนรู้ทุกมุมมองความเป็นไทย และพัฒนาการความเป็นไทย ตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน อาทิ เรื่องราวด้านประวัติศาสตร์ สถาปัตยกรรม วัฒนธรรมประเพณี อาหารการกิน การแต่งกาย สำหรับ นิทรรศการ "เรียงความประเทศไทย" ได้ทำการจัดแสดงกับ Muse Mobile มิวเซียมติดล้อ เป็นการจัดนิทรรศการในตู้คอนเทนเนอร์เคลื่อนที่ไปจัดแสดง ในสถานที่ต่างๆ โดยเล่าถึงประวัติศาสตร์ของประเทศและคนไทย ผ่านรูปแบบนิทรรศการที่ทันสมัยในตู้คอนเทนเนอร์ขนาดใหญ.

ใหม่!!: รถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคลและมิวเซียมสยาม · ดูเพิ่มเติม »

มีนาคม

มีนาคม เป็นเดือนสามของปี ในทั้งปฏิทินเกรกอเรียนและปฏิทินจูเลียน เป็นหนึ่งในเจ็ดเดือนที่มี 31 วัน เดือนมีนาคมในซีกโลกเหนือมีฤดูกาลเทียบเท่ากับเดือนกันยายนในซีกโลกใต้ ในซีกโลกเหนือ วันที่ 1 มีนาคมเป็นวันเข้าสู่ฤดูใบไม้ผลิทางอุตุนิยมวิทยา ส่วนในซีกโลกใต้ วันเดียวกันเป็นการเข้าสู่ฤดูใบไม้ร่วงทางอุตุนิยมวิทยา เดือนมีนาคมมีวันในสัปดาห์เริ่มต้นตรงกับเดือนพฤศจิกายนทุกปี และเดือนกุมภาพันธ์เฉพาะปีปกติสุรทิน เดือนมีนาคมสิ้นสุดวันในสัปดาห์เดียวกับเดือนมิถุนายนทุกปี ในปีอธิกสุรทิน เดือนมีนาคมเริ่มต้นในวันเดียวกับเดือนกันยายนและธันวาคมของปีก่อนหน้า ในปีปกติสุรทิน เดือนมีนาคมเริ่มต้นในวันเดียวกับเดือนมิถุนายนปีก่อนหน้า คำว่า "March" ในภาษาอังกฤษ มาจากโรมโบราณ เมื่อเดือนมีนาคมเป็นเดือนแรกของปี และได้ชื่อภาษาละตินว่า "มาร์ติอุส" (Martius) ตามมาร์ส หรือแอรีส เทพแห่งสงครามของกรีก ในโรม ซึ่งมีลักษณะอากาศแบบเมดิเตอร์เรเนียน เดือนมีนาคมเป็นเดือนแรกของฤดูใบไม้ผลิ จุดเริ่มต้นปีตามหลักเหตุผล และการเริ่มต้นฤดูกาลศึกสงคราม เดือนมกราคมเป็นเดือนแรกของปีปฏิทินในรัชสมัยกษัตริย์นูมา ปอมปิเลียส (ประมาณ 713 ปีก่อน ค.ศ.) หรือในรัชสมัยกษัตริย์เดเซมวีร์ราว 450 ก่อน..

ใหม่!!: รถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคลและมีนาคม · ดูเพิ่มเติม »

ระบบขนส่งมวลชนเร็ว

รถไฟฟ้าใต้ดินในกรุงวอชิงตัน ดี.ซี. ระบบขนส่งมวลชนเร็ว (rapid transit) หรือที่มักเรียกว่า รถไฟฟ้า รถไฟใต้ดิน (subway, underground) รถไฟในเมือง (metro) รถไฟรางหนัก (heavy rail) มักจะมีในเมืองใหญ่ที่สำคัญทั่วโลก รถไฟฟ้าใต้ดินที่เก่าแก่ที่สุดในโลกอยู่ที่กรุงลอนดอน เปิดใช้เมื่อ พ.ศ. 2406 ปัจจุบันมีเมืองทั้งหมด 162 เมืองที่มีรถไฟฟ้าใต้ดิน.

ใหม่!!: รถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคลและระบบขนส่งมวลชนเร็ว · ดูเพิ่มเติม »

รถไฟฟ้าชานเมืองสายสีแดงอ่อน

รถไฟฟ้าชานเมืองสายสีแดงอ่อน หรือ รถไฟชานเมืองสายตะวันออก-ตะวันตก เป็นโครงการรถไฟชานเมืองในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล และเป็นส่วนหนึ่งของโครงการระบบรถไฟชานเมืองสายสีแดง โดยการรถไฟแห่งประเทศไทย (รฟท.) มีแนวเส้นทางตามแกนหลักทิศตะวันตก-ตะวันออก โดยตามแผนแม่บท พื้นที่โครงการจะมีระยะทาง 127.5 กิโลเมตรคำนวณระยะทางจาก ช่วงนครปฐม-ตลิ่งชัน 43 กม.

ใหม่!!: รถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคลและรถไฟฟ้าชานเมืองสายสีแดงอ่อน · ดูเพิ่มเติม »

รถไฟฟ้าชานเมืองสายสีแดงเข้ม

รถไฟฟ้าชานเมืองสายสีแดงเข้ม (บ้านภาชี-มหาชัย) เป็นส่วนหนึ่งของโครงการระบบรถไฟชานเมืองสายสีแดง โดยการรถไฟแห่งประเทศไทย (รฟท.) ซึ่งเป็นเส้นทางรถไฟที่เป็นแกนหลักของแผนแม่บทระบบขนส่งมวลชนทางราง ในกรุงเทพมหานครและปริมณฑล โดยสำนักงานนโยบายและแผนการขนส่งและจราจร (สนข.) มีแนวเส้นทางตามแกนหลักทิศเหนือ-ทิศใต้/ตะวันตกเฉียงใต้ พื้นที่โครงการส่วนใหญ่อยู่ในเขตทางของการรถไฟแห่งประเทศไทย รถไฟฟ้าชานเมืองสายสีแดงเข้ม มีแผนงานรวม 114.3 กม.

ใหม่!!: รถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคลและรถไฟฟ้าชานเมืองสายสีแดงเข้ม · ดูเพิ่มเติม »

รถไฟฟ้าบีทีเอส

รถไฟฟ้าเฉลิมพระเกียรติ 6 รอบพระชนมพรรษา (Elevated Train in Commemoration of HM the King's 6th Cycle Birthday) หรือชื่อที่เรียกกันทั่วไปว่า รถไฟฟ้าบีทีเอส (BTS Skytrain) เป็นระบบขนส่งมวลชนแบบรางในพื้นที่ กรุงเทพมหานคร, จังหวัดสมุทรปราการ และจังหวัดปทุมธานี ดำเนินการโดย บริษัท ระบบขนส่งมวลชนกรุงเทพ จำกัด (มหาชน) และบริษัท กรุงเทพธนาคม จำกัด ภายใต้สัมปทานของกรุงเทพมหานคร และสัญญาว่าด้วยความเข้าใจกับการรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนแห่งประเทศไทย เริ่มเปิดให้บริการครั้งแรกเมื่อวันที่ 5 ธันวาคม พ.ศ. 2542.

ใหม่!!: รถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคลและรถไฟฟ้าบีทีเอส · ดูเพิ่มเติม »

รถไฟฟ้าบีทีเอส สายสุขุมวิท

รถไฟฟ้าเฉลิมพระเกียรติ 6 รอบพระชนมพรรษา สาย 1 หรือ รถไฟฟ้าบีทีเอส สายสุขุมวิท หรือ รถไฟฟ้าสายสีเขียวอ่อน เป็นส่วนหนึ่งของแผนแม่บทระบบขนส่งมวลชนทางราง ในกรุงเทพมหานครและปริมณฑล โดยจะครอบคลุมพื้นที่กรุงเทพมหานคร, จังหวัดปทุมธานี และจังหวัดสมุทรปราการ เปิดให้บริการครั้งแรกในปี..

ใหม่!!: รถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคลและรถไฟฟ้าบีทีเอส สายสุขุมวิท · ดูเพิ่มเติม »

รถไฟฟ้าบีทีเอส สายสีลม

รถไฟฟ้าเฉลิมพระเกียรติ 6 รอบพระชนมพรรษา สาย 2 หรือ รถไฟฟ้าบีทีเอส สายสีลม หรือ รถไฟฟ้าสายสีเขียวเข้ม เป็นส่วนหนึ่งของแผนแม่บทระบบขนส่งมวลชนทางราง ในกรุงเทพมหานครและปริมณฑล โดยจะครอบคลุมพื้นที่ทั้งฝั่งพระนคร และฝั่งธนบุรี กรุงเทพมหานคร เปิดให้บริการครั้งแรกในปี..

ใหม่!!: รถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคลและรถไฟฟ้าบีทีเอส สายสีลม · ดูเพิ่มเติม »

รถไฟฟ้ากรุงเทพ

ริษัท รถไฟฟ้ากรุงเทพ จำกัด (มหาชน) (BANGKOK METRO PUBLIC COMPANY LIMITED ชื่อย่อ: BMCL) บริษัก่อตั้งเมื่อวันที่ 18 กุมภาพัน..

ใหม่!!: รถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคลและรถไฟฟ้ากรุงเทพ · ดูเพิ่มเติม »

รถไฟฟ้ามหานคร

รถไฟฟ้ามหานคร (Metropolitan Rapid Transit, MRT) เป็นระบบรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนในกรุงเทพมหานครและปริมณฑล ที่ดำเนินการโดยการรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนแห่งประเทศไทย (รฟม.) เป็นส่วนหนึ่งของโครงข่ายระบบขนส่งมวลชนทางราง ในกรุงเทพมหานครและปริมณฑลนอกเหนือไปจากระบบรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนอื่น ได้แก่ ระบบขนส่งมวลชนกรุงเทพมหานคร (รถไฟฟ้าบีทีเอส) ของกรุงเทพมหานคร (กทม.) และโครงการระบบรถไฟชานเมือง (สายสีแดง) ของการรถไฟแห่งประเทศไทย (รฟท.) รถไฟฟ้ามหานครที่เปิดให้บริการแล้วในปัจจุบันได้แก่ รถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคล และสายฉลองรัชธรรม.

ใหม่!!: รถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคลและรถไฟฟ้ามหานคร · ดูเพิ่มเติม »

รถไฟฟ้ามหานคร สายสีส้ม

รถไฟฟ้ามหานคร สายสีส้ม (Metropolitan Rapid Transit Orange Line, MRT Orange Line) เป็นหนึ่งในโครงการก่อสร้างเส้นทางรถไฟฟ้าในระบบรถไฟฟ้ามหานคร ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของโครงการระบบขนส่งมวลชนทางรางในกรุงเทพมหานคร และปริมณฑล โดยการรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนแห่งประเทศไทย (รฟม.) เป็นระบบรถไฟฟ้าที่มีทั้งโครงสร้างใต้ดิน และยกระดับ มีแนวเส้นทางที่รองรับการเดินทางภายในเขตเมืองตามแนวตะวันออก - ตะวันตก เริ่มต้นจากสถานีรถไฟชุมทางตลิ่งชัน ชานเมืองด้านทิศตะวันตกเฉียงเหนือของกรุงเทพฯ ฝั่งธนบุรี เข้าสู่ย่านบางกอกน้อย แล้วลอดใต้แม่น้ำเจ้าพระยา เข้าสู่ย่านเมืองเก่าในเขตพระนคร, ป้อมปราบศัตรูพ่าย และดุสิต ผ่านสถานที่สำคัญเช่น สนามหลวง, ถนนราชดำเนิน, ภูเขาทอง, ตลาดมหานาค เข้าสู่ใจกลางเมืองย่านราชเทวี, ประตูน้ำ, ดินแดง ไปยังชุมชนประชาสงเคราะห์, ถนนวัฒนธรรม ออกสู่ถนนรามคำแหง, บางกะปิ, สะพานสูง มาสิ้นสุดเส้นทางที่เขตมีนบุรี ชานเมืองด้านทิศตะวันออกเฉียงเหนือของกรุงเทพฯเอกสารโครงการศึกษาปรับแผนแม่บทระบบขนส่งมวลชนทางรางในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล: การสัมมนารับฟังความคิดเห็นครั้งที่ 3 วันที่ 19 พฤศจิกายน..

ใหม่!!: รถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคลและรถไฟฟ้ามหานคร สายสีส้ม · ดูเพิ่มเติม »

รถไฟฟ้ามหานคร สายฉลองรัชธรรม

รถไฟฟ้ามหานคร สายฉลองรัชธรรม (Metropolitan Rapid Transit Chalong Ratchadham Line) หรือ รถไฟฟ้ามหานคร สายสีม่วง (MRT Purple Line) ซึ่งเรียกตามสีที่กำหนดในแผนแม่บทโครงการระบบขนส่งมวลชนทางรางในกรุงเทพมหานครและปริมณฑล เป็นหนึ่งในโครงการก่อสร้างเส้นทางรถไฟฟ้าในระบบรถไฟฟ้ามหานคร โดย การรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนแห่งประเทศไทย (รฟม. หรือ MRTA) เส้นทางรถไฟฟ้าสายนี้เกิดขึ้นจากการปรับแผนแม่บทระบบขนส่งมวลชนทางราง พ.ศ. 2538 ที่นำเอาเส้นทางรถไฟฟ้าสายเฉลิมรัชมงคล (สายสีน้ำเงิน) ส่วนต่อขยายเดิมช่วงเตาปูน-บางใหญ่, สายสีม่วงเดิม ช่วงหอสมุดแห่งชาติ-เตาปูน และสายสีส้มเดิม ช่วงสามเสน (หอสมุดแห่งชาติ)-ราษฎร์บูรณะ มาเชื่อมต่อเข้าด้วยกัน กลายเป็นรถไฟฟ้าเส้นทางใหม่ที่กำหนดให้เป็นสายสีม่วง บรรจุในแผนแม่บทฯ ของสำนักงานนโยบายและแผนการขนส่งและจราจร (สนข.) เป็นครั้งแรกเมื่อปี พ.ศ. 2547 นาม ฉลองรัชธรรม เป็นชื่อที่พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานเพื่อเป็นชื่ออย่างเป็นทางการของโครงการรถไฟฟ้ามหานคร สายสีม่วง ระยะแรก สายคลองบางไผ่-นนทบุรี-เตาปูน มีความหมายว่า “เฉลิมฉลองพระราชาที่ปกครองโดยธรรม” โดยการรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนแห่งประเทศไทยได้ยื่นเรื่องขอพระราชทานชื่อเส้นทาง เนื่องในโอกาสฉลองสิริราชสมบัติครบ 70 ปี และเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ ในโอกาสพระราชพืธีมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา 7 รอบ 12 สิงหาคม..

ใหม่!!: รถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคลและรถไฟฟ้ามหานคร สายฉลองรัชธรรม · ดูเพิ่มเติม »

รถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคล

| open.

ใหม่!!: รถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคลและรถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคล · ดูเพิ่มเติม »

รถไฟฟ้าสายสีเหลือง

รงการรถไฟฟ้าสายสีเหลือง ช่วงลาดพร้าว-สำโรง เป็นโครงการระบบขนส่งมวลชนในพื้นที่กรุงเทพมหานครและปริมณฑล โดยการรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนแห่งประเทศไทย ซึ่งกระทรวงคมนาคมโดยสำนักงานนโยบายและแผนการขนส่งและจราจรได้เร่งรัดแผนงานจากกำหนดการเดิมในปี..

ใหม่!!: รถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคลและรถไฟฟ้าสายสีเหลือง · ดูเพิ่มเติม »

รถไฟฟ้าสายสีเทา

รถไฟฟ้าสายสีเทา (วัชรพล-พระโขนง-สะพานพระราม 9-ท่าพระ) เป็นหนึ่งในโครงการก่อสร้างเส้นทางรถไฟฟ้าตามแผนแม่บทระบบขนส่งมวลชนทางราง ในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล..

ใหม่!!: รถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคลและรถไฟฟ้าสายสีเทา · ดูเพิ่มเติม »

รถไฟฟ้าในกรุงเทพมหานครและปริมณฑล

รถไฟฟ้าในกรุงเทพมหานครและปริมณฑล หรือ โครงข่ายระบบรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนในกรุงเทพมหานครและพื้นที่ต่อเนื่อง เป็นระบบขนส่งมวลชนแบบรางใน กรุงเทพมหานครและปริมณฑล เริ่มเปิดให้บริการเป็นครั้งแรกเมื่อปี พ.ศ. 2542 ในเส้นทาง รถไฟฟ้าบีทีเอส สายสุขุมวิท สถานีหมอชิต-สถานีอ่อนนุช และ รถไฟฟ้าบีทีเอส สายสีลม สถานีสนามกีฬาแห่งชาติ-สถานีสะพานตากสิน โดยในปัจจุบันมีรถไฟฟ้าที่เปิดให้บริการแล้วทั้งสิ้น 5 สาย 77 สถานี ครอบคลุมระยะทางกว่า 112 กิโลเมตร*.

ใหม่!!: รถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคลและรถไฟฟ้าในกรุงเทพมหานครและปริมณฑล · ดูเพิ่มเติม »

รถไฟฟ้าโมโนเรล สายจุฬาฯ-สยามสแควร์

รงการรถไฟฟ้าโมโนเรล สายจุฬาฯ - สยามสแควร์ เป็นโครงการรถไฟฟ้าโมโนเรลระยะสั้น บนถนนพญาไท ผ่ากลางจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ดำเนินการโดยกรุงเทพมหานคร ร่วมกับจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และบริษัท กรุงเทพธนาคม จำกัด โดยอยู่ภายใต้โครงการเฉลิมพระเกียรติเนื่องในโอกาสมหามงคล เฉลิมพระชนมพรรษา 7 รอบ 5 ธันวาคม 2554 ในการแก้ไขปัญหาจราจรด้วยระบบขนส่งมวลชน ตามแนวพระราชดำริของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทั้งนี้โครงการรถไฟฟ้าโมโนเรลสายดังกล่าว นอกจากจะมีจุดประสงค์เพื่อเฉลิมพระเกียรติเนื่องในโอกาสมหามงคลแล้วนั้น ยังมีจุดประสงค์เพื่อเชื่อมต่อระบบหลักทั้งสองเส้นที่ปลายถนนพญาไททั้งสองด้าน และแก้ไขปัญหารถติดบริเวณถนนพญาไทฝั่งแยกปทุมวัน และแยกสามย่านที่ปัจจุบันรถวิ่งได้ด้วยความเร็วเฉลี่ยเพียง 6-8 กิโลเมตร/ชั่วโมงเท่านั้น ในขณะนี้ได้พักการดำเนินโครงการไปด้วยเหตุที่ยังมีข้อขัดแย้งหลายประการจากนิสิตและบุคลากรของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ว่าโครงการรถไฟฟ้าโมโนเรลนี้จะเป็นการบดบังทัศนียภาพโดยรวมของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย อีกทั้งขัดต่อมติคณะรัฐมนตรี ปี2538 ที่กำหนดให้ระบบสาธารนูปโภคขั้นพื้นฐาน ระบบขนส่งมวลชนรถไฟฟ้าในเขตกรุงเทพฯชั้นใน ต้องมุดลงใต้ดินเนื่องจากบดบังทัศนียภาพ (กรุงเทพมหานครจะดำเนินการจัดหาแหล่งเงินทุนเอง ซึ่งขณะนี้มีสถาบันการเงิน 3 แห่ง พร้อมให้การสนับสนุน ได้แก่ ธนาคารออมสิน ธนาคารกรุงไทย และธนาคารกรุงศรีอยุธยา อีกทั้งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ยังได้มอบพื้นที่ส่วนหนึ่งของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เพื่อทำการก่อสร้างโรงซ่อมบำรุงรถไฟฟ้า และก่อสร้างศูนย์ราชการเอนกประสงค์ ซึ่งในอนาคตก็จะมีการย้ายสำนักงานเขตปทุมวันมาอยู่ ณ อาคารหลังใหม่นี้).

ใหม่!!: รถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคลและรถไฟฟ้าโมโนเรล สายจุฬาฯ-สยามสแควร์ · ดูเพิ่มเติม »

รถไฟความเร็วสูงสายตะวันออก

วรรณภูมิ รถไฟฟ้า City Line รถไฟความเร็วสูงสายตะวันออก (กรุงเทพมหานคร-ระยอง-ตราด) (Eastern High Speed Train) หรือ โครงการรถไฟความเร็วสูงเชื่อม 3 สนามบิน เดิมคือ โครงการระบบขนส่งมวลชนทางรถไฟเชื่อมท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ หรือ รถไฟฟ้าแอร์พอร์ตเรลลิงก์ เป็นโครงการระบบขนส่งมวลชนแบบพิเศษ ที่เป็นส่วนหนึ่งในโครงการก่อสร้างเส้นทางรถไฟฟ้าในระบบรถไฟฟ้าชานเมืองสายสีแดง และ รถไฟความเร็วสูง เป็นส่วนหนึ่งของโครงการระบบขนส่งมวลชนทางราง ในกรุงเทพมหานครและปริมณฑล และโครงการระบบรถไฟความเร็วสูง ดำเนินการก่อสร้างโดยการรถไฟแห่งประเทศไทย (รฟท.) และเปิดดำเนินการเชิงพาณิชย์โดย บริษัท รถไฟฟ้า ร.ฟ.ท. จำกัด ซึ่งเป็นรัฐวิสาหกิจในกระทรวงคมนาคม.

ใหม่!!: รถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคลและรถไฟความเร็วสูงสายตะวันออก · ดูเพิ่มเติม »

วัดพระเชตุพนวิมลมังคลารามราชวรมหาวิหาร

วัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม (/พระ-เชด-ตุ-พน-วิ-มน-มัง-คะ-ลา-ราม/) หรือ วัดโพธิ์ เป็นพระอารามหลวงชั้นเอก ชนิดราชวรมหาวิหาร และเป็นวัดประจำรัชกาลพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช ทั้งยังเปรียบเสมือนเป็นมหาวิทยาลัยแห่งแรกของประเทศด้วย เนื่องจากเป็นที่รวมจารึกสรรพวิชาหลายแขนง และทางยูเนสโกได้ขึ้นทะเบียนเป็นมรดกความทรงจำโลกของภูมิภาคเอเชียแปซิฟิก เมื่อ มีนาคม..

ใหม่!!: รถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคลและวัดพระเชตุพนวิมลมังคลารามราชวรมหาวิหาร · ดูเพิ่มเติม »

วัดกัลยาณมิตรวรมหาวิหาร

วัดกัลยาณมิตรวรมหาวิหาร หรือ "วัดกัลยาณ์" ตั้งอยู่ริมแม่น้ำเจ้าพระยา ฝั่งธนบุรี บริเวณปากคลองบางกอกใหญ่ฝั่งใต้.

ใหม่!!: รถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคลและวัดกัลยาณมิตรวรมหาวิหาร · ดูเพิ่มเติม »

วัดมังกรกมลาวาส

"ซำป้อหุกโจ้ว" ชื่อเรียกสามพระประธานประจำวัดมังกรกมลาวาส วัดมังกรกมลาวาส หรือ วัดเล่งเน่ยยี่ (ตัวเต็ม: 龍蓮寺, ตัวย่อ: 龙莲寺, พินอิน: Lóng lián sì หลงเหลียนซื่อ, ฮกเกี้ยน: เล้งเหลียนซี่, สำเนียงแต้จิ๋ว: เล่งเน่ยยี่, สำเนียงกวางตุ้ง: หล่งลิ่นจี๋, สำเนียงฮากกา: หลุ่งเหลี่ยนซื้อ) เป็นวัดในสังกัดคณะสงฆ์จีนนิกายแห่งประเทศไทย ตั้งอยู่บนถนนเจริญกรุง ระหว่าง ซอยเจริญกรุง 19 และ 21 ในเขตป้อมปราบศัตรูพ่าย กรุงเทพมหานคร เป็นที่คุ้นเคยในหมู่ชาวไทยเชื้อสายจีน และชาวจีนจากต่างประเทศ วัดนี้ บางคนเรียกว่า "วัดมังกร" เพราะคำว่า "เล่ง" หรือ "เล้ง" ในภาษาจีนแต้จิ๋ว แปลว่ามังกร (คำว่า “เน่ย” แปลว่า ดอกบัวและคำว่า “ยี่” แปลว่า วัด) ชื่อวัดอย่างเป็นทางการคือ "วัดมังกรกมลาวาส" พระราชทานจาก พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 5.

ใหม่!!: รถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคลและวัดมังกรกมลาวาส · ดูเพิ่มเติม »

วังบูรพาภิรมย์

วังบูรพาภิรมย์ นักเรียนโรงเรียนภานุทัต สมัยที่อยู่วังบูรพาภิรมย์ วังบูรพาภิรมย์ เป็นวังที่พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว โปรดเกล้าฯ ให้สร้างขึ้นพระราชทาน สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าภาณุรังษีสว่างวงศ์ กรมพระยาภาณุพันธุวงศ์วรเดช พระเจ้าลูกยาเธอพระองค์สุดท้องในสมเด็จพระเทพศิรินทราบรมราชินี เมื่อ..

ใหม่!!: รถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคลและวังบูรพาภิรมย์ · ดูเพิ่มเติม »

วัน แบงค็อก

วัน แบงค็อก (One Bangkok) เป็นโครงการพัฒนาพื้นที่เชิงพาณิชยกรรมแบบประสม บนพื้นที่ 104 ไร่ หัวมุมถนนพระรามที่ 4 และถนนวิทยุ ซึ่งเดิมเป็นที่ตั้งของโรงเรียนเตรียมทหาร และสวนลุมไนท์บาร์ซาร์ ซึ่งเป็นพื้นที่ของสำนักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์ บริหารงานโดยบริษัท เกษมทรัพย์วัฒน จำกัด ในกลุ่มทีซีซี ออกแบบแผนแม่บทโครงการโดยสคิดมอร์, โอวิงส์ แอนด์ เมอร์ริลล์ ร่วมกับ บริษัท สถาปนิก 49 จำกัด และบริษัท แปลน แอสโซซิเอทส์ จำกัด โดยใช้เงินลงทุน 120,000 ล้านบาท สูงที่สุดในวงการอสังหาริมทรัพย์ไทย กำหนดเปิดให้บริการระยะแรกภายในปี..

ใหม่!!: รถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคลและวัน แบงค็อก · ดูเพิ่มเติม »

วันพ่อแห่งชาติ

วันพ่อแห่งชาติ ตรงกับวันที่ 5 ธันวาคม ของทุกปี เป็นวันคล้ายวันเฉลิมพระชนมพรรษาของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชและเป็นวันชาติ กิจกรรมวันพ่อแห่งชาติจัดติดต่อกันทุกปีตั้งแต..

ใหม่!!: รถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคลและวันพ่อแห่งชาติ · ดูเพิ่มเติม »

วันแม่แห่งชาติ (ประเทศไทย)

วันแม่แห่งชาติ ในประเทศไทย ปัจจุบันตรงกับวันที่ 12 สิงหาคม ของทุกปี ซึ่งตรงกับวันคล้ายวันพระราชสมภพของสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ โดยเริ่มใช้วันดังกล่าวเป็นวันแม่แห่งชาติเมื่อ..

ใหม่!!: รถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคลและวันแม่แห่งชาติ (ประเทศไทย) · ดูเพิ่มเติม »

ศาลาเฉลิมกรุง

ลาเฉลิมกรุง หรือชื่ออย่างเป็นทางการว่า โรงมหรสพหลวง ศาลาเฉลิมกรุง หรือเรียกสั้น ๆ ว่า เฉลิมกรุง เป็นโรงมหรสพหลวง ตั้งอยู่ริมถนนเจริญกรุง แขวงวังบูรพาภิรมย์ เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร เดิมเป็นโรงภาพยนตร์ติดตั้งเครื่องปรับอากาศ ศาลาเฉลิมกรุงได้วางศิลาฤกษ์โดย พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว เมื่อวันที่ 1 กรกฎาคม..

ใหม่!!: รถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคลและศาลาเฉลิมกรุง · ดูเพิ่มเติม »

ศูนย์การประชุมแห่งชาติสิริกิติ์

ูนย์การประชุมแห่งชาติสิริกิติ์ (- QSNCC) เป็นศูนย์การประชุมตั้งอยู่บริเวณถนนรัชดาภิเษก เขตคลองเตย กรุงเทพมหานคร ติดกับโรงงานยาสูบเดิม.

ใหม่!!: รถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคลและศูนย์การประชุมแห่งชาติสิริกิติ์ · ดูเพิ่มเติม »

ศูนย์วัฒนธรรมแห่งประเทศไทย

ทความนี้เกี่ยวข้องกับสถานที่แสดงมหรสพ สำหรับสถานีรถไฟฟ้ามหานคร ดูที่ สถานีศูนย์วัฒนธรรมแห่งประเทศไทย ศูนย์วัฒนธรรมแห่งประเทศไทย (Thailand Cultural Centre) เป็นสถานที่จัดแสดงนิทรรศการและจัดการแสดงต่างๆ อาทิ คอนเสิร์ต ละครเวที รวมไปถึงเป็นสถานที่จัดการประชุมต่างๆ ตั้งอยู่ที่ บ้านเลขที่ 14 ถนนเทียมร่วมมิตร แขวงห้วยขวาง เขตห้วยขวาง กรุงเทพมหานคร โดยผู้อำนวยการศูนย์วัฒนธรรมแห่งประเทศไทย คนปัจจุบัน คือ นางดาวลดา พันธ์วร.

ใหม่!!: รถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคลและศูนย์วัฒนธรรมแห่งประเทศไทย · ดูเพิ่มเติม »

สวนลุมพินี

วนลุมพินี หรือที่นิยมเรียกสั้น ๆ ว่า สวนลุม เป็นสวนสาธารณะแห่งแรกของประเทศไทย เปิดให้บริการตั้งแต่ปี..

ใหม่!!: รถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคลและสวนลุมพินี · ดูเพิ่มเติม »

สวนจตุจักร

วนจตุจักร เป็นสวนสาธารณะสำหรับพักผ่อนหย่อนใจทางตอนเหนือของกรุงเทพฯ ในความดูแลของกรุงเทพมหานคร ทิศตะวันออกจรดถนนพหลโยธิน ทิศเหนือจรดถนนวิภาวดีรังสิต ทิศตะวันตกและทิศใต้จรดถนนกำแพงเพชร 3.

ใหม่!!: รถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคลและสวนจตุจักร · ดูเพิ่มเติม »

สหพัฒนพิบูล

ริษัท สหพัฒนพิบูล จำกัด (มหาชน) (SAHA PATHANAPIBUL PUBLIC COMPANY LIMITED ชื่อย่อ:SPC) เป็นบริษัทตัวแทนจำหน่ายสินค้า อุปโภคบริโภคของคนไท.

ใหม่!!: รถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคลและสหพัฒนพิบูล · ดูเพิ่มเติม »

สุรา

ราที่วางขายในร้าน สุรา (liquor หรือ spirit) หมายถึง น้ำเมาที่ได้จากการกลั่นสารบางประเภท อาทิ เอทิลแอลกอฮอล์ และเมรัย คือ น้ำเมาที่เกิดจากการหมักหรือแช่ให้เกิดสารบางประเภท เมื่อดื่มแล้วสารนั้นจะออกฤทธิ์กดระบบประสาทส่วนกลาง หากดื่มไม่มากอาจรู้สึกผ่อนคลายเนื่องจากสารกดจิตใต้สำนึกที่คอยควบคุมตนเองทำให้กล้าแสดงออกมากขึ้น แต่เมื่อดื่มมากขึ้นก็จะกดสมองบริเวณอื่น ๆ ทำให้เสียการทรงตัว พูดไม่ชัด จนแม้กระทั่งหมดสติในที่สุด ทั้งสุราและเมรัยเรียกโดยภาษาปากว่า "เหล้า" ประเทศต่าง ๆ ได้วางกฎเกณฑ์สำหรับการผลิต การขาย และการบริโภคเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์ ตัวอย่างเช่น กฎหมายที่กำหนดอายุขั้นต่ำสำหรับผู้ที่สามารถบริโภคได้อย่างถูกกฎหมาย ซึ่งแตกต่างกันในแต่ละประเทศ เช่น อายุไม่ต่ำกว่า 16 ปีสำหรับประเทศเยอรมนี ฝรั่งเศส ออสเตรียและสวิสเซอร์แลนด์, ไม่ต่ำกว่า 18 ปีในประเทศไทย หรือไม่ต่ำกว่า 21 ปีในสหรัฐอเมริกา การบริโภคทั้งสุราและเมรัยเป็นข้อห้ามในข้อสุราเมรยมัชปมาทัฏฐานหรือข้อที่ 5 แห่งเบญจศีลของพุทธศาสนา ซึ่งว่า "สุราเมรยมชฺชปมาทฏฺฐานา เวรมณี สิกฺขาปทํสมาทิยามิ" แปลได้ว่า "เราจักถือศีลโดยเว้นจากการบริโภคสุรายาเมาอันเป็นที่ตั้งแห่งความประมาท".

ใหม่!!: รถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคลและสุรา · ดูเพิ่มเติม »

สถานการณ์ฉุกเฉิน

นการณ์ฉุกเฉิน (state of emergency) คือ สถานการณ์อันอาจเป็นภัยต่อความมั่นคงหรือความปลอดภัยแห่งรัฐ หรืออันอาจทำให้รัฐตกอยู่ในภาวะคับขันหรือภาวะการรบหรือการสงคราม ซึ่งฝ่ายบริหารรัฐมีอำนาจประกาศว่าพื้นที่ใดกำลังตกอยู่ในสถานการณ์เช่นว่าโดยอาศัยอำนาจตามกฎหมายของรัฐนั้น ๆ ซึ่งให้อำนาจพิเศษในการจัดการสถานการณ์ฉุกเฉิน และมักเป็นกฎหมายที่มีบทบัญญัติบางประการเกี่ยวกับการจำกัดสิทธิและเสรีภาพของบุคคล อย่างไรก็ดี กฎหมายว่าด้วยสถานการณ์ฉุกเฉินเป็นกฎหมายที่ให้อำนาจพิเศษแก่เจ้าหน้าที่ไม่เบ็ดเสร็จเท่ากฎอัยการศึกหรือกฎหมายที่ใช้ในสภาวะสงคราม การประกาศสถานการณ์ฉุกเฉินมักมีภายหลังจากการเกิดภัยธรรมชาติ การก่อความไม่สงบ หรือการประกาศสงคราม ซึ่งอาจมีผลให้เจ้าหน้าที่บางฝ่ายต้องหยุดการปฏิบัติการตามอำนาจหน้าที่ลงชั่วคราว โดยอำนาจหน้าที่เช่นว่านั้นอาจรวมศูนย์ไปยังเจ้าหน้าที่อีกฝ่ายเพื่ออำนวยความสะดวกในการควบคุมสถานการณ์โดยไม่ชักช้า และอาจนำไปสู่การห้ามออกจากเคหสถาน (curfew) หรือการห้ามมั่วสุมชุมนุมกันเพื่อการใด ๆ ก็ดี ณ พื้นที่นั้นในระหว่างที่มีการประกาศสถานการณ์ฉุกเฉิน.

ใหม่!!: รถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคลและสถานการณ์ฉุกเฉิน · ดูเพิ่มเติม »

สถานีบางซื่อ

นีบางซื่อ สามารถหมายถึง.

ใหม่!!: รถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคลและสถานีบางซื่อ · ดูเพิ่มเติม »

สถานีบางซื่อ (รถไฟฟ้ามหานคร)

นีบางซื่อ (รหัส BAN) เป็นสถานีรถไฟฟ้าใต้ดินในเส้นทางรถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคล บริเวณสถานีรถไฟชุมทางบางซื่อ กรุงเทพมหานคร.

ใหม่!!: รถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคลและสถานีบางซื่อ (รถไฟฟ้ามหานคร) · ดูเพิ่มเติม »

สถานีบางแค

นีบางแค (Bang Khae Station, รหัส BS19) เป็นโครงการสถานีรถไฟฟ้าลอยฟ้า ในเส้นทางรถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคล ส่วนต่อขยาย หัวลำโพง-บางแค ซึ่งโครงการยังอยู่ในระหว่างการก่อสร้าง โดยสถานีจะยกระดับเหนือถนนเพชรเกษม.

ใหม่!!: รถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคลและสถานีบางแค · ดูเพิ่มเติม »

สถานีพระราม 9

นีพระราม 9 (รหัส RAM) เป็นสถานีรถไฟฟ้าใต้ดิน ในเส้นทางรถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคล ที่ถนนรัชดาภิเษก-ห้วยขวาง กรุงเทพมหานคร บริเวณแยกพระราม 9 มีทำเลอยู่ในย่านธุรกิจ อาคารสำนักงาน ศูนย์การค้าด้านอุปกรณ์คอมพิวเตอร์ และสถานบันเทิงย่านรัชดาภิเษก.

ใหม่!!: รถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคลและสถานีพระราม 9 · ดูเพิ่มเติม »

สถานีพหลโยธิน (รถไฟฟ้ามหานคร)

นีพหลโยธิน เป็นสถานีรถไฟฟ้าใต้ดิน ในเส้นทางรถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคล ที่ถนนลาดพร้าว กรุงเทพมหานคร บริเวณห้าแยกลาดพร้าว.

ใหม่!!: รถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคลและสถานีพหลโยธิน (รถไฟฟ้ามหานคร) · ดูเพิ่มเติม »

สถานีกำแพงเพชร

นีกำแพงเพชร (รหัส KAM) เป็นสถานีรถไฟฟ้าใต้ดินในเส้นทางรถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคล ที่ถนนกำแพงเพชร กรุงเทพมหานคร ใช้ชื่อตามถนนกำแพงเพชร ซึ่งตั้งตามพระนามของพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าบุรฉัตรไชยากร กรมพระกำแพงเพชรอัครโยธิน ตั้งอยู่ใจกลางแหล่งค้าขายที่สำคัญคือตลาดนัดจตุจักร ตลาดกลางองค์การตลาดเพื่อเกษตรกร และตลาดสัตว์เลี้ยง องค์การส่งเสริมกิจการโคมนมแห่งประเทศไท.

ใหม่!!: รถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคลและสถานีกำแพงเพชร · ดูเพิ่มเติม »

สถานีภาษีเจริญ

นีภาษีเจริญ (Phasi Charoen Station, รหัส BS18) ป็นโครงการสถานีรถไฟฟ้าลอยฟ้า ในเส้นทางรถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคล ส่วนต่อขยาย หัวลำโพง-บางแค ซึ่งโครงการยังอยู่ในระหว่างการก่อสร้าง โดยสถานีจะยกระดับเหนือถนนเพชรเกษม.

ใหม่!!: รถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคลและสถานีภาษีเจริญ · ดูเพิ่มเติม »

สถานีมักกะสัน

นีมักกะสัน สามารถหมายความถึง.

ใหม่!!: รถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคลและสถานีมักกะสัน · ดูเพิ่มเติม »

สถานีรับส่งผู้โดยสารอากาศยานในเมือง

นชาลาที่ 1 ของรถไฟฟ้า City Line มุ่งหน้าสถานีท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ ภายในอาคารผู้โดยสาร สถานีมักกะสัน สถานีรับส่งผู้โดยสารอากาศยานในเมือง (City Air Terminal, รหัส: A6) หรือ สถานีมักกะสัน เป็นสถานีรถไฟฟ้าในเส้นทางระบบขนส่งทางรถไฟเชื่อมท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ (Suvarnabhumi Airport Rail Link - SARL) โดยเป็นสถานีต้นทางของรถไฟฟ้าเชื่อมท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ สาย Express Line (Suvarnabhumi Airport Rail Link Express Line) ซึ่งจะวิ่งตรงจากมักกะสันสู่สถานีท่าอากาศยานสุวรรณภูมิโดยไม่แวะสถานีรายทาง ระยะทาง 25.7 กิโลเมตร ใช้เวลาไม่เกิน 15 นาที (ต่างจากรถไฟฟ้าเชื่อมท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ สาย City Line (Suvarnabhumi Airport Rail Link City Line) ที่แวะจอดรายทางจากสถานีพญาไทถึงสุวรรณภูมิ) สถานีแห่งนี้เป็นสถานีเดียวในระบบรถไฟฟ้าเชื่อมท่าอากาศยานฯ ที่มีจอแสดงผลข้อมูลเที่ยวบินตรงจากท่าอากาศยานสุวรรณภูมิติดตั้งอยู่ และเป็นสถานีที่ผู้โดยสารสามารถมาเช็คอินและโหลดกระเป๋าได้.

ใหม่!!: รถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคลและสถานีรับส่งผู้โดยสารอากาศยานในเมือง · ดูเพิ่มเติม »

สถานีรัชดาภิเษก

นีรัชดาภิเษก (รหัส RAT) เป็นสถานีรถไฟฟ้าใต้ดิน ในเส้นทางรถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคล ที่ถนนรัชดาภิเษก-ห้วยขวาง กรุงเทพมหานคร ตั้งอยู่ในย่านอาคารสำนักงานและที่พักอาศัยบริเวณซอยโชคชัยร่วมมิตร.

ใหม่!!: รถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคลและสถานีรัชดาภิเษก · ดูเพิ่มเติม »

สถานีรถไฟกรุงเทพ

นอกสถานีรถไฟกรุงเทพ ภายในสถานีรถไฟกรุงเทพ สถานีรถไฟกรุงเทพ หรือที่นิยมเรียกกันว่า สถานีรถไฟหัวลำโพง เป็นสถานีรถไฟหลักของประเทศไทย และเป็นสถานีที่เก่าแก่ที่สุด สร้างในสมัย รัชกาลที่ 5 ในปี พ.ศ. 2453 สร้างเสร็จและเริ่มใช้งาน วันที่ 25 มิถุนายน พ.ศ. 2459 ในปัจจุบันสถานีรถไฟหัวลำโพง มีทางเชื่อมต่อที่มีรูปแบบทางสถาปัตยกรรมที่ดูกลมกลืนกับรถไฟฟ้ามหานครหรือรถไฟฟ้าใต้ดินบริเวณถนนพระรามที่ 4 การก่อสร้างสถานีกรุงเทพ ก่อสร้างในลักษณะโดมสไตล์อิตาเลียนผสมกับศิลปะแบบเรอเนสซองซ์ ซึ่งมีความคล้ายคลึงกับสถานีรถไฟแฟรงก์เฟิร์ตในประเทศเยอรมนี การประดับหลัก ประดับด้วยหินอ่อนและเพดานมีการสลักลายนูนต่าง ๆ โดยมีนาฬิกาขนาดใหญ่ ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 160 เซนติเมตร ตั้งอยู่กลางสถานีรถไฟเป็นสัญลักษณ์แห่งหนึ่ง สถานีกรุงเทพ มีรถไฟประมาณ 200 ขบวนต่อวัน โดยมีผู้โดยสารหลายหมื่นคน (ข้อมูลปี พ.ศ. 2561) โดยเฉพาะช่วงวันสำคัญ เช่น วันขึ้นปีใหม่ วันสงกรานต์ จะมีผู้โดยสารเป็นจำนวนมาก.

ใหม่!!: รถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคลและสถานีรถไฟกรุงเทพ · ดูเพิ่มเติม »

สถานีลาดพร้าว

นีลาดพร้าว เป็นสถานีรถไฟฟ้าที่ตั้งอยู่ที่บริเวณสี่แยกรัชดา-ลาดพร้าว หรือจุดตัดระหว่าง ถนนรัชดาภิเษก และ ถนนลาดพร้าว ในพื้นที่แขวงจอมพล เขตจตุจักร กรุงเทพมหานคร เป็นสถานีรถไฟฟ้าในเส้นทาง รถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคล และ รถไฟฟ้าสายสีเหลือง ทั้งสองสถานีเป็นสถานีที่อยู่ภายใต้การดูแลของ การรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนแห่งประเทศไท.

ใหม่!!: รถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคลและสถานีลาดพร้าว · ดูเพิ่มเติม »

สถานีลุมพินี

นีลุมพินี (รหัส LUM) เป็นสถานีรถไฟฟ้าใต้ดิน ในเส้นทางรถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคล ที่ถนนพระรามที่ 4 กรุงเทพมหานคร บริเวณสี่แยกวิทยุ เยื้องกับสวนลุมพินี ในอนาคต จะเชื่อมต่อกับโครงการรถไฟฟ้าสายสีเทา และรถไฟฟ้าสายสีฟ้า ที่สถานีลุมพินี.

ใหม่!!: รถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคลและสถานีลุมพินี · ดูเพิ่มเติม »

สถานีวัดมังกร

นบริเวณทางลงสู่ตัวสถานี ที่ได้รับแรงบันดาลใจในการออกแบบจากท้องของมังกร สถานีวัดมังกร เป็นสถานีรถไฟฟ้าใต้ดิน ในเส้นทางรถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคล ส่วนต่อขยายหัวลำโพง-บางแค ซึ่งโครงการยังอยู่ระหว่างการก่อสร้าง โดยเป็นสถานีในระบบใต้ดินที่อยู่ใจกลางย่านธุรกิจของชาวไทยเชื่อสายจีน ในแนวถนนเจริญกรุง กรุงเทพมหานคร บริเวณย่านวัดมังกรกมลาวาส (วัดเล่งเน่ยยี่) ใกล้กับถนนเยาวราช ซึ่งถือเป็นไชน่าทาวน์ของเมืองไท.

ใหม่!!: รถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคลและสถานีวัดมังกร · ดูเพิ่มเติม »

สถานีศาลาแดง

นีศาลาแดง เป็นสถานีรถไฟลอยฟ้า ในเส้นทางรถไฟฟ้าเฉลิมพระเกียรติ 6 รอบพระชนมพรรษา (รถไฟฟ้าบีทีเอส) สายสีลม ยกระดับเหนือถนนสีลม กรุงเทพมหานคร ใจกลางย่านธุรกิจถนนสีลม เป็นจุดเชื่อมต่อกับสถานีสีลม ของรถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคล ซึ่งในเวลาเร่งด่วนจะเป็นสถานีที่มีผู้โดยสารใช้งานเป็นอันดับ 2 รองจากสถานีสยามเลยทีเดียว เนื่องจากมีสำนักงานมากม.

ใหม่!!: รถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคลและสถานีศาลาแดง · ดูเพิ่มเติม »

สถานีศูนย์การประชุมแห่งชาติสิริกิติ์

นีศูนย์การประชุมแห่งชาติสิริกิติ์ (รหัส SRI) หรือสถานีศูนย์ฯ สิริกิติ์ เป็นสถานีรถไฟฟ้าใต้ดิน ในเส้นทางรถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคล ที่ถนนรัชดาภิเษก-พระรามที่ 4 กรุงเทพมหานคร บริเวณด้านหน้าศูนย์การประชุมแห่งชาติสิริกิติ์ มีทำเลอยู่ใจกลางย่านธุรกิจ ใกล้กับตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย, สวนเบญจกิติ และตลาดคลองเต.

ใหม่!!: รถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคลและสถานีศูนย์การประชุมแห่งชาติสิริกิติ์ · ดูเพิ่มเติม »

สถานีศูนย์วัฒนธรรมแห่งประเทศไทย

นีศูนย์วัฒนธรรมแห่งประเทศไทย (รหัส CUL) หรือสถานีศูนย์วัฒนธรรมฯ เป็นสถานีรถไฟฟ้าใต้ดิน ในเส้นทางรถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคล และรถไฟฟ้ามหานคร สายสีส้ม ที่ถนนรัชดาภิเษก-ห้วยขวาง กรุงเทพมหานคร ตั้งอยู่ในย่านธุรกิจ ศูนย์การค้า ที่พักอาศัย และอยู่ใกล้สถานที่สำคัญด้านศิลปวัฒนธรรม เช่นศูนย์วัฒนธรรมแห่งประเทศไทย นอกจากนี้ยังทำหน้าที่เป็นชุมทางรถไฟฟ้าในทิศทางจากสถานีห้วยขวางขึ้นบนระดับพื้นดิน เข้าสู่ ศูนย์ซ่อมบำรุงรถไฟฟ้ามหานคร ห้วยขวาง.

ใหม่!!: รถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคลและสถานีศูนย์วัฒนธรรมแห่งประเทศไทย · ดูเพิ่มเติม »

สถานีสวนจตุจักร

นีสวนจตุจักร เป็นสถานีรถไฟฟ้าใต้ดิน ในเส้นทางรถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคล ที่ถนนพหลโยธิน กรุงเทพมหานคร บริเวณหน้าสวนจตุจักร เป็นจุดเชื่อมต่อการเดินทางที่สำคัญของกรุงเทพฯ ด้านเหนือ เนื่องจากสามารถเชื่อมต่อกับสถานีหมอชิต ซึ่งเป็นสถานีปลายทางของรถไฟฟ้าเฉลิมพระเกียรติ 6 รอบพระชนมพรรษา (รถไฟฟ้าบีทีเอส) สายสุขุมวิท ได้โดยตรง และมีลานจอดรถขนาดใหญ่ให้บริการผู้โดยสาร นอกจากนี้ยังอยู่ไม่ไกลจากสถานีขนส่งผู้โดยสารกรุงเทพ (จตุจักร) หรือหมอชิตใหม่ สถานีขนส่งสายเหนือและตะวันออกเฉียงเหนือ ซึ่งสามารถเดินทางต่อไปได้ด้วยรถประจำทางและแท็กซี.

ใหม่!!: รถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคลและสถานีสวนจตุจักร · ดูเพิ่มเติม »

สถานีสามยอด

นีสามยอด (Sam Yot Station) เป็นสถานีรถไฟฟ้าใต้ดิน ในเส้นทางรถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคล และรถไฟฟ้ามหานคร สายฉลองรัชธรรม ซึ่งโครงการยังอยู่ระหว่างการก่อสร้าง โดยเป็นสถานีในระบบใต้ดินที่อยู่ภายในอาณาบริเวณเกาะรัตนโกสินทร์รอบนอก ในแนวถนนเจริญกรุงตัดกับถนนมหาไชยที่แยกสามยอด จนถึงถนนเจริญกรุงตัดกับถนนอุณากรรณและถนนบูรพาที่แยกอุณากรรณ ในพื้นที่แขวงวังบูรพาภิรมย์ เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร.

ใหม่!!: รถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคลและสถานีสามยอด · ดูเพิ่มเติม »

สถานีสามย่าน

นีสามย่าน (รหัส SAM) เป็นสถานีรถไฟฟ้าใต้ดิน ในเส้นทางรถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคล ที่ถนนพระรามที่ 4 กรุงเทพมหานคร บริเวณสี่แยกสามย่าน มีทำเลอยู่ใจกลางเมือง ใกล้จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และย่านธุรกิจบริเวณสามย่าน สี่พระยา และสุรวง.

ใหม่!!: รถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคลและสถานีสามย่าน · ดูเพิ่มเติม »

สถานีสุทธิสาร

นีสุทธิสาร (รหัส SUT) เป็นสถานีรถไฟฟ้าใต้ดิน ในเส้นทางรถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคล ที่ถนนรัชดาภิเษก กรุงเทพมหานคร ตั้งอยู่ในย่านอาคารที่พักอาศัย โรงแรม สถานเริงรมย์บนถนนรัชดาภิเษก และสถานบันเทิงย่านสุทธิสาร.

ใหม่!!: รถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคลและสถานีสุทธิสาร · ดูเพิ่มเติม »

สถานีสุขุมวิท

นีสุขุมวิท เป็นสถานีรถไฟฟ้าใต้ดิน ในเส้นทางรถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคล ที่ถนนอโศกมนตรี กรุงเทพมหานคร บริเวณสี่แยกอโศกมนตรี เป็นจุดเชื่อมต่อกับสถานีอโศก ของรถไฟฟ้าเฉลิมพระเกียรติ 6 รอบพระชนมพรรษา (รถไฟฟ้าบีทีเอส) สายสุขุมวิท นอกจากนี้ สถานีสุขุมวิท ยังเป็นสถานีรถไฟฟ้าใต้ดินที่มีผู้โดยสารมาใช้บริการมากที่สุดของ.

ใหม่!!: รถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคลและสถานีสุขุมวิท · ดูเพิ่มเติม »

สถานีสีลม

นีสีลม (รหัส SIL) เป็นสถานีรถไฟฟ้าใต้ดิน ในเส้นทางรถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคล ที่ถนนพระรามที่ 4 กรุงเทพมหานคร บริเวณสี่แยกศาลาแดง มีทำเลอยู่ใจกลางเมืองในย่านธุรกิจถนนสีลม.

ใหม่!!: รถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคลและสถานีสีลม · ดูเพิ่มเติม »

สถานีสนามไชย

นีสนามไชย เป็นสถานีรถไฟฟ้าใต้ดิน ในเส้นทางรถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคล ส่วนต่อขยายหัวลำโพง-บางแค ซึ่งโครงการยังอยู่ระหว่างการก่อสร้าง โดยเป็นสถานีในระบบใต้ดินที่อยู่ใจกลางพื้นที่อนุรักษ์เกาะรัตนโกสินทร์ ในแนวถนนสนามไชย กรุงเทพมหานคร บริเวณวัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม เป็นส่วนต่อขยายของเส้นทางรถไฟฟ้าใต้ดินจากสถานีหัวลำโพง ผ่านพื้นที่เมืองเก่าก่อนลอดใต้แม่น้ำเจ้าพระยาบริเวณปากคลองตลาด ไปยังฝั่งธนบุรี และยกระดับขึ้นสู่สถานีท่าพระต่อไป.

ใหม่!!: รถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคลและสถานีสนามไชย · ดูเพิ่มเติม »

สถานีหมอชิต

นีหมอชิต เป็นสถานีรถไฟลอยฟ้า ในเส้นทางรถไฟฟ้าเฉลิมพระเกียรติ 6 รอบพระชนมพรรษา (รถไฟฟ้าบีทีเอส) สายสุขุมวิท ยกระดับเหนือถนนพหลโยธิน กรุงเทพมหานคร บริเวณหน้าสวนจตุจักร เป็นจุดเชื่อมต่อการเดินทางที่สำคัญของกรุงเทพฯ ด้านเหนือ เนื่องจากเป็นสถานีปลายทางของรถไฟฟ้าสายสุขุมวิท ซึ่งมีลานจอดรถขนาดใหญ่ให้บริการผู้โดยสาร และยังสามารถเปลี่ยนเส้นทางไปยังสถานีสวนจตุจักร ของรถไฟฟ้ามหานครได้ นอกจากนี้ยังอยู่ไม่ไกลจากสถานีขนส่งผู้โดยสารกรุงเทพ (จตุจักร) หรือหมอชิตใหม่ สถานีขนส่งสายเหนือและตะวันออกเฉียงเหนือ ซึ่งสามารถเดินทางต่อไปได้ด้วยรถประจำทางและแท็กซี่ โดยจะเป็นสถานีสุดท้ายที่อยู่ในความรับผิดชอบของกรุงเทพมหานคร ก่อนจะเข้าสู่ย่านลาดพร้าวซึ่งเป็นพื้นที่ในความรับผิดชอบของการรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนแห่งประเทศไทย ที่จะดำเนินการก่อสร้างส่วนต่อขยายต่อไปจนถึงย่านลำลูกกาในอนาคต.

ใหม่!!: รถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคลและสถานีหมอชิต · ดูเพิ่มเติม »

สถานีหลักสอง

นีหลักสอง (Lak Song Station, รหัส BS20) เป็นโครงการสถานีรถไฟฟ้าลอยฟ้า ในเส้นทางรถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคล ส่วนต่อขยาย หัวลำโพง-บางแค ซึ่งโครงการยังอยู่ในระหว่างการก่อสร้าง โดยสถานีจะยกระดับเหนือถนนเพชรเกษม.

ใหม่!!: รถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคลและสถานีหลักสอง · ดูเพิ่มเติม »

สถานีหัวลำโพง

นีหัวลำโพง อาจหมายถึง.

ใหม่!!: รถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคลและสถานีหัวลำโพง · ดูเพิ่มเติม »

สถานีหัวลำโพง (รถไฟฟ้ามหานคร)

นีหัวลำโพง เป็นสถานีรถไฟฟ้าใต้ดิน ในเส้นทางรถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคล ที่ถนนพระรามที่ 4 กรุงเทพมหานคร บริเวณสถานีรถไฟกรุงเทพ (หัวลำโพง) ซึ่งเป็นสถานีรถไฟที่เก่าแก่ที่สุด และเป็นสถานีรถไฟหลักของประเทศไทย เนื่องจากเป็นสถานีปลายทางและเพื่อรำลึกถึงกิจการรถไฟในประเทศไทย จึงใช้สถานีหัวลำโพงเป็นสถานที่ทำพิธีวางศิลาฤกษ์โครงการ และทำพิธีเปิดการเดินรถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคล นอกจากนี้ยังมีส่วนจัดแสดงนิทรรศการถาวรเกี่ยวกับความเป็นมาของโครงการรถไฟฟ้ามหานครอยู่ภายในสถานี.

ใหม่!!: รถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคลและสถานีหัวลำโพง (รถไฟฟ้ามหานคร) · ดูเพิ่มเติม »

สถานีห้าแยกลาดพร้าว

นีห้าแยกลาดพร้าว (Ladphrao Intersection Station, รหัส N9) เป็นสถานีรถไฟลอยฟ้าในเส้นทางรถไฟฟ้าบีทีเอส สายสุขุมวิท ส่วนต่อขยายหมอชิต-สะพานใหม่-คูคต ยกระดับเหนือถนนพหลโยธิน บริเวณสุดเขตสวนจตุจักร กรุงเทพมหานคร ปัจจุบันกำลังก่อสร้าง และอยู่ในความรับผิดชอบของการรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนแห่งประเทศไท.

ใหม่!!: รถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคลและสถานีห้าแยกลาดพร้าว · ดูเพิ่มเติม »

สถานีอิสรภาพ

นีอิสรภาพ (Itsaraphap Station) เป็นสถานีรถไฟฟ้าใต้ดินในเส้นทางรถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคล ส่วนต่อขยายหัวลำโพง-บางแค ซึ่งโครงการอยู่ในระหว่างการก่อสร้าง โดยเป็นสถานีรถไฟฟ้าใต้ดินสถานีแรกและสถานีเดียวของสายเฉลิมรัชมงคลที่มีเขตที่ตั้งอยู่ที่ฝั่งธนบุรี ในแนวตัดขวางกับถนนอิสรภาพ บริเวณซอยอิสรภาพ 36 สถานีนี้เป็นสถานีสุดท้ายของส่วนต่อขยายหัวลำโพง-บางแค ที่เป็นสถานีใต้ดิน ก่อนยกระดับเข้าสู่สถานีท่าพระต่อไป อีกทั้งยังเป็นสถานีที่เชื่อมต่อไปยังอุโมงค์ลอดใต้เแม่น้ำเจ้าพระยาเพื่อข้ามไปฝั่งพระนคร คือ สถานีสนามไชย อีกด้ว.

ใหม่!!: รถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคลและสถานีอิสรภาพ · ดูเพิ่มเติม »

สถานีอโศก

นีอโศก เป็นสถานีรถไฟลอยฟ้า ในเส้นทางรถไฟฟ้าเฉลิมพระเกียรติ 6 รอบพระชนมพรรษา (รถไฟฟ้าบีทีเอส) สายสุขุมวิท ยกระดับเหนือถนนสุขุมวิท กรุงเทพมหานคร บริเวณสี่แยกอโศกมนตรี เป็นจุดเชื่อมต่อกับสถานีสุขุมวิท ของรถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคล.

ใหม่!!: รถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคลและสถานีอโศก · ดูเพิ่มเติม »

สถานีท่าพระ

นีท่าพระ เป็นสถานีรถไฟฟ้าในเส้นทางรถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคล ส่วนต่อขยาย ซึ่งโครงการยังอยู่ระหว่างการก่อสร้าง โดยเป็นสถานีที่เชื่อมต่อทั้งสองส่วนของสายเฉลิมรัชมงคลเข้าไว้ดัวยกัน ก่อให้เกิดเป็นเส้นทางรถไฟฟ้าวงแหวนภายในเขตกรุงเทพมหานครชั้นกลางและชั้นใน ยกระดับเหนือแยกท่าพระ บริเวณจุดตัดระหว่าง ถนนจรัญสนิทวงศ์ ถนนเพชรเกษม และถนนรัชดาภิเษกฝั่งใต้ ในพื้นที่เขตบางกอกใหญ่ กรุงเทพมหานคร.

ใหม่!!: รถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคลและสถานีท่าพระ · ดูเพิ่มเติม »

สถานีคลองเตย

นีคลองเตย (รหัส KHO) เป็นสถานีรถไฟฟ้าใต้ดิน ในเส้นทางรถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคล ที่ถนนพระรามที่ 4 กรุงเทพมหานคร บริเวณทางขึ้น-ลงทางพิเศษเฉลิมมหานคร ใกล้ซอยโรงงานยาสู.

ใหม่!!: รถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคลและสถานีคลองเตย · ดูเพิ่มเติม »

สถานีเพชรบุรี

นีเพชรบุรี สามารถหมายความถึง.

ใหม่!!: รถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคลและสถานีเพชรบุรี · ดูเพิ่มเติม »

สถานีเพชรบุรี (รถไฟฟ้ามหานคร)

นีเพชรบุรี (รหัส PET) เป็นสถานีรถไฟฟ้าใต้ดิน ในเส้นทางรถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคล ที่ถนนอโศก-ดินแดง กรุงเทพมหานคร บริเวณสี่แยกอโศก-เพชรบุรี เป็นสถานีเชื่อมต่อรถไฟฟ้าเชื่อมต่อท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ ที่ สถานีรับส่งผู้โดยสารอากาศยานในเมือง หรือสถานีมักกะสัน (อโศก).

ใหม่!!: รถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคลและสถานีเพชรบุรี (รถไฟฟ้ามหานคร) · ดูเพิ่มเติม »

สงกรานต์

ำหรับ สงกรานต์ ความหมายอื่น ดูที่: สงกรานต์ (แก้ความกำกวม) สงกรานต์ (សង្រ្កាន្ត; သင်္ကြန်; ສົງການ; 泼水节) เป็นประเพณีของประเทศไทย กัมพูชา ลาว พม่า ชนกลุ่มน้อยชาวไทแถบเวียดนามและมณฑลยูนนานของจีน ศรีลังกาและทางตะวันออกของประเทศอินเดีย สันนิษฐานว่า สงกรานต์ได้รับอิทธิพลมาจากเทศกาลโฮลี (होली) ในอินเดีย แต่เทศกาลโฮลีจะใช้การสาดสีแทน เริ่มในทุกวันแรม 1 ค่ำเดือน 4 คือ ในเดือนมีนาคม สงกรานต์เป็นคำสันสกฤต หมายถึง "การเคลื่อนย้าย" ซึ่งเป็นการอุปมาถึงการเคลื่อนย้ายของการประทับในจักรราศี คือการเคลื่อนขึ้นปีใหม่ในความเชื่อของไทยและบางประเทศในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ สงกรานต์สืบทอดมาแต่โบราณคู่กับตรุษ จึงเรียกรวมกันว่า ประเพณีตรุษสงกรานต์ หมายถึง ส่งท้ายปีเก่าต้อนรับปีใหม่ เดิมวันที่จัดเทศกาลกำหนดโดยการคำนวณทางดาราศาสตร์ แต่ปัจจุบันระบุแน่นอนว่า 13 ถึง 15 เมษายน วันขึ้นปีใหม่ไทยเป็นวันเริ่มปีปฏิทินของไทยจนถึง..

ใหม่!!: รถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคลและสงกรานต์ · ดูเพิ่มเติม »

หมากฝรั่ง

หมากฝรั่ง หมายถึงยางสังเคราะห์ที่ถูกแต่งกลิ่น รส และสีให้เป็นกลิ่นรสต่างๆ ตามที่ต้องการ เช่น โคคาโคล่า ส้ม มินต์ เป็นต้น โดยในอดีตมักทำมาจากยาง.

ใหม่!!: รถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคลและหมากฝรั่ง · ดูเพิ่มเติม »

อาเจียน

อาเจียน เป็นอาการขับออกซึ่งสิ่งต่างๆ ที่อยู่ในท้องอย่างเฉียบพลันออกทางปาก และบางครั้งทางจมูกด้วย การอาเจียนที่ไม่พึงประสงค์เกิดมาจากหลายสาเหตุตั้งแต่เยื่อบุกระเพาะอักเสบ หรือ ได้รับสารพิษ จนไปถึงเนื้องอกในสมอง เมารถเมาเรือ หรือแม้กระทั่งมาจากความดันในกะโหลกสูง อาการที่อยากจะอาเจียนเรียกว่าอาการคลื่นไส้ อาการนี้มักจะเกิดก่อนการอาเจียน แต่ไม่ได้แปลว่ามีอาการนี้แล้วจะต้องอาเจียนเสมอไป ยาแก้อาเจียนอาจจะต้องใช้ระงับการอาเจียนในรายที่มีอาการหนักมาก.

ใหม่!!: รถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคลและอาเจียน · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอกระทุ่มแบน

กระทุ่มแบน เป็นอำเภอหนึ่งในจังหวัดสมุทรสาคร.

ใหม่!!: รถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคลและอำเภอกระทุ่มแบน · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอหาดใหญ่

อำเภอหาดใหญ่ เป็นอำเภอหนึ่งในจังหวัดสงขลา เป็นที่ตั้งของนครหาดใหญ่ เป็นเมืองใหญ่ที่สุดของภาคใต้ หาดใหญ่เป็นเมืองที่มีชื่อเสียงในหลายด้าน เป็นเมืองท่องเที่ยวที่มีชื่อเสียงโดยเฉพาะแถบประเทศมาเลเซีย สิงคโปร์ อินโดนีเซีย จีน และอินเดี.

ใหม่!!: รถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคลและอำเภอหาดใหญ่ · ดูเพิ่มเติม »

อุทกภัยในประเทศไทย พ.ศ. 2554

อุทกภัยในประเทศไท..

ใหม่!!: รถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคลและอุทกภัยในประเทศไทย พ.ศ. 2554 · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดสมุทรสาคร

ังหวัดสมุทรสาคร เป็นจังหวัดหนึ่งในภาคกลางของประเทศไทย อยู่ในพื้นที่กรุงเทพมหานครและปริมณฑล ได้รับการจัดตั้งขึ้นครั้งล่าสุดตามพระราชบัญญัติจัดตั้งจังหวัดสมุทรปราการ จังหวัดนนทบุรี จังหวัดสมุทรสาคร และจังหวัดนครนายก พุทธศักราช 2489 ซึ่งมีผลใช้บังคับตั้งแต่วันที่ 9 พฤษภาคม..

ใหม่!!: รถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคลและจังหวัดสมุทรสาคร · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดสงขลา

งขลา เป็นจังหวัดหนึ่งในภาคใต้ตอนล่าง.

ใหม่!!: รถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคลและจังหวัดสงขลา · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดนครปฐม

ังหวัดนครปฐม เป็นจังหวัดหนึ่งในภาคกลางของประเทศไทย เป็นหนึ่งในห้าจังหวัดที่อยู่ในพื้นที่ปริมณฑลของกรุงเทพมหานคร จังหวัดนี้มีประวัติศาสตร์เก่าแก่ยาวนาน เชื่อว่าเป็นที่ตั้งเก่าแก่ของเมืองในสมัยทวารวดี โดยมีหลักฐานทางประวัติศาสตร์และโบราณคดีเป็นจำนวนมาก.

ใหม่!!: รถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคลและจังหวัดนครปฐม · ดูเพิ่มเติม »

จัตุรัสจามจุรี

มจุรีสแควร์ หรือ จัตุรัสจามจุรี (Chamchuri Square) เป็นศูนย์การค้า อาคารสำนักงานและอาคารพักอาศัย ใจกลางเขตธุรกิจการค้าของกรุงเทพมหานคร คือแยกสามย่าน ถนนสีลมและถนนสุรวงศ์ มีพื้นที่เชื่อมต่อกับส่วนการศึกษาของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย บริหารจัดการโดยสำนักงานจัดการทรัพย์สิน จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย จามจุรีสแควร์ตั้งอยู่บริเวณหัวมุมแยกสามย่านฝั่งคณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เป็นอาคาร 3 หลัง แบ่งเป็นส่วนอาคารสำนักงาน 40 ชั้น ตั้งอยู่ทางทิศตะวันออกสุด ส่วนศูนย์การค้าและศูนย์การเรียนรู้ทางวิทยาศาสตร์ เป็นอาคารสูง 4 ชั้น ตั้งอยู่ตรงกลาง ส่วนอาคารพักอาศัย 23 ชั้น ตั้งอยู่ด้านตะวันตกสุด มีพื้นที่รวม 274,459 ตารางเมตร ชั้นใต้ดินของอาคารสามารถเชื่อมต่อกับสถานีรถฟ้าใต้ดิน (MRT) สถานีสามย่าน ซึ่งนับเป็นการเชื่อมต่อกับอาคารแห่งแรกของไทย นอกจากนี้ อาคารดังกล่าวยังเป็นที่ทำการหลักของ บริษัท โทเทิ่ล แอ็คเซ็ส คอมมูนิเคชั่น จำกัด (มหาชน) หรือ ดีแทค อีกด้ว.

ใหม่!!: รถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคลและจัตุรัสจามจุรี · ดูเพิ่มเติม »

จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

ฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เป็นมหาวิทยาลัยและสถาบันอุดมศึกษาแห่งแรกของประเทศไทย ตั้งอยู่ในเขตปทุมวัน กรุงเทพมหานครราชกิจจานุเบกษ.

ใหม่!!: รถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคลและจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย · ดูเพิ่มเติม »

ถนนพระรามที่ 4

นนพระรามที่ 4 ช่วงสวนลุมพินี ถนนพระรามที่ 4 (Thanon Rama IV) เป็นถนนในกรุงเทพมหานคร เริ่มตั้งแต่ทางแยกหมอมี (แยกจากถนนเจริญกรุง) ข้ามคลองผดุงกรุงเกษมที่สะพานเจริญสวัสดิ์ ผ่านสถานีหัวลำโพง สามย่าน ไปบรรจบถนนสุขุมวิท.

ใหม่!!: รถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคลและถนนพระรามที่ 4 · ดูเพิ่มเติม »

ถนนกาญจนาภิเษก

นนกาญจนาภิเษก (Thanon Kanchanaphisek) หรือ ถนนวงแหวนรอบนอกกรุงเทพมหานคร ซึ่งมีระยะทางส่วนใหญ่เป็น ทางหลวงพิเศษหมายเลข 9 เป็นถนนสายสำคัญที่มีเส้นทางเชื่อมต่อกันเป็นวงแหวนล้อมรอบตัวเมืองกรุงเทพมหานคร จังหวัดนนทบุรี ปทุมธานี และสมุทรปราการ รวมถึงผ่านจังหวัดพระนครศรีอยุธยาด้วย มีระยะทางตลอดทั้งสายรวม 168 กิโลเมตร ถนนสายนี้สร้างขึ้นเพื่อแก้ปัญหาการจราจรที่ติดขัดในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑลที่มีปริมาณการจราจรและการขนส่งเพิ่มขึ้น อันเป็นผลจากความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ และเป็นทางเลี่ยงเมืองกรุงเทพมหานครที่เป็นตัวเชื่อมทางสายหลักเข้าไปสู่ทุกภาคของประเทศ เริ่มก่อสร้างครั้งแรกเมื่อปี..

ใหม่!!: รถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคลและถนนกาญจนาภิเษก · ดูเพิ่มเติม »

ถนนรัชดาภิเษก

นนรัชดาภิเษก (Thanon Ratchadaphisek) เป็นถนนวงแหวนรอบในของกรุงเทพมหานคร เริ่มจากสะพานข้ามคลองบางกอกใหญ่ ผ่านสะพานกรุงเทพ ตัดผ่านถนนพระรามที่ 3 ถนนสุขุมวิท ถนนเพชรบุรี ถนนพระราม 9 ถนนลาดพร้าว ถนนวิภาวดีรังสิต ถนนประชาชื่น ถนนกรุงเทพฯ-นนทบุรี ข้ามสะพานพระราม 7 เข้าเขตอำเภอบางกรวย จังหวัดนนทบุรี ตัดกับถนนบางกรวย-ไทรน้อย ลอดใต้สะพานพระราม 6 เข้าเขตกรุงเทพมหานคร รวมกับถนนจรัญสนิทวงศ์ และมาบรรจบที่ทางแยกท่าพร.

ใหม่!!: รถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคลและถนนรัชดาภิเษก · ดูเพิ่มเติม »

ถนนลาดพร้าว

นนลาดพร้าว (Thanon Lat Phrao) เป็นถนนสายหนึ่งในกรุงเทพมหานคร มีจุดเริ่มต้นที่ห้าแยกลาดพร้าว (หรือที่นิยมเรียกว่า "ปากทางลาดพร้าว") ในพื้นที่เขตจตุจักร ซึ่งเป็นจุดตัดกับถนนพหลโยธินและถนนวิภาวดีรังสิต มีทิศทางมุ่งไปทางทิศตะวันออกเฉียงใต้ ผ่านจุดตัดกับถนนรัชดาภิเษก ผ่านพื้นที่เขตห้วยขวางในระยะสั้น ๆ เข้าพื้นที่เขตวังทองหลาง ผ่านแยกถนนโชคชัย 4 (ลาดพร้าว 53) ซอยลาดพร้าว 71 และถนนประดิษฐ์มนูธรรม เข้าพื้นที่ระหว่างเขตวังทองหลางกับเขตบางกะปิ ผ่านแยกถนนลาดพร้าว 101 (วัดบึงทองหลาง) เข้าพื้นที่เขตบางกะปิ ผ่านสามแยกบางกะปิ ซึ่งเป็นจุดตัดกับถนนศรีนครินทร์ ไปสิ้นสุดที่สี่แยกบางกะปิตัดกับถนนนวมินทร์และถนนพ่วงศิริ โดยจากแยกนี้ไปจะเป็นถนนเสรีไทย ในปี..

ใหม่!!: รถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคลและถนนลาดพร้าว · ดูเพิ่มเติม »

ถนนวิภาวดีรังสิต

นนวิภาวดีรังสิต (Thanon Vibhavadi Rangsit) หรือ ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 31 (ดินแดง - ดอนเมือง) เป็นทางหลวงแผ่นดินสายรองประธานในภาคกลาง เชื่อมต่อถนนในกรุงเทพมหานครกับถนนพหลโยธินสู่ภาคกลาง, ภาคเหนือ และภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทย ถนนสายนี้มีลักษณะเป็นทางหลวงพิเศษหรือซูเปอร์ไฮเวย์ ซึ่งแบ่งช่องทางเดินรถเป็นทางด่วนหรือทางหลัก และทางคู่ขนาน ยกเว้นช่วงที่ผ่านหน้าท่าอากาศยานดอนเมืองจะไม่แบ่งเป็นช่องทางด่วนและทางคู่ขนานเนื่องจากมีพื้นที่จำกัดเพราะถูกขนาบด้วยสนามบิน และทางรถไฟสายเหนือ ปัจจุบันมีทางยกระดับอุตราภิมุข (ดอนเมืองโทลล์เวย์) เป็นทางด่วนพิเศษยกระดับเก็บค่าผ่านทาง อยู่เหนือถนนวิภาวดีรังสิตด้วย เพื่อเป็นทางเลือกให้ผู้เดินทางที่ต้องการความรวดเร็วกว่าเดิม.

ใหม่!!: รถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคลและถนนวิภาวดีรังสิต · ดูเพิ่มเติม »

ถนนสนามไชย

นนสนามไชย ถนนสนามไชย (Thanon Sanam Chai) เป็นถนนสายหนึ่งในพื้นที่แขวงพระบรมมหาราชวัง เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร เป็นถนนที่ตั้งของสถานที่สำคัญหลายแห่ง เช่น กระทรวงกลาโหม, กรมอัยการสูงสุด, พระบรมมหาราชวัง, พระราชวังสราญรมย์, หน่วยบัญชาการรักษาดินแดน ถนนสนามไชย มีจุดเริ่มต้นที่ถนนหน้าพระลานตัดกับถนนราชดำเนินใน ที่บริเวณแยกป้อมเผด็จ สิ้นสุดลงที่ถนนราชินี บริเวณปากคลองตลาด มีความยาวประมาณ 1.1 กิโลเมตร เดิมเป็นถนนที่มีชื่อเรียกว่า "ถนนหน้าจักรวรรดิวังหลวง" เป็นลักษณะเป็นลานกว้าง ๆ มีความสำคัญตั้งแต่ยุคต้นกรุงรัตนโกสินทร์เนื่องด้วยเป็นเส้นทางที่ใช้สำหรับพระราชพิธีหรือกระบวนแห่ต่าง ๆ โดยชื่อ "สนามไชย" มาจากท้องสนามไชย ซึ่งเป็นลานอยู่ข้างท้องสนามหลวง เป็นสถานที่ ๆ ให้ข้าราชบริพารตลอดจนประชาชนใช้สำหรับเข้าเฝ้าทูลละอองธุลีพระบาท พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวในแต่ละรัชกาล ครั้นทรงเสด็จออก ณ พระที่นั่งสุทไธสวรรยปราสาท เนื่องในวโรกาสสำคัญต่าง ๆ โดยชื่อถนนสนามไชย เป็นชื่อพระราชทานจากพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เมื่อปี..

ใหม่!!: รถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคลและถนนสนามไชย · ดูเพิ่มเติม »

ถนนอิสรภาพ

นนอิสรภาพ (Thanon Itsaraphap) เป็นถนนสำคัญสายหนึ่งทางฝั่งธนบุรี กรุงเทพมหานคร.

ใหม่!!: รถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคลและถนนอิสรภาพ · ดูเพิ่มเติม »

ถนนจรัญสนิทวงศ์

นนจรัญสนิทวงศ์ (Thanon Charan Sanit Wong) เป็นถนนในฝั่งธนบุรี กรุงเทพมหานคร เริ่มต้นจากถนนเพชรเกษม ที่สี่แยกท่าพระ ในแขวงวัดท่าพระ เขตบางกอกใหญ่ ตรงไปทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือ ตัดกับถนนพาณิชยการธนบุรี (จรัญสนิทวงศ์ 13) ที่สามแยกพาณิชยการธนบุรี จากนั้นข้ามคลองมอญ เข้าสู่พื้นที่แขวงบางขุนศรี เขตบางกอกน้อย ตรงไปทางทิศเหนือ ตัดกับถนนพรานนกที่สามแยกไฟฉาย จากนั้นโค้งไปทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือ ตัดกับทางรถไฟสายใต้ (จากสถานีรถไฟธนบุรี) เข้าแขวงบางขุนนนท์ ตัดกับถนนบางขุนนนท์ที่สามแยกบางขุนนนท์ จากนั้นข้ามคลองบางกอกน้อยเข้าสู่แขวงอรุณอมรินทร์ ตัดกับถนนบรมราชชนนีที่สี่แยกบรมราชชนนีเข้าสู่พื้นที่เขตบางพลัด โดยเป็นเส้นแบ่งเขตการปกครองระหว่างแขวงบางบำหรุกับแขวงบางยี่ขันไปจนตัดกับถนนสิรินธรและถนนราชวิถีที่สี่แยกบางพลัด จากนั้นจึงเข้าสู่แขวงบางพลัด มุ่งตรงไปทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือ ข้ามคลองบางพลัดเข้าสู่พื้นที่แขวงบางอ้อ และไปสิ้นสุดที่เชิงสะพานพระราม 7 ในพื้นที่ตำบลบางกรวย อำเภอบางกรวย จังหวัดนนทบุรี ชื่อถนนจรัญสนิทวงศ์ตั้งเพื่อเป็นเกียรติแก่หลวงจรัญสนิทวงศ์ (ม.ล.จรัญ สนิทวงศ์) อดีตปลัดกระทรวงคมนาคม เดิมกรุงเทพมหานครติดป้ายชื่อถนนว่า "ถนนจรัลสนิทวงศ์" ต่อมาได้แก้ไขเป็น "จรัญสนิทวงศ์" ตามนามของหลวงจรัญสนิทวงศ์ ปัจจุบันถนนสายนี้เป็นถนนสายสำคัญสายหนึ่งของกรุงเทพมหานคร ปัจจุบันถนนจรัญสนิทวงศ์ตลอดทั้งสายกำลังมีการก่อสร้างรถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคล ส่วนต่อขยายสัญญาที่ 3 ช่วงสถานีเตาปูนถึงสี่แยกท่าพระ เป็นลักษณะรถไฟฟ้าแบบลอยฟ้าเช่นเดียวกับรถไฟฟ้าบีทีเอสและรถไฟฟ้ามหานคร สายฉลองรัชธรรม (เชื่อมต่อกับสายฉลองรัชธรรมที่สถานีเตาปูน) เริ่มดำเนินการก่อสร้างเมื่อปี..

ใหม่!!: รถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคลและถนนจรัญสนิทวงศ์ · ดูเพิ่มเติม »

ถนนเพชรเกษม

นนเพชรเกษม (Thanon Phet Kasem) ซึ่งมีระยะทางส่วนใหญ่เป็น ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 4 สายกรุงเทพมหานคร–จุดผ่านแดนถาวรสะเดา (เขตแดนไทย/มาเลเซีย) เป็นทางหลวงแผ่นดินสายประธานของประเทศไทย ที่มีเส้นทางมุ่งสู่ภาคใต้ของประเทศไทย มีระยะทาง 1277.512 กิโลเมตร นับเป็นทางหลวงหรือถนนสายที่ยาวที่สุดในประเทศไทย ถนนเพชรเกษมมีเส้นทางเริ่มต้นที่สะพานเนาวจำเนียร (ข้ามคลองบางกอกใหญ่) ตั้งอยู่บนเส้นแบ่งการปกครองระหว่างเขตบางกอกใหญ่กับเขตธนบุรี กรุงเทพมหานคร สิ้นสุดที่จุดผ่านแดนถาวรสะเดา อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา บริเวณเขตแดนประเทศไทยกับประเทศมาเลเซีย เชื่อมต่อกับทางด่วนเหนือ–ใต้ สายเหนือ ที่เมืองบูกิตกายูฮีตัม รัฐเกดะห์ ประเทศมาเลเซีย บางช่วงของทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 4 เป็นส่วนหนึ่งของทางหลวงเอเชียสาย 2 และทางหลวงเอเชียสาย 123.

ใหม่!!: รถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคลและถนนเพชรเกษม · ดูเพิ่มเติม »

ถนนเยาวราช

รรยายกาศของเยาวราชยามค่ำคืนและร้านอาหารริมทาง ถนนเยาวราช (Thanon Yaowarat; 耀華力路) เป็นถนนสายหนึ่งในกรุงเทพมหานคร ระยะทางความยาวตลอดเส้นทางประมาณ 1.5 กิโลเมตร ได้รับการกล่าวขานและขนานนามว่าเป็น "ถนนมังกร" โดยมีจุดเริ่มต้นของหัวมังกรที่ซุ้มประตูเฉลิมพระเกียรติ 72 พรรษาบริเวณวงเวียนโอเดียน ท้องมังกรอยู่ที่บริเวณตลาดเก่าเยาวราชและสิ้นสุดปลายหางมังกรที่บริเวณปลายสุดของถนน สร้างขึ้นในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ใช้ระยะเวลาในการตัดถนน 8 ปี ตั้งแต่ ปี พ.ศ. 2434 - พ.ศ. 2443 เพื่อให้เยาวราชกลายเป็นสถานที่สำหรับส่งเสริมการค้าขาย เดิมทีชื่อ "ถนนยุพราช" และได้โปรดเกล้าพระราชทานนามใหม่ว่า "ถนนเยาวราช" ถนนเยาวราชประกอบไปด้วยจุดสำคัญหลายจุดเช่น วงเวียนโอเดียน, ถนนเจริญกรุง ซึ่งอยู่ในท้องที่แขวงสัมพันธวงศ์ เขตสัมพันธวงศ์ ทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือของถนนเยาวราชตัดกับถนนทรงสวัสดิ์ (สี่แยกเฉลิมบุรี), ถนนราชวงศ์ (สี่แยกราชวงศ์) และถนนจักรวรรดิ (สี่แยกวัดตึก) ข้ามคลองรอบกรุง (สะพานภาณุพันธุ์) เข้าสู่ท้องที่แขวงวังบูรพาภิรมย์ เขตพระนคร สิ้นสุดที่แยกถนนพีระพงษ์ตัดกับถนนมหาไชยและถนนจักรเพชร บริเวณถนนเยาวราชเป็นแหล่งชุมชนชาวจีนและชาวไทยเชื้อสายจีนเป็นจำนวนมาก จัดเป็นย่านธุรกิจการค้า, การเงิน การธนาคาร, ร้านทอง, ภัตตาคาร ร้านอาหาร, ร้านค้า ฯลฯ รวมทั้งแหล่งท่องเที่ยวสำคัญแห่งหนึ่งของกรุงเทพมหานครโดยได้รับการขนานนามว่าเป็น "ไชนาทาวน์แห่งกรุงเทพมหานคร" จากนักท่องเที่ยวชาวต่างชาติ และถือว่าเป็นไชนาทาวน์หรือชุมชนชาวจีนที่ใหญ่ที่สุดแห่งหนึ่งของโลก.

ใหม่!!: รถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคลและถนนเยาวราช · ดูเพิ่มเติม »

ถนนเจริญกรุง

นนเจริญกรุงในสมัยรัชกาลที่ 5 ถนนเจริญกรุงในกลางปี พ.ศ. 2559 ช่วงเชิงสะพานพิทยเสถียร (สะพานเหล็กล่าง) ย่านตลาดน้อย เขตสัมพันธวงศ์ ถนนเจริญกรุง (Thanon Charoen Krung) ถนนสายสำคัญสายหนึ่งในพื้นที่กรุงเทพมหานคร เริ่มต้นตั้งแต่ถนนสนามไชยบริเวณวงเวียน รด. หน้าหน่วยบัญชาการรักษาดินแดน สิ้นสุดที่แม่น้ำเจ้าพระยาที่ถนนตก บริเวณโรงพยาบาลเจริญกรุงประชารักษ์ และการไฟฟ้านครหลวง เขตยานวานา เป็นถนนรุ่นแรกที่ใช้เทคนิคการสร้างแบบตะวันตก ผ่านพื้นที่เขตพระนคร, เขตป้อมปราบศัตรูพ่าย, เขตสัมพันธวงศ์, เขตบางรัก, เขตสาทร และเขตบางคอแหลม และเป็นเส้นแบ่งของเขตป้อมปราบศัตรูพ่าย (ด้านซ้าย) กับเขตสัมพันธวงศ์ (ด้านขวา) ตั้งแต่ช่วงคลองถมไปจนถึงบริเวณแยกหมอมี ถนนเจริญกรุงเป็นถนนที่พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวโปรดเกล้าฯ ให้สร้างขึ้นเมื่อวันที่ 15 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2405 แล้วเสร็จใน พ.ศ. 2407 มีความยาวจากถนนสนามไชยถึงดาวคะนอง 8,575 เมตร การก่อสร้างถนนเจริญกรุงนั้นเนื่องจากในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวมีชาวต่างประเทศเข้ามาอยู่ในกรุงเทพฯ มากขึ้น และมีพวกกงสุลได้เข้าชื่อกันขอให้สร้างถนนสายยาวสำหรับขี่ม้าหรือนั่งรถม้าตากอากาศและอ้างว่า “เข้ามาอยู่ที่กรุงเทพมหานครไม่มีถนนหนทางที่จะขี่รถม้าไปเที่ยว พากันเจ็บไข้เนือง ๆ” ในปีระกา พ.ศ. 2404 จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้เจ้าพระยาศรีสุริยวงศ์ (ช่วง บุนนาค ต่อมาคือ สมเด็จเจ้าพระยาบรมมหาศรีสุริยวงศ์ (ช่วง บุนนาค) ที่สมุหพระกลาโหมเป็นแม่กอง พระยาอินทราธิบดีสีหราชรองเมืองเป็นนายงาน รับผิดชอบในการก่อสร้างถนนช่วงตั้งแต่คูเมืองชั้นในถึงถนนตกริมแม่น้ำเจ้าพระยาที่ตำบลบางคอแหลม เรียกว่าถนนเจริญกรุงตอนใต้ (แต่ชาวบ้านมักเรียกว่าเจริญกรุงตอนล่าง) กว้าง 5 วา 4 ศอก (ประมาณ 10 เมตร หรือเทียบได้กับถนน 4 เลน) โดยมีนายเฮนรี อาลาบาศเตอร์ (ต้นสกุลเศวตศิลา) เป็นผู้สำรวจแนวถนนและเขียนแผนผังถนน และในปีจอ พ.ศ. 2405 โปรดเกล้าฯ ให้เจ้าพระยายมราช (ครุฑ) เป็นแม่กอง พระยาบรรหารบริรักษ์ (สุ่น) เป็นนายงาน รับผิดชอบการก่อสร้างถนนเจริญกรุงตอนใน คือช่วงระยะทางตั้งแต่วัดพระเชตุพนวิมลมังคลารามราชวรมหาวิหาร (วัดโพธิ์) ถึงสะพานดำรงสถิต (สะพานเหล็กบน) กว้าง 4 วา โดยสร้างเป็นถนนดินอัด เอาอิฐเรียงตะแคงปูให้ชิดกัน ตรงกลางนูนสูง เมื่อถูกฝนไม่กี่ปีก็ชำรุด การก่อสร้างถนนเจริญกรุงตอนในนี้เดิมกำหนดให้ตัดตรงจากสะพานดำรงสถิต ถึงกำแพงเมืองด้านถนนสนามไชย แต่พระบาทสมเด็จพระปิ่นเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงทักท้วงว่าการสร้างถนนตรงมาสู่พระบรมมหาราชวังอาจเป็นชัยภูมิให้ข้าศึกใช้ตั้งปืนใหญ่ยิงทำลายกำแพงเมืองได้ จึงต้องเปลี่ยนแนวถนนมาหักมุมเลี้ยวตรงเชิงสะพานดำรงสถิต เมื่อสร้างถนนเจริญกรุงเสร็จใหม่ ๆ นั้น ยังไม่ได้พระราชทานนาม จึงเรียกกันทั่วไปว่า ถนนใหม่ และชาวยุโรปเรียกว่า นิวโรด (New Road) ชาวจีนเรียกตามสำเนียงแต้จิ๋วว่า ซิงพะโล่ว (新打路) แปลว่าถนนตัดใหม่ ต่อมา พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวจึงโปรดเกล้าฯ พระราชทานนามถนนว่า "ถนนเจริญกรุง" ซึ่งมีความหมายถึงความเจริญรุ่งเรืองของบ้านเมือง เช่นเดียวกับชื่อถนนบำรุงเมืองและถนนเฟื่องนคร ที่โปรดเกล้าฯ ให้สร้างขึ้นในคราวเดียวกัน.

ใหม่!!: รถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคลและถนนเจริญกรุง · ดูเพิ่มเติม »

ทรู คอร์ปอเรชั่น

ทรู คอร์ปอเรชั่น (True Corporation) (ชื่อเดิม: เทเลคอมเอเซีย คอร์ปอเรชั่น; Telecom Asia Corporation ชื่อย่อ: ทีเอ; TA) แต่เดิมเป็นผู้ให้บริการโทรศัพท์พื้นฐาน และผู้ให้บริการอินเทอร์เน็ต(ISP) ด้วยความร่วมมือและสนับสนุนจากบริษัท เครือเจริญโภคภัณฑ์ หลังจากที่เริ่มมีการขยายตัว และการแข่งขันในด้านการสื่อสารกันมากขึ้น จึงทำการปรับเปลี่ยนภาพลักษณ์จากเดิมมาเป็น กลุ่มบริษัท ทรู คอร์ปอเรชั่น พร้อมกับเปลี่ยนชื่อบริษัทในเครือ เช่น จาก ทีเอ ออเร้นจ์ ผู้ให้บริการโทรศัพท์เคลื่อนที่ (ร่วมทุนระหว่างซีพี และออเร้นจ์ฝรั่งเศส) หลังจากฝรั่งเศสถอนหุ้นกลับไปมาเป็น ทรู มูฟ ซึ่งเป็นผู้ให้บริการโทรศัพท์เคลื่อนที่ อันดับ 3 ของประเทศ และได้ขยายกิจการด้านการโทรคมนาคมอย่างรวดเร็ว ทั้งด้านโทรศัพท์พื้นฐาน (โทรศัพท์บ้าน) ซึ่งเป็นผู้ให้บริการรายใหญ่เป็นอันดับ 1 ในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล, โทรศัพท์บ้านพกพา (วีพีซีที), ผู้ให้บริการอินเทอร์เน็ต (ทรู อินเทอร์เน็ต), เคเบิลทีวีระบบบอกรับเป็นสมาชิกรายเดือน ทรูวิชั่นส์ และรวมไปถึงบันเทิง ทั้งด้าน โทรทัศน์ อินเทอร์เน็ต เกมออนไลน์ โทรศัพท์เคลื่อนที่ ตามลำดับ ซึ่งประกอบไปด้วย ทรูวิชั่นส์ ทรูมูฟ ทรูมันนี่ เอ็นซี ทรู ทรู ดิจิตอล คอนเทนท์ แอนด์ มีเดีย (Future Gamer ทรูไลฟ์ Good Game จีสแควร์ ทรูไอพีทีวี).

ใหม่!!: รถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคลและทรู คอร์ปอเรชั่น · ดูเพิ่มเติม »

ทรูมูฟ เอช

ทรูมูฟ เอช (TrueMove H) หรือ บริษัท เรียลมูฟ จำกัด (Real Move Co., Ltd) และ บริษัท ทรูมูฟ เอช ยูนิเวอร์แซล คอมมิวนิเคชั่น จำกัด (TrueMove H Universal Communication Co., Ltd) เป็นบริษัทในเครือของ บริษัท ทรู คอร์ปอเรชั่น จำกัด (มหาชน) ที่ทำธุรกิจให้บริการโทรศัพท์มือถือรายหนึ่งในประเทศไทย โดยเป็นตัวแทนขายส่งต่อบริการของ กสท. โทรคมนาคม เดิมคือเครือข่ายฮัทซ์ ของบริษัท ฮัทจิสัน ซีเอที ไวร์เลส มัลติมีเดีย จำกัด ที่ถูกกลุ่มทรู คอร์ปอเรชั่น เข้าซื้อกิจการโดยผ่านความเห็นชอบจากกสท.

ใหม่!!: รถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคลและทรูมูฟ เอช · ดูเพิ่มเติม »

ทางพิเศษศรีรัช

ทางพิเศษศรีรัช หรือ ระบบทางด่วนขั้นที่ 2 (ส่วนในเมือง) เป็นทางพิเศษในกรุงเทพมหานคร ก่อสร้างและเปิดให้บริการเป็นครั้งแรกเมื่อวันที่ 2 กันยายน..

ใหม่!!: รถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคลและทางพิเศษศรีรัช · ดูเพิ่มเติม »

ทางรถไฟสายตะวันออก

ทางรถไฟสายตะวันออก เป็นเส้นทางเดินรถไฟทางไกลระหว่างจังหวัดของการรถไฟแห่งประเทศไทย เริ่มต้นที่สถานีรถไฟกรุงเทพ สิ้นสุดที่สถานีรถไฟอรัญประเทศ ชายแดนกัมพู.

ใหม่!!: รถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคลและทางรถไฟสายตะวันออก · ดูเพิ่มเติม »

ทางด่วนและรถไฟฟ้ากรุงเทพ

ริษัท ทางด่วนและรถไฟฟ้ากรุงเทพ จำกัด (มหาชน) (Bangkok Expressway and Metro Public Company Limited ย่อว่า BEM) บริษัทที่ดำเนินธุรกิจคมนาคมขนส่งซึ่งเป็นโครงการก่อสร้างขนาดใหญ่ซึ่งเป็นความร่วมมือกันระหว่างภาครัฐและเอกชนโดยบริษัทแห่งนี้เป็นคู่สัมปทานกับ การรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนแห่งประเทศไทย (รฟม.) และ การทางพิเศษแห่งประเทศไทย (กทพ.).

ใหม่!!: รถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคลและทางด่วนและรถไฟฟ้ากรุงเทพ · ดูเพิ่มเติม »

ท่าอากาศยานดอนเมือง

แผนผังท่าอากาศยานดอนเมือง ท่าอากาศยานนานาชาติดอนเมือง (ชื่อเดิมคือ ท่าอากาศยานกรุงเทพ) หรือที่รู้จักกันโดยทั่วไปว่า สนามบินดอนเมือง ตั้งอยู่บนถนนวิภาวดีรังสิต แขวงสนามบิน เขตดอนเมือง ช่วงกิโลเมตรที่ 24 ทางตอนเหนือของกรุงเทพมหานคร เป็นจุดศูนย์กลางทางการบินในภาคพื้นเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ที่สามารถเชื่อมโยงการคมนาคมทางอากาศไปยังจุดต่างๆ ของโลกได้อย่างเหมาะสม ไม่ว่าจะเป็นการบินภายในภูมิภาคเอเชียด้วยกัน หรือระหว่างทวีปยุโรป ทวีปอเมริกา ทวีปออสเตรเลีย ซึ่งสามารถใช้เป็นจุดแวะลงและเชื่อมต่อในการเดินทางของผู้โดยสารตลอดจนพัสดุไปรษณียภัณฑ์ไปยังจุดอื่นๆ ได้อย่างดี เปิดดำเนินการครั้งแรกเมื่อวันที่ 27 มีนาคม พ.ศ. 2457 โดยปิดตัวลงวันที่ 28 กันยายน พ.ศ. 2549 วันเดียวกับที่ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิเปิดใช้งาน โดยสนามบินดอนเมืองถูกเปลี่ยนเป็นสถานที่ซ่อมเครื่องบิน ฝึกบิน และสำหรับจอดเครื่องบินส่วนตัวของบุคคลสำคัญ อย่างไรก็ตาม ตั้งแต่วันที่ 25 มีนาคม พ.ศ. 2550 เป็นต้นมา ท่าอากาศยานดอนเมืองได้กลับมาให้บริการเที่ยวบินแบบประจำ (scheduled flight) เที่ยวบินในประเทศอีกครั้งโดยมี สายการบินไทย นกแอร์ วันทูโก และพีบีแอร์มาเปิดให้บริการในลำดับแรก หลังจากพบปัญหาหลายอย่างที่ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ และในวันที่ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2555 ท่าอากาศยานดอนเมืองได้กลับมาเปิดให้บริการในฐานะสนามบินนานาชาติแห่งที่สองอีกครั้ง เนื่องด้วยนโยบายรัฐบาลนางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตรต้องการลดความแออัดของท่าอากาศยานสุวรรณภูมิลง ปัจจุบัน ท่าอากาศยานดอนเมือง รับเที่ยวบิน จาก ประเทศจีน ประเทศเกาหลีใต้ ประเทศญี่ปุ่น ประเทศสิงคโปร์ ประเทศกัมพูชา ประเทศมาเลเซีย ประเทศพม่า ประเทศเวียดนาม ประเทศไต้หวัน ประเทศอินโดนีเซีย ประเทศอินเดีย ประเทศมัลดีฟส์ ฮ่องกง ประเทศฟิลิปปินส์ มาเก๊า และล่าสุด ประเทศเนปาล รวม 14 ประเทศ ส่วนเที่ยวบินภายในประเทศสำหรับท่าอากาศยานดอนเมืองมีเที่ยวบินภายในประเทศบริการบินไปกลับ จาก ท่าอากาศยานแพร่ ท่าอากาศยานตรัง ท่าอากาศยานร้อยเอ็ด ท่าอากาศยานนครพนม ท่าอากาศยานนครศรีธรรมราช ท่าอากาศยานระนอง ท่าอากาศยานสกลนคร ท่าอากาศยานพิษณุโลก ท่าอากาศยานบุรีรัมย์ ท่าอากาศยานน่านนคร ท่าอากาศยานแม่ฮ่องสอน ท่าอากาศยานแม่สอด และ ท่าอากาศยานเพชรบูรณ์ ซึ่ง ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ ไม่มีบริการใน 13 จังหวัดดังกล่าว ใน 13 จังหวัดดังกล่าวมีเที่ยวบินให้บริการที่ ท่าอากาศยานดอนเมืองเท่านั้น.

ใหม่!!: รถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคลและท่าอากาศยานดอนเมือง · ดูเพิ่มเติม »

คลองบางกอกน้อย

ลองบางกอกน้อยช่วงที่ไหลผ่านวัดศรีสุดาราม มองไปทางด้านทิศตะวันตก คลองบางกอกน้อยเกิดจากการขุดคลองลัดแม่น้ำเจ้าพระยาในช่วงที่๑ ซึ่งทำให้แม่น้ำไหลเปลี่ยนทิศทางไปเป็นอย่างที่เห็นทุกวันนี้ คลองบางกอกน้อย ตั้งอยู่ในเขตบางกอกน้อย กรุงเทพมหานคร เดิมเคยเป็นส่วนหนึ่งของแม่น้ำเจ้าพระยา จนกระทั่งรัชสมัยสมเด็จพระไชยราชาธิราชแห่งกรุงศรีอยุธยา (พ.ศ. 2077 - 2089) ได้โปรดฯ ให้ขุดคลองลัดแม่น้ำขึ้นจากปากคลองบางกอกน้อยไปยังปากคลองบางกอกใหญ่ ซึ่งกล่าวกันว่าช่วยย่นระยะทางได้ถึง 1 วัน ต่อมากระแสน้ำส่วนใหญ่ได้ไหลเข้าสู่คองลัดทำให้คลองกว้างขึ้นเรื่อยๆ กลายเป็นแม่น้ำเจ้าพระยาสายใหม่ ส่วนแม่น้ำสายเดิมแคบลงกลายเป็นคลองบางกอกน้อย คลองชักพระ และคลองบางกอกใหญ่แทน คลองบางกอกน้อยเริ่มต้นตั้งแต่แม่น้ำเจ้าพระยาทางเหนือของสถานีรถไฟธนบุรี ไหลขึ้นไปบรรจบคลองชักพระ (คลองบางขุนศรี) และคลองลัดบางกรวย ตรงข้ามวัดสุวรรณคีรี มีความกว้างมากถึง 40 เมตร และยาว 3.3 กิโลเมตร คณะรัฐมนตรีมีมติให้คลองบางกอกน้อยเป็นคลองสำคัญซึ่งจะต้องอนุรักษ์ไว้ เมื่อวันที่ 13 มิถุนายน พ.ศ. 2510 ในปัจจุบันช่วง คลองลัดบางกรวย (หมายเลข ๒ ในภาพ) ถือว่าเป็นส่วนหนึ่งคลองบางกอกน้อยไปด้วย รวมถึงคลองอ้อม หรือคลองอ้อมนนท์ ก็เรียกกันทั่วไปว่าคลองบางกอกน้อยเช่นกัน ปัจจุบัน คลองบางกอกน้อยใช้ในการคมนาคม สัญจร ทัศนาจร ท่องเที่ยว ใช้ขนส่งสินค้า ใช้เล่นกีฬาทางน้ำ ใช้อาบน้ำ ใช้ล้างภาชนะ ใช้ระบายน้ำ และยังเป็นเส้นทางชักพระของวัดนางชี ซึ่งมีขึ้นในวันแรม 2 ค่ำ เดือน 12 ของทุกปี โดยชักแห่ไปทางน้ำ ผ่านคลองชักพระ คลองบางกอกน้อย แล้ววกลงมาตามแม่น้ำเจ้าพระยา เข้าคลองบางกอกใหญ่ กลับไปยังวัดนางชีตามเดิม ไหลผ่าน เขตบางกอกน้อย เขตตลิ่งชัน อ.บางกรวย อ.บางใหญ่ อ.เมืองนนทบุรี.

ใหม่!!: รถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคลและคลองบางกอกน้อย · ดูเพิ่มเติม »

คลองบางกอกใหญ่

ปากคลองบางกอกใหญ่ บรรจบกับแม่น้ำเจ้าพระยา คลองบางกอกใหญ่ช่วงที่ผ่านวัดอินทารามวรวิหาร (วัดบางยี่เรือนอก) การขุดคลองลัดแม่น้ำเจ้าพระยาในช่วงที่ ๑ ซึ่งทำให้แม่น้ำสายเดิมกลายเป็นคลองบางกอกใหญ่ในปัจจุบัน คลองบางกอกใหญ่ หรือชื่อในอดีตว่า คลองบางหลวง เดิมเคยเป็นส่วนหนึ่งของแม่น้ำเจ้าพระยามาก่อน กล่าวคือบริเวณตั้งแต่ปากคลองบางกอกน้อย ตรงข้ามมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ไปจนถึงปากคลองบางกอกใหญ่ในปัจจุบันนั้น ยังเป็นแผ่นดินอยู่ แม่น้ำเจ้าพระยาเดิมจะอ้อมเลี้ยวจากหน้ามหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ เป็นคุ้งกว้างมาทะลุออกข้างวัดท้ายตลาด ต่อมาในรัชสมัยสมเด็จพระไชยราชาธิราช (พ.ศ. 2077 - 2089) โปรดเกล้าให้ขุดคลองลัดระหว่างคุ้งแม่น้ำทั้งสอง เพื่อย่นระยะทางและอำนวยความสะดวกให้กับบรรดาพ่อค้าทูตานุทูตชาวตะวันตกที่เริ่มเข้ามาติดต่อค้าขายและเจริญสัมพันธไมตรีกับอาณาจักรเพิ่มมากขึ้นเรื่อยๆ ในสมัยนั้น ต่อมาคลองลัดเริ่มกว้างใหญ่ขึ้นกลายเป็นแม่น้ำ ส่วนแม่น้ำเจ้าพระยาเดิมก็เล็กลงกลายเป็นคลองบางกอกน้อยและคลองบางกอกใหญ่ ถึงสมัยสมเด็จพระเจ้าตากสิน ราชสำนักย้ายมาอยู่ที่กรุงธนบุรี คลองบางกอกใหญ่กลายมาเป็นชุมชนของข้าหลวง และโปรดเกล้าให้บรรดาชาวจีนซึ่งได้เคยช่วยเหลือพระองค์มาตั้งบ้านเรือนอยู่ริมคลองบางกอกใหญ่ ผู้คนจึงนิยมเรียกกันติดปากว่า "คลองบางข้าหลวง" หรือ "คลองบางหลวง" สืบมาถึงในปัจจุบัน รัฐบาลจอมพลถนอม กิตติขจร กำหนดให้คลองบางกอกใหญ่เป็นคลองสำคัญซึ่งจะต้องอนุรักษ์ไว้ตามมติคณะรัฐมนตรีเมื่อวันที่ 13 มิถุนายน พ.ศ. 2510 ปากคลองบางกอกใหญ่แยกจากแม่น้ำเจ้าพระยาทางฝั่งขวาของป้อมวิไชยประสิทธิ์ ไปสิ้นสุดที่คลองมอญ ตรงข้ามปากคลองชักพระ มีความยาวประมาณ 6 กิโลเมตร คลองบางกอกใหญ่ในปัจจุบันนั้นถือเป็นเส้นทางสัญจรและระบายน้ำ และยังเป็นแหล่งท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมที่สำคัญอย่างมาก มีศาสนสถานตั้งอยู่อย่างหนาแน่นทั้งสองฝั่ง วัดและมัสยิดริมคลองบางกอกใหญ่ได้แก.

ใหม่!!: รถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคลและคลองบางกอกใหญ่ · ดูเพิ่มเติม »

คลองมอญ

ลองมอญ คลองมอญ เป็นคลองธรรมชาติคลองหนึ่งที่ตั้งอยู่ระหว่างเขตบางกอกใหญ่กับเขตบางกอกน้อย ที่มาของชื่อคลองมาจากที่ริมสองฝั่งคลองเป็นชุมชนชาวมอญเรียงรายกันไปตลอดแนว คลองมอญแยกจากแม่น้ำเจ้าพระยาฝั่งตะวันตก พาดผ่านเป็นแนวแบ่งเขตแดนระหว่างเขตบางกอกน้อย และบางกอกใหญ่ ไปออกยังบริเวณที่คลองบางน้อยและคลองบางเชือกหนังไหลมาบรรจบกัน ในรอยต่อเขตภาษีเจริญและเขตตลิ่งชัน คลองมอญมีความยาวประมาณ 3 กิโลเมตร มีศาสนสถานและวัดสำคัญ ๆ มากมาย เช่น วัดเครือวัลย์ วัดนาคกลาง วัดพระยาทำ วัดครุฑ วัดโพธิ์เรียง วัดบางเสาธง วัดปากน้ำฝั่งใต้ วัดเกาะ คลองมอญจึงมีความสำคัญต่อการระบายน้ำและการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมในเขตกรุงเทพมหานครชั้นในเป็นอย่างมาก ชื่ออื่นๆ ของคลองมอญที่นิยมเรียกกัน ก็คือคลองบางเสาธง ซึ่งเรียกกันในช่วงที่มารวมกับคลองบางน้อย และบางเชือกหนัง หรือบางครั้งก็ถือว่าคลองช่วงนี้เป็นส่วนหนึ่งของคลองบางน้อ.

ใหม่!!: รถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคลและคลองมอญ · ดูเพิ่มเติม »

คลองถม

ลองถม เป็นแหล่งขายของมือสองและของเก่า รวมทั้งอุปกรณ์รถยนต์ประดับยนต์ รวมไปถึงของจิปาถะ เป็นย่านการค้าที่ตั้งอยู่ระหว่างถนนวรจักรและถนนเจริญกรุงกับเยาวราชมาแต่โบราณ ปัจจุบันตั้งอยู่เขตป้อมปราบศัตรูพ่าย กรุงเทพมหานคร เดิมคลองถมนั้นเรียกกันว่า คลองสำเพ็ง โดยมีปลายคลองด้านหนึ่งติดกับแม่น้ำเจ้าพระยา ส่วนปลายคลองอีกด้านออกสู่คลองมหานาค เมื่อมีการตัดถนนเพิ่มขึ้น และทางการได้ลดจำนวนคลองลง ในช่วงก่อนการเปลี่ยนแปลงการปกครองใน พ.ศ. 2475 จากนั้นก็ได้มีการสร้างถนนขึ้นบริเวณคลองนี้ ตอนแรกก็ถมกันด้วยขยะทั่วไป ต่อมาก็แปรสภาพมาเป็นถนน ชาวบ้านที่อาศัยอยู่ละแวกนั้นมาแต่เดิม เรียกกันติดปากเรื่อยมากันว่า "คลองถม" จนถึงทุกวันนี้ คลองถม ถือเป็นแหล่งขายของมือสอง อุปกรณ์รถยนต์ ตลอดจนถึงของจิปาถะเป็นเวลายาวนานจนเป็นที่รู้จักกันดี โดยเฉพาะในวันหยุดสัปดาห์จะมีทั้งผู้ค้าและผู้ซื้อคับคั่ง จนเกิดเป็นปัญหาการจราจร จนกระทั่งหลังการรัฐประหารใน พ.ศ. 2557 รัฐบาลมีนโยบายจัดระเบียบสังคม จึงมีนโยบายให้ผู้ค้าคลองถมเลิกขาย โดยจะหาพื้นที่ใหม่ให้ ซึ่งในวันที่ 1 มีนาคม..

ใหม่!!: รถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคลและคลองถม · ดูเพิ่มเติม »

ตลาดบางแค

ตลาดบางแค หรือ ตลาดสดบางแค เป็นตลาดสดขนาดใหญ่ เก่าแก่และยาวนานแห่งหนึ่งของกรุงเทพมหานครและฝั่งธนบุรี จุดเริ่มต้นตั้งอยู่ที่ ซอยเพชรเกษม 39/1 (ชุมชนแสงหิรัญ) ในแขวงบางหว้า เขตภาษีเจริญ กรุงเทพมหานคร ข้ามคลองราชมนตรีเข้าสู่พื้นที่แขวงบางแค เขตบางแค กรุงเทพมหานคร และ พื้นที่บริเวณตลาดสดบางแคนี้ไปสิ้นสุดตรงทางแยกบางแค (ถนนบางแค) ในแขวงบางแค เขตบางแค กรุงเทพมหานคร ตลาดบางแค มีจุดกำเนิดจากการที่พื้นที่ตรงนี้เป็นชุมชนมาแต่ดั้งเดิม และเป็นเส้นทางสัญจรไปมาของผู้คนโดยเรือผ่านทางคลองภาษีเจริญ และคลองบางแค จึงมีการค้าขายกันเป็นวิถีชีวิต ต่อมาในยุคก่อนพุทธศักราช 2500 รัฐบาลโดย จอมพลแปลก พิบูลสงคราม นายกรัฐมนตรีมีนโยบายต้องการให้กรุงเทพมหานครมีความสวยสะอาด มีระเบียบวินัย หลวงพรหมโยธี นายกเทศมนตรีพระนคร ได้กวดขันให้แม่ค้าหาบเร่ตามสถานที่ต่าง ๆ ในกรุงเทพฯ เช่น ท้องสนามหลวง, ลานพระบรมรูปทรงม้า ย้ายมาขาย ณ ที่แห่งใหม่ เช่น สะพานเทเวศน์, ท่าเตียน, ถนนวรจักร, หน้าโรงไฟฟ้าสามเสน รวมถึง ณ ที่แห่งนี้ด้วย ซึ่งตลาดสดบางแคมีของขายมากมายอาทิ เช่น ผัก, ผลไม้, ขนมหวาน, ข้าวแกงต่าง ๆ ฯลฯ ในปี..

ใหม่!!: รถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคลและตลาดบางแค · ดูเพิ่มเติม »

ตุลาคม

ตุลาคม เป็นเดือนที่ 10 ของปี ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็นหนึ่งในเดือน 7 เดือนที่มี 31 วัน ตามหลักโหราศาสตร์ เดือนตุลาคมเริ่มต้นขึ้นเมื่อดวงอาทิตย์ยกเข้าสู่ราศีตุล และสิ้นสุดเมื่อยกเข้าสู่ราศีพิจิก แต่ในทางดาราศาสตร์ เดือนตุลาคมดวงอาทิตย์อยู่ในกลุ่มดาวหญิงสาวและไปอยู่ในกลุ่มดาวคันชั่งตอนต้นเดือนพฤศจิกายน เดือนตุลาคมในภาษาอังกฤษ October มาจากภาษาละติน octo เนื่องจากเป็นเดือนที่ 8 ในปฏิทินโรมันดั้งเดิมที่เริ่มต้นปีในเดือนมีนาคม ประเทศไทยเริ่มใช้ชื่อเดือนตุลาคมในปี พ.ศ. 2432 ตรงกับสมัยรัชกาลที่ 5 โดยสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอกรมพระยาเทววงศ์วโรปการ เป็นผู้เสนอให้ใช้ราศีกำหนดชื่อเดือน.

ใหม่!!: รถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคลและตุลาคม · ดูเพิ่มเติม »

ซีคอนบางแค

ซีคอนบางแค (Seacon Bangkae) (เดิมคือ ศูนย์การค้าฟิวเจอร์พาร์คบางแค) เป็น ศูนย์การค้า ที่บริหารงานโดย บริษัท ซีคอนบางแค จำกัด ตั้งอยู่บนพื้นที่กว่า 40 ไร่ บน ถนนเพชรเกษม แขวงบางหว้า เขตภาษีเจริญ และภายในปี พ.ศ. 2562 จะสามารถเดินทางมายังซีคอนบางแคได้ด้วย รถไฟฟ้าสายสีน้ำเงิน สถานีภาษีเจริญ.

ใหม่!!: รถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคลและซีคอนบางแค · ดูเพิ่มเติม »

ซีเมนส์

ำหรับยี่ห้อระบบรถไฟฟ้า ดูที่ ซีเมนส์ โมดูลาร์ เมโทร ซีเมนส์ (Siemens AG) เป็นกลุ่มบริษัทวิศวกรรมขนาดใหญ่ที่สุดของยุโรป สำนักงานใหญ่นานาชาติของซีเมนส์ตั้งอยู่ที่เบอร์ลินและมิวนิก ประเทศเยอรมนี ซีเมนส์เป็นบริษัทที่ประกอบธุรกิจหลายประเภทรวมกัน (conglomerate) โดยมีแผนกธุรกิจหลัก 6 ส่วน ได้แก่ ระบบอัตโนมัติและระบบควบคุม, พลังงานไฟฟ้า, ระบบขนส่ง, การแพทย์, สารสนเทศและการสื่อสาร, และระบบส่องสว่าง เมื่อวันที่ 28 พฤศจิกายน พ.ศ. 2550 ซีเมนส์ได้ปรับธุรกิจใหม่เป็นสามส่วนคือ อุตสาหกรรม, พลังงาน, และสุขภาพ โดยมีแผนกรวมทั้งหมด 15 แผนก ซีเมนส์และบริษัทในเครือจ้างงานทั่วโลกประมาณ 400,000 ตำแหน่ง, www.siemens.com, January 2008 ในเกือบ 190 ประเทศ และแจ้งรายได้ทั่วโลก 72,448 ล้านยูโร ในปีงบประมาณ 2550 บริษัทซีเมนส์อยู่ในตลาดหลักทรัพย์แฟรงค์เฟิร์ต และอยู่ในตลาดหลักทรัพย์นิวยอร์กตั้งแต่ 12 มีนาคม พ.ศ. 2544 ซีเมนส์ก่อตั้งโดย แวร์เนอร์ ฟอน ซีเมนส์ เมื่อ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2390 (ค.ศ. 1847) โดยเริ่มจากการคิดค้นระบบโทรเลขที่ให้ผลลัพธ์เป็นตัวอักษรแทนที่จะเป็นรหัสมอร์ส เมื่อวันที่ 26 กันยายน 2560 ซีเมนส์ประกาศควบรวมกิจการเฉพาะหน่วยธุรกิจระบบรางและระบบอาณัติสัญญาณ (ซีเมนส์ โมบิลิที) เข้ากับ อัลสตอม (Alstom) ของประเทศฝรั่งเศส เพื่อร่วมกันสร้างบริษัทระบบรางที่ใหญ่ที่สุดในโลก ที่มีสำนักงานย่อย โรงงาน คู่ค้าและพันธมิตรกว่า 60 ประเทศ รวมประเทศไทย โดยบริษัทใหม่จะใช้ชื่อว่า ซีเมนส์ อัลสตอม (Siemens Alstom) มีกำหนดควบรวมกิจการเสร็จภายในสิ้นปีการเงิน..

ใหม่!!: รถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคลและซีเมนส์ · ดูเพิ่มเติม »

ซีเมนส์ โมดูลาร์ เมโทร

รถไฟฟ้าเมืองเนือร์นแบร์ก ประเทศเยอรมนี ภายในรถไฟฟ้าเมืองเมลเบิร์น ประเทศออสเตรเลีย ซีเมนส์ โมดูลาร์ เมโทร (Siemens Modular Metro) เป็นตระกูลรถรางไฟฟ้าเพื่อระบบขนส่งด่วนพิเศษ ซึ่งผลิตโดย ซีเมนส์ทรานสพอร์เทชันซิสเทมส์ และผู้ประกอบการรถไฟใช้ทั่วโลก แนวคิดของยานพาหนะดังกล่าวเปิดตัวในกรุงเวียนนา เมื่อ..

ใหม่!!: รถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคลและซีเมนส์ โมดูลาร์ เมโทร · ดูเพิ่มเติม »

ปฏิกูล

ปฏิกูล, ขยะ, ของเสีย หรือ ของทิ้ง (waste) หมายถึง สิ่งที่มนุษย์ไม่ต้องการและหมดประโยชน์แล้ว ปฏิกูลคือสสารใด ๆ ที่ถูกทิ้งหลังจากใช้งานหลัก ไม่มีค่า มีตำหนิ หรือใช้การไม่ได้แล้ว คำว่าปฏิกูล หรือขยะ มักจะเป็นอัตวิสัย (เนื่องจากปฏิกูลของคนคนหนึ่งอาจไม่จำเป็นต้องเป็นปฏิกูลของอีกคนหนึ่ง) และบางครั้งไม่เป็นที่ถูกต้องตามปรวิสัย (ตัวอย่างเช่น การส่งเศษโลหะไปยังหลุมฝังกลบปฏิกูลเป็นการจัดให้เป็นปฏิกูลที่ไม่ถูกต้อง เนื่องจากมันสามารถแปรใช้ใหม่ได้) ตัวอย่างปฏิกูลได้แก่ปฏิกูลจากชุมชน (ขยะจากบ้านเรือน) ปฏิกูลที่เป็นสารอันตราย น้ำเสีย (เช่น น้ำโสโครก ซึ่งประกอบด้วยของเสียจากร่างกาย (อุจจาระ และปัสสาวะ) และน้ำผิวดิน) ปฏิกูลกัมมันตรังสี และอื่น.

ใหม่!!: รถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคลและปฏิกูล · ดูเพิ่มเติม »

ปัสสาวะ

ตัวอย่างปัสสาวะมนุษย์ปัสสาวะ (ภาษาปากว่า ฉี่, เยี่ยว หรือ เบา) เป็นของเสียในรูปของเหลวที่ร่างกายขับถ่ายออกมาโดยไต ด้วยกระบวนการกรองจากเลือดและขับออกทางท่อปัสสาวะ ซึ่งเป็นผลจากกระบวนการสร้างและสลายในระดับเซลล์ (cellular metabolism) แล้วทำให้เกิดสารประกอบไนโตรเจนที่เป็นของเสียจำนวนมาก ซึ่งจำเป็นต้องกำจัดออกจากกระแสเลือ.

ใหม่!!: รถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคลและปัสสาวะ · ดูเพิ่มเติม »

ปากคลองตลาด

ตลาดดอกไม้ ปากคลองตลาด (Pak Khlong Talat) เป็นตลาดสดขนาดใหญ่ บริเวณถนนจักรเพชร ยาวจนไปถึงถนนมหาราช ตั้งโอบล้อมวัดราชบูรณะ โรงเรียนราชินีและโรงเรียนสวนกุหลาบ ประกอบไปด้วยตลาดใหญ่ถึง 4 แห่งตั้งติด ๆ กัน ปัจจุบันเน้นขายสินค้าเกษตรกรรมที่เน้นการค้าส่งผัก ผลไม้และดอกไม้สด ปากคลองตลาดติดอันดับที่ 4 (จากการจัดอันดับ 1 ใน 10 ของตลาดดอกไม้ทั่วโลก) ยังเป็นตลาดกล้วยไม้ที่มีขนาดใหญ่เป็นอันดับ 3 ของโลกอีกด้ว.

ใหม่!!: รถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคลและปากคลองตลาด · ดูเพิ่มเติม »

ปูนซิเมนต์ไทย

อสซีจี หรือ บริษัท ปูนซิเมนต์ไทย จำกัด (มหาชน) (Siam Cement Group ชื่อย่อ: SCG) เอสซีจี หรือเรียกสั้นๆว่า "ปูนใหญ่" เป็นกลุ่มบริษัทชั้นนำในภูมิภาคอาเซียนที่ดำเนินธุรกิจมากว่า 100 ปี ก่อตั้งในประเทศไทยเมื่อปี 2456 ตามพระบรมราชโองการในพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 6 เพื่อผลิตปูนซีเมนต์ วัสดุก่อสร้าง ปัจจุบันเอสซีจีประกอบด้วย 3 กลุ่มธุรกิจหลัก ได้แก่ เอสซีจี ซิเมนต์-ผลิตภัณฑ์ก่อสร้าง เอสซีจี เคมิคอลส์ และ เอสซีจี แพคเกจจิ้ง.

ใหม่!!: รถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคลและปูนซิเมนต์ไทย · ดูเพิ่มเติม »

น้ำลาย

แพทย์กำลังเก็บตัวอย่างน้ำลายของคนไข้ น้ำลาย คือสสารที่คล้ายน้ำและมักจะเป็นฟอง ถูกผลิตขึ้นในปากของมนุษย์และสัตว์อื่นๆ เป็นส่วนใหญ่ น้ำลายถูกผลิตขึ้นจากต่อมน้ำลาย น้ำลายของมนุษย์ประกอบด้วยน้ำ 98% ส่วนที่เหลือเป็นอิเล็กโทรไลต์ เมือก สารยับยั้งแบคทีเรีย และเอนไซม์ชนิดต่างๆ เอนไซม์ในน้ำลายสามารถย่อยแป้งที่อยู่ในอาหารในระดับโมเลกุล ซึ่งเป็นจุดเริ่มต้นของกระบวนการย่อยอาหาร น้ำลายช่วยชะล้างอาหารที่ติดอยู่ตามซอกฟันและปกป้องไม่ให้เกิดการเน่าเสียจากแบคทีเรีย นอกจากนี้ น้ำลายยังช่วยหล่อลื่นและปกป้องฟัน ลิ้น และเนื้อเยื่ออ่อนบางภายในช่องปาก สัตว์หลายชนิดมีพัฒนาการการใช้น้ำลายเฉพาะทางมากไปกว่าการย่อยอาหาร นกนางแอ่นใช้น้ำลายที่เหนียวคล้ายยางในการสร้างรัง ซึ่งรังนกนางแอ่นนี้ใช้ทำเครื่องดื่มรังนก Marcone, M. F. (2005).

ใหม่!!: รถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคลและน้ำลาย · ดูเพิ่มเติม »

แม่น้ำเจ้าพระยา

แม่น้ำเจ้าพระยา เป็นแม่น้ำสายหลักสายหนึ่งของประเทศไทย เกิดจากการรวมตัวของแม่น้ำสายหลัก 2 สายจากภาคเหนือ คือแม่น้ำปิงและแม่น้ำน่าน ที่ตำบลปากน้ำโพ อำเภอเมืองนครสวรรค์ จังหวัดนครสวรรค์ จากนั้นไหลลงไปทางทิศใต้ ผ่านจังหวัดอุทัยธานี ชัยนาท สิงห์บุรี อ่างทอง พระนครศรีอยุธยา ปทุมธานี นนทบุรี และกรุงเทพมหานคร ก่อนออกสู่อ่าวไทยที่ปากน้ำ ซึ่งอยู่ระหว่างเขตตำบลท้ายบ้าน ตำบลบางปูใหม่ อำเภอเมืองสมุทรปราการ และตำบลแหลมฟ้าผ่า อำเภอพระสมุทรเจดีย์ จังหวัดสมุทรปราการ.

ใหม่!!: รถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคลและแม่น้ำเจ้าพระยา · ดูเพิ่มเติม »

แยกบรมราชชนนี

แยกบรมราชชนนี (Borommaratchachonnani Intersection) เป็นสี่แยกจุดตัดถนนจรัญสนิทวงศ์ ถนนสมเด็จพระปิ่นเกล้า และเป็นจุดเริ่มต้นของถนนบรมราชชนนี ในพื้นที่เขตบางกอกน้อยและบางพลัด กรุงเทพมหานคร ในอดีตมีชื่อเรียกว่า "แยกปิ่นเกล้า" หรือ "แยก 35 โบวล์" เนื่องจากเคยเป็นที่ตั้งของสถานบริการโบว์ลิ่งแห่งหนึ่ง ชื่อ "35 โบวล์" ต่อมาเปลี่ยนชื่อเป็นแยกบรมราชชนนี ตามชื่อถนนพระราชทานจากพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ปัจจุบันแยกนี้มีอุโมงค์ลอดทางแยกตามแนวถนนจรัญสนิทวงศ์และมีสะพานข้ามแยกบนถนนบรมราชชนนีและถนนสมเด็จพระปิ่นเกล้.

ใหม่!!: รถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคลและแยกบรมราชชนนี · ดูเพิ่มเติม »

แยกบางขุนนนท์

แยกบางขุนนนท์ (Bang Khun Non Junction) เป็นทางแยกบริเวณจุดบรรจบระหว่างถนนจรัญสนิทวงศ์กับถนนบางขุนนนท์ ในพื้นที่แขวงบางขุนนนท์ และแขวงศิริราช เขตบางกอกน้อย กรุงเทพมหานคร ใกล้กับเชิงสะพานข้ามคลองบางกอกน้อยและจุดตัดทางรถไฟบริเวณป้ายหยุดรถไฟจรัญสนิทวงศ์ ซึ่งเป็นจุดบรรจบระหว่างถนนสุทธาวาสกับถนนเลียบทางรถไฟสายใต้ (ตลิ่งชัน).

ใหม่!!: รถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคลและแยกบางขุนนนท์ · ดูเพิ่มเติม »

แยกบางโพ

แยกบางโพ (Bang Pho Intersection) เป็นสี่แยกจุดตัดระหว่างถนนประชาราษฎร์ สาย 1 กับถนนประชาราษฎร์ สาย 2 ในแขวงบางซื่อ เขตบางซื่อ กรุงเทพมหานคร.

ใหม่!!: รถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคลและแยกบางโพ · ดูเพิ่มเติม »

แยกวงเวียน รด. และแยกท้ายวัง

แยกวงเวียน ร. และ แยกท้ายวัง เป็นวงเวียนจุดตัดถนนสนามไชย, ถนนเจริญกรุง และถนนท้ายวัง ในพื้นที่แขวงพระบรมมหาราชวัง เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร ซึ่งทางแยกทั้ง 2 แห่งอยู่ที่จุดเดียวกัน แต่แนวถนนเจริญกรุงและถนนท้ายวังจะเยื้องกันเล็กน้อย จึงมีการจัดการจราจรเป็นรูปแบบวงเวียน โดยไม่มีสัญญาณไฟจราจร วงเวียนแห่งนี้เป็นเพียงเครื่องกั้นทางชั่วคราวที่สามารถย้ายออกได้เมื่อมีพระราชพิธีต่าง ๆ ซึ่งต้องใช้พื้นที่บนถนนสนามไชย เช่น พระราชพิธีพระราชทานเพลิงพระศพ สมเด็จเจ้าฟ้าฯ กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ เป็นต้น บริเวณทางแยกนี้มีสถานที่สำคัญตั้งอยู่ทั้ง 4 มุมถนน ได้แก่ หน่วยบัญชาการรักษาดินแดน (สวนเจ้าเชตุ) ซึ่งในอดีตใช้ชื่อกรมการรักษาดินแดน มีชื่อย่อว่า ร. เป็นที่มาของชื่อทางแยก เยื้องกันเป็นพระบรมมหาราชวัง ด้านท้ายวัง (พระตำหนักสวนกุหลาบ) และวัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม (วัดโพธิ์) ซึ่งมีถนนท้ายวังแบ่งเขตวัดกับวัง และมีสวนสราญรมย์อยู่อีกด้านหนึ่งของทางแยก.

ใหม่!!: รถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคลและแยกวงเวียน รด. และแยกท้ายวัง · ดูเพิ่มเติม »

แยกหัวลำโพง

แยกหัวลำโพง (Hua Lamphong Intersection) เป็นทางแยกหนึ่งในพื้นที่แขวงรองเมือง เขตปทุมวัน และแขวงมหาพฤฒาราม เขตบางรัก กรุงเทพมหานคร เป็นสี่แยกที่เป็นทางตัดกันของถนนพระราม 4, ถนนรองเมือง, ถนนมหาพฤฒาราม รวมถึงสะพานเจริญสวัสดิ์ 36 ซึ่งเป็นสะพานข้ามคลองผดุงกรุงเกษม เป็นสี่แยกที่อยู่ด้านหน้าสถานีรถไฟกรุงเทพ หรือสถานีรถไฟหัวลำโพง.

ใหม่!!: รถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคลและแยกหัวลำโพง · ดูเพิ่มเติม »

แยกท่าพระ

แยกท่าพระ (Tha Phra Intersection) เป็นสี่แยกบริเวณจุดตัดระหว่างถนนเพชรเกษม, ถนนรัชดาภิเษกและถนนจรัญสนิทวงศ์ ในพื้นที่แขวงวัดท่าพระ เขตบางกอกใหญ่ กรุงเทพมหานคร นับเป็นสี่แยกที่มีความสำคัญต่อการจราจรในพื้นที่ฝั่งธนบุรี ถือเป็นจุดเริ่มต้นของถนนจรัญสนิทวงศ์ และถนนรัชดาภิเษก ช่วงรัชดา-ท่าพระ ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของระบบถนนวงแหวนรอบในของกรุงเทพฯ อีกทั้งยังเป็นทางแยกแรกของถนนเพชรเกษมจากจุดเริ่มต้นบริเวณสะพานเนาวจำเนียรซึ่งทอดยาวลงสู่ภาคใต้ของไทย นับเป็นบริเวณที่มีการจราจรหนาแน่นมากอีกแห่งหนึ่งในพื้นที่ฝั่งธนบุรีรองจากวงเวียนใหญ่ แม้ในปัจจุบันจะมีการตัดถนนในพื้นที่ข้างเคียงอีกหลายสาย เช่นถนนราชพฤกษ์ ซึ่งสามารถแบ่งเบาปริมาณการจราจรจากย่านวงเวียนใหญ่เข้าสู่แยกท่าพระได้ในระดับหนึ่ง โดยชื่อ "ท่าพระ" อันทั้งชื่อของแยกและแขวงในพื้นที่เขตบางกอกใหญ่ด้วย นั้นมาจากชื่อของวัดท่าพระ ซึ่งตั้งอยู่ใกล้เคียงด้านถนนจรัญสนิทวงศ์ เดิมมีชื่อว่า "วัดเกาะ" ต่อมาได้มีการพบหลวงพ่อเกษร อันเป็นประธานในวัดลอยมาติดที่ท่าน้ำ จึงเปลี่ยนชื่อเป็นวัดท่าพระดังเช่นในปัจจุบัน แยกท่าพระเดิมมีสภาพเป็นเพียงสามแยก ต่อมาทางด้านทิศใต้ได้มีการตัดถนนรัชดาภิเษกช่วงรัชดา-ท่าพระ จึงเปลี่ยนมาเป็นสี่แยก กระทั่งปี พ.ศ. 2534 มีการเปิดใช้สะพานลอยข้ามแยกตามแนวถนนเพชรเกษม ทำพิธีเปิดโดย พล.ต.จำลอง ศรีเมือง ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครในขณะนั้น และในปี พ.ศ. 2544 มีการเปิดใช้อุโมงค์ลอดทางแยกตามแนวถนนจรัญสนิทวงศ์และถนนรัชดาภิเษก นับเป็นอุโมงค์ลอดทางแยกแห่งแรก ๆ ของกรุงเทพมหานคร ในปี พ.ศ. 2553 ได้มีการปิดซ่อมสะพานข้ามแยกระหว่างวันที่ 23 เมษายน ถึงวันที่ 7 กันยายน ซึ่งจากเดิมเปิดวันที่ 21 กรกฎาคม เนื่องจากสะพานตรงกลางแอ่นตัวในฝั่งขาออกและมาเปิดวันที่ 12 สิงหาคม แต่ไม่เสร็จและมาเปิดวันที่ 23 สิงหาคม และไม่เสร็จอีกจึงมาเปิดวันที่ 7 กันยายน นับเป็นสะพานข้ามแยกที่ 9 ที่ทางกรุงเทพมหานครปิดซ่อมและเปิดใช้.

ใหม่!!: รถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคลและแยกท่าพระ · ดูเพิ่มเติม »

แยกไฟฉาย

แยกไฟฉาย เป็นสี่แยกถนนพรานนกบรรจบถนนจรัญสนิทวงศ์ ใจกลางพื้นที่เขตบางกอกน้อย กรุงเทพมหานคร เป็นจุดเริ่มต้นของถนนพรานนก ซึ่งเชื่อมต่อกับถนนอิสรภาพและถนนอรุณอมรินทร์ ไปยังตลาดสดพรานนก และพื้นที่ริมแม่น้ำเจ้าพระยาของฝั่งธนบุรีชั้นใน ได้แก่ท่าน้ำวังหลัง โรงพยาบาลศิริราช ในเขตบางกอกน้อย และวัดอรุณฯ พระราชวังเดิม ในเขตบางกอกใหญ่ แยกไฟฉายเดิมมีสภาพเป็นสามแยกจนกระทั่งโครงการถนนพรานนกตัดใหม่แล้วเสร็จ จึงเกิดสภาพเป็นสี่แยก โดยเชื่อมถนนจรัญสนิทวงศ์และถนนพรานนกเข้ากับถนนกาญจนาภิเษก ซึ่งจะทำให้การสัญจรระหว่างพื้นที่บางกอกน้อยและพื้นที่รอบนอก เช่น ตลิ่งชัน ทวีวัฒนา สะดวกสบายมากขึ้น ตั้งแต่ปลายปี..

ใหม่!!: รถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคลและแยกไฟฉาย · ดูเพิ่มเติม »

แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส

แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส (Advanced Info Service) หรือเรียกโดยย่อว่า เอไอเอส เป็นบริษัทมหาชนด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของไทย เป็นผู้ให้บริการเครือข่ายโทรศัพท์มือถือที่ใหญ่ที่สุดของประเทศตามจำนวนผู้ใช้งาน มีสถานะเป็นบริษัทลูกของอินทัช โฮลดิ้งส์ โดยเอไอเอสถือเป็นบริษัทที่มีมูลค่าหลักทรัพย์ตามราคาตลาดสูงเป็นอันดับสองในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย รองจากปตท.

ใหม่!!: รถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคลและแอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส · ดูเพิ่มเติม »

โจรกรรม

รกรรม (ศัพท์ทางศาสนาเรียกว่า ไถยกรรม) หมายถึงการกระทำที่นำเอาทรัพย์สินของผู้อื่นโดยเจตนา เพื่อยึดทรัพย์สินนั้นมาเป็นของตน ซึ่งเจ้าของทรัพย์สินไม่ได้อนุญาตหรือยินยอม คำนี้สามารถเรียกแทนอาชญากรรมบางประเภทที่เกี่ยวข้องกับทรัพย์สินอาทิ การลักทรัพย์ (ขโมย) การลักทรัพย์ในเคหสถาน (ย่องเบา/ยกเค้า) การลักทรัพย์ในร้านค้า การยักยอก การชิงทรัพย์ (ปล้น) การฉกชิงทรัพย์ (ปล้นสะดม) และการฉ้อโกง ในบางเขตอำนาจศาล "โจรกรรม" (theft) มีความหมายเหมือนกับ "การลักทรัพย์" (larceny) โจร หมายถึงผู้ที่กระทำโจรกรรมดังกล่าว ภาษาพูดอาจเรียกว่า ผู้ร้าย โบราณเรียก ฎางการ ก็มี ราชบัณฑิตยสถาน.

ใหม่!!: รถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคลและโจรกรรม · ดูเพิ่มเติม »

โทเทิ่ล แอ็คเซ็ส คอมมูนิเคชั่น

ริษัท โทเทิ่ล แอ็คเซ็ส คอมมูนิเคชั่น จำกัด (มหาชน) (Total Access Communication Public Company Limited; ชื่อย่อ: TAC) หรือในชื่อการค้าว่า ดีแทค (dtac) เป็นผู้ประกอบธุรกิจให้บริการ โครงข่ายโทรศัพท์เคลื่อนที่ในประเทศไทย เดิมเป็นบริษัทในเครือยูคอม ปัจจุบันถือหุ้นใหญ่โดย บีซีทีเอ็น โฮลดิง ปัจจุบัน เมื่ออิงตามยอดผู้ใช้งาน ดีแทคเป็นผู้ให้บริการโครงข่ายโทรศัพท์เคลื่อนที่ อันดับที่ 3 ของประเทศ รองจากทรูมูฟ เอช โดยให้บริการในช่วงความถี่ 1800 เมกะเฮิร์ตซ์ ของบริษัท กสท โทรคมนาคม จำกัด (มหาชน) (เดิมคือการสื่อสารแห่งประเทศไทย) ภายใต้ระยะเวลา 27 ปีตามสัญญาสัมปทาน พร้อมทั้งให้บริการ 3 จี ในช่วงความถี่ 850 เมกะเฮิร์ตซ์ ซึ่งอยู่ภายใต้สัญญาสัมปทานเดียวกัน นอกจากนี้ ยังมีบริการ 3 จี ในช่วงความถี่ 2100 เมกะเฮิร์ตซ์ (2.1 กิกะเฮิร์ตซ์) ซึ่ง กสท.ออกใบอนุญาตใช้คลื่นความถี่ ให้แก่บริษัท ดีแทคไตรเน็ต จำกัด ภายใต้ชื่อสินค้า ดีแทคไตรเน็ต มียอดผู้ใช้บริการเมื่อปี..

ใหม่!!: รถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคลและโทเทิ่ล แอ็คเซ็ส คอมมูนิเคชั่น · ดูเพิ่มเติม »

โครงการระบบรถไฟชานเมือง (สายสีแดง)

รงการระบบรถไฟชานเมืองสายสีแดง เป็นโครงการระบบขนส่งมวลชนทางรางในกรุงเทพมหานครและปริมณฑล โดยการรถไฟแห่งประเทศไทย (รฟท.) พื้นที่โครงการส่วนใหญ่อยู่บนเขตทางของการรถไฟแห่งประเทศไทย ทำหน้าที่ในการบริการขนส่งผู้โดยสารที่อยู่อาศัยในพื้นที่ชานเมืองเข้าสู่กรุงเทพมหานคร ด้วยระบบรางที่รวดเร็วและมีประสิทธิภาพ เพื่อป้อนผู้โดยสารเข้าสู่โครงข่ายระบบรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนของการรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนแห่งประเทศไทย (รฟม.) และกรุงเทพมหานคร ในเขตกรุงเทพมหานคร ซึ่งมีอยู่แล้ว และยังจะสร้างเพิ่มเติมอีกในอนาคต รถไฟฟ้าชานเมืองสายสีแดง ช่วงบางซื่อ–รังสิต และช่วงบางซื่อ–ตลิ่งชัน รวมสถานีกลางบางซื่อ ใช้งบประมาณในการก่อสร้างรวมทั้งหมด 99,840.4 ล้านบาท.

ใหม่!!: รถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคลและโครงการระบบรถไฟชานเมือง (สายสีแดง) · ดูเพิ่มเติม »

เกาะรัตนโกสินทร์

แผนที่เกาะรัตนโกสินทร์ เกาะรัตนโกสินทร์ เป็นพื้นที่ประวัติศาสตร์ในเขตพระนครในกรุงเทพมหานคร อยู่ติดกับแม่น้ำเจ้าพระยา มีความสำคัญทางประวัติศาสตร.

ใหม่!!: รถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคลและเกาะรัตนโกสินทร์ · ดูเพิ่มเติม »

เสมหะ

มหะ เสลดหรือสิ่งขาก (Phlegm) เป็นของไหลเหนียวที่ผลิตโดยเยื่อเมือกของมนุษย์และสัตว์อื่นๆ คำจำกัดความของเสหะคือเมือกที่ผลิตโดยระบบการหายใจนอกจากเมือกที่ออกมาทางช่องจมูกโดยเฉพาะที่ออกมาจากร่างกายโดยการจาม ส่วนผสมของเสหะอาจไม่เหมือนกันในแต่ละคนขึ้นอยู่กับสภาพอากาศ สถานะของระบบภูมิต้านทาน หรือพันธุกรรมของคน ทั้งนี้ เสมหะยังเป็นเจลที่มีส่วนผสมของน้ำเป็นหลักและมีสารประกอบโปรตีน โปรตีนที่เกี่ยวกับภูมิคุ้มกันโรค ลิพิดและอื่นๆอีกมากมาย เสมหะอาจจะมีหลายสีแตกต่างกันไป.

ใหม่!!: รถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคลและเสมหะ · ดูเพิ่มเติม »

เอสพลานาด รัชดาภิเษก

อสพลานาด รัชดาภิเษก (Esplanade Ratchadapisek) ตั้งอยู่ริมถนนรัชดาภิเษก แขวงดินแดง เขตดินแดง กรุงเทพมหานคร ภายในเป็นห้างสรรพสินค้า ศูนย์การค้า โรงภาพยนตร์ และศูนย์ความบันเทิงอื่น ๆ ตัวอาคารสูง 6 ชั้นและชั้นใต้ดิน 1 ชั้น มีพื้นที่ทั้งหมด 105,000 ตารางเมตร บริหารโครงการโดยบริษัทสยามฟิวเจอร์ดีเวลอปเม้นท์ จำกัด (มหาชน) เริ่มเปิดอย่างไม่เป็นทางการเมื่อเดือนพฤศจิกายน พ.ศ. 2549 หนังสือพิมพ์บิสิเนสไทย ฉบับวันที่ 23 ธันวาคม..

ใหม่!!: รถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคลและเอสพลานาด รัชดาภิเษก · ดูเพิ่มเติม »

เทศบาลนครอ้อมน้อย

อ้อมน้อย เป็นองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นประเภทเทศบาลนครแห่งหนึ่งในอำเภอกระทุ่มแบน จังหวัดสมุทรสาคร มีพื้นที่ 30.40 ตารางกิโลเมตร ครอบคลุมพื้นที่ตำบลอ้อมน้อยทั้งตำบล มีประชากรในปี..

ใหม่!!: รถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคลและเทศบาลนครอ้อมน้อย · ดูเพิ่มเติม »

เขตบางพลัด

ตบางพลัด เป็น 1 ใน 50 เขตการปกครองของกรุงเทพมหานคร อยู่ในกลุ่มเขตกรุงธนเหนือ เดิมถือเป็นพื้นที่รอบนอก แต่ปัจจุบันมีความเจริญเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว สภาพทั่วไปเป็นแหล่งการค้าและแหล่งที่อยู่อาศัยหนาแน่นมาก แต่ก็มีแหล่งท่องเที่ยวเชิงประวัติศาสตร์และศิลปวัฒนธรรมตั้งอยู่ด้วยเช่นกัน.

ใหม่!!: รถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคลและเขตบางพลัด · ดูเพิ่มเติม »

เขตบางกอกน้อย

ตบางกอกน้อย เป็น 1 ใน 50 เขตการปกครองของกรุงเทพมหานคร อยู่ในกลุ่มเขตกรุงธนเหนือ ซึ่งถือเป็นเขตอนุรักษ์เมืองเก่า แหล่งท่องเที่ยวเชิงประวัติศาสตร์และศิลปวัฒนธรรมทางฝั่งธนบุรี โดยมีคำขวัญประจำเขตว่า "สมเด็จโตวัดระฆัง วังหลังตั้งอยู่ อู่เรือพระราชพิธี สถานีรถไฟ คลองใหญ่มีชื่อ เลื่องลือเครื่องลงหิน นามระบิลช่างหล่อ งามลออวัดวา".

ใหม่!!: รถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคลและเขตบางกอกน้อย · ดูเพิ่มเติม »

เขตบางกอกใหญ่

ตบางกอกใหญ่ เป็น 1 ใน 50 เขตการปกครองของกรุงเทพมหานคร อยู่ในกลุ่มเขตกรุงธนบุรี ซึ่งถือเป็นเขตอนุรักษ์เมืองเก่า แหล่งท่องเที่ยวเชิงประวัติศาสตร์และศิลปวัฒนธรรมทางฝั่งธนบุรี.

ใหม่!!: รถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคลและเขตบางกอกใหญ่ · ดูเพิ่มเติม »

เขตบางรัก

ตบางรัก เป็น 1 ใน 50 เขตการปกครองของกรุงเทพมหานคร อยู่ในกลุ่มเขตลุมพินี ซึ่งถือเป็นเขตศูนย์กลางธุรกิจ การค้า การบริการ และการทูต.

ใหม่!!: รถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคลและเขตบางรัก · ดูเพิ่มเติม »

เขตบางซื่อ

ตบางซื่อ เป็น 1 ใน 50 เขตการปกครองของกรุงเทพมหานคร จัดอยู่ในกลุ่มเขตกรุงเทพเหนือ สภาพพื้นที่โดยทั่วไปเป็นแหล่งการค้า การบริการ และแหล่งที่อยู่อาศัยหนาแน่นมาก.

ใหม่!!: รถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคลและเขตบางซื่อ · ดูเพิ่มเติม »

เขตบางแค

ตบางแค เป็น 1 ใน 50 เขตการปกครองของกรุงเทพมหานคร อยู่ในกลุ่มเขตกรุงธนใต้ ซึ่งถือเป็นเขตเกษตรกรรมผสมผสานแหล่งที่อยู่อาศัยสภาพแวดล้อมดีทางฝั่งธนบุรี ปัจจุบันเขตบางแคเป็นเขตที่มีจำนวนประชากรมากเป็นอันดับที่ 3 ในกรุงเทพมหานครรองจากเขตคลองสามว.

ใหม่!!: รถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคลและเขตบางแค · ดูเพิ่มเติม »

เขตบางเขน

ตบางเขน เป็น 1 ใน 50 เขตการปกครองของกรุงเทพมหานคร อยู่ในกลุ่มเขตกรุงเทพเหนือ ซึ่งถือเป็นเขตที่อยู่อาศัยรองรับการขยายตัวของเมือง ทางทิศตะวันออก (ตอนเหนือ) ของกรุงเทพมหานคร และเป็นเขตที่มีจำนวนประชากรมากเป็นอันดับที่ 4 ในกรุงเทพมหานครรองจากเขตบางแ.

ใหม่!!: รถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคลและเขตบางเขน · ดูเพิ่มเติม »

เขตพระนคร

ตพระนคร เป็น 1 ใน 50 เขตการปกครองของกรุงเทพมหานคร อยู่ในกลุ่มเขตกรุงเทพกลาง ถือเป็นเขตอนุรักษ์เมืองเก่า แหล่งท่องเที่ยวเชิงประวัติศาสตร์และศิลปวัฒนธรรมทางฝั่งพระนคร เนื่องจากมีสถานที่สำคัญทั้งทางด้านวัฒนธรรมและด้านการเมืองการปกครองตั้งอยู่เป็นจำนวนมาก ซึ่งเขตพระนครเป็นที่ตั้งของเกาะรัตนโกสินทร์ในปัจจุบัน.

ใหม่!!: รถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคลและเขตพระนคร · ดูเพิ่มเติม »

เขตภาษีเจริญ

ตภาษีเจริญ เป็น 1 ใน 50 เขตการปกครองของกรุงเทพมหานคร อยู่ในกลุ่มเขตกรุงธนใต้ สภาพโดยทั่วไปมีลักษณะกึ่งชนบทกึ่งชุมชนเมือง แต่ในพื้นที่เนื่องจากมีการขยายตัวของระบบสาธารณูปโภค (โดยเฉพาะด้านการคมนาคม) จึงเกิดการเปลี่ยนแปลงจากชุมชนเกษตรเป็นชุมชนเมืองมากขึ้น.

ใหม่!!: รถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคลและเขตภาษีเจริญ · ดูเพิ่มเติม »

เขตราชเทวี

ตราชเทวี เป็น 1 ใน 50 เขตการปกครองของกรุงเทพมหานคร อยู่ในกลุ่มเขตกรุงเทพกลาง สภาพโดยทั่วไปเป็นแหล่งการค้า การบริการ และแหล่งที่อยู่อาศัยหนาแน่นมาก.

ใหม่!!: รถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคลและเขตราชเทวี · ดูเพิ่มเติม »

เขตวัฒนา

ตวัฒนา เป็น 1 ใน 50 เขตการปกครองของกรุงเทพมหานคร อยู่ในกลุ่มเขตกรุงเทพใต้ ซึ่งถือเป็นเขตศูนย์กลางธุรกิจ การค้า การบริการ และการทูต.

ใหม่!!: รถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคลและเขตวัฒนา · ดูเพิ่มเติม »

เขตสัมพันธวงศ์

ตสัมพันธวงศ์ เป็นเขตที่เล็กที่สุดของกรุงเทพมหานคร อยู่ในกลุ่มเขตกรุงเทพกลาง สภาพพื้นที่ประกอบไปด้วยแหล่งการค้าหนาแน่นและแหล่งท่องเที่ยวเชิงประวัติศาสตร์และศิลปวัฒนธรรม.

ใหม่!!: รถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคลและเขตสัมพันธวงศ์ · ดูเพิ่มเติม »

เขตสาทร

ตสาทร เป็น 1 ใน 50 เขตการปกครองของกรุงเทพมหานคร อยู่ในกลุ่มเขตกรุงเทพใต้ ถือเป็นเขตศูนย์กลางธุรกิจ การค้า การบริการ และการทูต.

ใหม่!!: รถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคลและเขตสาทร · ดูเพิ่มเติม »

เขตหนองแขม

ตหนองแขม เป็น 1 ใน 50 เขตการปกครองของกรุงเทพมหานคร อยู่ในกลุ่มเขตกรุงธนใต้ สภาพพื้นที่โดยทั่วไปเป็นที่ราบลุ่ม สภาพเศรษฐกิจดั้งเดิมขึ้นอยู่กับการเกษตรกรรม แต่ปัจจุบันสภาพพื้นที่เปลี่ยนแปลงไป เนื่องจากชุมชนเมืองขยายตัวจากพื้นที่ชั้นใน มีผู้ย้ายถิ่นเข้ามาอยู่อาศัยและประกอบอาชีพมากขึ้น พื้นที่การเกษตรจึงเริ่มถูกเปลี่ยนแปลงเป็นสถานที่ราชการ สถานศึกษา โรงพยาบาล สาธารณสุข สถานีโทรทัศน์ โรงงานอุตสาหกรรม อาคารพาณิชย์ และหมู่บ้านจัดสรร.

ใหม่!!: รถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคลและเขตหนองแขม · ดูเพิ่มเติม »

เขตห้วยขวาง

ตห้วยขวาง เป็น 1 ใน 50 เขตการปกครองของกรุงเทพมหานคร อยู่ในกลุ่มเขตกรุงเทพกลาง ถือเป็นแหล่งการค้า การบริการ และแหล่งที่อยู่อาศัยหนาแน่นมาก.

ใหม่!!: รถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคลและเขตห้วยขวาง · ดูเพิ่มเติม »

เขตจอมทอง

ตจอมทอง เป็น 1 ใน 50 เขตการปกครองของกรุงเทพมหานคร จัดอยู่ในกลุ่มเขตตากสิน ซึ่งถือเป็นแหล่งจ้างงานใหม่ ที่อยู่อาศัยหนาแน่นมาก และศูนย์ราชการทางทิศตะวันตกของกรุงเทพมหานคร.

ใหม่!!: รถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคลและเขตจอมทอง · ดูเพิ่มเติม »

เขตจตุจักร

ตจตุจักร เป็น 1 ใน 50 เขตการปกครองของกรุงเทพมหานคร จัดอยู่ในกลุ่มเขตกรุงเทพเหนือ ซึ่งถือเป็นแหล่งการค้า การบริการ และแหล่งที่อยู่อาศัยหนาแน่นมาก.

ใหม่!!: รถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคลและเขตจตุจักร · ดูเพิ่มเติม »

เขตดินแดง

ตดินแดง เป็น 1 ใน 50 เขตการปกครองของกรุงเทพมหานคร อยู่ในกลุ่มเขตกรุงเทพกลาง สภาพทั่วไปเป็นแหล่งการค้า การบริการ และแหล่งที่อยู่อาศัยหนาแน่นมาก.

ใหม่!!: รถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคลและเขตดินแดง · ดูเพิ่มเติม »

เขตคลองเตย

ตลาดคลองเตย เขตคลองเตย เป็น 1 ใน 50 เขตการปกครองของกรุงเทพมหานคร อยู่ในกลุ่มเขตเจ้าพระยา ซึ่งถือเป็นเขตเศรษฐกิจใหม่และการพัฒนาตามแนววงแหวนอุตสาหกรรม.

ใหม่!!: รถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคลและเขตคลองเตย · ดูเพิ่มเติม »

เขตปทุมวัน

ตปทุมวัน เป็น 1 ใน 50 เขตการปกครองของกรุงเทพมหานคร อยู่ในกลุ่มเขตกรุงเทพใต้ ซึ่งถือเป็นเขตศูนย์กลางธุรกิจ การค้า การบริการ การพยาบาล วัฒนธรรม การศึกษา และการทูต เป็นเขตหนึ่งที่มีที่ตั้งอยู่บริเวณใจกลางที่สุดของกรุงเทพมหานครและที่มีการคมนาคมหลากหลายช่องทาง.

ใหม่!!: รถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคลและเขตปทุมวัน · ดูเพิ่มเติม »

เขตป้อมปราบศัตรูพ่าย

มุมมองเขตป้อมปราบศัตรูพ่ายจากพระบรมบรรพต เขตป้อมปราบศัตรูพ่าย เป็น 1 ใน 50 เขตการปกครองของกรุงเทพมหานคร อยู่ในกลุ่มเขตกรุงเทพกลาง ถือเป็นเขตอนุรักษ์เมืองเก่า แหล่งท่องเที่ยวเชิงประวัติศาสตร์และศิลปวัฒนธรรมทางฝั่งพระนคร.

ใหม่!!: รถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคลและเขตป้อมปราบศัตรูพ่าย · ดูเพิ่มเติม »

เดอะมอลล์

200px เดอะมอลล์ ท่าพระ เดอะมอลล์ งามวงศ์วาน เดอะมอลล์ นครราชสีมา เดอะมอลล์ (The Mall) เป็นศูนย์การค้าและห้างสรรพสินค้าในประเทศไทย โดยมีเจ้าของ คือ กลุ่มเดอะมอลล์ หรือบริษัท เดอะมอลล์กรุ๊ป จำกัด มีสาขา ได้แก่ รามคำแหง, ท่าพระ, งามวงศ์วาน, บางแค, บางกะปิ และนครราชสีมา นอกจากนี้บางสาขายังมีสวนน้ำ และสวนสนุกด้วย เดอะมอลล์สาขาแรก เปิดเมื่อวันที่ 25 มิถุนายน..

ใหม่!!: รถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคลและเดอะมอลล์ · ดูเพิ่มเติม »

เซ็นทรัลพัฒนา

ริษัท เซ็นทรัลพัฒนา จำกัด (มหาชน) (ย่อ: CPN) เป็นบริษัทสำหรับการพัฒนา ดูแล และบริหารโครงการอสังหาริมทรัพย์ขนาดใหญ่ทั้งในและต่างประเทศ ภายใต้การดำเนินการของกลุ่มเซ็นทรัล กลุ่มเตชะไพบูลย์ กลุ่มสหยูเนี่ยน และกลุ่มบุคคลอื่น ๆ ปัจจุบันดูแลโครงการอสังหาริมทรัพย์อยู่ทั้งหมด 30 แห่ง และกำลังก่อสร้างเพิ่มอีก 4 แห่ง.

ใหม่!!: รถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคลและเซ็นทรัลพัฒนา · ดูเพิ่มเติม »

1 กรกฎาคม

วันที่ 1 กรกฎาคม เป็นวันที่ 182 ของปี (วันที่ 183 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 183 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: รถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคลและ1 กรกฎาคม · ดูเพิ่มเติม »

11 สิงหาคม

วันที่ 11 สิงหาคม เป็นวันที่ 223 ของปี (วันที่ 224 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 142 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: รถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคลและ11 สิงหาคม · ดูเพิ่มเติม »

13 มกราคม

วันที่ 13 มกราคม เป็นวันที่ 13 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 352 วันในปีนั้น (353 วันในปีอธิกสุรทิน).

ใหม่!!: รถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคลและ13 มกราคม · ดูเพิ่มเติม »

13 เมษายน

วันที่ 13 เมษายน เป็นวันที่ 103 ของปี (วันที่ 104 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 262 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: รถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคลและ13 เมษายน · ดูเพิ่มเติม »

15 พฤศจิกายน

วันที่ 15 พฤศจิกายน เป็นวันที่ 319 ของปี (วันที่ 320 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 46 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: รถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคลและ15 พฤศจิกายน · ดูเพิ่มเติม »

17 มกราคม

วันที่ 17 มกราคม เป็นวันที่ 17 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 348 วันในปีนั้น (349 วันในปีอธิกสุรทิน).

ใหม่!!: รถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคลและ17 มกราคม · ดูเพิ่มเติม »

19 พฤษภาคม

วันที่ 19 พฤษภาคม เป็นวันที่ 139 ของปี (วันที่ 140 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 226 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: รถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคลและ19 พฤษภาคม · ดูเพิ่มเติม »

19 เมษายน

วันที่ 19 เมษายน เป็นวันที่ 109 ของปี (วันที่ 110 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 256 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: รถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคลและ19 เมษายน · ดูเพิ่มเติม »

3 กรกฎาคม

วันที่ 3 กรกฎาคม เป็นวันที่ 184 ของปี (วันที่ 185 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 181 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: รถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคลและ3 กรกฎาคม · ดูเพิ่มเติม »

4 เมษายน

วันที่ 4 เมษายน เป็นวันที่ 94 ของปี (วันที่ 95 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 271 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: รถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคลและ4 เมษายน · ดูเพิ่มเติม »

9 ตุลาคม

วันที่ 9 ตุลาคม เป็นวันที่ 282 ของปี (วันที่ 283 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 83 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: รถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคลและ9 ตุลาคม · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

MRTรถไฟฟ้ามหานคร สายสีน้ำเงินรถไฟฟ้ามหานครสายเฉลิมรัชมงคลสายเฉลิมรัชมงคลสถานีสิรินธรสถานีสิรินธร (รถไฟฟ้ามหานคร)สถานีหนองแขมสถานีหนองแขม (รถไฟฟ้าสายสีน้ำเงิน)สถานีบางกอกใหญ่สถานีบางยี่ขันสถานีบางหว้า (รถไฟฟ้ามหานคร)สถานีบางอ้อสถานีบางพลัดสถานีบางขุนนท์สถานีบางขุนนนท์สถานีบางขุนนนท์ (รถไฟฟ้ามหานคร)สถานีบางขุนนนท์ (รถไฟฟ้าสายสีน้ำเงินและสายสีส้ม)สถานีบางโพสถานีบางไผ่สถานีพุทธมณฑล สาย 2สถานีพุทธมณฑล สาย 2 (รถไฟฟ้าสายสีน้ำเงิน)สถานีพุทธมณฑล สาย 3สถานีพุทธมณฑล สาย 4สถานีพุทธมณฑล สาย 4 (รถไฟฟ้าสายสีน้ำเงิน)สถานีจรัญสนิทวงศ์ 13สถานีทวีวัฒนาสถานีทวีวัฒนา (รถไฟฟ้าสายสีน้ำเงิน)สถานีแยกไฟฉายสถานีเพชรเกษม 48สถานีเพชรเกษม48อาคารจอดแล้วจร (สถานีรถไฟฟ้าลาดพร้าว)เมโทรมอลล์เมโทรไนน์

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »