เรากำลังดำเนินการเพื่อคืนค่าแอป Unionpedia บน Google Play Store
ขาออกขาเข้า
🌟เราได้ทำให้การออกแบบของเราง่ายขึ้นเพื่อการนำทางที่ดีขึ้น!
Instagram Facebook X LinkedIn

รถไฟฟ้าในกรุงเทพมหานครและปริมณฑล

ดัชนี รถไฟฟ้าในกรุงเทพมหานครและปริมณฑล

รถไฟฟ้าในกรุงเทพมหานครและปริมณฑล หรือ โครงข่ายระบบรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนในกรุงเทพมหานครและพื้นที่ต่อเนื่อง เป็นระบบขนส่งมวลชนแบบรางใน กรุงเทพมหานครและปริมณฑล เริ่มเปิดให้บริการเป็นครั้งแรกเมื่อปี พ.ศ.

สารบัญ

  1. 135 ความสัมพันธ์: บริษัทวิศวกรรมการขนส่งญี่ปุ่นบริติช เรล คลาส 360ชวลิต ยงใจยุทธชวน หลีกภัยบอมบาร์ดิเอร์พ.ศ. 2527พ.ศ. 2533พ.ศ. 2535พ.ศ. 2540พ.ศ. 2541พ.ศ. 2542พ.ศ. 2543พ.ศ. 2545พ.ศ. 2547พ.ศ. 2550พ.ศ. 2552พ.ศ. 2553พ.ศ. 2554พ.ศ. 2555พ.ศ. 2556พ.ศ. 2557พ.ศ. 2558พ.ศ. 2559พ.ศ. 2560พ.ศ. 2561พ.ศ. 2562พ.ศ. 2563พ.ศ. 2564พ.ศ. 2566พ.ศ. 2568กรมธนารักษ์กระทรวงการคลัง (ประเทศไทย)กรุงเทพมหานครกรุงเทพมหานคร (องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น)กรุงเทพมหานครและปริมณฑลการรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนแห่งประเทศไทยมิถุนายนมิตซูบิชิเฮฟวีอินดัสทรีส์มีเตอร์เกจระบบจ่ายไฟฟ้าเหนือหัวระบบขนส่งมวลชนกรุงเทพมหานครระบบขนส่งมวลชนเร็วระเบียงเศรษฐกิจภาคตะวันออกรัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2534รายชื่อสถานีรถไฟฟ้าในกรุงเทพมหานครและปริมณฑลรางที่สามรางเดี่ยวรถดีเซลรางรถไฟชานเมืองรถไฟฟ้า ร.ฟ.ท.... ขยายดัชนี (85 มากกว่า) »

  2. การขนส่งในกรุงเทพมหานคร

บริษัทวิศวกรรมการขนส่งญี่ปุ่น

รื่องหมาย J-TREC ในตู้รถไฟ บริษัทวิศวกรรมการขนส่งญี่ปุ่น (Japan Transport Engineering Company: J-TREC) หรือชื่อตามที่จดทะเบียนคือ โรงงานประกอบยานล้อเลื่อน (総合車両製作所 โซโง ชะเรียว เซซะกุโช) เป็นโรงงานรับจ้างผลิตรถไฟรางหนักในประเทศญี่ปุ่น มีที่ตั้งอยู่ในเขตคะนะซะวะ นครโยะโกะฮะมะ และเป็นโรงงานในเครือของ บริษัทรถไฟญี่ปุ่นตะวันออก (JR ตะวันออก) อย่างไรก็ตาม โรงงานแห่งนี้ไม่ได้ผลิตเฉพาะรถไฟให้แก่ JR ตะวันออกและโทกีวคอร์ปอเรชันเท่านั้น แต่ยังผลิตให้ผู้ดำเนินงานรถไฟเจ้าอื่นของกลุ่มบริษัทรถไฟญี่ปุ่นด้วย ตลอดจนบริษัทรถไฟฟ้ากรุงเทพ และเอสเอ็มอาร์ทีคอร์ปอเรชันของสิงคโปร์ ก่อตั้งเมื่อ 23 สิงหาคม..

ดู รถไฟฟ้าในกรุงเทพมหานครและปริมณฑลและบริษัทวิศวกรรมการขนส่งญี่ปุ่น

บริติช เรล คลาส 360

ริติช เรล คลาส 360 ในรถไฟฟ้าเชื่อมท่าอากาศยานลอนดอนฮีทโธรว์ ภายในรถ รถไฟฟ้าบริติช เรล คลาส 360 สร้างขึ้นโดยซีเมนส์ นำเข้าตั้งแต่ ค.ศ.

ดู รถไฟฟ้าในกรุงเทพมหานครและปริมณฑลและบริติช เรล คลาส 360

ชวลิต ยงใจยุทธ

ลเอก พลเรือเอก พลอากาศเอก ชวลิต ยงใจยุทธ (15 พฤษภาคม พ.ศ. 2475 —) เป็นนายกรัฐมนตรีของประเทศไทย คนที่ 22 อดีตรองนายกรัฐมนตรี อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงแรงงานและสวัสดิการสังคม อดีตผู้บัญชาการทหารบกและอดีดรักษาการผู้บัญชาการทหารสูงสุด เป็นเจ้าของสมญา "ขงเบ้งแห่งกองทัพบก" เคยได้รับการแต่งตั้งให้เป็น สมาชิกวุฒิสภา ขณะดำรงตำแหน่งทางทหาร เป็นผู้ก่อตั้ง และหัวหน้า พรรคความหวังใหม่ คนแรก และเป็นอดีต..หลายสมัย มีคะแนนเสียงหนาแน่นในจังหวัดนครพนม สื่อมวลชนและประชาชนทั่วไป เรียก พล.อ.ชวลิต ว่า "บิ๊กจิ๋ว" และในพื้นที่ภาคอีสาน เรียก พล.อ.ชวลิต ว่า "พ่อใหญ่จิ๋ว" นอกจากนี้แล้วยังมีอีกฉายาหนึ่งว่า "จิ๋วหวานเจี๊ยบ" จากการมีบุคลิกพูดจาอ่อนนิ่ม นุ่มนวล.

ดู รถไฟฟ้าในกรุงเทพมหานครและปริมณฑลและชวลิต ยงใจยุทธ

ชวน หลีกภัย

วน หลีกภัย (28 กรกฎาคม พ.ศ. 2481 —) เป็นนายกรัฐมนตรีไทยคนที่ 20 ดำรงตำแหน่งสองสมัย ปัจจุบันเป็นประธานสภาที่ปรึกษาพรรคประชาธิปัต.

ดู รถไฟฟ้าในกรุงเทพมหานครและปริมณฑลและชวน หลีกภัย

บอมบาร์ดิเอร์

อมบาร์ดิเอร์ (Bombardier;, บงบาร์ดีเย) เป็นบริษัทที่เกี่ยวกับการบินและอวกาศของแคนาดา ก่อตั้งโดยโฌแซ็ฟ-อาร์ม็อง บงบาร์ดีเย ชาวฝรั่งเศส ในชื่อแรกว่า โลโต-แนฌบงบาร์ดีเย (L'Auto-Neige Bombardier) เมื่อ..

ดู รถไฟฟ้าในกรุงเทพมหานครและปริมณฑลและบอมบาร์ดิเอร์

พ.ศ. 2527

ทธศักราช 2527 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1984 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ดู รถไฟฟ้าในกรุงเทพมหานครและปริมณฑลและพ.ศ. 2527

พ.ศ. 2533

ทธศักราช 2533 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1990 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ดู รถไฟฟ้าในกรุงเทพมหานครและปริมณฑลและพ.ศ. 2533

พ.ศ. 2535

ทธศักราช 2535 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1992 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันพุธตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ดู รถไฟฟ้าในกรุงเทพมหานครและปริมณฑลและพ.ศ. 2535

พ.ศ. 2540

ทธศักราช 2540 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1997 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพุธตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ดู รถไฟฟ้าในกรุงเทพมหานครและปริมณฑลและพ.ศ. 2540

พ.ศ. 2541

ทธศักราช 2541 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1998 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดีตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ดู รถไฟฟ้าในกรุงเทพมหานครและปริมณฑลและพ.ศ. 2541

พ.ศ. 2542

ทธศักราช 2542 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1999 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันศุกร์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน และสหประชาชาติกำหนดให้เป็น ปีสากลแห่งผู้สูงอายุและเป็นปีมหามงคลในโอกาสที่ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมีพระชนมพรรษาครบ 6 รอบ (พระราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนม์พรรรษา ๖ รอบ ๕ ธันวาคม พ.ศ.

ดู รถไฟฟ้าในกรุงเทพมหานครและปริมณฑลและพ.ศ. 2542

พ.ศ. 2543

ทธศักราช 2543 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2000 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ดู รถไฟฟ้าในกรุงเทพมหานครและปริมณฑลและพ.ศ. 2543

พ.ศ. 2545

ทธศักราช 2545 V 2002 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2002 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคารตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ดู รถไฟฟ้าในกรุงเทพมหานครและปริมณฑลและพ.ศ. 2545

พ.ศ. 2547

ทธศักราช 2547 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2004 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดีตามปฏิทินเกรกอเรียน เป็นปีอธิกมาส ปกติวาร ตามปฏิทินไทยจันทรคติ และกำหนดให้เป็น.

ดู รถไฟฟ้าในกรุงเทพมหานครและปริมณฑลและพ.ศ. 2547

พ.ศ. 2550

ทธศักราช 2550 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2007 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ดู รถไฟฟ้าในกรุงเทพมหานครและปริมณฑลและพ.ศ. 2550

พ.ศ. 2552

ทธศักราช 2552 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2009 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดีตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็นปีสุดท้ายในคริสต์ทศวรรษ 2000.

ดู รถไฟฟ้าในกรุงเทพมหานครและปริมณฑลและพ.ศ. 2552

พ.ศ. 2553

ทธศักราช 2553 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2010 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันศุกร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็นปีแรกในคริสต์ทศวรรษที่ 2010.

ดู รถไฟฟ้าในกรุงเทพมหานครและปริมณฑลและพ.ศ. 2553

พ.ศ. 2554

ทธศักราช 2554 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2011 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ดู รถไฟฟ้าในกรุงเทพมหานครและปริมณฑลและพ.ศ. 2554

พ.ศ. 2555

ทธศักราช 2555 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2012 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็นปีมะโรง จัตวาศก จุลศักราช 1374 (วันที่ 15 เมษายน เป็นวันเถลิงศก) สมัชชาใหญ่แห่งสหประชาชาติประกาศให้..

ดู รถไฟฟ้าในกรุงเทพมหานครและปริมณฑลและพ.ศ. 2555

พ.ศ. 2556

ทธศักราช 2556 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2013 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคารตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ดู รถไฟฟ้าในกรุงเทพมหานครและปริมณฑลและพ.ศ. 2556

พ.ศ. 2557

ทธศักราช 2557 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2014 วันแรกของปีตรงกับวันพุธตามปฏิทินเกรกอเรียน นับเป็นปีที่ 2014 ตามกำหนดสากลศักราช และปีที่ 2557 ตามกำหนดพุทธศักร.

ดู รถไฟฟ้าในกรุงเทพมหานครและปริมณฑลและพ.ศ. 2557

พ.ศ. 2558

ทธศักราช 2558 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2015 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดีตามปฏิทินเกรกอเรียน นับเป็นปีที่ 2015 ตามกำหนดสากลศักร.

ดู รถไฟฟ้าในกรุงเทพมหานครและปริมณฑลและพ.ศ. 2558

พ.ศ. 2559

ทธศักราช 2559 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2016 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันศุกร์ และเป็น.

ดู รถไฟฟ้าในกรุงเทพมหานครและปริมณฑลและพ.ศ. 2559

พ.ศ. 2560

ทธศักราช 2560 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2017 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ (ลิงก์ไปยังปฏิทิน) ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ดู รถไฟฟ้าในกรุงเทพมหานครและปริมณฑลและพ.ศ. 2560

พ.ศ. 2561

ทธศักราช 2561 เป็นปีปัจจุบัน ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2018 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ดู รถไฟฟ้าในกรุงเทพมหานครและปริมณฑลและพ.ศ. 2561

พ.ศ. 2562

ทธศักราช 2562 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2019 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคารตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ดู รถไฟฟ้าในกรุงเทพมหานครและปริมณฑลและพ.ศ. 2562

พ.ศ. 2563

ทธศักราช 2563 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2020 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันพุธตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ดู รถไฟฟ้าในกรุงเทพมหานครและปริมณฑลและพ.ศ. 2563

พ.ศ. 2564

ทธศักราช 2564 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2021 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันศุกร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ดู รถไฟฟ้าในกรุงเทพมหานครและปริมณฑลและพ.ศ. 2564

พ.ศ. 2566

ทธศักราช 2566 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2023 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ดู รถไฟฟ้าในกรุงเทพมหานครและปริมณฑลและพ.ศ. 2566

พ.ศ. 2568

ทธศักราช 2568 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2025 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพุธตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ดู รถไฟฟ้าในกรุงเทพมหานครและปริมณฑลและพ.ศ. 2568

กรมธนารักษ์

กรมธนารักษ์ เป็นกรมในสังกัดของกระทรวงการคลัง มีหน้าที่เกี่ยวกับการทำเหรียญกษาปณ์ เหรียญที่ระลึก การดูแลที่ราชพัสดุตามอำนาจหน้าที่ การประเมินราคาทรัพย์สิน การรับจ่ายและรักษาพระราชทรัพย์ทั้งหมดในกรุงเทพมหานคร และการจัดการเงินในพระองค์ของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวและเกี่ยวกับพระราชทรัพย์ของบรมวง.

ดู รถไฟฟ้าในกรุงเทพมหานครและปริมณฑลและกรมธนารักษ์

กระทรวงการคลัง (ประเทศไทย)

กระทรวงการคลัง (Ministry of Finance) เป็นหน่วยงานราชการไทยประเภทกระทรวง ทำหน้าที่เกี่ยวกับการเงินของแผ่นดิน การภาษีอากร การรัษฎากร กิจการเกี่ยวกับที่ดินราชพัสดุ กิจการอันกฎหมายบัญญัติให้เป็นการผูกขาดของรัฐ กิจการหารายได้ซึ่งรัฐมีอำนาจดำเนินการได้แต่เพียงผู้ เดียวตามกฎหมายและไม่อยู่ในอำนาจหน้าที่ของกระทรวง ทบวง กรมอื่น และกิจการซึ่งจะเป็นสัญญาผูกพันต่อเมื่อรัฐบาลได้ให้อำนาจหรือสัตยาบัน รวมทั้งการค้ำประกันหนี้ของส่วนราชการและองค์การรัฐ สถาบันการเงินและรัฐวิสาหก.

ดู รถไฟฟ้าในกรุงเทพมหานครและปริมณฑลและกระทรวงการคลัง (ประเทศไทย)

กรุงเทพมหานคร

กรุงเทพมหานคร เป็นเมืองหลวงและนครที่มีประชากรมากที่สุดของประเทศไทย เป็นศูนย์กลางการปกครอง การศึกษา การคมนาคมขนส่ง การเงินการธนาคาร การพาณิชย์ การสื่อสาร และความเจริญของประเทศ เป็นเมืองที่มีชื่อยาวที่สุดในโลก ตั้งอยู่บนสามเหลี่ยมปากแม่น้ำเจ้าพระยา มีแม่น้ำเจ้าพระยาไหลผ่านและแบ่งเมืองออกเป็น 2 ฝั่ง คือ ฝั่งพระนครและฝั่งธนบุรี กรุงเทพมหานครมีพื้นที่ทั้งหมด 1,568.737 ตร.กม.

ดู รถไฟฟ้าในกรุงเทพมหานครและปริมณฑลและกรุงเทพมหานคร

กรุงเทพมหานคร (องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น)

กรุงเทพมหานคร (ย่อ: กทม.; Bangkok Metropolitan Administration, BMA) เป็นองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นรูปแบบพิเศษ ซึ่งทำหน้าที่บริหารเขตการปกครองพิเศษกรุงเทพมหานคร ตามกฎหมายปัจจุบันคือ พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ.

ดู รถไฟฟ้าในกรุงเทพมหานครและปริมณฑลและกรุงเทพมหานคร (องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น)

กรุงเทพมหานครและปริมณฑล

กรุงเทพมหานครและปริมณฑล กรุงเทพมหานครและปริมณฑล (Bangkok Metropolitan Region)NESDB, Bangkok Metropolitan Region Study, 1985 เป็นเขตเมืองของกรุงเทพมหานครและจังหวัดที่ตั้งอยู่โดยรอบ ("ปริมณฑล" หมายถึง วงรอบ) ครอบคลุมพื้นที่กว่า 7 พันตารางกิโลเมตร แม่น้ำสายสำคัญที่ไหลผ่าน ได้แก่ แม่น้ำเจ้าพระยาและแม่น้ำท่าจีน มีประชากรตามหลักฐานทะเบียนราษฎรรวมกันประมาณ 10 ล้านกว่าคน (เดือนธันวาคม พ.ศ.

ดู รถไฟฟ้าในกรุงเทพมหานครและปริมณฑลและกรุงเทพมหานครและปริมณฑล

การรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนแห่งประเทศไทย

การรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนแห่งประเทศไทย หรือ รฟม. (Mass Rapid Transit Authority of Thailand ย่อว่า MRTA) เป็นรัฐวิสาหกิจในสังกัดกระทรวงคมนาคม มีภาระหน้าที่ในการจัดให้มี และให้บริการรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนในกรุงเทพมหานครและปริมณฑล และจังหวัดอื่นๆ รฟม.

ดู รถไฟฟ้าในกรุงเทพมหานครและปริมณฑลและการรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนแห่งประเทศไทย

มิถุนายน

มิถุนายน เป็นเดือนที่ 6 ของปี ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็นหนึ่งในเดือน 4 เดือนที่มี 30 วัน ตามหลักโหราศาสตร์ เดือนมิถุนายนเริ่มต้นขึ้นเมื่อดวงอาทิตย์ยกเข้าสู่ราศีเมถุน และสิ้นสุดเมื่อยกเข้าสู่ราศีกรกฎ แต่ในทางดาราศาสตร์ ต้นเดือนมิถุนายนดวงอาทิตย์อยู่ในกลุ่มดาววัวและปลายเดือนไปอยู่ในกลุ่มดาวคนคู่ ชื่อในภาษาอังกฤษ "June" มีที่มาจากเทพเจ้าโรมันนามว่า จูโน (Juno) ส่วนในประเทศไทยเริ่มใช้ชื่อเดือนมิถุนายนในปี พ.ศ.

ดู รถไฟฟ้าในกรุงเทพมหานครและปริมณฑลและมิถุนายน

มิตซูบิชิเฮฟวีอินดัสทรีส์

มิตซูบิชิเฮฟวีอินดัสทรีส์ เป็นบริษัทข้ามชาติทางด้านอุตสาหกรรมหนักและวิศวกรรมของญี่ปุ่น และเป็นหนึ่งบริษัทในเครือมิตซูบิชิ ปัจจุบันผลิตตั้งแต่ ยานอวกาศ, ขีปนาวุธ, จรวด, ตอร์ปิโด, อากาศยาน, รถหุ้มเกราะ, เครื่องยนต์, ชิ้นส่วนยานยนต์, รถยก, อุปกรณ์ไฮโดรลิก, หุ่นยนต์, เรือพลเรือน, เรือรบ, เครื่องปรับอากาศ เป็นต้น ในปี 2015 ได้รับการจัดอันดับเป็นบริษัทที่ใหญ่ที่สุดเป็นอันดับที่ 27 ของญี่ปุ่น ทั้งนี้ในยุคจักรวรรดิญี่ปุ่น บริษัทแห่งนี้ถือเป็นบริษัทเอกชนที่ใหญ่ที่สุดในญี่ปุ่น มีบทบาทสำคัญในการสร้างชาติญี่ปุ่นและเป็นหนึ่งบริษัทหลักใน ไซบะสึ.

ดู รถไฟฟ้าในกรุงเทพมหานครและปริมณฑลและมิตซูบิชิเฮฟวีอินดัสทรีส์

มีเตอร์เกจ

มีเตอร์เกจ (metre gauge) หรือ รางรถไฟขนาดหนึ่งเมตร เป็นขนาดความกว้างรางรถไฟที่มีขนาดเล็กกว่าขนาดมาตรฐาน โดยมีความกว้างที่วัดภายในขนาด 1 เมตร โดยมีการใช้งานหลายประเทศใน แอฟริกา อเมริกา และเอเชีย โดยในทวีปยุโรปหลายประเทศได้มีการใช้ในอดีตและได้ปิดและปรับขนาดเป็นสแตนดาร์ดเกจ ยกเว้นในประเทศสเปนและสวิตเซอร์แลนด์ รางรถไฟในประเทศไทยเกือบทั้งหมดยกเว้นรางรถไฟลอยฟ้า และรถไฟใต้ดิน ใช้ขนาดมีเตอร์เกจ โดยในปัจจุบันได้มีการพิจารณาจะปรับปรุงรางรถไฟเดิมให้มีขนาดเป็นสแตนดาร์ดเกจ เพื่อรองรับกับรถไฟความเร็วสูง.

ดู รถไฟฟ้าในกรุงเทพมหานครและปริมณฑลและมีเตอร์เกจ

ระบบจ่ายไฟฟ้าเหนือหัว

ระบบจ่ายไฟฟ้าเหนือหัวในประเทศสวิตเซอร์แลนด์ ระบบจ่ายไฟฟ้าเหนือศีรษะ เป็นระบบการจ่ายไฟฟ้าแก่ทางรถไฟประเภทหนึ่ง ประกอบด้วยสายลวดตัวนำเปลือย แขวนไว้กับลูกถ้วยฉนวนซึ่งยึดตรึงที่เสา กระแสไฟฟ้าจะไหลผ่านขารับกระแสไฟฟ้าเหนือศีรษะที่เรียกว่า แหนบรับไฟ เข้าสู่ระบบขับเคลื่อนขบวนรถ เพื่อให้ครบวงจรไฟฟ้า กระแสไฟฟ้าจะไหลผ่านรางรถไฟหรือราวเหล็กเส้นที่สี่ซึ่งต่อสายดินไว้ ระบบจ่ายไฟฟ้าเหนือศีรษะมักต่อเข้ากับระบบไฟฟ้าแรงสูง เพื่อลดการสูญเสียจากการส่งไฟฟ้าเป็นระยะทางไกล ๆ ระบบจ่ายไฟฟ้าเหนือศีรษะ มีชื่อเรียกอื่นดังนี้.

ดู รถไฟฟ้าในกรุงเทพมหานครและปริมณฑลและระบบจ่ายไฟฟ้าเหนือหัว

ระบบขนส่งมวลชนกรุงเทพมหานคร

ระบบขนส่งมวลชนกรุงเทพมหานคร (Bangkok Mass Transit, BMT) เป็นระบบรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนในกรุงเทพมหานคร ที่ดำเนินการโดยกรุงเทพมหานคร (กทม., BMA) และบริษัท กรุงเทพธนาคม จำกัด (KT) โดยเป็นส่วนหนึ่งของโครงข่ายระบบขนส่งมวลชนทางราง ในกรุงเทพมหานครและปริมณฑล นอกเหนือไปจากระบบรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนอื่น ได้แก่ ระบบรถไฟฟ้ามหานคร ของการรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนแห่งประเทศไทย (รฟม.) และโครงการระบบรถไฟชานเมืองสายสีแดง ของการรถไฟแห่งประเทศไทย (รฟท.) โดยระบบขนส่งมวลชนกรุงเทพมหานครที่เปิดให้บริการแล้วในปัจจุบันได้แก่ รถไฟฟ้าบีทีเอส สายเฉลิมพระเกียรติ 6 รอบพระชนมพรรษ.

ดู รถไฟฟ้าในกรุงเทพมหานครและปริมณฑลและระบบขนส่งมวลชนกรุงเทพมหานคร

ระบบขนส่งมวลชนเร็ว

รถไฟฟ้าใต้ดินในกรุงวอชิงตัน ดี.ซี. ระบบขนส่งมวลชนเร็ว (rapid transit) หรือที่มักเรียกว่า รถไฟฟ้า รถไฟใต้ดิน (subway, underground) รถไฟในเมือง (metro) รถไฟรางหนัก (heavy rail) มักจะมีในเมืองใหญ่ที่สำคัญทั่วโลก รถไฟฟ้าใต้ดินที่เก่าแก่ที่สุดในโลกอยู่ที่กรุงลอนดอน เปิดใช้เมื่อ พ.ศ.

ดู รถไฟฟ้าในกรุงเทพมหานครและปริมณฑลและระบบขนส่งมวลชนเร็ว

ระเบียงเศรษฐกิจภาคตะวันออก

ระเบียงเศรษฐกิจภาคตะวันออก (Eastern Economic Corridor) หรือ EEC เป็นเขตเศรษฐกิจพิเศษซึ่งจัดตั้งขึ้นโดยมติคณะรัฐมนตรีใน..

ดู รถไฟฟ้าในกรุงเทพมหานครและปริมณฑลและระเบียงเศรษฐกิจภาคตะวันออก

รัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2534

รัฐประหาร 23 กุมภาพัน..

ดู รถไฟฟ้าในกรุงเทพมหานครและปริมณฑลและรัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2534

รายชื่อสถานีรถไฟฟ้าในกรุงเทพมหานครและปริมณฑล

นี่คือรายชื่อสถานีรถไฟฟ้าในกรุงเทพมหานครและปริมณฑล โดยจะแสดงเฉพาะที่เปิดให้บริการแล้ว ทั้งนี้ ณ วันที่ 11 สิงหาคม..

ดู รถไฟฟ้าในกรุงเทพมหานครและปริมณฑลและรายชื่อสถานีรถไฟฟ้าในกรุงเทพมหานครและปริมณฑล

รางที่สาม

รางที่สามที่สถานีใกล้กรุงวอชิงตัน ดีซี มีแรงดันที่ 750V DC รางที่สามอยู่บนสุดของภาพมีกันสาดสีขาว สองรางล่างเป็นรางวิ่งทั่วไป กระแสจากรางที่สามวิ่งกลับสถานีจ่ายไฟด้วยรางวิ่งนี้ รางที่สาม เป็นรางตัวนำลักษณะกึ่งแข็งที่มีกระแสไฟฟ้าเพื่อจ่ายพลังงานไฟฟ้าให้กับขบวนรถไฟอย่างต่อเนื่อง รางนี้จะถูกวางที่ด้านข้างหรือระหว่างรางวิ่งของรถไฟ โดยทั่วไปมันมักจะถูกใช้ในระบบขนส่งมวลชนหรือระบบรถไฟฟ้าขนส่งความเร็วสูง ส่วนใหญ่รางที่สามจะจ่ายไฟฟ้ากระแสตรง ระบบรถไฟฟ้ามหานครกรุงเทพ ใช้ไฟ 750 VDC ระบบรางที่สามของการจ่ายไฟฟ้าโดยทั่วไปไม่มีความเกี่ยวข้องกับระบบรางที่สามที่ใช้ในการรถไฟ.

ดู รถไฟฟ้าในกรุงเทพมหานครและปริมณฑลและรางที่สาม

รางเดี่ยว

รถรางเดี่ยวในกรุงมอสโก ประเทศรัสเซีย รางเดี่ยว (monorail) เป็นระบบขนส่งทางรางชนิดหนึ่ง ต่างจากระบบเดิมแทนที่จะมีราวเหล็กสองราวประกอบเป็นราง กลับมีลักษณะเป็นราวเหล็กเส้นเดียวให้รถวิ่งผ่าน คำว่า monorail มีมาตั้งแต่ พ.ศ.

ดู รถไฟฟ้าในกรุงเทพมหานครและปริมณฑลและรางเดี่ยว

รถดีเซลราง

วนรถนำเที่ยวที่ 987 กรุงเทพ - สวนนงนุช ในชานชาลารางที่ 5 สถานีรถไฟกรุงเทพ ขบวนรถท้องถิ่นที่ 428/427 อุบลราชธานี - นครราชสีมา - อุบลราชธานี ขณะจอดเทียบที่ชานชาลารางที่ 1 สถานีรถไฟนครราชสีมา ขบวนรถท้องถิ่นที่ 428 อุบลราชธานี - นครราชสีมาช ขณะจอดเทียบที่ชานชาลารางที่ 1 สถานีรถไฟบุรีรัมย์ รถดีเซลราง (diesel railcar) เป็นรถโดยสารที่มีเครื่องยนต์ดีเซลขับเครื่องด้วยตนเอง เดิมทีการรถไฟได้นำรถชนิดนี้มาใช้งานในประเทศไทยเมื่อ พ.ศ.

ดู รถไฟฟ้าในกรุงเทพมหานครและปริมณฑลและรถดีเซลราง

รถไฟชานเมือง

รถไฟฟ้าชานเมืองในนครนิวยอร์ก รถไฟชานเมือง หรือ รถไฟฟ้าชานเมือง เป็นรถไฟโดยสารที่ให้บริการระหว่างใจกลางเมือง ไปจนถึงชานเมืองที่มีระยะไม่เกิน 15 กิโลเมตร หรือ 10 ไมล์ หรือเป็นเมืองที่มีผู้คนเข้ามาทำงานในใจกลางเมืองมาก โดยรถไฟจะวิ่งตามกำหนดเวลา มีความเร็วสูงสุดตั้งแต่ 50 ไปจนถึง 200 กิโลเมตรต่อชั่วโมง การรถไฟแห่งประเทศไทย ได้ให้ความหมายของรถไฟชานเมือง ว่า เป็นขบวนรถที่จัดเดินเพื่อให้บริการแก่ผู้โดยสารในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล รัศมีไม่เกิน 160 กม.

ดู รถไฟฟ้าในกรุงเทพมหานครและปริมณฑลและรถไฟชานเมือง

รถไฟฟ้า ร.ฟ.ท.

ริษัท รถไฟฟ้า ร.ฟ.ท. จำกัด เป็นหน่วยงานรัฐวิสาหกิจ ในสังกัดกระทรวงคมนาคม มีหน้าที่รับผิดชอบเกี่ยวกับกิจการรถไฟฟ้าต่างๆที่เกี่ยวข้องกับ การรถไฟแห่งประเทศไท.

ดู รถไฟฟ้าในกรุงเทพมหานครและปริมณฑลและรถไฟฟ้า ร.ฟ.ท.

รถไฟฟ้าชานเมืองสายสีแดงอ่อน

รถไฟฟ้าชานเมืองสายสีแดงอ่อน หรือ รถไฟชานเมืองสายตะวันออก-ตะวันตก เป็นโครงการรถไฟชานเมืองในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล และเป็นส่วนหนึ่งของโครงการระบบรถไฟชานเมืองสายสีแดง โดยการรถไฟแห่งประเทศไทย (รฟท.) มีแนวเส้นทางตามแกนหลักทิศตะวันตก-ตะวันออก โดยตามแผนแม่บท พื้นที่โครงการจะมีระยะทาง 127.5 กิโลเมตรคำนวณระยะทางจาก ช่วงนครปฐม-ตลิ่งชัน 43 กม.

ดู รถไฟฟ้าในกรุงเทพมหานครและปริมณฑลและรถไฟฟ้าชานเมืองสายสีแดงอ่อน

รถไฟฟ้าชานเมืองสายสีแดงเข้ม

รถไฟฟ้าชานเมืองสายสีแดงเข้ม (บ้านภาชี-มหาชัย) เป็นส่วนหนึ่งของโครงการระบบรถไฟชานเมืองสายสีแดง โดยการรถไฟแห่งประเทศไทย (รฟท.) ซึ่งเป็นเส้นทางรถไฟที่เป็นแกนหลักของแผนแม่บทระบบขนส่งมวลชนทางราง ในกรุงเทพมหานครและปริมณฑล โดยสำนักงานนโยบายและแผนการขนส่งและจราจร (สนข.) มีแนวเส้นทางตามแกนหลักทิศเหนือ-ทิศใต้/ตะวันตกเฉียงใต้ พื้นที่โครงการส่วนใหญ่อยู่ในเขตทางของการรถไฟแห่งประเทศไทย รถไฟฟ้าชานเมืองสายสีแดงเข้ม มีแผนงานรวม 114.3 กม.

ดู รถไฟฟ้าในกรุงเทพมหานครและปริมณฑลและรถไฟฟ้าชานเมืองสายสีแดงเข้ม

รถไฟฟ้าบีทีเอส

รถไฟฟ้าเฉลิมพระเกียรติ 6 รอบพระชนมพรรษา (Elevated Train in Commemoration of HM the King's 6th Cycle Birthday) หรือชื่อที่เรียกกันทั่วไปว่า รถไฟฟ้าบีทีเอส (BTS Skytrain) เป็นระบบขนส่งมวลชนแบบรางในพื้นที่ กรุงเทพมหานคร, จังหวัดสมุทรปราการ และจังหวัดปทุมธานี ดำเนินการโดย บริษัท ระบบขนส่งมวลชนกรุงเทพ จำกัด (มหาชน) และบริษัท กรุงเทพธนาคม จำกัด ภายใต้สัมปทานของกรุงเทพมหานคร และสัญญาว่าด้วยความเข้าใจกับการรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนแห่งประเทศไทย เริ่มเปิดให้บริการครั้งแรกเมื่อวันที่ 5 ธันวาคม พ.ศ.

ดู รถไฟฟ้าในกรุงเทพมหานครและปริมณฑลและรถไฟฟ้าบีทีเอส

รถไฟฟ้าบีทีเอส สายสุขุมวิท

รถไฟฟ้าเฉลิมพระเกียรติ 6 รอบพระชนมพรรษา สาย 1 หรือ รถไฟฟ้าบีทีเอส สายสุขุมวิท หรือ รถไฟฟ้าสายสีเขียวอ่อน เป็นส่วนหนึ่งของแผนแม่บทระบบขนส่งมวลชนทางราง ในกรุงเทพมหานครและปริมณฑล โดยจะครอบคลุมพื้นที่กรุงเทพมหานคร, จังหวัดปทุมธานี และจังหวัดสมุทรปราการ เปิดให้บริการครั้งแรกในปี..

ดู รถไฟฟ้าในกรุงเทพมหานครและปริมณฑลและรถไฟฟ้าบีทีเอส สายสุขุมวิท

รถไฟฟ้าบีทีเอส สายสีลม

รถไฟฟ้าเฉลิมพระเกียรติ 6 รอบพระชนมพรรษา สาย 2 หรือ รถไฟฟ้าบีทีเอส สายสีลม หรือ รถไฟฟ้าสายสีเขียวเข้ม เป็นส่วนหนึ่งของแผนแม่บทระบบขนส่งมวลชนทางราง ในกรุงเทพมหานครและปริมณฑล โดยจะครอบคลุมพื้นที่ทั้งฝั่งพระนคร และฝั่งธนบุรี กรุงเทพมหานคร เปิดให้บริการครั้งแรกในปี..

ดู รถไฟฟ้าในกรุงเทพมหานครและปริมณฑลและรถไฟฟ้าบีทีเอส สายสีลม

รถไฟฟ้ามหานคร

รถไฟฟ้ามหานคร (Metropolitan Rapid Transit, MRT) เป็นระบบรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนในกรุงเทพมหานครและปริมณฑล ที่ดำเนินการโดยการรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนแห่งประเทศไทย (รฟม.) เป็นส่วนหนึ่งของโครงข่ายระบบขนส่งมวลชนทางราง ในกรุงเทพมหานครและปริมณฑลนอกเหนือไปจากระบบรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนอื่น ได้แก่ ระบบขนส่งมวลชนกรุงเทพมหานคร (รถไฟฟ้าบีทีเอส) ของกรุงเทพมหานคร (กทม.) และโครงการระบบรถไฟชานเมือง (สายสีแดง) ของการรถไฟแห่งประเทศไทย (รฟท.) รถไฟฟ้ามหานครที่เปิดให้บริการแล้วในปัจจุบันได้แก่ รถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคล และสายฉลองรัชธรรม.

ดู รถไฟฟ้าในกรุงเทพมหานครและปริมณฑลและรถไฟฟ้ามหานคร

รถไฟฟ้ามหานคร สายสีส้ม

รถไฟฟ้ามหานคร สายสีส้ม (Metropolitan Rapid Transit Orange Line, MRT Orange Line) เป็นหนึ่งในโครงการก่อสร้างเส้นทางรถไฟฟ้าในระบบรถไฟฟ้ามหานคร ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของโครงการระบบขนส่งมวลชนทางรางในกรุงเทพมหานคร และปริมณฑล โดยการรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนแห่งประเทศไทย (รฟม.) เป็นระบบรถไฟฟ้าที่มีทั้งโครงสร้างใต้ดิน และยกระดับ มีแนวเส้นทางที่รองรับการเดินทางภายในเขตเมืองตามแนวตะวันออก - ตะวันตก เริ่มต้นจากสถานีรถไฟชุมทางตลิ่งชัน ชานเมืองด้านทิศตะวันตกเฉียงเหนือของกรุงเทพฯ ฝั่งธนบุรี เข้าสู่ย่านบางกอกน้อย แล้วลอดใต้แม่น้ำเจ้าพระยา เข้าสู่ย่านเมืองเก่าในเขตพระนคร, ป้อมปราบศัตรูพ่าย และดุสิต ผ่านสถานที่สำคัญเช่น สนามหลวง, ถนนราชดำเนิน, ภูเขาทอง, ตลาดมหานาค เข้าสู่ใจกลางเมืองย่านราชเทวี, ประตูน้ำ, ดินแดง ไปยังชุมชนประชาสงเคราะห์, ถนนวัฒนธรรม ออกสู่ถนนรามคำแหง, บางกะปิ, สะพานสูง มาสิ้นสุดเส้นทางที่เขตมีนบุรี ชานเมืองด้านทิศตะวันออกเฉียงเหนือของกรุงเทพฯเอกสารโครงการศึกษาปรับแผนแม่บทระบบขนส่งมวลชนทางรางในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล: การสัมมนารับฟังความคิดเห็นครั้งที่ 3 วันที่ 19 พฤศจิกายน..

ดู รถไฟฟ้าในกรุงเทพมหานครและปริมณฑลและรถไฟฟ้ามหานคร สายสีส้ม

รถไฟฟ้ามหานคร สายฉลองรัชธรรม

รถไฟฟ้ามหานคร สายฉลองรัชธรรม (Metropolitan Rapid Transit Chalong Ratchadham Line) หรือ รถไฟฟ้ามหานคร สายสีม่วง (MRT Purple Line) ซึ่งเรียกตามสีที่กำหนดในแผนแม่บทโครงการระบบขนส่งมวลชนทางรางในกรุงเทพมหานครและปริมณฑล เป็นหนึ่งในโครงการก่อสร้างเส้นทางรถไฟฟ้าในระบบรถไฟฟ้ามหานคร โดย การรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนแห่งประเทศไทย (รฟม.

ดู รถไฟฟ้าในกรุงเทพมหานครและปริมณฑลและรถไฟฟ้ามหานคร สายฉลองรัชธรรม

รถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคล

| open.

ดู รถไฟฟ้าในกรุงเทพมหานครและปริมณฑลและรถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคล

รถไฟฟ้าล้อยาง

รถไฟฟ้าล้อยางในเมืองลียง ประเทศฝรั่งเศส รถไฟฟ้าล้อยาง (Trolleybus) เป็นระบบขนส่งมวลชนประเภทรถโดยสารประจำทาง ที่รับกระแสไฟฟ้าจากลวดเหนือหัวเช่นเดียวกันกับรถรางหรือรถไฟฟ้าใต้ดิน มักพบตามแถบทวีปยุโรป โดยเฉพาะอดีตประเทศของสหภาพโซเวียต.

ดู รถไฟฟ้าในกรุงเทพมหานครและปริมณฑลและรถไฟฟ้าล้อยาง

รถไฟฟ้าสายสีชมพู

รงการรถไฟฟ้าสายสีชมพู ช่วงแคราย-มีนบุรี เป็นโครงการก่อสร้างระบบขนส่งมวลชนในพื้นที่จังหวัดนนทบุรี และกรุงเทพมหานคร ซึ่งได้รับการกำหนดให้ใช้ระบบรถไฟฟ้ารางเดี่ยว (monorail) เป็นระบบหลัก เป็นโครงการรถไฟฟ้าโครงการหนึ่งตามแผนแม่บทโครงการระบบขนส่งมวลชนทางรางในกรุงเทพมหานครและปริมณฑล และเป็นหนึ่งในโครงการก่อสร้างเส้นทางรถไฟฟ้าในระบบรถไฟฟ้ามหานคร โดยการรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนแห่งประเทศไทย ในระยะแรกโครงการดังกล่าวมีระยะทางรวมทั้งสิ้น 27 กิโลเมตร แต่ต่อมาก็ได้มีการขยายต้นทางจากปากเกร็ดมายังแคราย เพื่อเชื่อมกับโครงการรถไฟฟ้ามหานคร สายฉลองรัชธรรม ทำให้เส้นทางของโครงการเริ่มต้นที่ศูนย์ราชการจังหวัดนนทบุรี และสิ้นสุดที่มีนบุรี ระยะทางรวมประมาณ 34–36 กิโลเมตร.

ดู รถไฟฟ้าในกรุงเทพมหานครและปริมณฑลและรถไฟฟ้าสายสีชมพู

รถไฟฟ้าสายสีฟ้า

รถไฟฟ้าสายสีฟ้า (ดินแดง-สาทร) เป็นหนึ่งในโครงการก่อสร้างเส้นทางรถไฟฟ้าตามแผนแม่บทระบบขนส่งมวลชนทางราง ในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล..

ดู รถไฟฟ้าในกรุงเทพมหานครและปริมณฑลและรถไฟฟ้าสายสีฟ้า

รถไฟฟ้าสายสีทอง

รงการระบบขนส่งมวลชนขนาดรอง สายสีทอง (สถานีรถไฟฟ้ากรุงธนบุรี-สำนักงานเขตคลองสาน-ประชาธิปก) เป็นโครงการระบบขนส่งมวลชนรองบนพื้นที่ฝั่งธนบุรี ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของโครงการระบบขนส่งมวลชนทางราง ในกรุงเทพมหานครและปริมณฑล ระยะที่สอง (M-Map Phase 2) มีจุดประสงค์เพื่อเชื่อมต่อการเดินทางบนถนนเจริญนคร และเป็นการเชื่อมต่อเข้ากับศูนย์การค้าไอคอนสยาม ดำเนินการโดย กรุงเทพมหานคร และบริษัท กรุงเทพธนาคม จำกัด ดำเนินการในรูปแบบรถไฟฟ้าล้อยาง และมีแนวเส้นทางเริ่มต้นจากสถานีต้นทางของโครงการใกล้กับสถานีกรุงธนบุรี ของรถไฟฟ้าบีทีเอส สายสีลม วิ่งไปตามแนวถนนเจริญนคร ผ่านศูนย์การค้าไอคอนสยาม สำนักงานเขตคลองสาน สิ้นสุดในระยะแรกที่บริเวณแยกสมเด็จเจ้าพระยา-ประชาธิปก รวมระยะทาง 5.7 กิโลเมตร คาดว่าจะมีผู้โดยสาร 50,000 เที่ยวต่อวันเมื่อเปิดทำการ ปัจจุบัน (พ.ศ.

ดู รถไฟฟ้าในกรุงเทพมหานครและปริมณฑลและรถไฟฟ้าสายสีทอง

รถไฟฟ้าสายสีน้ำตาล

รงการรถไฟฟ้าสายสีน้ำตาล (แคราย-บึงกุ่ม) เป็นโครงการศึกษาเพื่อก่อสร้างระบบขนส่งมวลชนในพื้นที่กรุงเทพมหานครและปริมณฑล เพื่อบรรจุลงในแผนแม่บทโครงการระบบขนส่งมวลชนทางราง ในกรุงเทพมหานครและปริมณฑล ระยะที่สอง (M-Map Phase 2) โครงการได้รับการกำหนดให้ใช้ระบบรถไฟฟ้ารางเดี่ยวหรือรถไฟฟ้าโมโนเรล มีระยะทางทั้งสิ้น 21 กิโลเมตร ในเบื้องต้นมีการพิจารณาระบบที่จะนำมาใช้ในรูปแบบทางด่วน แต่ล่าสุดได้ยกเลิกโครงการทางด่วนไป และเป็นไปได้ว่าจะจัดสร้างเป็นรถไฟฟ้ารางเดี่ยวแบบยกระดับ โดยรถไฟฟ้าสายนี้จะเชื่อมต่อโครงข่ายรถไฟฟ้าหลักอีก 5 เส้นทาง ได้แก่ รถไฟฟ้าสายสีชมพู รถไฟฟ้ามหานคร สายสีม่วง รถไฟฟ้าชานเมืองสายสีแดงเข้ม รถไฟฟ้าบีทีเอส สายสุขุมวิท และรถไฟฟ้ามหานคร สายสีส้ม.

ดู รถไฟฟ้าในกรุงเทพมหานครและปริมณฑลและรถไฟฟ้าสายสีน้ำตาล

รถไฟฟ้าสายสีเหลือง

รงการรถไฟฟ้าสายสีเหลือง ช่วงลาดพร้าว-สำโรง เป็นโครงการระบบขนส่งมวลชนในพื้นที่กรุงเทพมหานครและปริมณฑล โดยการรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนแห่งประเทศไทย ซึ่งกระทรวงคมนาคมโดยสำนักงานนโยบายและแผนการขนส่งและจราจรได้เร่งรัดแผนงานจากกำหนดการเดิมในปี..

ดู รถไฟฟ้าในกรุงเทพมหานครและปริมณฑลและรถไฟฟ้าสายสีเหลือง

รถไฟฟ้าสายสีเทา

รถไฟฟ้าสายสีเทา (วัชรพล-พระโขนง-สะพานพระราม 9-ท่าพระ) เป็นหนึ่งในโครงการก่อสร้างเส้นทางรถไฟฟ้าตามแผนแม่บทระบบขนส่งมวลชนทางราง ในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล..

ดู รถไฟฟ้าในกรุงเทพมหานครและปริมณฑลและรถไฟฟ้าสายสีเทา

รถไฟฟ้าไลท์เรล สายบางนา-ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ

รถไฟฟ้าไลท์เรล สายบางนา-ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ หรือ รถไฟฟ้าบีทีเอส สายบางนา-สุวรรณภูมิ เป็นโครงการเส้นทางระบบขนส่งมวลชนรองในพื้นที่กรุงเทพมหานครและจังหวัดสมุทรปราการ ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของโครงการระบบขนส่งมวลชนทางราง ในกรุงเทพมหานครและปริมณฑล ระยะที่สอง (M-Map Phase 2) โดยความร่วมมือระหว่าง กรุงเทพมหานคร บริษัท ท่าอากาศยานไทย จำกัด (มหาชน) และจังหวัดสมุทรปราการ มีแนวความคิดเริ่มต้นมาจากการก่อสร้างส่วนต่อขยายรถไฟฟ้าบีทีเอส สายสุขุมวิท ระยะที่ 1 ช่วงอ่อนนุช-แบริ่ง ที่กรุงเทพมหานครเล็งเห็นถึงโอกาสในการขยายเส้นทางไปท่าอากาศยานสุวรรณภูมิตามแนวถนนเทพรัตน ปัจจุบันอยู่ในระหว่างการยื่นขอผลวิเคราะห์ผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมหรือ EIA เพื่อเริ่มดำเนินโครงการ.

ดู รถไฟฟ้าในกรุงเทพมหานครและปริมณฑลและรถไฟฟ้าไลท์เรล สายบางนา-ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ

รถไฟฟ้าเชื่อมท่าอากาศยาน

รถไฟฟ้าเชื่อมท่าอากาศยานนานาชาตินะริตะ รถไฟฟ้าเชื่อมท่าอากาศยาน เป็นระบบขนส่งทางรางประเภทหนึ่ง ซึ่งใช้ขนส่งผู้โดยสารไปยังท่าอากาศยานข้างเคียง ซึ่งให้บริการคนละประเภทกับรถโดยสารประจำทางเชื่อมท่าอากาศยาน รถไฟฟ้าเชื่อมท่าอากาศยาน เป็นที่นิยมมากในประเทศแถบทวีปยุโรป ประเทศญี่ปุ่น และประเทศในทวีปเอเชียบางส่วน ข้อได้เปรียบคือ เป็นระบบขนส่งที่มีมลพิษน้อย สะดวก ปลอดภัย และรวดเร็ว.

ดู รถไฟฟ้าในกรุงเทพมหานครและปริมณฑลและรถไฟฟ้าเชื่อมท่าอากาศยาน

รถไฟความเร็วสูง

รถไฟชิงกันเซ็ง รุ่น E5 TGV 2N2 ของ SNCF ซึ่งเป็นรถไฟความเร็วสูงที่พัฒนาให้มีห้องโดยสาร 2 ชั้น ขณะอยู่ที่เมืองแฟรงเฟิร์ตของเยอรมนี รถไฟความเร็วสูง หรือ ระบบรางความเร็วสูง (High-Speed Rail (HSR)) เป็นระบบการขนส่งทางรางที่วิ่งด้วยความเร็วสูงกว่าระบบขนส่งทางรางทั่วไปอย่างมาก โดยการใช้ระบบล้อเลื่อน (rolling stock) พิเศษรวมกับระบบรางที่ออกแบบมาให้ใช้โดยเฉ.

ดู รถไฟฟ้าในกรุงเทพมหานครและปริมณฑลและรถไฟความเร็วสูง

รถไฟความเร็วสูงสายตะวันออก

วรรณภูมิ รถไฟฟ้า City Line รถไฟความเร็วสูงสายตะวันออก (กรุงเทพมหานคร-ระยอง-ตราด) (Eastern High Speed Train) หรือ โครงการรถไฟความเร็วสูงเชื่อม 3 สนามบิน เดิมคือ โครงการระบบขนส่งมวลชนทางรถไฟเชื่อมท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ หรือ รถไฟฟ้าแอร์พอร์ตเรลลิงก์ เป็นโครงการระบบขนส่งมวลชนแบบพิเศษ ที่เป็นส่วนหนึ่งในโครงการก่อสร้างเส้นทางรถไฟฟ้าในระบบรถไฟฟ้าชานเมืองสายสีแดง และ รถไฟความเร็วสูง เป็นส่วนหนึ่งของโครงการระบบขนส่งมวลชนทางราง ในกรุงเทพมหานครและปริมณฑล และโครงการระบบรถไฟความเร็วสูง ดำเนินการก่อสร้างโดยการรถไฟแห่งประเทศไทย (รฟท.) และเปิดดำเนินการเชิงพาณิชย์โดย บริษัท รถไฟฟ้า ร.ฟ.ท.

ดู รถไฟฟ้าในกรุงเทพมหานครและปริมณฑลและรถไฟความเร็วสูงสายตะวันออก

สวนลุมพินี

วนลุมพินี หรือที่นิยมเรียกสั้น ๆ ว่า สวนลุม เป็นสวนสาธารณะแห่งแรกของประเทศไทย เปิดให้บริการตั้งแต่ปี..

ดู รถไฟฟ้าในกรุงเทพมหานครและปริมณฑลและสวนลุมพินี

สำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ

ำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ (The Public Debt Management Office) หรือย่อว่า สบน. เป็นส่วนราชการระดับกรม ในสังกัดกระทรวงการคลัง มีหน้าที่ในการบริหารหนี้สาธารณะ ตามกฎหมายว่าด้วยการบริหารหนี้สาธารณะโดยการวางแผน กำกับ และดำเนินการก่อหนี้ค้ำประกัน และปรับโครงสร้างหนี้ของรัฐบาล หน่วยงานในกำกับดูแลของรัฐ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และรัฐวิสาหกิจ ซึ่งรวมทั้งการชำระหนี้ ของรัฐบาล และการติดตามและประเมินผลการดำเนินงาน เพื่อให้การบริหารหนี้สาธารณะเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ และเสริมสร้างความยั่งยืนทางการคลังและการพัฒนาเศรษฐกิจ มีสำนักงานตั้งอยู่ที่ถนนพระรามที่ 6 แขวงพญาไท เขตพญาไท กรุงเทพมหานคร 10400.

ดู รถไฟฟ้าในกรุงเทพมหานครและปริมณฑลและสำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ

สำนักงานนโยบายและแผนการขนส่งและจราจร

ำนักงานนโยบายและแผนการขนส่งและจราจร หรือ สน. เป็นส่วนราชการระดับกรม สังกัดกระทรวงคมนาคม จัดตั้งขึ้นเมื่อปี พ.ศ.

ดู รถไฟฟ้าในกรุงเทพมหานครและปริมณฑลและสำนักงานนโยบายและแผนการขนส่งและจราจร

สิงหาคม

งหาคม เป็นเดือนที่ 8 ของปี ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็นหนึ่งในเดือน 7 เดือนที่มี 31 วัน ตามหลักโหราศาสตร์ เดือนสิงหาคมเริ่มต้นขึ้นเมื่อดวงอาทิตย์ยกเข้าสู่ราศีสิงห์ และสิ้นสุดเมื่อยกเข้าสู่ราศีกันย์ แต่ในทางดาราศาสตร์ ต้นเดือนสิงหาคมดวงอาทิตย์อยู่ในกลุ่มดาวปูและปลายเดือนไปอยู่ในกลุ่มดาวสิงโต เดือนสิงหาคมเดิมใช้ชื่อในภาษาละตินว่า ซิกซ์ตีลิส (Sextilis) เนื่องจากเป็นเดือนที่ 6 ในปฏิทินโรมันดั้งเดิมที่เริ่มต้นปีในเดือนมีนาคม ต่อมาเปลี่ยนเป็น August เพื่อเป็นเกียรติแด่ ออกัสตัส ซีซาร์ เพราะเป็นเดือนที่พระองค์เข้าไปโรมในชัยชนะของเจ้าทั้งตะวันออกและตะวันตก ประเทศไทยเริ่มใช้ชื่อเดือนสิงหาคมในปี พ.ศ.

ดู รถไฟฟ้าในกรุงเทพมหานครและปริมณฑลและสิงหาคม

สถานีบางซื่อ

นีบางซื่อ สามารถหมายถึง.

ดู รถไฟฟ้าในกรุงเทพมหานครและปริมณฑลและสถานีบางซื่อ

สถานีบางซ่อน

นีบางซ่อน อาจหมายถึง.

ดู รถไฟฟ้าในกรุงเทพมหานครและปริมณฑลและสถานีบางซ่อน

สถานีบางนา

นีบางนา เป็นสถานีรถไฟลอยฟ้า ในเส้นทางรถไฟฟ้าเฉลิมพระเกียรติ 6 รอบพระชนมพรรษา สายสุขุมวิท ส่วนต่อขยายอ่อนนุช-แบริ่ง ยกระดับเหนือถนนสุขุมวิท กรุงเทพมหานคร บริเวณสะพานข้ามคลองบางนา เป็นสถานีที่สี่ของโครงการส่วนต่อขยายสายสุขุมวิทของกรุงเทพมหานครจากสถานีอ่อนนุชถึงสถานีแบริ่ง จำนวน 5 สถานี ระยะทาง 5.52 กิโลเมตร.

ดู รถไฟฟ้าในกรุงเทพมหานครและปริมณฑลและสถานีบางนา

สถานีพญาไท

มุมสูง สถานีพญาไทของรถไฟฟ้าทั้ง 2 ระบบ สถานีพญาไท เป็นสถานีรถไฟฟ้าในเขตราชเทวี กรุงเทพมหานคร ในเส้นทางรถไฟฟ้าบีทีเอส สายสุขุมวิท และรถไฟฟ้าเชื่อมท่าอากาศยานสุวรรณภูม.

ดู รถไฟฟ้าในกรุงเทพมหานครและปริมณฑลและสถานีพญาไท

สถานีกรุงธนบุรี

นีกรุงธนบุรี (Krung Thon Buri Station รหัสสถานี S7) เป็นสถานีรถไฟลอยฟ้า ในเส้นทางรถไฟฟ้าเฉลิมพระเกียรติ 6 รอบพระชนมพรรษา สายสีลม ส่วนต่อขยายตากสิน-บางหว้า ช่วงที่ 1 (สะพานตากสิน-แยกตากสิน) ยกระดับเหนือถนนกรุงธนบุรี ใกล้ สะพานสมเด็จพระเจ้าตากสิน และ ถนนเจริญนคร ฝั่งธนบุรี กรุงเทพมหานคร.

ดู รถไฟฟ้าในกรุงเทพมหานครและปริมณฑลและสถานีกรุงธนบุรี

สถานีรับส่งผู้โดยสารอากาศยานในเมือง

นชาลาที่ 1 ของรถไฟฟ้า City Line มุ่งหน้าสถานีท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ ภายในอาคารผู้โดยสาร สถานีมักกะสัน สถานีรับส่งผู้โดยสารอากาศยานในเมือง (City Air Terminal, รหัส: A6) หรือ สถานีมักกะสัน เป็นสถานีรถไฟฟ้าในเส้นทางระบบขนส่งทางรถไฟเชื่อมท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ (Suvarnabhumi Airport Rail Link - SARL) โดยเป็นสถานีต้นทางของรถไฟฟ้าเชื่อมท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ สาย Express Line (Suvarnabhumi Airport Rail Link Express Line) ซึ่งจะวิ่งตรงจากมักกะสันสู่สถานีท่าอากาศยานสุวรรณภูมิโดยไม่แวะสถานีรายทาง ระยะทาง 25.7 กิโลเมตร ใช้เวลาไม่เกิน 15 นาที (ต่างจากรถไฟฟ้าเชื่อมท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ สาย City Line (Suvarnabhumi Airport Rail Link City Line) ที่แวะจอดรายทางจากสถานีพญาไทถึงสุวรรณภูมิ) สถานีแห่งนี้เป็นสถานีเดียวในระบบรถไฟฟ้าเชื่อมท่าอากาศยานฯ ที่มีจอแสดงผลข้อมูลเที่ยวบินตรงจากท่าอากาศยานสุวรรณภูมิติดตั้งอยู่ และเป็นสถานีที่ผู้โดยสารสามารถมาเช็คอินและโหลดกระเป๋าได้.

ดู รถไฟฟ้าในกรุงเทพมหานครและปริมณฑลและสถานีรับส่งผู้โดยสารอากาศยานในเมือง

สถานีลาดพร้าว

นีลาดพร้าว เป็นสถานีรถไฟฟ้าที่ตั้งอยู่ที่บริเวณสี่แยกรัชดา-ลาดพร้าว หรือจุดตัดระหว่าง ถนนรัชดาภิเษก และ ถนนลาดพร้าว ในพื้นที่แขวงจอมพล เขตจตุจักร กรุงเทพมหานคร เป็นสถานีรถไฟฟ้าในเส้นทาง รถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคล และ รถไฟฟ้าสายสีเหลือง ทั้งสองสถานีเป็นสถานีที่อยู่ภายใต้การดูแลของ การรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนแห่งประเทศไท.

ดู รถไฟฟ้าในกรุงเทพมหานครและปริมณฑลและสถานีลาดพร้าว

สถานีลาดกระบัง

นีลาดกระบัง (Lat Krabang Station) เป็นสถานีรถไฟฟ้าในเส้นทางระบบขนส่งทางรถไฟเชื่อมท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ (Suvarnabhumi Airport Rail Link - SARL) ในระบบรถไฟฟ้าเชื่อมท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ สาย City Line (Suvarnabhumi Airport Rail Link City Line) ที่แวะจอดรายทางจากสถานีพญาไทถึงสุวรรณภูมิ โดยสถานีลาดกระบังเป็นสถานีสุดท้ายก่อนเข้าสู่ท่าอากาศยานสุวรรณภูม.

ดู รถไฟฟ้าในกรุงเทพมหานครและปริมณฑลและสถานีลาดกระบัง

สถานีวงเวียนใหญ่

นีวงเวียนใหญ่ สามารถหมายความถึง.

ดู รถไฟฟ้าในกรุงเทพมหานครและปริมณฑลและสถานีวงเวียนใหญ่

สถานีศูนย์วัฒนธรรมแห่งประเทศไทย

นีศูนย์วัฒนธรรมแห่งประเทศไทย (รหัส CUL) หรือสถานีศูนย์วัฒนธรรมฯ เป็นสถานีรถไฟฟ้าใต้ดิน ในเส้นทางรถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคล และรถไฟฟ้ามหานคร สายสีส้ม ที่ถนนรัชดาภิเษก-ห้วยขวาง กรุงเทพมหานคร ตั้งอยู่ในย่านธุรกิจ ศูนย์การค้า ที่พักอาศัย และอยู่ใกล้สถานที่สำคัญด้านศิลปวัฒนธรรม เช่นศูนย์วัฒนธรรมแห่งประเทศไทย นอกจากนี้ยังทำหน้าที่เป็นชุมทางรถไฟฟ้าในทิศทางจากสถานีห้วยขวางขึ้นบนระดับพื้นดิน เข้าสู่ ศูนย์ซ่อมบำรุงรถไฟฟ้ามหานคร ห้วยขวาง.

ดู รถไฟฟ้าในกรุงเทพมหานครและปริมณฑลและสถานีศูนย์วัฒนธรรมแห่งประเทศไทย

สถานีสะพานตากสิน

นีสะพานตากสิน เป็นสถานีรถไฟลอยฟ้า ในเส้นทางรถไฟฟ้าเฉลิมพระเกียรติ 6 รอบพระชนมพรรษา (รถไฟฟ้าบีทีเอส) สายสีลม ยกระดับระหว่างสะพานสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช 2 สะพานที่ขนานกัน และคร่อมบริเวณปากคลองสาทร ช่วงริมแม่น้ำเจ้าพระยาถึงจุดตัดถนนเจริญกรุง เป็นสถานีรถไฟฟ้าแห่งเดียวในกรุงเทพมหานครที่เชื่อมต่อกับการสัญจรทางเรือในแม่น้ำเจ้าพระยา ที่ท่าเรือสาทร (Central Pier) และยังเป็นที่ตั้งของศูนย์บริการนักท่องเที่ยวบีทีเอ.

ดู รถไฟฟ้าในกรุงเทพมหานครและปริมณฑลและสถานีสะพานตากสิน

สถานีสำโรง

นีสำโรง เป็นสถานีรถไฟฟ้าในอำเภอเมืองสมุทรปราการ จังหวัดสมุทรปราการ ในเส้นทางรถไฟฟ้าบีทีเอส สายสุขุมวิท และรถไฟฟ้าสายสีเหลือง.

ดู รถไฟฟ้าในกรุงเทพมหานครและปริมณฑลและสถานีสำโรง

สถานีสนามกีฬาแห่งชาติ

ลักษณะภายนอกของสถานีสนามกีฬาแห่งชาติ สถานีสนามกีฬาแห่งชาติ เป็นสถานีรถไฟลอยฟ้า ในเส้นทาง รถไฟฟ้าเฉลิมพระเกียรติ 6 รอบพระชนมพรรษา (รถไฟฟ้าบีทีเอส) สายสีลม ยกระดับเหนือ ถนนพระรามที่ 1 กรุงเทพมหานคร บริเวณหน้า สนามกีฬาแห่งชาต.

ดู รถไฟฟ้าในกรุงเทพมหานครและปริมณฑลและสถานีสนามกีฬาแห่งชาติ

สถานีหมอชิต

นีหมอชิต เป็นสถานีรถไฟลอยฟ้า ในเส้นทางรถไฟฟ้าเฉลิมพระเกียรติ 6 รอบพระชนมพรรษา (รถไฟฟ้าบีทีเอส) สายสุขุมวิท ยกระดับเหนือถนนพหลโยธิน กรุงเทพมหานคร บริเวณหน้าสวนจตุจักร เป็นจุดเชื่อมต่อการเดินทางที่สำคัญของกรุงเทพฯ ด้านเหนือ เนื่องจากเป็นสถานีปลายทางของรถไฟฟ้าสายสุขุมวิท ซึ่งมีลานจอดรถขนาดใหญ่ให้บริการผู้โดยสาร และยังสามารถเปลี่ยนเส้นทางไปยังสถานีสวนจตุจักร ของรถไฟฟ้ามหานครได้ นอกจากนี้ยังอยู่ไม่ไกลจากสถานีขนส่งผู้โดยสารกรุงเทพ (จตุจักร) หรือหมอชิตใหม่ สถานีขนส่งสายเหนือและตะวันออกเฉียงเหนือ ซึ่งสามารถเดินทางต่อไปได้ด้วยรถประจำทางและแท็กซี่ โดยจะเป็นสถานีสุดท้ายที่อยู่ในความรับผิดชอบของกรุงเทพมหานคร ก่อนจะเข้าสู่ย่านลาดพร้าวซึ่งเป็นพื้นที่ในความรับผิดชอบของการรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนแห่งประเทศไทย ที่จะดำเนินการก่อสร้างส่วนต่อขยายต่อไปจนถึงย่านลำลูกกาในอนาคต.

ดู รถไฟฟ้าในกรุงเทพมหานครและปริมณฑลและสถานีหมอชิต

สถานีหลักสอง

นีหลักสอง (Lak Song Station, รหัส BS20) เป็นโครงการสถานีรถไฟฟ้าลอยฟ้า ในเส้นทางรถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคล ส่วนต่อขยาย หัวลำโพง-บางแค ซึ่งโครงการยังอยู่ในระหว่างการก่อสร้าง โดยสถานีจะยกระดับเหนือถนนเพชรเกษม.

ดู รถไฟฟ้าในกรุงเทพมหานครและปริมณฑลและสถานีหลักสอง

สถานีหัวลำโพง

นีหัวลำโพง อาจหมายถึง.

ดู รถไฟฟ้าในกรุงเทพมหานครและปริมณฑลและสถานีหัวลำโพง

สถานีหัวลำโพง (รถไฟฟ้ามหานคร)

นีหัวลำโพง เป็นสถานีรถไฟฟ้าใต้ดิน ในเส้นทางรถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคล ที่ถนนพระรามที่ 4 กรุงเทพมหานคร บริเวณสถานีรถไฟกรุงเทพ (หัวลำโพง) ซึ่งเป็นสถานีรถไฟที่เก่าแก่ที่สุด และเป็นสถานีรถไฟหลักของประเทศไทย เนื่องจากเป็นสถานีปลายทางและเพื่อรำลึกถึงกิจการรถไฟในประเทศไทย จึงใช้สถานีหัวลำโพงเป็นสถานที่ทำพิธีวางศิลาฤกษ์โครงการ และทำพิธีเปิดการเดินรถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคล นอกจากนี้ยังมีส่วนจัดแสดงนิทรรศการถาวรเกี่ยวกับความเป็นมาของโครงการรถไฟฟ้ามหานครอยู่ภายในสถานี.

ดู รถไฟฟ้าในกรุงเทพมหานครและปริมณฑลและสถานีหัวลำโพง (รถไฟฟ้ามหานคร)

สถานีห้าแยกลาดพร้าว

นีห้าแยกลาดพร้าว (Ladphrao Intersection Station, รหัส N9) เป็นสถานีรถไฟลอยฟ้าในเส้นทางรถไฟฟ้าบีทีเอส สายสุขุมวิท ส่วนต่อขยายหมอชิต-สะพานใหม่-คูคต ยกระดับเหนือถนนพหลโยธิน บริเวณสุดเขตสวนจตุจักร กรุงเทพมหานคร ปัจจุบันกำลังก่อสร้าง และอยู่ในความรับผิดชอบของการรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนแห่งประเทศไท.

ดู รถไฟฟ้าในกรุงเทพมหานครและปริมณฑลและสถานีห้าแยกลาดพร้าว

สถานีอ่อนนุช

นีอ่อนนุช สถานีอ่อนนุช เป็นสถานีรถไฟลอยฟ้า ในเส้นทางรถไฟฟ้าเฉลิมพระเกียรติ 6 รอบพระชนมพรรษา (รถไฟฟ้าบีทีเอส) สายสุขุมวิท ยกระดับเหนือถนนสุขุมวิท กรุงเทพมหานคร บริเวณสามแยกถนนอ่อนน.

ดู รถไฟฟ้าในกรุงเทพมหานครและปริมณฑลและสถานีอ่อนนุช

สถานีท่าพระ

นีท่าพระ เป็นสถานีรถไฟฟ้าในเส้นทางรถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคล ส่วนต่อขยาย ซึ่งโครงการยังอยู่ระหว่างการก่อสร้าง โดยเป็นสถานีที่เชื่อมต่อทั้งสองส่วนของสายเฉลิมรัชมงคลเข้าไว้ดัวยกัน ก่อให้เกิดเป็นเส้นทางรถไฟฟ้าวงแหวนภายในเขตกรุงเทพมหานครชั้นกลางและชั้นใน ยกระดับเหนือแยกท่าพระ บริเวณจุดตัดระหว่าง ถนนจรัญสนิทวงศ์ ถนนเพชรเกษม และถนนรัชดาภิเษกฝั่งใต้ ในพื้นที่เขตบางกอกใหญ่ กรุงเทพมหานคร.

ดู รถไฟฟ้าในกรุงเทพมหานครและปริมณฑลและสถานีท่าพระ

สถานีท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ

นีท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ ตั้งอยู่ในท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ เป็นสถานีรถไฟฟ้าของรถไฟฟ้าเชื่อมท่าอากาศยานสุวรรณภูมิและรถไฟฟ้าบีทีเอส สายบางนา-สุวรรณภูมิ (โครงการในอนาคต).

ดู รถไฟฟ้าในกรุงเทพมหานครและปริมณฑลและสถานีท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ

สถานีขนส่งผู้โดยสารกรุงเทพ (หมอชิต)

นีขนส่งผู้โดยสารกรุงเทพ (ตลาดหมอชิต) เป็นสถานีขนส่งที่ใช้รับส่งผู้โดยสารจากภาคเหนือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือและภาคกลาง และเป็นสำนักงานใหญ่ของบริษัท ขนส่ง จำกัด บนเนื้อที่ของกรมธนารักษ์จำนวน 63 ไร่ เปิดทำการเมื่อวันที่ 1 มกราคม พ.ศ.

ดู รถไฟฟ้าในกรุงเทพมหานครและปริมณฑลและสถานีขนส่งผู้โดยสารกรุงเทพ (หมอชิต)

สถานีคลองบางไผ่

นีคลองบางไผ่ (อังกฤษ: Khlong Bangphai Station, รหัส PP01) เป็นสถานีรถไฟลอยฟ้า ในเส้นทางรถไฟฟ้ามหานคร สายฉลองรัชธรรม ที่ถนนกาญจนาภิเษก อำเภอบางบัวทอง จังหวัดนนทบุรี ตั้งอยู่บริเวณใกล้แหล่งชุมชนบริเวณนอกพื้นที่เศรษฐกิจอำเภอบางใหญ่ โดยเป็นสถานีต้นทางของรถไฟฟ้าสายนี้.

ดู รถไฟฟ้าในกรุงเทพมหานครและปริมณฑลและสถานีคลองบางไผ่

สถานีตลิ่งชัน

นีตลิ่งชัน สามารถหมายถึง.

ดู รถไฟฟ้าในกรุงเทพมหานครและปริมณฑลและสถานีตลิ่งชัน

สถานีแบริ่ง

นีแบริ่ง เป็นสถานีรถไฟลอยฟ้า ในเส้นทางรถไฟฟ้าเฉลิมพระเกียรติ 6 รอบพระชนมพรรษา สายสุขุมวิท ส่วนต่อขยายอ่อนนุช-แบริ่ง ยกระดับเหนือถนนสุขุมวิท กรุงเทพมหานคร บริเวณทางแยกแบริ่ง ซึ่งเป็นจุดสิ้นสุดเขตการปกครองของกรุงเทพมหานคร ก่อนเข้าสู่พื้นที่จังหวัดสมุทรปราการ ซึ่งเป็นพื้นที่ในความรับผิดชอบของการรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนแห่งประเทศไทย ที่จะดำเนินการก่อสร้างส่วนต่อขยายต่อไปจนถึงย่านบางปู โดยเป็นสถานีปลายทางของโครงการส่วนต่อขยายสายสุขุมวิทของกรุงเทพมหานครจากสถานีอ่อนนุช จำนวน 5 สถานี ระยะทาง 5.25 กิโลเมตร.

ดู รถไฟฟ้าในกรุงเทพมหานครและปริมณฑลและสถานีแบริ่ง

สแตนดาร์ดเกจ

แตนดาร์ดเกจ หรือ รางขนาดมาตรฐานยุโรป (European standard gauge)เป็นขนาดความกว้างรางรถไฟที่มีการใช้กันมากที่สุด โดยคิดเป็นประมาณ 60% ของรางรถไฟทั่วโลก ระยะห่างภายในของรางรถไฟมีขนาด 1.435 เมตร (4 ฟุต 8 1/2 นิ้ว) สแตนดาร์ดเกจยังมีชื่อเรียกว่า สตีเฟนซันเกจ ตั้งชื่อตาม จอร์จ สตีเฟนซัน ความกว้าง 1.435 นี้เป็นระยะห่างของล้อรถม้าและเกวียนในสมัยโรมันโบราณ ซึ่งเป็นระยะที่กว้างพอที่จะทำให้ม้า 2 ตัวแบบเรียงหน้ากระดาน สามารถลากจูงรถได้โดยที่ลำตัวไม่เบียดกันเวลาม้าวิ่ง.

ดู รถไฟฟ้าในกรุงเทพมหานครและปริมณฑลและสแตนดาร์ดเกจ

ส่วนต่อขยายของรถไฟฟ้าบีทีเอส

รถไฟฟ้าบีทีเอส รถไฟฟ้าบีทีเอส (BTS Skytrain) เป็นระบบขนส่งมวลชนแบบรางในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ดำเนินการโดย บริษัท ระบบขนส่งมวลชนกรุงเทพ จำกัด (มหาชน) หรือบีทีเอสซี (BTSC) และบริษัท กรุงเทพธนาคม จำกัด หรือ เคที (KT) ภายใต้สัมปทานของกรุงเทพมหานคร เริ่มเปิดให้บริการครั้งแรกเมื่อวันที่ 5 ธันวาคม พ.ศ.

ดู รถไฟฟ้าในกรุงเทพมหานครและปริมณฑลและส่วนต่อขยายของรถไฟฟ้าบีทีเอส

อานันท์ ปันยารชุน

อานันท์ ปันยารชุน (เกิด 9 สิงหาคม พ.ศ. 2475 —) นายกรัฐมนตรีไทย คนที่ 18 และปลัดกระทรวงการต่างประเทศ เอกอัครราชทูตไทยประจำสหประชาชาติ ประเทศแคนาดา สหรัฐอเมริกา และประเทศเยอรมนี ดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรี 2 สมัย หลังรัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ.

ดู รถไฟฟ้าในกรุงเทพมหานครและปริมณฑลและอานันท์ ปันยารชุน

องค์การความร่วมมือระหว่างประเทศแห่งญี่ปุ่น

องค์การความร่วมมือระหว่างประเทศแห่งญี่ปุ่น (Japan International Cooperation Agency) หรือ ไจก้า เป็นหน่วยงานของรัฐบาลญี่ปุ่น คอยให้คำปรึกษาตลอดจนความช่วยเหลือด้านการพัฒนาประเทศอย่างเป็นทางการในนามของรัฐบาลญี่ปุ่นแก่ประเทศกำลังพัฒนา ทั้งการพัฒนาในด้านเศรษฐกิจและด้านสังคม รวมถึงส่งเสริมการยกระดับความร่วมมือระหว่างประเทศ องค์การความร่วมมือระหว่างประเทศแห่งญี่ปุ่นได้รับการก่อตั้งตามกฎหมายญี่ปุ่น เมื่อวันที่ 6 ธันวาคม..

ดู รถไฟฟ้าในกรุงเทพมหานครและปริมณฑลและองค์การความร่วมมือระหว่างประเทศแห่งญี่ปุ่น

ฮิตาชิ

ริษัท ฮิตาชิ มหาชนจำกัด (株式会社日立製作所 คะบุชิกิไงฉะ ฮิตะชิ เซซะกุโชะ) เป็นกลุ่มบริษัทข้ามชาติของญี่ปุ่น มีสำนักงานใหญ่ตั้งอยู่ในแขวงชิโยะดะ กรุงโตเกียว บริษัทฮิตาชิมีการแตกสาขาออกเป็น 11 กลุ่มธุรกิจ อันได้แก่: ระบบโทรคมนาคมและสารสนเทศ, โครงสร้างพื้นฐานสังคม, ชิ้นส่วนและวัตถุประสิทธิภาพสูง, บริการทางการเงิน, ระบบพลังงาน, ชิ้นส่วนและระบบไฟฟ้า, ระบบยานยนต์, ระบบรถไฟและเขตเมือง, สินค้าอุปโภคและสื่อดิจิทัล, เครื่องจักรกลงานโยธา และ ระบบและชิ้นส่วนอื่นๆ นอกจากนี้ ฮิตาชิยังเป็นบริษัทในตลาดหลักทรัพย์โตเกียว ที่ถูกนำมาใช้คำนวณดัชนี Nikkei 225 และ TOPIX บริษัทฮิตาชิ ถูกก่อตั้งขึ้นเมื่อ..

ดู รถไฟฟ้าในกรุงเทพมหานครและปริมณฑลและฮิตาชิ

ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร

ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร เป็นตำแหน่งหัวหน้าฝ่ายบริหารขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นรูปแบบพิเศษ กรุงเทพมหานคร เมืองหลวงของประเทศไทย มีที่มาจากการเลือกตั้งโดยตรง มีวาระการดำรงตำแหน่งคราวละสี่ปี แต่ในปัจจุบันหัวหน้าคณะรักษาความสงบแห่งชาติ มีคำสั่งแต่งตั้งอัศวิน ขวัญเมือง เป็นผู้ว่าราชการคนปัจจุบัน ตั้งแต่วันที่ 18 ตุลาคม พ.ศ.

ดู รถไฟฟ้าในกรุงเทพมหานครและปริมณฑลและผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร

จังหวัดสมุทรปราการ

ังหวัดสมุทรปราการ เป็นจังหวัดหนึ่งในภาคกลางของประเทศไทย และยังเป็นจังหวัดในเขตปริมณฑลของกรุงเทพมหานคร จัดตั้งขึ้นครั้งล่าสุดโดย พระราชบัญญัติจัดตั้งจังหวัดสมุทรปราการ จังหวัดนนทบุรี จังหวัดสมุทรสาคร และจังหวัดนครนายก พุทธศักราช 2489 ซึ่งมีผลใช้บังคับตั้งแต่วันที่ 9 พฤษภาคม พ.ศ.

ดู รถไฟฟ้าในกรุงเทพมหานครและปริมณฑลและจังหวัดสมุทรปราการ

จังหวัดปทุมธานี

ังหวัดปทุมธานี (เดิมสะกดว่า ประทุมธานี) เป็นจังหวัดหนึ่งที่อยู่ในภาคกลางของประเทศไทย เป็นหนึ่งในห้าจังหวัดในพื้นที่ปริมณฑลของกรุงเทพมหานคร ตั้งอยู่บริเวณลุ่มแม่น้ำเจ้าพระยา ทางทิศเหนือของกรุงเทพมหานคร เทศบาลที่ตั้งศาลากลางจังหวัด คือ เทศบาลเมืองปทุมธานี แต่เทศบาลที่มีประชากรมากที่สุดในจังหวัด คือ เทศบาลนครรังสิต ซึ่งตั้งอยู่ในอำเภอธัญบุรี.

ดู รถไฟฟ้าในกรุงเทพมหานครและปริมณฑลและจังหวัดปทุมธานี

จังหวัดนนทบุรี

ังหวัดนนทบุรี เป็นจังหวัดหนึ่งในภาคกลางของประเทศไทย จัดตั้งขึ้นครั้งล่าสุดโดยพระราชบัญญัติจัดตั้งจังหวัดสมุทรปราการ จังหวัดนนทบุรี จังหวัดสมุทรสาคร และจังหวัดนครนายก พุทธศักราช 2489 ซึ่งมีผลใช้บังคับตั้งแต่วันที่ 9 พฤษภาคม..

ดู รถไฟฟ้าในกรุงเทพมหานครและปริมณฑลและจังหวัดนนทบุรี

จำลอง ศรีเมือง

ลตรี จำลอง ศรีเมือง แกนนำพันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตย อดีตสมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ อดีตรองนายกรัฐมนตรี และผู้ว่าฯ กรุงเทพฯ 2 สมัย ผู้ก่อตั้ง และหัวหน้าพรรคพลังธรรมคนแรก เป็นแกนนำของผู้ชุมนุมในเหตุการณ์ พฤษภาทมิฬ ปี..

ดู รถไฟฟ้าในกรุงเทพมหานครและปริมณฑลและจำลอง ศรีเมือง

ถนนที่เก็บค่าผ่านทาง

นเก็บค่าผ่านทางสายเอสอาร์ 417 ใกล้กับเมืองออร์แลนโด, รัฐฟลอริดา ประเทศสหรัฐอเมริกา ด่านเก็บค่าผ่านทางในสหราชอาณาจักร ถนนที่เก็บค่าผ่านทาง (toll road) หรือ ทางเก็บค่าผ่าน (toll way) คือถนนที่สร้างโดยรัฐบาลหรือเอกชนซึ่งผู้ใช้เส้นทางจำเป็นจะต้องจ่ายค่าผ่านทางหรือค่าธรรมเนียม ค่าผ่านทางนี้ทำหน้าที่เปรียบเสมือนกับภาษีที่รัฐจัดเก็บมาจากผู้ใช้โดยนำไปก่อสร้างหรือทำนุบำรุงถนนที่เก็บค่าผ่านทาง ซึ่งไม่จำเป็นจะต้องขึ้นภาษีหรือนำภาษีของผู้ที่ไม่ได้ใช้ถนนที่เก็บค่าผ่านทางมาดำเนินงาน ในประวัติศาสตร์หรือแม้ในปัจจุบัน ถนนที่เก็บค่าผ่านทางบางแห่งเรียกเก็บค่าผ่านทางในรูปของภาษีเพื่อให้รัฐบาลท้องถิ่นหรือขุนนางใช้จ่าย นักลงทุนในพันธบัตรเองก็ลงทุนในรูปของค่าก่อสร้างและค่าบำรุงรักษาถนนที่เก็บค่าผ่านทาง โดยนักลงทุนคาดหวังว่าผลตอบแทนจะคืนแก่พวกเขาในรูปของรายได้จากค่าผ่านทาง หลังจากพันธบัตรถูกชำระคืนแก่นักลงทุนหมดแล้ว ทรัพย์สินที่เกี่ยวข้องกับถนนที่เก็บค่าผ่านทางทั้งหมดก็ตกกลับไปเป็นของรัฐ โดยรัฐจะตั้งหน่วยงานขึ้นมารับผิดชอบดูแลทั้งโครงสร้างถนนที่เก็บค่าผ่านทางและที่ดินที่ถูกใช้สร้างถนนที่เก็บค่าผ่านทาง เช่นเดียวกับภาษีรูปแบบอื่นของรัฐบาล การจัดเก็บค่าผ่านทางจะยังคงดำเนินต่อไปแม้ว่ารัฐจะชำระพันธบัตรทั้งหมดคืนแก่นักลงทุนไปแล้ว ถนนที่เก็บค่าผ่านทางจะถูกจำกัดทางเข้าออกอย่างเป็นระบบเพื่อป้องกันผู้ที่ไม่ได้จ่ายค่าผ่านทางลักลอบใช้เส้นทาง บางครั้งการสร้างถนนที่เก็บค่าผ่านทางก็เพื่อจะอำนวยความสะดวกให้แก่ผู้ที่ต้องการจะเดินทางจากจุดหนึ่งไปยังอีกจุดที่ไกลกว่าได้รวดเร็วยิ่งขึ้น หรือบางครั้งก็เพื่อที่จะบรรเทาปัญหาการจราจรติดขัดและเพิ่มความรวดเร็วแก่ผู้เดินทางที่สามารถจะจ่ายค่าผ่านทางได้ ถนนที่เก็บค่าผ่านทางบางแห่งอาจมีเพียงแค่ช่องจราจรเดียวหรือหลายช่องตามการออกแบบ และผู้ใช้ถนนที่เก็บค่าผ่านทางจำเป็นจะต้องเสียค่าผ่านทางไม่วิธีใดก็วิธีหนึ่ง ซึ่งระบบถนนที่เก็บค่าผ่านทางนี้ไม่เคยอนุญาตให้ผู้ใช้ทางรายใดผ่านทางโดยไม่เสียค่าธรรมเนียมอย่างเด็ดขาด โดยปกติแล้ว ค่าใช้จ่ายในการก่อสร้างถนนที่เก็บค่าผ่านทางถูกจ่ายในรูปของภาษีมูลค่าเพิ่มจากเชื้อเพลิงสำหรับยานพาหนะ ในขณะที่ผู้ใช้ทางเองก็ยังต้องเสียค่าผ่านทางเป็นการเพิ่มเติมอีกด้วย ค่าธรรมเนียมหรือค่าผ่านทางโดยปกติจะแตกต่างกันไปตามรูปแบบของยานพาหนะ, น้ำหนัก หรือจำนวนเพลา ค่าธรรมเนียมเหล่านี้จะถูกเรียกเก็บด้วยมือจากแรงงานมนุษย์ ณ ด่านเก็บค่าผ่านทาง ด่านบางแห่งไม่ได้ใช้แรงงานมนุษย์ในการจัดเก็บ โดยจะเชื่อมโยงกับจำนวนเงินหรือแต้มของผู้ผ่านทางรายนั้น ซึ่งระบบจะอนุญาตให้เข้าใช้ทางได้หากเงินหรือแต้มของผู้ผ่านทางรายนั้นเพียงพอกับค่าผ่านทาง เพื่อลดต้นทุนและเวลาที่ใช้ ณ ด่านเก็บค่าผ่านทาง ระบบถนนที่เก็บค่าผ่านทางบางแห่งจึงใช้การเก็บค่าผ่านทางอัตโนมัติหรือการเก็บค่าผ่านทางด้วยอิเล็กทรอนิกส์ ซึ่งจะติดตั้งระบบสื่อสารอิเล็กทรอนิกส์ที่พาหนะของผู้ใช้ทางและที่ด่านเก็บค่าผ่านทาง อีกทั้งบางแห่งยังใช้ระบบจ่ายค่าธรรมเนียมก่อนใช้ทางที่เรียกเก็บจากบัตรเครดิตที่ร่วมรายการ บางแห่งใช้การติดตั้งระบบกล้องวงจรปิดเพื่อถ่ายใบหน้าและทะเบียนพาหนะของผู้ใช้ทางที่ไม่จ่ายค่าธรรมเนียม แล้วจึงเรียกเก็บค่าธรรมเนียมและค่าปรับในรูปของใบชำระหนี้ หนึ่งในข้อวิจารณ์เกี่ยวกับระบบถนนที่เก็บค่าผ่านทางนี้คือการที่ผู้ใช้ทางจำเป็นจะต้องชะลอความเร็วแล้วหยุด ณ ด่านเก็บค่าผ่านทาง ซึ่งจะทำให้เกิดความล่าช้าในการเดินทาง อีกทั้งการสูญเสียรายได้ให้แก่ผู้จัดเก็บค่าผ่านทาง ในบางกรณีอาจสูงถึงเกือบหนึ่งในสามของรายได้ทั้งหมด การใช้ระบบเก็บค่าผ่านทางอัตโนมัติจึงช่วยย่นเวลาการจัดเก็บและปัญหารายได้ที่สูญเสียไปกับค่าจ้างการจัดเก็บไปพร้อมกัน อีกประเด็นหนึ่งคือการเสียค่าผ่านทางซ้ำซ้อนจากค่าผ่านทางและภาษีมูลค่าเพิ่มจากเชื้อเพลิง เพิ่มเติมจากถนนที่เก็บค่าผ่านทางแล้ว หน่วยงานรัฐยังสร้างอุโมงค์ที่เก็บค่าผ่านทาง (toll tunnel) หรือสะพานที่เก็บค่าผ่านทาง (toll bridge) เพื่อหารายได้ไปใช้จ่ายในหนี้ระยะยาวของการก่อสร้างและบำรุงรักษาถนนที่เก็บค่าผ่านทาง ถนนที่เก็บค่าผ่านทางบางแห่งเก็บค่าผ่านทางไปสะสมไว้เป็นฐานะทางการเงินเพื่อที่จะไปใช้ก่อสร้างส่วนต่อขยายในอนาคตของถนน อุโมงค์ สะพาน หรือระบบคมนาคมขนส่งอื่น ๆ บางแห่งนำค่าผ่านทางที่จัดเก็บได้ไปใช้ในรูปของภาษีกับโครงการอื่นที่ไม่เกี่ยวข้องกับการคมนาคมของรัฐบาลท้องถิ่น ซึ่งรูปแบบดังกล่าวมันถูกห้ามหรือขัดขวางจากรัฐบาลส่วนกลาง บางครั้งใช้เพื่อลดความคับคั่งของการจราจรและลดมลพิษทางอากาศในเขตเมือง เช่น สิงคโปร.

ดู รถไฟฟ้าในกรุงเทพมหานครและปริมณฑลและถนนที่เก็บค่าผ่านทาง

ทางยกระดับ

ทางยกระดับอุตราภิมุขในกรุงเทพมหานคร ประเทศไทย ทางแยกต่างระดับจัดจ์แฮร์รีเพรเกอร์สัน บนฮาร์เบอร์ฟรีเวย์ (I-110) ในลอสแอนเจลิส ทางยกระดับ หรือ สะพานยกระดับ (เครือจักรภพ) เป็นสะพาน ถนน ทางรถไฟสายหนึ่ง ที่มีโครงสร้างยกระดับจากพื้นดินข้ามถนนหรือทางรถไฟอีกสายหนึ่ง ทั้ง ทางยกระดับ และ ทางลอด รวมเรียกว่า ทางต่างระดั.

ดู รถไฟฟ้าในกรุงเทพมหานครและปริมณฑลและทางยกระดับ

ทางด่วนและรถไฟฟ้ากรุงเทพ

ริษัท ทางด่วนและรถไฟฟ้ากรุงเทพ จำกัด (มหาชน) (Bangkok Expressway and Metro Public Company Limited ย่อว่า BEM) บริษัทที่ดำเนินธุรกิจคมนาคมขนส่งซึ่งเป็นโครงการก่อสร้างขนาดใหญ่ซึ่งเป็นความร่วมมือกันระหว่างภาครัฐและเอกชนโดยบริษัทแห่งนี้เป็นคู่สัมปทานกับ การรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนแห่งประเทศไทย (รฟม.) และ การทางพิเศษแห่งประเทศไทย (กทพ.).

ดู รถไฟฟ้าในกรุงเทพมหานครและปริมณฑลและทางด่วนและรถไฟฟ้ากรุงเทพ

ซีเมนส์

ำหรับยี่ห้อระบบรถไฟฟ้า ดูที่ ซีเมนส์ โมดูลาร์ เมโทร ซีเมนส์ (Siemens AG) เป็นกลุ่มบริษัทวิศวกรรมขนาดใหญ่ที่สุดของยุโรป สำนักงานใหญ่นานาชาติของซีเมนส์ตั้งอยู่ที่เบอร์ลินและมิวนิก ประเทศเยอรมนี ซีเมนส์เป็นบริษัทที่ประกอบธุรกิจหลายประเภทรวมกัน (conglomerate) โดยมีแผนกธุรกิจหลัก 6 ส่วน ได้แก่ ระบบอัตโนมัติและระบบควบคุม, พลังงานไฟฟ้า, ระบบขนส่ง, การแพทย์, สารสนเทศและการสื่อสาร, และระบบส่องสว่าง เมื่อวันที่ 28 พฤศจิกายน พ.ศ.

ดู รถไฟฟ้าในกรุงเทพมหานครและปริมณฑลและซีเมนส์

ซีเมนส์ โมดูลาร์ เมโทร

รถไฟฟ้าเมืองเนือร์นแบร์ก ประเทศเยอรมนี ภายในรถไฟฟ้าเมืองเมลเบิร์น ประเทศออสเตรเลีย ซีเมนส์ โมดูลาร์ เมโทร (Siemens Modular Metro) เป็นตระกูลรถรางไฟฟ้าเพื่อระบบขนส่งด่วนพิเศษ ซึ่งผลิตโดย ซีเมนส์ทรานสพอร์เทชันซิสเทมส์ และผู้ประกอบการรถไฟใช้ทั่วโลก แนวคิดของยานพาหนะดังกล่าวเปิดตัวในกรุงเวียนนา เมื่อ..

ดู รถไฟฟ้าในกรุงเทพมหานครและปริมณฑลและซีเมนส์ โมดูลาร์ เมโทร

ซีเมนส์ เดซิโร

รถไฟเดซิโรในเมืองกราซ ประเทศออสเตรีย ซีเมนส์ เดซิโร (Siemens Desiro) เป็นรถตระกูลหนึ่งของรถดีเซลรางและรถไฟฟ้า ซึ่งใช้ขนส่งผู้โดยสาร ซีเมนส์ เดซิโร มีรถหลายรุ่นที่ดัดแปลงออกมา เช่น เดซิโร คลาสสิก, เดซิโร เอ็มแอล, เดซิโร ยูเค และรถรุ่นในอนาคต เดซิโร ซิตี และ เดซิโร อาร์ยูเอส มักใช้ในรถไฟชานเมืองและสายระหว่างภูมิภาค การออกแบบตัวรถค่อนข้างง่าย ไม่ซับซ้อนแต่อย่างใ.

ดู รถไฟฟ้าในกรุงเทพมหานครและปริมณฑลและซีเมนส์ เดซิโร

ประเทศแคนาดา

แคนาดา (-enCanada) เป็นประเทศในทวีปอเมริกาเหนือ ติดกับสหรัฐ เป็นประเทศที่มีที่ตั้งอยู่ทางเหนือมากที่สุดของโลกและมีขนาดใหญ่เป็นอันดับสองของโลก ปัจจุบันแคนาดาใช้ระบอบการปกครองแบบประชาธิปไตยโดยมีพระมหากษัตริย์เป็นประมุข โดยถือสมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรเป็นพระมหากษัตริย์ (หมายเหตุ: พระองค์เดียวกับพระมหากษัตริย์สหราชอาณาจักร แต่โดยรัฐธรรมนูญแล้วถือว่าเป็นคนละตำแหน่ง) ดินแดนที่เป็นประเทศแคนาดาในปัจจุบันในอดีตมีผู้อยู่อาศัยอยู่แล้วเป็นชนพื้นเมืองหลากหลายกลุ่ม เมื่อตอนต้นคริสต์ศตวรรษที่ 15 นักสำรวจเดินทางชาวอังกฤษและฝรั่งเศสได้เข้ามาสำรวจ และต่อมาจึงมีการตั้งรกรากขึ้นบนแถบชายฝั่งมหาสมุทรแอตแลนติก ในปี..1763 ฝรั่งเศสได้ยอมสูญเสียอาณานิคมเกือบทั้งหมดในทวีปอเมริกาเหนือหลังจากสงครามเจ็ดปี ในปี..1867 มีการรวมตัวของอาณานิคมของอังกฤษ 3 แห่งขึ้น และประเทศแคนาดาก็ถือกำเนิดขึ้นในรูปแบบของเขตปกครองสหพันธรัฐ ประกอบด้วย 4 รัฐ และนี่กลายเป็นจุดเริ่มต้นของการเพิ่มจำนวนขึ้นของรัฐและดินแดนต่างๆ และกระบวนการได้รับอำนาจปกครองตนเองจากสหราชอาณาจักร รัฐบัญญัติแห่งเวสต์มินสเตอร์ในปี..1931 ได้เพิ่มอำนาจปกครองตนเองและเป็นผลให้เกิดพระราชบัญญัติแคนาดาในปี..1982 ซึ่งมีผลให้แคนาดาตัดขาดจากการขึ้นตรงต่ออำนาจของรัฐสภาอังกฤษ ประเทศแคนาดา ประกอบด้วยรัฐ 10 รัฐ และดินแดน 3 แห่ง และปกครองในระบอบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญ โดยมีสมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 เป็นพระประมุขสูงสุด แคนาดาเป็นประเทศที่ใช้ภาษาทางการ 2 ภาษาทั้งในระดับประเทศและในรัฐนิวบรันสวิก ภาษาทางการ 2 ภาษานั้นคือ ภาษาอังกฤษและภาษาฝรั่งเศส และมีความหลากหลายทางวัฒนธรรม แคนาดาเป็นประเทศที่มีความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีและเป็นประเทศอุตสาหกรรม มีเศรษฐกิจที่หลากหลาย ซึ่งพึ่งพาทรัพยากรธรรมชาติอันอุดมสมบูรณ์ และพึ่งพาการค้าขาย โดยเฉพาะกับสหรัฐอเมริกาซึ่งเป็นประเทศที่แคนาดามีความสัมพันธ์อันยาวนานและสลับซับซ้อน.

ดู รถไฟฟ้าในกรุงเทพมหานครและปริมณฑลและประเทศแคนาดา

ประเทศไทย

ประเทศไทย มีชื่ออย่างเป็นทางราชการว่า ราชอาณาจักรไทย เป็นรัฐชาติอันตั้งอยู่ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เดิมมีชื่อว่า "สยาม" รัฐบาลประกาศเปลี่ยนชื่อเป็นประเทศไทยอย่างเป็นทางการตั้งแต่ปี 2482 ประเทศไทยมีขนาดใหญ่เป็นอันดับที่ 50 ของโลก มีเนื้อที่ 513,115 ตารางกิโลเมตร และมีประชากรมากเป็นอันดับที่ 20 ของโลก คือ ประมาณ 66 ล้านคน กรุงเทพมหานครเป็นศูนย์กลางการบริหารราชการแผ่นดินและนครใหญ่สุดของประเทศ และการปกครองส่วนภูมิภาค จัดระเบียบเป็น 76 จังหวัด แม้จะมีการสถาปนาระบอบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญและประชาธิปไตยระบบรัฐสภาในปี 2475 แต่กองทัพยังมีบทบาทในการเมืองไทยสูง ล่าสุด เกิดรัฐประหารเมื่อวันที่ 22 พฤษภาคม 2557 และมีการปกครองแบบเผด็จการทหารนับแต่นั้น พบหลักฐานการอยู่อาศัยอย่างต่อเนื่องในอาณาเขตประเทศไทยปัจจุบันตั้งแต่ 20,000 ปีก่อนคริสตกาล ชาวไทเริ่มอพยพเข้าสู่บริเวณนี้ในคริสต์ศตวรรษที่ 11 แล้วเข้ามาตั้งแว่นแคว้นต่าง ๆ ที่สำคัญได้แก่ อาณาจักรสุโขทัย อาณาจักรล้านนาและอาณาจักรอยุธยา นักประวัติศาสตร์มักถือว่าอาณาจักรสุโขทัยเป็นจุดเริ่มต้นของประวัติศาสตร์ไทย ต่อมาอาณาจักรอยุธยาค่อย ๆ เรืองอำนาจมากขึ้นจนเป็นมหาอำนาจในภูมิภาคในปลายคริสต์ศตวรรษที่ 14 การติดต่อกับชาติตะวันตกเริ่มด้วยผู้แทนทางทูตชาวโปรตุเกสในปี 2054 อาณาจักรรุ่งเรืองอย่างมากในรัชกาลสมเด็จพระนารายณ์มหาราช (ครองราชย์ปี 2199–2231) แต่หลังจากนั้นค่อย ๆ เสื่อมอำนาจโดยมีสาเหตุส่วนหนึ่งจากการผลัดแผ่นดินที่มีการนองเลือดหลายรัชกาล จนสุดท้ายกรุงศรีอยุธยาถูกทำลายสิ้นเชิงในปี 2310 สมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรีทรงรวบรวมแผ่นดินที่แตกออกเป็นก๊กต่าง ๆ และสถาปนาอาณาจักรธนบุรีที่มีอายุ 15 ปี ความวุ่นวายในช่วงปลายอาณาจักรนำไปสู่การสำเร็จโทษพระองค์โดยพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช ปฐมราชวงศ์จักรีแห่งกรุงรัตนโกสินทร์ ช่วงต้นกรุงรัตนโกสินทร์ ประเทศเผชิญภัยคุกคามจากชาติใกล้เคียง แต่หลังรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวเป็นต้นมา ชาติตะวันตกเริ่มมีอิทธิพลในภูมิภาคเป็นอย่างมาก นำไปสู่การเข้าเป็นภาคีแห่งสนธิสัญญาไม่เป็นธรรมหลายฉบับ กระนั้น สยามไม่ตกเป็นอาณานิคมของตะวันตกชาติใด มีการปรับให้สยามทันสมัยและรวมอำนาจปกครองในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (ครองราชย์ปี 2411–53) สยามเข้าร่วมกับฝ่ายสัมพันธมิตรในสงครามโลกครั้งที่หนึ่งในปี 2460; ในปี 2475 เกิดการปฏิวัติเปลี่ยนแปลงการปกครองสู่ระบอบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญโดยไม่เสียเลือดเนื้อ คณะราษฎรมีบทบาทนำทางการเมือง และในพุทธทศวรรษ 2480 นายกรัฐมนตรี จอมพล แปลก พิบูลสงคราม ดำเนินนโยบายชาตินิยมเข้มข้น ระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง ไทยเข้ากับฝ่ายอักษะ แต่ฝ่ายสัมพันธมิตรส่วนใหญ่ไม่ยอมรับการประกาศสงคราม ในช่วงสงครามเย็น ประเทศไทยเป็นพันธมิตรกับสหรัฐซึ่งสนับสนุนรัฐบาลทหารมาก รัฐประหารที่มีจอมพล สฤษดิ์ ธนะรัชต์เป็นหัวหน้าคณะในปี 2500 ทำให้คณะราษฎรหมดอำนาจ รัฐบาลฟื้นฟูพระราชอำนาจและมีมาตรการต่อต้านคอมมิวนิสต์ในภูมิภาค ผลของเหตุการณ์ 14 ตุลา 2516 ทำให้เกิดประชาธิปไตยระบบรัฐสภาช่วงสั้น ๆ ประเทศไทยมีนายกรัฐมนตรีจากการเลือกตั้งครั้งแรกในปี 2531 หลังพุทธทศวรรษ 2540 มีวิกฤตการเมืองระหว่างฝ่ายที่สนับสนุนและต่อต้านอดีตนายกรัฐมนตรีทักษิณ ชินวัตรมาจนปัจจุบัน รวมทั้งเกิดรัฐประหารสองครั้ง โดยครั้งล่าสุดเกิดในปี 2557 รัฐธรรมนูญฉบับปัจจุบันเป็นฉบับที่ 20 ประกาศใช้เมื่อวันที่ 6 เมษายน 2560 หลังมีการลงประชามติรับร่างเมื่อหนึ่งปีก่อน ประเทศไทยเป็นสมาชิกสหประชาชาติ เอเปก อีกทั้งเป็นร่วมผู้ก่อตั้งอาเซียน ประเทศไทยเป็นพันธมิตรของสหรัฐตั้งแต่สนธิสัญญาซีโต้ในปี 2497 ถือเป็นประเทศอำนาจนำภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และประเทศอำนาจปานกลางในเวทีโลก ประเทศไทยเป็นประเทศที่มีรายได้ปานกลาง-สูงและประเทศอุตสาหกรรมใหม่ มีรายได้หลักจากภาคอุตสาหกรรมและบริการ การเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจทำให้มีการอพยพเข้าสู่เมืองในคริสต์ศตวรรษที่ 20 ตามประมาณการในปี 2560 จีดีพีของประเทศไทยมีมูลค่าราว 432,898 ล้านดอลลาร์สหรัฐ นับว่าเศรษฐกิจไทยเป็นเศรษฐกิจใหญ่สุดเป็นอันดับ 2 ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และใหญ่เป็นอันดับที่ 26 ของโลก.

ดู รถไฟฟ้าในกรุงเทพมหานครและปริมณฑลและประเทศไทย

นุกูล ประจวบเหมาะ

นายนุกูล ประจวบเหมาะ (25 กรกฎาคม พ.ศ. 2472 -) อดีตผู้ว่าการธนาคารแห่งประเทศไทย และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงคมนาคม ในรัฐบาลนายอานันท์ ปันยารชุน.

ดู รถไฟฟ้าในกรุงเทพมหานครและปริมณฑลและนุกูล ประจวบเหมาะ

โครงการระบบรถไฟชานเมือง (สายสีแดง)

รงการระบบรถไฟชานเมืองสายสีแดง เป็นโครงการระบบขนส่งมวลชนทางรางในกรุงเทพมหานครและปริมณฑล โดยการรถไฟแห่งประเทศไทย (รฟท.) พื้นที่โครงการส่วนใหญ่อยู่บนเขตทางของการรถไฟแห่งประเทศไทย ทำหน้าที่ในการบริการขนส่งผู้โดยสารที่อยู่อาศัยในพื้นที่ชานเมืองเข้าสู่กรุงเทพมหานคร ด้วยระบบรางที่รวดเร็วและมีประสิทธิภาพ เพื่อป้อนผู้โดยสารเข้าสู่โครงข่ายระบบรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนของการรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนแห่งประเทศไทย (รฟม.) และกรุงเทพมหานคร ในเขตกรุงเทพมหานคร ซึ่งมีอยู่แล้ว และยังจะสร้างเพิ่มเติมอีกในอนาคต รถไฟฟ้าชานเมืองสายสีแดง ช่วงบางซื่อ–รังสิต และช่วงบางซื่อ–ตลิ่งชัน รวมสถานีกลางบางซื่อ ใช้งบประมาณในการก่อสร้างรวมทั้งหมด 99,840.4 ล้านบาท.

ดู รถไฟฟ้าในกรุงเทพมหานครและปริมณฑลและโครงการระบบรถไฟชานเมือง (สายสีแดง)

โครงการรถไฟฟ้าลาวาลิน

รงการรถไฟฟ้าลาวาลิน (Lavalin Skytrain) เป็นโครงการก่อสร้างรถไฟฟ้ายกระดับในกรุงเทพมหานคร ซึ่งมีการศึกษามาตั้งแต่ พ.ศ. 2527 ในรัฐบาลพลเอกเปรม ติณสูลานนท์ ดำเนินการโดยบริษัท ลาวาลิน (SNC-Lavalin) จากประเทศแคนาดา ซึ่งชนะการประมูลเหนือคู่แข่ง คือ บริษัทร่วมค้า เอเชีย-ยูโร คอนซอร์เตียม (AEC) เมื่อเดือนพฤษภาคม..

ดู รถไฟฟ้าในกรุงเทพมหานครและปริมณฑลและโครงการรถไฟฟ้าลาวาลิน

โครงการโฮปเวลล์

รงการโฮปเวลล์ หรือ โครงการระบบการขนส่งทางรถไฟยกระดับในกรุงเทพมหานคร (Bangkok Elevated Road and Train System - BERTS) เป็นโครงการก่อสร้างถนน ทางรถไฟ และรถไฟฟ้ายกระดับ บนพื้นที่ของการรถไฟแห่งประเทศไทย ดำเนินการโดยบริษัท โฮปเวลล์ (ประเทศไทย) ในเครือโฮปเวลล์โฮลดิงส์ บริษัทสัญชาติฮ่องกง ของนายกอร์ดอน วู โครงการก่อสร้างประกอบด้วย โครงสร้างยกระดับทางรถไฟขึ้นไปเหนือผิวการจราจร เพื่อลดจุดตัดกับทางรถยนต์ (Grade Crossing) เพื่อลดปัญหาการให้รถยนต์ต้องหยุดรอรถไฟ ก่อสร้างคร่อมทางรถไฟที่มีอยู่ในปัจจุบัน ระยะทางทั้งสิ้น 60.1 กิโลเมตร ใช้เงินลงทุนไม่ต่ำกว่า 80,000 ล้านบาท และให้ผลตอบแทนรายปี 30 ปี รวม 53,810 ล้านบาท โดยโฮปเวลล์จะได้รับสิทธิสร้างถนนยกระดับ เรียกเก็บค่าผ่านทาง คู่ขนานกับทางรถไฟยกระดับ และได้รับสัมปทานเดินรถบนทางรถไฟยกระดับด้วย และสามารถใช้ประโยชน์ในพื้นที่ใต้ทางรถไฟยกระดับ และอสังหาริมทรัพย์สองข้างทาง คิดเป็นเนื้อที่ประมาณ 600 ไร.

ดู รถไฟฟ้าในกรุงเทพมหานครและปริมณฑลและโครงการโฮปเวลล์

โตชิบา

ตชิบา คอร์ปอเรชัน (株式会社東芝 คะบุชิกิ-ไงฉะ โทชิบะ) หรือเรียกสั้นๆว่า โตชิบา เป็นกลุ่มบริษัทข้ามชาติจากประเทศญี่ปุ่น มีสำนักงานใหญ่ตั้งอยู่ในกรุงโตเกียว มีผลิตภัณฑ์และบริการมากมายหลากหลายกลุ่ม ซึ่งรวมไปถึงเทคโนโลยีสารสนเทศและอุปกรณ์และระบบโทรคมนาคม เครื่องใช้ไฟฟ้าและชิ้นส่วน, ระบบไฟฟ้าและพลังงาน, โครงสร้างพื้นฐานทางสังคมและอุตสาหกรรม, เครื่องใช้ไฟฟ้าในครัวเรือน, อุปกรณ์ภายในบ้าน เครื่องมือทางการแพทย์, อุปกรณ์สำนักงาน, ระบบส่องสว่าง และระบบขนส่ง โตชิบา คอร์ปอเรชัน จกทะเบียนขึ้นในปี..

ดู รถไฟฟ้าในกรุงเทพมหานครและปริมณฑลและโตชิบา

1 กรกฎาคม

วันที่ 1 กรกฎาคม เป็นวันที่ 182 ของปี (วันที่ 183 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 183 วันในปีนั้น.

ดู รถไฟฟ้าในกรุงเทพมหานครและปริมณฑลและ1 กรกฎาคม

1 มีนาคม

วันที่ 1 มีนาคม เป็นวันที่ 60 ของปี (วันที่ 61 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 305 วันในปีนั้น.

ดู รถไฟฟ้าในกรุงเทพมหานครและปริมณฑลและ1 มีนาคม

11 สิงหาคม

วันที่ 11 สิงหาคม เป็นวันที่ 223 ของปี (วันที่ 224 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 142 วันในปีนั้น.

ดู รถไฟฟ้าในกรุงเทพมหานครและปริมณฑลและ11 สิงหาคม

12 มกราคม

วันที่ 12 มกราคม เป็นวันที่ 12 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 353 วันในปีนั้น (354 วันในปีอธิกสุรทิน).

ดู รถไฟฟ้าในกรุงเทพมหานครและปริมณฑลและ12 มกราคม

12 สิงหาคม

วันที่ 12 สิงหาคม เป็นวันที่ 224 ของปี (วันที่ 225 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 141 วันในปีนั้น.

ดู รถไฟฟ้าในกรุงเทพมหานครและปริมณฑลและ12 สิงหาคม

14 กุมภาพันธ์

วันที่ 14 กุมภาพันธ์ เป็นวันที่ 45 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 320 วันในปีนั้น (321 วันในปีอธิกสุรทิน).

ดู รถไฟฟ้าในกรุงเทพมหานครและปริมณฑลและ14 กุมภาพันธ์

15 พฤษภาคม

วันที่ 15 พฤษภาคม เป็นวันที่ 135 ของปี (วันที่ 136 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 230 วันในปีนั้น.

ดู รถไฟฟ้าในกรุงเทพมหานครและปริมณฑลและ15 พฤษภาคม

20 มกราคม

วันที่ 20 มกราคม เป็นวันที่ 20 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 345 วันในปีนั้น (346 วันในปีอธิกสุรทิน).

ดู รถไฟฟ้าในกรุงเทพมหานครและปริมณฑลและ20 มกราคม

23 สิงหาคม

วันที่ 23 สิงหาคม เป็นวันที่ 235 ของปี (วันที่ 236 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 130 วันในปีนั้น.

ดู รถไฟฟ้าในกรุงเทพมหานครและปริมณฑลและ23 สิงหาคม

3 กรกฎาคม

วันที่ 3 กรกฎาคม เป็นวันที่ 184 ของปี (วันที่ 185 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 181 วันในปีนั้น.

ดู รถไฟฟ้าในกรุงเทพมหานครและปริมณฑลและ3 กรกฎาคม

3 เมษายน

วันที่ 3 เมษายน เป็นวันที่ 93 ของปี (วันที่ 94 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 272 วันในปีนั้น.

ดู รถไฟฟ้าในกรุงเทพมหานครและปริมณฑลและ3 เมษายน

5 ธันวาคม

วันที่ 5 ธันวาคม เป็นวันที่ 339 ของปี (วันที่ 340 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 26 วันในปีนั้น.

ดู รถไฟฟ้าในกรุงเทพมหานครและปริมณฑลและ5 ธันวาคม

6 สิงหาคม

วันที่ 6 สิงหาคม เป็นวันที่ 218 ของปี (วันที่ 219 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 147 วันในปีนั้น.

ดู รถไฟฟ้าในกรุงเทพมหานครและปริมณฑลและ6 สิงหาคม

ดูเพิ่มเติม

การขนส่งในกรุงเทพมหานคร

หรือที่รู้จักกันในชื่อ BMRTรถไฟฟ้าในกรุงเทพรถไฟฟ้าในกรุงเทพมหานครรถไฟฟ้าในกทมรถไฟฟ้าในกทม.โครงข่ายระบบรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนในกรุงเทพมหานครและพื้นที่ต่อเนื่อง

รถไฟฟ้าชานเมืองสายสีแดงอ่อนรถไฟฟ้าชานเมืองสายสีแดงเข้มรถไฟฟ้าบีทีเอสรถไฟฟ้าบีทีเอส สายสุขุมวิทรถไฟฟ้าบีทีเอส สายสีลมรถไฟฟ้ามหานครรถไฟฟ้ามหานคร สายสีส้มรถไฟฟ้ามหานคร สายฉลองรัชธรรมรถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคลรถไฟฟ้าล้อยางรถไฟฟ้าสายสีชมพูรถไฟฟ้าสายสีฟ้ารถไฟฟ้าสายสีทองรถไฟฟ้าสายสีน้ำตาลรถไฟฟ้าสายสีเหลืองรถไฟฟ้าสายสีเทารถไฟฟ้าไลท์เรล สายบางนา-ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิรถไฟฟ้าเชื่อมท่าอากาศยานรถไฟความเร็วสูงรถไฟความเร็วสูงสายตะวันออกสวนลุมพินีสำนักงานบริหารหนี้สาธารณะสำนักงานนโยบายและแผนการขนส่งและจราจรสิงหาคมสถานีบางซื่อสถานีบางซ่อนสถานีบางนาสถานีพญาไทสถานีกรุงธนบุรีสถานีรับส่งผู้โดยสารอากาศยานในเมืองสถานีลาดพร้าวสถานีลาดกระบังสถานีวงเวียนใหญ่สถานีศูนย์วัฒนธรรมแห่งประเทศไทยสถานีสะพานตากสินสถานีสำโรงสถานีสนามกีฬาแห่งชาติสถานีหมอชิตสถานีหลักสองสถานีหัวลำโพงสถานีหัวลำโพง (รถไฟฟ้ามหานคร)สถานีห้าแยกลาดพร้าวสถานีอ่อนนุชสถานีท่าพระสถานีท่าอากาศยานสุวรรณภูมิสถานีขนส่งผู้โดยสารกรุงเทพ (หมอชิต)สถานีคลองบางไผ่สถานีตลิ่งชันสถานีแบริ่งสแตนดาร์ดเกจส่วนต่อขยายของรถไฟฟ้าบีทีเอสอานันท์ ปันยารชุนองค์การความร่วมมือระหว่างประเทศแห่งญี่ปุ่นฮิตาชิผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครจังหวัดสมุทรปราการจังหวัดปทุมธานีจังหวัดนนทบุรีจำลอง ศรีเมืองถนนที่เก็บค่าผ่านทางทางยกระดับทางด่วนและรถไฟฟ้ากรุงเทพซีเมนส์ซีเมนส์ โมดูลาร์ เมโทรซีเมนส์ เดซิโรประเทศแคนาดาประเทศไทยนุกูล ประจวบเหมาะโครงการระบบรถไฟชานเมือง (สายสีแดง)โครงการรถไฟฟ้าลาวาลินโครงการโฮปเวลล์โตชิบา1 กรกฎาคม1 มีนาคม11 สิงหาคม12 มกราคม12 สิงหาคม14 กุมภาพันธ์15 พฤษภาคม20 มกราคม23 สิงหาคม3 กรกฎาคม3 เมษายน5 ธันวาคม6 สิงหาคม