โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

แม่น้ำเจ้าพระยา

ดัชนี แม่น้ำเจ้าพระยา

แม่น้ำเจ้าพระยา เป็นแม่น้ำสายหลักสายหนึ่งของประเทศไทย เกิดจากการรวมตัวของแม่น้ำสายหลัก 2 สายจากภาคเหนือ คือแม่น้ำปิงและแม่น้ำน่าน ที่ตำบลปากน้ำโพ อำเภอเมืองนครสวรรค์ จังหวัดนครสวรรค์ จากนั้นไหลลงไปทางทิศใต้ ผ่านจังหวัดอุทัยธานี ชัยนาท สิงห์บุรี อ่างทอง พระนครศรีอยุธยา ปทุมธานี นนทบุรี และกรุงเทพมหานคร ก่อนออกสู่อ่าวไทยที่ปากน้ำ ซึ่งอยู่ระหว่างเขตตำบลท้ายบ้าน ตำบลบางปูใหม่ อำเภอเมืองสมุทรปราการ และตำบลแหลมฟ้าผ่า อำเภอพระสมุทรเจดีย์ จังหวัดสมุทรปราการ.

100 ความสัมพันธ์: บิ๊กซี ซูเปอร์เซ็นเตอร์พ.ศ. 2065พ.ศ. 2081พ.ศ. 2179พระตำหนักจักรีบงกชกรมชลประทาน (ประเทศไทย)กรุงเทพมหานครกรุงเทพมหานครและปริมณฑลการประปาส่วนภูมิภาคการประปานครหลวงการไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทยภาคเหนือ (ประเทศไทย)รัฐสภารายชื่อจุดข้ามแม่น้ำเจ้าพระยารายชื่อคลองในกรุงเทพมหานครวัดกัลยาณมิตรวรมหาวิหารวัดยานนาวาวัดระฆังโฆสิตารามวรมหาวิหารวัดสร้อยทองวัดอรุณราชวรารามราชวรมหาวิหารวังบางขุนพรหมวังเทเวศร์สมเด็จพระมหาจักรพรรดิสมเด็จพระไชยราชาธิราชสมเด็จพระเจ้าปราสาททองสยามแม็คโครสะพานพระราม 5สะพานพระราม 8สะพานพระราม 9สะพานพระนั่งเกล้าสะพานกรุงธนอำเภอพระสมุทรเจดีย์อำเภอเมืองสมุทรปราการอำเภอเมืองนครสวรรค์อ่าวไทยจังหวัดชัยนาทจังหวัดพระนครศรีอยุธยาจังหวัดสมุทรปราการจังหวัดสิงห์บุรีจังหวัดอุทัยธานีจังหวัดอ่างทองจังหวัดปทุมธานีจังหวัดนครสวรรค์จังหวัดนนทบุรีธนาคารกสิกรไทยท่าช้างวังหลวงท่าวังหลังและท่าพรานนกท่าสาทรท่าน้ำนนทบุรีท่าเรือกรุงเทพ...ท่าเรือปากเกร็ดคลองชักพระคลองบางกรวยคลองบางกอกน้อยคลองบางกอกใหญ่คลองบางลำพูคลองภาษีเจริญคลองมหาสวัสดิ์คลองมหานาคคลองมอญคลองรอบกรุงคลองรังสิตคลองลัดโพธิ์คลองสาทรคลองสำโรงคลองสนามชัยคลองอ้อมนนท์คลองผดุงกรุงเกษมคลองทวีวัฒนาคลองดาวคะนองคลองด่าน (ฝั่งธนบุรี)คลองคูเมืองธนบุรีฝั่งตะวันตกคลองคูเมืองเดิมคลองฉะไกรใหญ่คลองประปาคลองประเวศบุรีรมย์คลองแสนแสบคลองในไก่คลองโยงคลองเปรมประชากรประเทศไทยปากน้ำปากน้ำโพแม่น้ำแม่น้ำยมแม่น้ำลพบุรีแม่น้ำลัดเกร็ดแม่น้ำวังแม่น้ำสะแกกรังแม่น้ำท่าจีนแม่น้ำปิงแม่น้ำป่าสักแม่น้ำน่านแม่น้ำน้อยโรงพยาบาลศิริราชโรงเรียนราชินีโรงเรียนนายเรือไอคอนสยามเอเชียทีค เดอะ ริเวอร์ฟร้อนท์เขตคลองสาน ขยายดัชนี (50 มากกว่า) »

บิ๊กซี ซูเปอร์เซ็นเตอร์

กซี ซูเปอร์เซ็นเตอร์ สาขาแจ้งวัฒนะ บิ๊กซี (Big C) ชื่อเต็ม บริษัท บิ๊กซี ซูเปอร์เซ็นเตอร์ จำกัด (มหาชน) (BIG C SUPERCENTER PUBLIC COMPANY LIMITED ชื่อย่อ:BIGC) เป็นบริษัทที่ดำเนินกิจการค้าปลีกสินค้าอุปโภคบริโภค ในรูปแบบร้านไฮเปอร์มาร์ทขนาดใหญ่ชื่อ บิ๊กซี (Big C) มีสาขาอยู่ทั่วประเทศไทย ลาว และเวียดนาม โดยข้อมูลในปี 2554 หลังจากควบรวมกิจการของคาร์ฟูร์ในประเทศไทย (บริษัท เซ็นคาร์ จำกัด) เข้ามา ทำให้บิ๊กซี มีสาขาทั้งหมด 122 สาขาในประเทศไทย และในปัจจุบันมีสาขาทั้งหมด 185 สาขาแบ่งออกเป็นบิ๊กซี ซูเปอร์เซ็นเตอร์ 133 สาขา บิ๊กซี เอ็กซ์ตร้า 16 สาขา บิ๊กซี จัมโบ้ 3 สาขา บิ๊กซี มาร์เก็ต 33 สาขา โดยบิ๊กซีได้ให้ความหมายของคำว่า Big C คือ Big หมายถึง พื้นที่ที่มีขนาดใหญ่ พร้อมด้วยบริการและสิ่งอำนวยความสะดวกต่างๆ สำหรับลูกค้า และยังครอบคลุมไปถึงความหลากหลายของสินค้าที่บิ๊กซีคัดสรรมาจำหน่าย โดยบิ๊กซีมีสินค้ามากกว่า 100,000 รายการ เพื่อตอบสนองทุกความต้องการของลูกค้า C หมายถึงลูกค้าที่ให้การสนับสนุนบิ๊กซีตลอดม.

ใหม่!!: แม่น้ำเจ้าพระยาและบิ๊กซี ซูเปอร์เซ็นเตอร์ · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2065

ทธศักราช 2065 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: แม่น้ำเจ้าพระยาและพ.ศ. 2065 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2081

ทธศักราช 2081 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: แม่น้ำเจ้าพระยาและพ.ศ. 2081 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2179

ทธศักราช 2179 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: แม่น้ำเจ้าพระยาและพ.ศ. 2179 · ดูเพิ่มเติม »

พระตำหนักจักรีบงกช

ระตำหนักจักรีบงกช ตั้งอยู่บนริมฝั่งแม่น้ำเจ้าพระยา ตำบลบางขะแยง อำเภอเมืองปทุมธานี จังหวัดปทุมธานี ปัจจุบันเป็นที่ประทับของ สมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าจุฬาภรณวลัยลักษณ์ อัครราชกุมารี, พระเจ้าหลานเธอ พระองค์เจ้าสิริภาจุฑาภรณ์ และพระเจ้าหลานเธอ พระองค์เจ้าอทิตยาทรกิติคุณ.

ใหม่!!: แม่น้ำเจ้าพระยาและพระตำหนักจักรีบงกช · ดูเพิ่มเติม »

กรมชลประทาน (ประเทศไทย)

กรมชลประทาน เป็นหน่วยงานในกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ มีหน้าที่จัดให้ได้มาซึ่งน้ำเพื่อกักเก็บรักษา ควบคุม ส่ง ระบาย หรือ แบ่งน้ำเพื่อการเกษตร การพลังงาน การสาธารณูปโภค หรือการอุตสาหกรรม และหมายรวมถึงการป้องกันความเสียหายอันเกิดจากน้ำ กับการคมนาคมทางน้ำซึ่งอยู่ในเขตชลประทาน.

ใหม่!!: แม่น้ำเจ้าพระยาและกรมชลประทาน (ประเทศไทย) · ดูเพิ่มเติม »

กรุงเทพมหานคร

กรุงเทพมหานคร เป็นเมืองหลวงและนครที่มีประชากรมากที่สุดของประเทศไทย เป็นศูนย์กลางการปกครอง การศึกษา การคมนาคมขนส่ง การเงินการธนาคาร การพาณิชย์ การสื่อสาร และความเจริญของประเทศ เป็นเมืองที่มีชื่อยาวที่สุดในโลก ตั้งอยู่บนสามเหลี่ยมปากแม่น้ำเจ้าพระยา มีแม่น้ำเจ้าพระยาไหลผ่านและแบ่งเมืองออกเป็น 2 ฝั่ง คือ ฝั่งพระนครและฝั่งธนบุรี กรุงเทพมหานครมีพื้นที่ทั้งหมด 1,568.737 ตร.กม.

ใหม่!!: แม่น้ำเจ้าพระยาและกรุงเทพมหานคร · ดูเพิ่มเติม »

กรุงเทพมหานครและปริมณฑล

กรุงเทพมหานครและปริมณฑล กรุงเทพมหานครและปริมณฑล (Bangkok Metropolitan Region)NESDB, Bangkok Metropolitan Region Study, 1985 เป็นเขตเมืองของกรุงเทพมหานครและจังหวัดที่ตั้งอยู่โดยรอบ ("ปริมณฑล" หมายถึง วงรอบ) ครอบคลุมพื้นที่กว่า 7 พันตารางกิโลเมตร แม่น้ำสายสำคัญที่ไหลผ่าน ได้แก่ แม่น้ำเจ้าพระยาและแม่น้ำท่าจีน มีประชากรตามหลักฐานทะเบียนราษฎรรวมกันประมาณ 10 ล้านกว่าคน (เดือนธันวาคม พ.ศ. 2555) ซึ่งในเวลากลางวันจะมีถึง 13 ล้านกว่าคนที่อยู่ในเขตนี้ กรุงเทพมหานครและปริมณฑลนับว่าเป็นเขตเศรษฐกิจที่มีความเจริญที่สุด และเป็นศูนย์กลางการปกครอง การบริหารราชการ พาณิชยกรรม และการเงินของประเท.

ใหม่!!: แม่น้ำเจ้าพระยาและกรุงเทพมหานครและปริมณฑล · ดูเพิ่มเติม »

การประปาส่วนภูมิภาค

การประปาส่วนภูมิภาค หรือ กป.

ใหม่!!: แม่น้ำเจ้าพระยาและการประปาส่วนภูมิภาค · ดูเพิ่มเติม »

การประปานครหลวง

การประปานครหลวง เป็นรัฐวิสาหกิจในสังกัดกระทรวงมหาดไทย มีหน้าที่ผลิตและให้บริการเกี่ยวกับน้ำประปาในเขตพื้นที่กรุงเทพมหานคร จังหวัดนนทบุรี และจังหวัดสมุทรปราการ อย่างมีคุณภาพตามมาตรฐานสากลขององค์การอนามัยโลก.

ใหม่!!: แม่น้ำเจ้าพระยาและการประปานครหลวง · ดูเพิ่มเติม »

การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย

การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย ตัวย่อ กฟผ. (Electricity Generating Authority of Thailand) เป็นรัฐวิสาหกิจสังกัดกระทรวงพลังงาน มีหน้าที่ผลิตไฟฟ้าใช้ภายในประเทศไทย ในปี..

ใหม่!!: แม่น้ำเจ้าพระยาและการไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย · ดูเพิ่มเติม »

ภาคเหนือ (ประเทศไทย)

หนือ เป็นภูมิภาคที่อยู่ด้านบนสุดของไทย มีลักษณะภูมิประเทศอันประกอบไปด้วยเทือกเขาสลับซับซ้อน ต่อเนื่องมาจากทิวเขาฉานโยมาในประเทศพม่าและประเทศลาว ภาคเหนือมีภูมิอากาศแบบทุ่งหญ้าสะวันนา เหมือนกับพื้นที่ส่วนใหญ่ของประเทศ การที่มีพื้นที่อยู่เหนือระดับน้ำทะเลและมีเส้นละติจูดอยู่ตอนบนทำให้สภาพอากาศของภาคเหนือเปลี่ยนแปลงตามฤดูกาลอย่างเห็นได้ชัด เช่น มีฤดูหนาวที่หนาวเย็นกว่าภูมิภาคอื่น ๆ ทางด้านประวัติศาสตร์ของภาคเหนือมีความสัมพันธ์ทางวัฒนธรรมกับอาณาจักรล้านน.

ใหม่!!: แม่น้ำเจ้าพระยาและภาคเหนือ (ประเทศไทย) · ดูเพิ่มเติม »

รัฐสภา

ผู้แทนราษฎรของออสเตรเลีย รัฐสภา เป็นสภานิติบัญญัติชนิดหนึ่ง รัฐสภาจะทำหน้าที่ออกกฎหมาย อภิปราย หารือกันระหว่างสมาชิกรัฐสภา ถกเถียงประเด็นทางการเมืองหรือกิจกรรมทางการเมืองอื่นๆ โดยรัฐสภาจะมีเฉพาะประเทศที่ใช้ใช้ระบอบการปกครองในระบอบประชาธิปไตย ซึ่งสหราชอาณาจักรเป็นประเทศแรกในโลกที่มีระบบรัฐสภาและเป็นต้นแบบระบอบประชาธิปไตยในสมัยปัจจุบันด้วย เช่น ฝรั่งเศส สเปน สหรัฐอเมริกา ญี่ปุ่น เป็นต้น.

ใหม่!!: แม่น้ำเจ้าพระยาและรัฐสภา · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อจุดข้ามแม่น้ำเจ้าพระยา

รายชื่อสะพานข้ามหรืออุโมงค์ลอดแม่น้ำเจ้าพระยา เรียงลำดับจากเหนือน้ำไปท้ายน้ำ.

ใหม่!!: แม่น้ำเจ้าพระยาและรายชื่อจุดข้ามแม่น้ำเจ้าพระยา · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อคลองในกรุงเทพมหานคร

ตัดกันระหว่างคลองบางน้อย กับคลองบางกอกใหญ่ ในพื้นที่แขวงบางเชือกหนัง เขตตลิ่งชัน คลองในกรุงเทพมหานคร มีจำนวน 1,161 คลอง และคูลำกระโดง จำนวน 521 คู รวมเป็น 1,682 คูคลอง ความยาว 2,604 กม.

ใหม่!!: แม่น้ำเจ้าพระยาและรายชื่อคลองในกรุงเทพมหานคร · ดูเพิ่มเติม »

วัดกัลยาณมิตรวรมหาวิหาร

วัดกัลยาณมิตรวรมหาวิหาร หรือ "วัดกัลยาณ์" ตั้งอยู่ริมแม่น้ำเจ้าพระยา ฝั่งธนบุรี บริเวณปากคลองบางกอกใหญ่ฝั่งใต้.

ใหม่!!: แม่น้ำเจ้าพระยาและวัดกัลยาณมิตรวรมหาวิหาร · ดูเพิ่มเติม »

วัดยานนาวา

วัดยานนาวา พระอารามหลวงชั้นตรี ชนิดสามัญ สังกัดมหานิกาย ตั้งอยู่ริมแม่น้ำเจ้าพระยา ติดถนนเจริญกรุง แขวงยานนาวา เขตสาทร กรุงเทพมหานคร เป็นวัดโบราณมีมาตั้งแต่ครั้งกรุงศรีอยุธยา เดิมชื่อ "วัดคอกควาย" เนื่องจากมีชาวทวายมาลงหลักปักฐานอาศัยอยู่เป็นจำนวนมาก และชาวทวายจะนำกระบือที่เลี้ยงไว้มาทำการซื้อขายแลกเปลี่ยนกัน หมู่บ้านบริเวณนั้นจึงได้ชื่อเรียกกันต่อมาว่า "บ้านคอกควาย" ในสมัยกรุงธนบุรีได้รับการยกฐานะวัดคอกควายขึ้นเป็นพระอารามหลวง เรียกชื่อใหม่ว่า "วัดคอกกระบือ" ต่อมารัชกาลที่ 1 ทรงสร้างพระอุโบสถใหม่ ครั้นถึงรัชกาลที่ 3 ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ปฏิสังขรณ์และสร้างเรือสำเภาพระเจดีย์แทนพระสถูปเจดีย์ทั่วไป เพื่อให้คนรุ่นหลังได้เห็นรูปแบบเรือสำเภาซึ่งกำลังจะหมดไปจากเมืองไทย จึงได้เปลี่ยนชื่อจากวัดคอกกระบือเป็น "วัดยานนาวา" ด้านในมีพระบรมสารีริกธาตุพระพุทธเจ้าให้สักการ.

ใหม่!!: แม่น้ำเจ้าพระยาและวัดยานนาวา · ดูเพิ่มเติม »

วัดระฆังโฆสิตารามวรมหาวิหาร

วัดระฆังโฆสิตารามวรมหาวิหาร หรือ วัดระฆัง, วัดหลวงพ่อโต ตั้งอยู่เลขที่ 250 แขวงศิริราช เขตบางกอกน้อย กรุงเทพมหานคร เป็นพระอารามหลวงชั้นโทชนิดวรมหาวิหาร อยู่ในเขตการปกครองคณะสงฆ์มหานิกายภาค 1 วัดแห่งนี้เป็นวัดโบราณ สร้างในสมัยอยุธยา เดิมชื่อ วัดบางว้าใหญ่ (หรือบางหว้าใหญ่) ในสมัยธนบุรี สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราชทรงสร้างพระราชวังใกล้วัดบางว้าใหญ่ โปรดเกล้าฯ ให้ยกเป็นพระอารามหลวงและเป็นที่ประทับของสมเด็จพระสังฆราช ในสมัยรัตนโกสินทร์ รัชสมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช วัดบางว้าใหญ่อยู่ในพระอุปถัมภ์ของเจ้านายวังหลัง คือสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้ากรมพระยาเทพสุดาวดี (สา) พระเชษฐภคินีของพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราชและเป็นพระชนนีของกรมพระราชวังบวรสถานพิมุข ทรงมีตำหนักที่ประทับอยู่ติดกับวัด ได้ทรงบูรณปฏิสังขรณ์วัดร่วมกับพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช และได้ขุดพบระฆังลูกหนึ่ง ซึ่งโปรดเกล้าฯ ให้นำไปไว้ที่วัดพระศรีรัตนศาสดาราม โดยทรงสร้างระฆังชดเชยให้วัดบางว้าใหญ่ 5 ลูก จากนั้นได้พระราชทานนามวัดใหม่ว่า “วัดระฆังโฆสิตาราม” นอกจากเป็นเพราะขุดพบระฆังที่วัดนี้และเพื่อฟื้นฟูแบบแผนครั้งกรุงศรีอยุธยาที่มีวัดชื่อวัดระฆังเช่นกัน ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว โปรดเกล้าฯ ให้เปลี่ยนชื่อ “วัดระฆังโฆสิตาราม” เป็น “วัดราชคัณฑิยาราม” (คัณฑิ แปลว่าระฆัง) แต่ไม่มีคนนิยมเรียกชื่อนี้ ยังคงเรียกว่าวัดระฆังต่อมา วัดระฆังโฆสิตารามมีหอพระไตรปิฎกซึ่งเป็นสถาปัตยกรรมที่สวยงามมาก เคยเป็นพระตำหนักและหอประทับนั่งของพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราชขณะทรงรับราชการในสมัยธนบุรี และโปรดเกล้าฯ ให้รื้อมาถวายวัด เมื่อเสด็จขึ้นครองราชสมบัติแล้ว มีพระราชประสงค์จะบูรณปฏิสังขรณ์ให้สวยงามเพื่อเป็นหอพระไตรปิฎก.

ใหม่!!: แม่น้ำเจ้าพระยาและวัดระฆังโฆสิตารามวรมหาวิหาร · ดูเพิ่มเติม »

วัดสร้อยทอง

วัดสร้อยทอง หรือ วัดสร้อยทองพระอารามหลวง เป็นพระอารามหลวงชั้นตรีชนิดสามัญ วัดแห่งนี้เดิมชื่อ "วัดซ่อนทอง" เป็นวัดโบราณ ตั้งอยู่ที่ เขตบางซื่อ กรุงเทพมหานคร วัดแห่งนี้สันนิษฐานว่าสร้างขึ้นในปี พ.ศ. 2394 โดยลูกหลานของเจ้าพระยาศรีพิพัฒน์ราชโกษา (แพ บุนนาค) ต่อมาในปี พ.ศ. 2484 เกิดสงครามโลกครั้งที่ 2 วัดประสบภัยทางอากาศได้รับความเสียหายอย่างหนัก ในปลายปี พ.ศ. 2488 ประชาชนได้ช่วยกันบูรณะวัด และก่อสร้างอาคารเสนาสนะขึ้นใหม่ วัดนี้ได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมา พร้อมกับการสร้างวัด ในปี พ.ศ. 2394 สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย (ปัจจุบันโรงเรียนสมาคมพิทยากร ได้เป็นชื่อของโรงเรียนวัดวิมุตพิทยาราม) และมีวัดสร้อยทองที่นามพ้องกันอีกแห่งในจังหวัดปทุมธานี โดยชาวบ้านเรียกว่า วัดเสด็จ หลวงพ่อเหลือ ปัจจุบันวัดสร้อยทองเป็นวัดที่มีสำนักเรียนพระปริยัติธรรมแผนกบาลีขนาดใหญ่ มีการเรียนการสอนถึงระดับเปรียญธรรม ๙ ประโยค และมีพระภิกษุสามเณรสอบไล่พระปริยัติธรรมทั้งแผนกธรรมและแผนกบาลีได้ทุกปี ที่ตั้ง ถนนประชาราษฎร์สาย1(บางโพ) แขวงวงศ์สว่าง เขตบางซื่อ กรุงเทพฯ.

ใหม่!!: แม่น้ำเจ้าพระยาและวัดสร้อยทอง · ดูเพิ่มเติม »

วัดอรุณราชวรารามราชวรมหาวิหาร

วัดอรุณราชวราราม หรือที่นิยมเรียกกันในภาษาพูดว่า วัดแจ้ง หรือที่เรียกสั้น ๆ ว่า วัดอรุณ เป็นวัดโบราณ สร้างในสมัยอยุธยา ที่ชื่อวัดแจ้ง เพราะ พระเจ้าตากฯ ทำศึกเสร็จ แล้วยกทัพกลับมาเป็นเวลาเช้าพอดี ว่ากันว่าเดิมเรียกว่า วัดมะกอก และกลายเป็นวัดมะกอกนอกในเวลาต่อมา เพราะได้มีการสร้างวัดขึ้นอีกวัดหนึ่งในตำบลเดียวกัน แต่อยู่ในคลองบางกอกใหญ่ ชาวบ้านเรียกวัดที่สร้างใหม่ว่า วัดมะกอกใน (วัดนวลนรดิศ) แล้วจึงเรียกวัดมะกอกซึ่งอยู่ปากคลองบางกอกใหญ่ว่า วัดมะกอกนอก ส่วนเหตุที่มีการเปลี่ยนชื่อเป็นวัดแจ้งนั้น เชื่อกันว่า เมื่อสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราชทรงตั้งราชธานีที่กรุงธนบุรีใน พ.ศ. 2310 ได้เสด็จมาถึงหน้าวัดนี้ตอนรุ่งแจ้ง จึงพระราชทานชื่อใหม่ว่าวัดแจ้ง แต่ความเชื่อนี้ไม่ถูกต้อง เพราะเพลงยาวหม่อมภิมเสน วรรณกรรมสมัยอยุธยาที่บรรยายการเดินทางจากอยุธยาไปยังเพชรบุรี ได้ระบุชื่อวัดนี้ไว้ว่าชื่อวัดแจ้งตั้งแต่เวลานั้นแล้ว เมื่อสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราชโปรดเกล้าฯ ให้สร้างพระราชวังที่ประทับนั้น ทรงเอาป้อมวิชัยประสิทธิ์ข้างฝั่งตะวันตกเป็นที่ตั้งตัวพระราชวัง แล้วขยายเขตพระราชฐานจนวัดแจ้งเป็นวัดภายในพระราชวัง เช่นเดียวกับวัดพระศรีสรรเพชญ์สมัยอยุธยา และเป็นที่ประดิษฐานพระพุทธมหามณีรัตนปฏิมากรที่อัญเชิญมาจากเวียงจันทน์ใน พ.ศ. 2322 ก่อนที่จะย้ายมาประดิษฐานที่วัดพระศรีรัตนศาสดารามในปี พ.ศ. 2327 ในสมัยรัตนโกสินทร์ รัชสมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช สมเด็จพระเจ้าลูกยาเธอ เจ้าฟ้ากรมหลวงอิศรสุนทร ได้เสด็จมาประทับที่พระราชวังเดิม และได้ทรงปฏิสังขรณ์วัดแจ้งใหม่ทั้งวัด แต่ยังไม่ทันสำเร็จก็สิ้นรัชกาลที่ 1 สมเด็จฯ เจ้าฟ้ากรมหลวงอิศรสุนทรได้เสด็จขึ้นครองราชสมบัติเป็นพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย พระองค์ได้ทรงบูรณปฏิสังขรณ์วัดแจ้งต่อมา และพระราชทานนามใหม่ว่า “วัดอรุณราชธาราม” ต่อมามีพระราชดำริที่จะเสริมสร้างพระปรางค์หน้าวัดให้สูงขึ้น แต่สิ้นรัชกาลเสียก่อน จนถึงรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว โปรดเกล้าฯ ให้เสริมพระปรางค์ขึ้นและให้ยืมมงกุฎที่หล่อสำหรับพระพุทธรูปทรงเครื่องที่จะเป็นพระประธานวัดนางนองมาติดต่อบนยอดนภศูล ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวโปรดเกล้าฯ ให้บูรณปฏิสังขรณ์วัดอรุณราชธารามหลายรายการ และให้อัญเชิญพระบรมอัฐิของพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยมาบรรจุไว้ที่พระพุทธอาสน์ของพระประธานในพระอุโบสถด้วย เมื่อการปฏิสังขรณ์เสร็จสิ้นลง พระราชทานนามวัดใหม่ว่า “วัดอรุณราชวราราม”.

ใหม่!!: แม่น้ำเจ้าพระยาและวัดอรุณราชวรารามราชวรมหาวิหาร · ดูเพิ่มเติม »

วังบางขุนพรหม

วังบางขุนพรหม เป็นวังที่ประทับของสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าบริพัตรสุขุมพันธุ์ กรมพระนครสวรรค์วรพินิต ต้นราชสกุลบริพัตร และ สมเด็จพระนางเจ้าสุขุมาลมารศรี พระอัครราชเทวี พระมารดา วังบางขุนพรหมอยู่ในเนื้อที่ 33 ไร่ริมแม่น้ำเจ้าพระยา ทางทิศใต้ของวังเทวะเวสม์ วังบางขุนพรหม มีตำหนักรวม 2 ตำหนัก ได้แก่ ตำหนักใหญ่ และตำหนักสมเด็จ โดยตำหนักใหญ่ ก่อสร้างขึ้นในปี..

ใหม่!!: แม่น้ำเจ้าพระยาและวังบางขุนพรหม · ดูเพิ่มเติม »

วังเทเวศร์

วังเทเวศร์ หรือ วังพลตรีพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระจันทบุรีนฤนาถ เป็นวังที่ประทับของพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้ากิติยากรวรลักษณ์ กรมพระจันทบุรีนฤนาถ หม่อมเจ้าอัปสรสมาน กิติยากร และทายาทในราชสกุลกิติยากร ตั้งอยู่บริเวณถนนกรุงเกษม ปากคลองผดุงกรุงเกษม ริมแม่น้ำเจ้าพระยา แขวงวัดสามพระยา เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร ทางทิศใต้ติดกับวังเทวะเวสม์ ทางทิศตะวันออกติดกับวัดนรนาถสุนทริการามพระตำหนักพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระจันทบุรีนฤนาถ (พระตำหนักใหญ่) ภายในวังเทเวศร์ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว พระราชทานที่ดินบริเวณป้อมหักกำลังดัสกรซึ่งไม่ได้ใช้งานแล้ว สร้างพระตำหนักพระราชทาน รวมกับที่สวนอีก 2 แปลงที่ทรงซื้อไว้ และที่ดินฝ่ายเจ้าจอมมารดาเหม พระมารดาของพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าศรีเสาวภางค์ ซึ่งพระองค์เจ้าศรีเสาวภางค์ น้อมเกล้าฯ ถวายรวมเป็นอาณาบริเวณตั้งแต่ริมแม่น้ำเจ้าพระยามาจนถึงบริเวณถนนกรุงเกษม ตำหนักในวังเทเวศร์ ประกอบด้ว.

ใหม่!!: แม่น้ำเจ้าพระยาและวังเทเวศร์ · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระมหาจักรพรรดิ

มเด็จพระมหาจักรพรรดิราชาธิราชเจ้า (พระนามเดิม พระเทียรราชา) พระมหากษัตริย์รัชกาลที่ 15 แห่งอาณาจักรอยุธยา เป็นพระมหากษัตริย์ที่ได้รับการยกย่องว่ามีบุญญาธิการมากเพราะทรงมีช้างเผือกในครอบครองถึง 7 ช้าง จนได้รับการขนานพระนามว่า พระเจ้าช้างเผือก ในรัชกาลนี้ เป็นช่วงเปลี่ยนผ่านทางการเมืองจากคราวขุนวรวงศาธิราช สภาพบ้านเมืองไม่ได้สงบสุขเท่าที่ควร มีเหตุการณ์ความไม่สงบทั้งภายในและภายนอก โดยเฉพาะสงครามกับกรุงหงสาวดี.

ใหม่!!: แม่น้ำเจ้าพระยาและสมเด็จพระมหาจักรพรรดิ · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระไชยราชาธิราช

มเด็จพระไชยราชาธิราช เป็นพระมหากษัตริย์ไทยรัชกาลที่ 13 แห่งอาณาจักรอยุธยาในสมัยราชวงศ์สุพรรณภูมิ หลังจากครองราชย์ได้ทรงเป็นผู้นำทัพออกรบปราบกบฏหัวเมืองอยู่เนือง.

ใหม่!!: แม่น้ำเจ้าพระยาและสมเด็จพระไชยราชาธิราช · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระเจ้าปราสาททอง

มเด็จพระเจ้าปราสาททอง (ครองราชย์ พ.ศ. 2172 - 2199) เป็นพระมหากษัตริย์ไทยรัชกาลที่ 24 แห่งอาณาจักรอยุธยา และทรงเป็นปฐมกษัตริย์ราชวงศ์ปราสาททอง.

ใหม่!!: แม่น้ำเจ้าพระยาและสมเด็จพระเจ้าปราสาททอง · ดูเพิ่มเติม »

สยามแม็คโคร

ทความนี้เกี่ยวกับบริษัทค้าส่งในประเทศไทย สำหรับความหมายอื่นดูที่ แม็คโคร บริษัท สยามแม็คโคร จำกัด (มหาชน) (SIAM MAKRO PUBLIC COMPANY LIMITED ชื่อย่อ:MAKRO) เป็นธุรกิจค้าส่งในเครือเจริญโภคภัณฑ์ ก่อตั้งขึ้นเมื่อปี..

ใหม่!!: แม่น้ำเจ้าพระยาและสยามแม็คโคร · ดูเพิ่มเติม »

สะพานพระราม 5

นพระราม 5 (Rama V Bridge) เป็นสะพานข้ามแม่น้ำเจ้าพระยาแห่งที่ 14 ในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล เชื่อมระหว่างตำบลสวนใหญ่ (ฝั่งตะวันออกของแม่น้ำ) กับตำบลบางไผ่ (ฝั่งตะวันตกของแม่น้ำ) อำเภอเมืองนนทบุรี จังหวัดนนทบุรี และเป็นส่วนหนึ่งของถนนนครอินทร.

ใหม่!!: แม่น้ำเจ้าพระยาและสะพานพระราม 5 · ดูเพิ่มเติม »

สะพานพระราม 8

นพระราม 8 (Rama VIII Bridge) เป็นสะพานขึงแบบอสมมาตรเสาเดี่ยว ข้ามแม่น้ำเจ้าพระยาแห่งที่ 13 ในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล มีแนวสายทางเชื่อมต่อกับทางคู่ขนานลอยฟ้าบรมราชชนนี ข้ามแม่น้ำเจ้าพระยาบริเวณโรงงานสุราบางยี่ขัน (สำนักงานคณะกรรมการพิเศษเพื่อประสานงานโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ และมูลนิธิชัยพัฒนาในปัจจุบัน) เขตบางพลัด บรรจบกับปลายถนนวิสุทธิกษัตริย์ ใกล้กับธนาคารแห่งประเทศไทย เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร.

ใหม่!!: แม่น้ำเจ้าพระยาและสะพานพระราม 8 · ดูเพิ่มเติม »

สะพานพระราม 9

นพระราม 9 จากแสตมป์ไทยชุดสะพาน สะพานพระราม 9 (Rama IX Bridge) หรือที่รู้จักกันทั่วไปในนาม สะพานขึง เป็นสะพานเสาขึงระนาบเดี่ยวแห่งแรกของประเทศไทย พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชพระราชทานชื่อสะพานพระราม 9 เพื่อเป็นสิริมงคลเนื่องในวโรกาสมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา 60 พรรษา ปี พ.ศ. 2530 สะพานพระราม 9 เป็นส่วนหนึ่งของทางด่วนเฉลิมมหานคร สายดาวคะนอง-ท่าเรือ ช่วงที่ข้ามแม่น้ำเจ้าพระยา มีลักษณะเป็นสะพานชนิด Single Plane Fan Type Cable-Stayed Bridge หรือสะพานขึงโดยใช้สายเคเบิลขนาดใหญ่ขึงเป็นระนาบเดี่ยวไว้กับเสาสูงของสะพานเพื่อรับ น้ำหนักของสะพาน เริ่มดำเนินการก่อสร้าง เมื่อวันที่ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2527 เปิดให้บริการเมื่อวันที่ 22 พฤศจิกายน พ.ศ. 2530 โดยมีกิจกรรมวิ่งมาราธอน ลอยฟ้าในเวลา 06.00 น. ในวันที่ทำพิธีการเปิด โดยสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เสด็จเป็นองค์ประธาน มีผู้เข้าร่วมกิจกรรมกว่า 85,000 คน และในเวลาค่ำ พล.อ.เปรม ติณสูลานนท์ นายกรัฐมนตรี เป็นผู้นำประชาชนจุดเทียนชัยถวายพระพรพร้อมกับร่วมร้องเพลงสรรเสริญพระบารมี และมีการแสดงพลุดอกไม้ไฟอย่างตระการต.

ใหม่!!: แม่น้ำเจ้าพระยาและสะพานพระราม 9 · ดูเพิ่มเติม »

สะพานพระนั่งเกล้า

link.

ใหม่!!: แม่น้ำเจ้าพระยาและสะพานพระนั่งเกล้า · ดูเพิ่มเติม »

สะพานกรุงธน

นกรุงธน (Krung Thon Bridge) หรือที่นิยมเรียกกันทั่วไปว่า สะพานซังฮี้ เป็นสะพานข้ามแม่น้ำเจ้าพระยาที่บริเวณถนนราชวิถี เชื่อมระหว่างแขวงวชิรพยาบาล เขตดุสิต กับแขวงบางพลัดและแขวงบางยี่ขัน เขตบางพลัด กรุงเทพมหานคร ปัจจุบันอยู่ในความดูแลของกรมทางหลวงชนบท.

ใหม่!!: แม่น้ำเจ้าพระยาและสะพานกรุงธน · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอพระสมุทรเจดีย์

ระสมุทรเจดีย์ เป็นอำเภอหนึ่งในจังหวัดสมุทรปราการ ชื่อของอำเภอนี้ได้มาจากพระสมุทรเจดีย์ (พระเจดีย์กลางน้ำ) ซึ่งพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยโปรดเกล้าฯ ให้สร้างขึ้นบนเกาะกลางแม่น้ำเจ้าพระยาเมื่อปี พ.ศ. 2370 บริเวณปากแม่น้ำเจ้าพระยาของอำเภอนี้ เป็นที่ตั้งของป้อมพระจุลจอมเกล้า สร้างขึ้นในปี พ.ศ. 2436 และได้ใช้เป็นที่มั่นในการรบกับเรือรบฝรั่งเศสในวิกฤตการณ์ ร.ศ. 112 (ในปีเดียวกัน) นอกจากนี้ในบริเวณใกล้เคียง ทางกองทัพเรือยังได้นำเรือรบหลวงแม่กลองซึ่งอนุรักษ์ไว้มาจัดแสดงด้ว.

ใหม่!!: แม่น้ำเจ้าพระยาและอำเภอพระสมุทรเจดีย์ · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอเมืองสมุทรปราการ

มืองสมุทรปราการ เป็นอำเภอหนึ่งในจังหวัดสมุทรปราการ ตั้งอยู่บริเวณปากแม่น้ำเจ้าพระยาตรงข้ามกับอำเภอพระสมุทรเจดีย์ นอกจากเป็นที่ตั้งของศาลากลางจังหวัดแล้ว อำเภอเมืองสมุทรปราการยังเป็นที่ตั้งของศาลเด็กและเยาวชน ห้องสมุดประชาชน และท่ารถโดยสารประจำทางสายต่าง ๆ รวมทั้งเป็นบริเวณที่จัดงานพระสมุทรเจดีย์ของทุกปี อำเภอนี้เป็นอำเภอที่มีประชากรมากที่สุดในประเทศไท.

ใหม่!!: แม่น้ำเจ้าพระยาและอำเภอเมืองสมุทรปราการ · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอเมืองนครสวรรค์

มืองนครสวรรค์ เป็นอำเภอหนึ่งของจังหวัดนครสวรร.

ใหม่!!: แม่น้ำเจ้าพระยาและอำเภอเมืองนครสวรรค์ · ดูเพิ่มเติม »

อ่าวไทย

อ่าวไทย อ่าวไทย เป็นน่านน้ำที่อยู่ในทะเลจีนใต้ มหาสมุทรแปซิฟิก ล้อมรอบด้วยประเทศไทย มาเลเซีย กัมพูชา และเวียดนาม อ่าวไทยไม่เพียงแต่มีความสำคัญในทางภูมิศาสตร์และทรัพยากรธรรมชาติ แต่ยังมีความสำคัญในทางกฎหมายอาญาอย่างยิ่ง โดยถือเป็นอาณาเขตที่ศาลไทยมีอำนาจพิจารณาคดีเกี่ยวกับความผิดที่เกิดขึ้นในอาณาบริเวณอ่าวไทยตามที่กำหนดเขตไว้ในกฎหมายให้ถือเป็นราชอาณาจักรไทยด้ว.

ใหม่!!: แม่น้ำเจ้าพระยาและอ่าวไทย · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดชัยนาท

ังหวัดชัยนาท เดิมสะกดว่า ไชยนาท เป็นจังหวัดหนึ่งในภาคกลางของประเทศไทย มีอาณาเขตติดต่อกับจังหวัดต่าง ๆ ตามเข็มนาฬิกาจากทิศเหนือ ได้แก่ จังหวัดนครสวรรค์ จังหวัดสิงห์บุรี จังหวัดสุพรรณบุรี และจังหวัดอุทัยธานี.

ใหม่!!: แม่น้ำเจ้าพระยาและจังหวัดชัยนาท · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดพระนครศรีอยุธยา

ังหวัดพระนครศรีอยุธยา เป็นจังหวัดหนึ่งในภาคกลางซึ่งเป็นเขตเศรษฐกิจที่สำคัญ โดยมีผลิตภัณฑ์มวลรวมของจังหวัดมีมูลค่าสูงเป็นอันดับ 3 ของประเทศ และมีประวัติศาสตร์ความเป็นมาที่ยาวนาน เคยมีชื่อเสียงในฐานะเป็นแหล่งปลูกข้าวที่สำคัญ จังหวัดพระนครศรีอยุธยาเป็นจังหวัดที่ไม่มีอำเภอเมือง มีอำเภอพระนครศรีอยุธยาเป็นศูนย์กลางการบริหารจัดการด้านต่าง ๆ ชาวบ้านโดยทั่วไปนิยมเรียกอีกชื่อหนึ่งว่า "กรุงเก่า" หรือ "เมืองกรุงเก่า".

ใหม่!!: แม่น้ำเจ้าพระยาและจังหวัดพระนครศรีอยุธยา · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดสมุทรปราการ

ังหวัดสมุทรปราการ เป็นจังหวัดหนึ่งในภาคกลางของประเทศไทย และยังเป็นจังหวัดในเขตปริมณฑลของกรุงเทพมหานคร จัดตั้งขึ้นครั้งล่าสุดโดย พระราชบัญญัติจัดตั้งจังหวัดสมุทรปราการ จังหวัดนนทบุรี จังหวัดสมุทรสาคร และจังหวัดนครนายก พุทธศักราช 2489 ซึ่งมีผลใช้บังคับตั้งแต่วันที่ 9 พฤษภาคม พ.ศ. 2489.

ใหม่!!: แม่น้ำเจ้าพระยาและจังหวัดสมุทรปราการ · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดสิงห์บุรี

ังหวัดสิงห์บุรี เป็นจังหวัดหนึ่งที่ตั้งอยู่ในภาคกลางของประเทศไท.

ใหม่!!: แม่น้ำเจ้าพระยาและจังหวัดสิงห์บุรี · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดอุทัยธานี

ังหวัดอุทัยธานี เดิมสะกดว่า อุไทยธานี เป็นจังหวัดในภาคกลางของประเทศไทย มีพื้นที่ประมาณ 6,730 ตารางกิโลเมตร มีประชากรในปี..

ใหม่!!: แม่น้ำเจ้าพระยาและจังหวัดอุทัยธานี · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดอ่างทอง

ังหวัดอ่างทอง เป็นจังหวัดหนึ่งในภาคกลางของประเทศไทย ตั้งอยู่ในที่ราบลุ่มแม่น้ำเจ้าพระยา เป็นจังหวัดที่เป็นแหล่งผลิตหัตถกรรมพื้นบ้าน เช่น ตุ๊กตาชาววัง งานจักสาน เป็นต้น.

ใหม่!!: แม่น้ำเจ้าพระยาและจังหวัดอ่างทอง · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดปทุมธานี

ังหวัดปทุมธานี (เดิมสะกดว่า ประทุมธานี) เป็นจังหวัดหนึ่งที่อยู่ในภาคกลางของประเทศไทย เป็นหนึ่งในห้าจังหวัดในพื้นที่ปริมณฑลของกรุงเทพมหานคร ตั้งอยู่บริเวณลุ่มแม่น้ำเจ้าพระยา ทางทิศเหนือของกรุงเทพมหานคร เทศบาลที่ตั้งศาลากลางจังหวัด คือ เทศบาลเมืองปทุมธานี แต่เทศบาลที่มีประชากรมากที่สุดในจังหวัด คือ เทศบาลนครรังสิต ซึ่งตั้งอยู่ในอำเภอธัญบุรี.

ใหม่!!: แม่น้ำเจ้าพระยาและจังหวัดปทุมธานี · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดนครสวรรค์

ังหวัดนครสวรรค์ เป็นจังหวัดที่ตั้งอยู่ระหว่างตอนบนของภาคกลาง มีพื้นที่ประมาณ 9,597 ตารางกิโลเมตร เป็นจังหวัดที่มีความสำคัญในทางประวัติศาสตร์อีกจังหวัดหนึ่งของประเทศไทย มีพื้นที่ติดต่อกับหลายจังหวัด ได้แก่ ด้านเหนือ ติดต่อกับจังหวัดพิจิตรและกำแพงเพชร ทางตะวันออกติดกับจังหวัดเพชรบูรณ์และลพบุรี ด้านใต้ติดกับจังหวัดสิงห์บุรี ชัยนาท และอุทัยธานี ส่วนด้านตะวันตกติดกับจังหวัดตาก.

ใหม่!!: แม่น้ำเจ้าพระยาและจังหวัดนครสวรรค์ · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดนนทบุรี

ังหวัดนนทบุรี เป็นจังหวัดหนึ่งในภาคกลางของประเทศไทย จัดตั้งขึ้นครั้งล่าสุดโดยพระราชบัญญัติจัดตั้งจังหวัดสมุทรปราการ จังหวัดนนทบุรี จังหวัดสมุทรสาคร และจังหวัดนครนายก พุทธศักราช 2489 ซึ่งมีผลใช้บังคับตั้งแต่วันที่ 9 พฤษภาคม..

ใหม่!!: แม่น้ำเจ้าพระยาและจังหวัดนนทบุรี · ดูเพิ่มเติม »

ธนาคารกสิกรไทย

นาคารกสิกรไทย จำกัด (มหาชน) (Kasikornbank Public Company Limited) เป็นธนาคารในประเทศไทย มีสำนักงานใหญ่แห่งแรกตั้งอยู่ที่ สำนักถนนเสือป่า ต่อมาได้ขยายการบริหารงาน ไปยังสำนักถนนสีลม, สำนักถนนพหลโยธิน, สำนักงานใหญ่ถนนราษฎร์บูรณะ และสำนักถนนแจ้งวัฒนะ ตามลำดับ โดยสำนักงานใหญ่แห่งปัจจุบัน ตั้งอยู่ภายในซอยกสิกรไทย ถนนราษฎร์บูรณะ เชิงสะพานพระราม 9 ฝั่งธนบุรี และมีคำขวัญว่า "บริการทุกระดับประทับใจ" ปัจจุบันมีสาขาทั้งสิ้น 1,132 สาขา และเป็นธนาคารที่มีรายได้มากที่สุดในประเทศไทย ธนาคารกสิกรไทยเป็นธนาคารพาณิชย์ที่มีนัยต่อความเสี่ยงเชิงระบบในประเทศประจำปี 2560ตามประกาศธนาคารแห่งประเทศไทย ที่ สน.

ใหม่!!: แม่น้ำเจ้าพระยาและธนาคารกสิกรไทย · ดูเพิ่มเติม »

ท่าช้างวังหลวง

ท่าช้างวังหลวง หรือที่นิยมเรียกกันสั้น ๆ ว่า ท่าช้าง เป็นท่าเรือริมฝั่งแม่น้ำเจ้าพระยา ตั้งอยู่บริเวณสุดถนนหน้าพระลาน แขวงพระบรมมหาราชวัง เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร.

ใหม่!!: แม่น้ำเจ้าพระยาและท่าช้างวังหลวง · ดูเพิ่มเติม »

ท่าวังหลังและท่าพรานนก

ท่าวังหลัง ท่าศิริราช ที่อยู่ใกล้เคียง ท่าวังหลัง หรือ ท่าพรานนก หรือ ท่าศิริราช เป็นท่าน้ำริมฝั่งแม่น้ำเจ้าพระยาฝั่งตะวันตกหรือฝั่งธนบุรี บริเวณปลายถนนวังหลัง ในพื้นที่แขวงศิริราช เขตบางกอกน้อย กรุงเทพมหานคร ประกอบด้วยท่าเรือด่วนเจ้าพระยา และท่าเรือข้ามฟาก โดยแบ่งการให้บริการออกเป็นท่าเรือหลายท่าเรียงรายอยู่ในบริเวณเดียวกัน.

ใหม่!!: แม่น้ำเจ้าพระยาและท่าวังหลังและท่าพรานนก · ดูเพิ่มเติม »

ท่าสาทร

ท่าสาทร ท่าสาทร หรือ ท่าสะพานตากสิน เป็นท่าน้ำริมฝั่งแม่น้ำเจ้าพระยาฝั่งตะวันออก หรือฝั่งพระนคร ใต้สะพานสมเด็จพระเจ้าตากสิน บริเวณปลายถนนสาทรและปากคลองสาทรทั้งสองฝั่ง ในพื้นที่แขวงสีลม เขตบางรัก และแขวงยานนาวา เขตสาทร กรุงเทพมหานคร ประกอบด้วยท่าเรือด่วนเจ้าพระยา และท่าเรือข้ามฟาก.

ใหม่!!: แม่น้ำเจ้าพระยาและท่าสาทร · ดูเพิ่มเติม »

ท่าน้ำนนทบุรี

ท่าน้ำนนทบุรี หรือ ท่าน้ำนนท์ หรือ ท่าน้ำพิบูลสงคราม 3 เป็นท่าน้ำริมแม่น้ำเจ้าพระยาหลายท่าใกล้เคียงกัน ตั้งอยู่บริเวณหน้าศาลากลางจังหวัดนนทบุรีหลังเก่าและหอนาฬิกาจังหวัดนนทบุรี ถนนประชาราษฎร์ เขตเทศบาลนครนนทบุรี จังหวัดนนทบุรี ประกอบด้วยท่าเรือด่วนเจ้าพระยาและท่าเรือข้ามฟาก.

ใหม่!!: แม่น้ำเจ้าพระยาและท่าน้ำนนทบุรี · ดูเพิ่มเติม »

ท่าเรือกรุงเทพ

ท่าเรือคลองเตย หรือ ท่าเรือกรุงเทพ เป็นท่าเรือสำคัญของกรุงเทพมหานคร อยู่ในความดูแลของการท่าเรือแห่งประเทศไทย ตั้งอยู่บริเวณริมฝั่งแม่น้ำเจ้าพระยา ย่านคลองเตย ในอนาคตมีโครงการจะทำเป็น Docklands เพื่อพัฒนาท่าเรือกรุงเทพทั้งหมด ที่มีภูมิประเทศคล้ายกันที่ Docklands มีแม่น้ำเทมส์ไหลผ่าน และท่าเรือกรุงเทพมีแม่น้ำเจ้าพระยาผ่านด้วยรูปลักษณ์เหมือนมังกร โค้งเว้าเป็นท้องมังกรเช่นเดียวกัน ในอดีต Docklands คือท่าเรือขนส่งสินค้าเพียงอย่างเดียว เหตุที่มาของคำว่าท่าเรือคลองเตยมาจากสถานที่ตั้งอยู่ในย่านคลองเตยซึ่งจะเรียกกันว่าท่าเรือคลองเตย และ ชื่อที่ต่างประเทศเรียกก็คือ BANGKOK PORT หรือ เรียกย่อๆว่า PAT (PORT AUTHORITY OF THAILAND) ท่าเรือกรุงเท.

ใหม่!!: แม่น้ำเจ้าพระยาและท่าเรือกรุงเทพ · ดูเพิ่มเติม »

ท่าเรือปากเกร็ด

ท่าเรือปากเกร็ด ในปี พ.ศ. 2551 ท่าเรือปากเกร็ด หรือ ท่าน้ำแจ้งวัฒนะ หรือ ท่าน้ำสะพานพระราม 4 เป็นท่าน้ำริมแม่น้ำเจ้าพระยาหลายท่าใกล้เคียงกัน บริเวณด้านล่างสะพานพระราม 4 ถนนแจ้งวัฒนะ เขตเทศบาลนครปากเกร็ด จังหวัดนนทบุรี ประกอบด้วยท่าเรือด่วนเจ้าพระยา และท่าเรือข้ามฟาก.

ใหม่!!: แม่น้ำเจ้าพระยาและท่าเรือปากเกร็ด · ดูเพิ่มเติม »

คลองชักพระ

ลองชักพระเกิดจากการขุดคลองลัดแม่น้ำเจ้าพระยาในช่วงที่๑ คลองชักพระ หรือ คลองบางขุนศรี เคยเป็นส่วนหนึ่งของแม่น้ำเจ้าพระยามาก่อน เดิมแม่น้ำเจ้าพระยาตั้งแต่ช่วงปากคลองบางกอกน้อยไปจนถึงปากคลองบางกอกใหญ่ยังเป็นแผ่นดินอยู่ ส่วนเส้นทางเดิมจะอ้อมจากหน้ามหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ เป็นคุ้งกว้างวกกลับมาข้างวัดท้ายตลาด ถึงปี พ.ศ. 2065 สมเด็จพระไชยราชาธิราชแห่งกรุงศรีอยุธยา โปรดเกล้าให้ขุดคลองลัดขึ้น (หมายเลข ๑ ในภาพ) เพื่อย่นระยะทางและเพื่อสะดวกต่อบรรดาชาวต่างชาติที่เข้ามาติดต่อค้าขาย เจริญสัมพันธไมตรีกับอาณาจักร ต่อมาคลองลัดเริ่มกว้างขึ้นกลายเป็นแม่น้ำ ส่วนแม่น้ำเจ้าพระยาเดิมก็เล็กลงกลายเป็นคลองบางกอกน้อย คลองบางกอกใหญ่ และคลองชักพระไป คลองชักพระ ไหลแยกจากคลองบางกอกน้อยบริเวณวัดสุวรรณคีรีไปเชื่อมกับบริเวณที่คลองมอญตัดกับคลองบางกอกใหญ่ ลำคลองกว้างประมาณ 10-15 เมตร และยาว 5.45 กิโลเมตร ทุกๆวันแรม 2 ค่ำ เดือน 12 จะมีประเพณีชักพระ โดยเรือที่ประดิษฐานพระพุทธรูปจะถูกชักลากจากวัดนางชี คลองภาษีเจริญผ่านคลองชักพระและคลองบางกอกน้อย ออกสู่แม่น้ำเจ้าพระยา แล้วอ้อมมาเข้าคลองบางกอกใหญ่กลับไปที่วัดนางชีตามเดิม ซึ่งนับเป็นงานประเพณีชักพระแห่งเดียวในกรุงเทพมหานคร และเป็นที่มาของชื่อคลองนี้ ปัจจุบัน คลองชักพระเป็นคลองเพื่อการระบายน้ำ การสัญจร และการท่องเที่ยว มีคลองอื่นๆ ไหลเชื่อม ได้แก่ คลองบ้านไทร คลองบางระมาด และคลองบางพรม และยังเป็นแนวแบ่งเขตบางกอกน้อย กับเขตตลิ่งชันตลอดทั้งสายด้ว.

ใหม่!!: แม่น้ำเจ้าพระยาและคลองชักพระ · ดูเพิ่มเติม »

คลองบางกรวย

แผนที่แสดงการขุดคลองลัดต่างๆที่ทำให้แม่น้ำเจ้าพระยาสายเดิมในช่วงคลองบางกรวย กลายเป็นคลองไป คลองบางกรวย แต่เดิมเคยเป็นส่วนหนึ่งของแม่น้ำเจ้าพระยาสายเก่ามาก่อน ในสมัยกรุงศรีอยุธยา การติดต่อค้าขายกับชาวต่างชาติเพิ่มขึ้นเป็นอันมาก เส้นทางที่ใช้เดินเรือระหว่างปากแม่น้ำกับกรุงศรีอยุธยาไม่สะดวกแก่การเดินเรือ เพราะมีความคดเคี้ยวและใช้เวลานาน ต่อมาในสมัยสมเด็จพระมหาจักรพรรดิ จึงโปรดเกล้าฯ ให้ขุดคลองลัดบางกรวยขึ้น จากแม่น้ำเจ้าพระยาสายเดิมบริเวณเหนือวัดชลอไปออกวัดขี้เหล็ก (วัดสุวรรณคีรี) ซึ่งช่วยย่นระยะทางจากปากแม่น้ำสู่กรุงศรีอยุธยาได้ และมีส่วนต่อการพัฒนาบ้านเมืองของจังหวัดนนทบุรีในระยะต่อมา จนกระทั่งถึง ปี..

ใหม่!!: แม่น้ำเจ้าพระยาและคลองบางกรวย · ดูเพิ่มเติม »

คลองบางกอกน้อย

ลองบางกอกน้อยช่วงที่ไหลผ่านวัดศรีสุดาราม มองไปทางด้านทิศตะวันตก คลองบางกอกน้อยเกิดจากการขุดคลองลัดแม่น้ำเจ้าพระยาในช่วงที่๑ ซึ่งทำให้แม่น้ำไหลเปลี่ยนทิศทางไปเป็นอย่างที่เห็นทุกวันนี้ คลองบางกอกน้อย ตั้งอยู่ในเขตบางกอกน้อย กรุงเทพมหานคร เดิมเคยเป็นส่วนหนึ่งของแม่น้ำเจ้าพระยา จนกระทั่งรัชสมัยสมเด็จพระไชยราชาธิราชแห่งกรุงศรีอยุธยา (พ.ศ. 2077 - 2089) ได้โปรดฯ ให้ขุดคลองลัดแม่น้ำขึ้นจากปากคลองบางกอกน้อยไปยังปากคลองบางกอกใหญ่ ซึ่งกล่าวกันว่าช่วยย่นระยะทางได้ถึง 1 วัน ต่อมากระแสน้ำส่วนใหญ่ได้ไหลเข้าสู่คองลัดทำให้คลองกว้างขึ้นเรื่อยๆ กลายเป็นแม่น้ำเจ้าพระยาสายใหม่ ส่วนแม่น้ำสายเดิมแคบลงกลายเป็นคลองบางกอกน้อย คลองชักพระ และคลองบางกอกใหญ่แทน คลองบางกอกน้อยเริ่มต้นตั้งแต่แม่น้ำเจ้าพระยาทางเหนือของสถานีรถไฟธนบุรี ไหลขึ้นไปบรรจบคลองชักพระ (คลองบางขุนศรี) และคลองลัดบางกรวย ตรงข้ามวัดสุวรรณคีรี มีความกว้างมากถึง 40 เมตร และยาว 3.3 กิโลเมตร คณะรัฐมนตรีมีมติให้คลองบางกอกน้อยเป็นคลองสำคัญซึ่งจะต้องอนุรักษ์ไว้ เมื่อวันที่ 13 มิถุนายน พ.ศ. 2510 ในปัจจุบันช่วง คลองลัดบางกรวย (หมายเลข ๒ ในภาพ) ถือว่าเป็นส่วนหนึ่งคลองบางกอกน้อยไปด้วย รวมถึงคลองอ้อม หรือคลองอ้อมนนท์ ก็เรียกกันทั่วไปว่าคลองบางกอกน้อยเช่นกัน ปัจจุบัน คลองบางกอกน้อยใช้ในการคมนาคม สัญจร ทัศนาจร ท่องเที่ยว ใช้ขนส่งสินค้า ใช้เล่นกีฬาทางน้ำ ใช้อาบน้ำ ใช้ล้างภาชนะ ใช้ระบายน้ำ และยังเป็นเส้นทางชักพระของวัดนางชี ซึ่งมีขึ้นในวันแรม 2 ค่ำ เดือน 12 ของทุกปี โดยชักแห่ไปทางน้ำ ผ่านคลองชักพระ คลองบางกอกน้อย แล้ววกลงมาตามแม่น้ำเจ้าพระยา เข้าคลองบางกอกใหญ่ กลับไปยังวัดนางชีตามเดิม ไหลผ่าน เขตบางกอกน้อย เขตตลิ่งชัน อ.บางกรวย อ.บางใหญ่ อ.เมืองนนทบุรี.

ใหม่!!: แม่น้ำเจ้าพระยาและคลองบางกอกน้อย · ดูเพิ่มเติม »

คลองบางกอกใหญ่

ปากคลองบางกอกใหญ่ บรรจบกับแม่น้ำเจ้าพระยา คลองบางกอกใหญ่ช่วงที่ผ่านวัดอินทารามวรวิหาร (วัดบางยี่เรือนอก) การขุดคลองลัดแม่น้ำเจ้าพระยาในช่วงที่ ๑ ซึ่งทำให้แม่น้ำสายเดิมกลายเป็นคลองบางกอกใหญ่ในปัจจุบัน คลองบางกอกใหญ่ หรือชื่อในอดีตว่า คลองบางหลวง เดิมเคยเป็นส่วนหนึ่งของแม่น้ำเจ้าพระยามาก่อน กล่าวคือบริเวณตั้งแต่ปากคลองบางกอกน้อย ตรงข้ามมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ไปจนถึงปากคลองบางกอกใหญ่ในปัจจุบันนั้น ยังเป็นแผ่นดินอยู่ แม่น้ำเจ้าพระยาเดิมจะอ้อมเลี้ยวจากหน้ามหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ เป็นคุ้งกว้างมาทะลุออกข้างวัดท้ายตลาด ต่อมาในรัชสมัยสมเด็จพระไชยราชาธิราช (พ.ศ. 2077 - 2089) โปรดเกล้าให้ขุดคลองลัดระหว่างคุ้งแม่น้ำทั้งสอง เพื่อย่นระยะทางและอำนวยความสะดวกให้กับบรรดาพ่อค้าทูตานุทูตชาวตะวันตกที่เริ่มเข้ามาติดต่อค้าขายและเจริญสัมพันธไมตรีกับอาณาจักรเพิ่มมากขึ้นเรื่อยๆ ในสมัยนั้น ต่อมาคลองลัดเริ่มกว้างใหญ่ขึ้นกลายเป็นแม่น้ำ ส่วนแม่น้ำเจ้าพระยาเดิมก็เล็กลงกลายเป็นคลองบางกอกน้อยและคลองบางกอกใหญ่ ถึงสมัยสมเด็จพระเจ้าตากสิน ราชสำนักย้ายมาอยู่ที่กรุงธนบุรี คลองบางกอกใหญ่กลายมาเป็นชุมชนของข้าหลวง และโปรดเกล้าให้บรรดาชาวจีนซึ่งได้เคยช่วยเหลือพระองค์มาตั้งบ้านเรือนอยู่ริมคลองบางกอกใหญ่ ผู้คนจึงนิยมเรียกกันติดปากว่า "คลองบางข้าหลวง" หรือ "คลองบางหลวง" สืบมาถึงในปัจจุบัน รัฐบาลจอมพลถนอม กิตติขจร กำหนดให้คลองบางกอกใหญ่เป็นคลองสำคัญซึ่งจะต้องอนุรักษ์ไว้ตามมติคณะรัฐมนตรีเมื่อวันที่ 13 มิถุนายน พ.ศ. 2510 ปากคลองบางกอกใหญ่แยกจากแม่น้ำเจ้าพระยาทางฝั่งขวาของป้อมวิไชยประสิทธิ์ ไปสิ้นสุดที่คลองมอญ ตรงข้ามปากคลองชักพระ มีความยาวประมาณ 6 กิโลเมตร คลองบางกอกใหญ่ในปัจจุบันนั้นถือเป็นเส้นทางสัญจรและระบายน้ำ และยังเป็นแหล่งท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมที่สำคัญอย่างมาก มีศาสนสถานตั้งอยู่อย่างหนาแน่นทั้งสองฝั่ง วัดและมัสยิดริมคลองบางกอกใหญ่ได้แก.

ใหม่!!: แม่น้ำเจ้าพระยาและคลองบางกอกใหญ่ · ดูเพิ่มเติม »

คลองบางลำพู

ลองบางลำพู เป็นส่วนหนึ่งของคลองรอบกรุงทางตอนเหนือ โดยเป็นคลองขุดขนาดกว้างและลึกพอสมควรที่เชื่อมแม่น้ำเจ้าพระยากับคลองมหานาค ด้วยเหตุนี้คลองบางลำพูในอดีตจึงมีเรือจำนวนมากล่องมาค้าขายและจอดเรียงรายอยู่ริมคลอง ด้วยความที่ภูมิสถานของคลองมีต้นลำพูอยู่มาก ยามค่ำคืนก็มีหิ่งห้อยมาเกาะตามต้นลำพูส่องแสงระยิบระยับจึงเรียกชื่อบางดังกล่าวว่า "บางลำพู" ด้วยเหตุนี้เมื่อมีการขุดลอกคลองเพื่อขยายพระนครในปี..

ใหม่!!: แม่น้ำเจ้าพระยาและคลองบางลำพู · ดูเพิ่มเติม »

คลองภาษีเจริญ

ลองภาษีเจริญ เมื่อต้นปี พ.ศ. 2559 มองเห็นพระมหาเจดีย์มหารัชมงคล วัดปากน้ำ ภาษีเจริญ คลองภาษีเจริญ บริเวณสถานีรถไฟฟ้าบีทีเอสบางหว้า คลองภาษีเจริญ เริ่มต้นที่บริเวณปากคลองบางกอกใหญ่และคลองบางขุนศรีมาบรรจบกัน ไปเชื่อมแม่น้ำท่าจีนที่ตำบลดอนไก่ดี จังหวัดสมุทรสาคร รวมความยาว 28 กิโลเมตร โดยพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว โปรดเกล้าฯ ให้พระภาษีสมบัติบริบูรณ์ (ยิ้ม พิศลยบุตร) เจ้าภาษีฝิ่นเป็นแม่กองขุด ใช้เงินภาษีฝิ่นพระราชทานเป็นเงิน 112,000 บาท พระราชทานนามว่า “คลองภาษีเจริญ” แล้วเสร็จในสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เสด็จพระราชดำเนินเปิดคลองในปี พ.ศ. 2415 ได้คลองมีความยาว 620 เส้น กว้าง 7 วา ลึก 5 ศอก ต่อมาในปี พ.ศ. 2428 -พ.ศ. 2429 และพ.ศ. 2446 ได้มีการขุดลอกอีกครั้ง พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว โปรดเกล้า ฯ ให้ทำพิธีเปิดคลองเมื่อวันที่ 10 พฤษภาคม มีประตูน้ำ 2 แห่ง สร้างเมื่อปี..

ใหม่!!: แม่น้ำเจ้าพระยาและคลองภาษีเจริญ · ดูเพิ่มเติม »

คลองมหาสวัสดิ์

ลองมหาสวัสดิ์ คลองมหาสวัสดิ์ หรือ คลองชัยพฤกษ์ เป็นคลองที่เริ่มต้นจากคลองลัดบางกรวยหรือคลองบางกอกน้อย ใกล้วัดชัยพฤกษมาลา ไหลผ่านเป็นเส้นแบ่งเขตระหว่างอำเภอบางกรวย จังหวัดนนทบุรี กับเขตตลิ่งชันและเขตทวีวัฒนา กรุงเทพมหานคร ผ่านอำเภอพุทธมณฑล ไปออกแม่น้ำท่าจีนที่ตำบลงิ้วราย อำเภอนครชัยศรี จังหวัดนครปฐม รวมความยาว 28 กิโลเมตร คลองสายนี้เริ่มขุดตั้งแต่วันที่ 13 กันยายน..

ใหม่!!: แม่น้ำเจ้าพระยาและคลองมหาสวัสดิ์ · ดูเพิ่มเติม »

คลองมหานาค

ลองมหานาค ช่วงสะพานมหาดไทยอุทิศ คลองมหานาค เป็นคลองขุดสายหนึ่งในพื้นที่กรุงเทพมหานครที่แยกมาจากคลองรอบกรุง ในอดีตใช้เป็นสถานที่สำหรับให้ชาวพระนครมาเล่นเพลงสักวากันในช่วงน้ำหลาก ต่อมาได้มีการขุดคลองเพื่อเชื่อมต่อกับเครือข่ายคลองสายอื่นสำหรับขนส่งกำลังพลและเสบียงช่วงอานัมสยามยุท.

ใหม่!!: แม่น้ำเจ้าพระยาและคลองมหานาค · ดูเพิ่มเติม »

คลองมอญ

ลองมอญ คลองมอญ เป็นคลองธรรมชาติคลองหนึ่งที่ตั้งอยู่ระหว่างเขตบางกอกใหญ่กับเขตบางกอกน้อย ที่มาของชื่อคลองมาจากที่ริมสองฝั่งคลองเป็นชุมชนชาวมอญเรียงรายกันไปตลอดแนว คลองมอญแยกจากแม่น้ำเจ้าพระยาฝั่งตะวันตก พาดผ่านเป็นแนวแบ่งเขตแดนระหว่างเขตบางกอกน้อย และบางกอกใหญ่ ไปออกยังบริเวณที่คลองบางน้อยและคลองบางเชือกหนังไหลมาบรรจบกัน ในรอยต่อเขตภาษีเจริญและเขตตลิ่งชัน คลองมอญมีความยาวประมาณ 3 กิโลเมตร มีศาสนสถานและวัดสำคัญ ๆ มากมาย เช่น วัดเครือวัลย์ วัดนาคกลาง วัดพระยาทำ วัดครุฑ วัดโพธิ์เรียง วัดบางเสาธง วัดปากน้ำฝั่งใต้ วัดเกาะ คลองมอญจึงมีความสำคัญต่อการระบายน้ำและการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมในเขตกรุงเทพมหานครชั้นในเป็นอย่างมาก ชื่ออื่นๆ ของคลองมอญที่นิยมเรียกกัน ก็คือคลองบางเสาธง ซึ่งเรียกกันในช่วงที่มารวมกับคลองบางน้อย และบางเชือกหนัง หรือบางครั้งก็ถือว่าคลองช่วงนี้เป็นส่วนหนึ่งของคลองบางน้อ.

ใหม่!!: แม่น้ำเจ้าพระยาและคลองมอญ · ดูเพิ่มเติม »

คลองรอบกรุง

ลองรอบกรุงและป้ายในปัจจุบัน คลองรอบกรุงในอดีต ด้านหลังคือ ภูเขาทอง วัดสระเกศ คลองรอบกรุง (Khlong Rop Krung) เป็นคลองขุด ที่พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราชโปรดเกล้าฯให้ขุดขึ้นเมื่อ..

ใหม่!!: แม่น้ำเจ้าพระยาและคลองรอบกรุง · ดูเพิ่มเติม »

คลองรังสิต

แผนที่แสดงคลองรังสิต ในเขตจังหวัดปทุมธานี คลองรังสิตประยูรศักดิ์ หรือมักเรียกสั้น ๆ ว่า คลองรังสิต เป็นคลองสายหลักในโครงการพัฒนาที่ดินขนาดใหญ่แห่งแรกของประเทศไทย ซึ่งเริ่มขึ้นในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว และเป็นโครงการคลองชลประทานเพื่อการเกษตรแห่งแรกของไทยที่ริเริ่มขึ้นเพื่อพัฒนาพื้นที่บริเวณทุ่งรังสิตให้เป็นแหล่งเพาะปลูกข้าว รองรับการขยายตัวของการส่งออกข้าว ซึ่งเป็นสินค้าส่งออกอันดับหนึ่งของไทยในขณะนั้น โครงการรังสิตนับเป็นโครงการพัฒนาที่ดินขนาดใหญ่ที่สุดในสมัยนั้น มีพื้นที่สัมปทานประมาณ 800,000 - 1,500,000 ไร่ ครอบคลุมพื้นที่ 5 จังหวัด ตั้งแต่ จังหวัดปทุมธานี บริเวณอำเภอธัญบุรี อำเภอคลองหลวง อำเภอหนองเสือ และอำเภอลำลูกกา, จังหวัดนครนายก ในเขตอำเภอองครักษ์, กรุงเทพมหานคร บริเวณเขตหนองจอกและเขตบางเขน, จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ที่อำเภอวังน้อย และจังหวัดสระบุรี ที่อำเภอหนองแค การขุดคลองตามโครงการรังสิตนับเป็นจุดเริ่มต้นของการพัฒนางานด้านชลประทานของประเทศไทย โดยเฉพาะการชลประทานเพื่อการเกษตรกรรม การขุดคลองรังสิตและคลองแยกต่าง ๆ ระหว่าง พ.ศ. 2433 - พ.ศ. 2448 ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทำให้พื้นที่รกร้างบริเวณทุ่งหลวงเปลี่ยนเป็นแหล่งเกษตรกรรมขนาดใหญ่ที่มีข้าวเป็นผลผลิตหลัก คลองรังสิตซึ่งเป็นคลองสายหลักจึงเปรียบเสมือนเส้นเลือดใหญ่ที่หล่อเลี้ยงชีวิตคนรังสิต เป็นทั้งแหล่งน้ำสำหรับเพาะปลูก เส้นทางคมนาคม ตลอดจนใช้ในการอุปโภคและบริโภค แม้การพัฒนาอุตสาหกรรมได้ทำให้คลองรังสิตลดความสำคัญในฐานะคลองส่งน้ำเพื่อการเกษตรกรรมลง เป็นเพียงคลองชลประทานสำหรับระบายน้ำ.

ใหม่!!: แม่น้ำเจ้าพระยาและคลองรังสิต · ดูเพิ่มเติม »

คลองลัดโพธิ์

ลองลัดโพธิ์ เป็นชื่อคลองเดิม บริเวณตำบลทรงคนอง อำเภอพระประแดง จังหวัดสมุทรปราการ เดิมมีลักษณะตื้นเขิน ต่อมาได้จัดสร้างเป็นโครงการตามแนวพระราชดำริ เป็นการบริหารจัดการน้ำเพื่อแก้ปัญหาน้ำท่วมกรุงเทพมหานคร โดยยึดหลักการ "เบี่ยงน้ำ" ภายใต้การดูแลของหน่วยงานหลัก 3 หน่วยงานคือ กรมชลประทาน กรุงเทพมหานคร และคณะกรรมการพิเศษเพื่อประสานงานโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ มีหลักการคือ จากสภาพของแม่น้ำเจ้าพระยาเดิมที่มีลักษณะไหลวนคดเคี้ยวบริเวณรอบพื้นที่บริเวณบางกระเจ้านั้นมีความยาวถึง 18 กิโลเมตร นั้นทำให้การระบายน้ำที่ท่วมพื้นที่ชั้นในของกรุงเทพมหานครเป็นไปได้ช้า ไม่ทันเวลาน้ำทะเลหนุน พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชจึงมีพระราชดำริให้พัฒนาใช้คลองลัดโพธิ์ ซึ่งเดิมมีความตื้นเขินมีความยาวราว 600 เมตร ให้ใช้ระบายน้ำที่หลากและน้ำที่ท่วมทางสองฝั่งของแม่น้ำเจ้าพระยาลงสู่ทะเลทันทีในช่วงก่อนที่น้ำทะเลหนุน และปิดคลองลัดโพธิ์เมื่อน้ำทะเลหนุน เพื่อหน่วงน้ำทะเลไม่ให้ขึ้นลัดเลาะไปตามแนวแม่น้ำเจ้าพระยาที่คดโค้งถึง 18 กิโลเมตรก่อนซึ่งใช้เวลามากจนถึงเวลาน้ำลง ทำให้ไม่สามารถขึ้นไปท่วมตัวเมืองได้ คลองลัดโพธิ์ เป็นคลองที่พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชมีกระแสพระราชดำรัสถึง เมื่อวันที่ 4 ธันวาคม..

ใหม่!!: แม่น้ำเจ้าพระยาและคลองลัดโพธิ์ · ดูเพิ่มเติม »

คลองสาทร

ลองสาทรช่วงขนาบไปกับถนนสาทรเหนือ คลองสาทร (Khlong Sathon; Sathon Canal) เป็นคลองสายหนึ่งในกรุงเทพมหานคร อยู่ในเขตพื้นที่เขตสาทร ใจกลางกรุงเทพมหานคร มีประวัติเกิดขึ้นมาพร้อม ๆ กับถนนสาทร ในปี..

ใหม่!!: แม่น้ำเจ้าพระยาและคลองสาทร · ดูเพิ่มเติม »

คลองสำโรง

ลองสำโรง (ช่วงที่ผ่านวัดบางพลีใหญ่ใน) คลองสำโรง เป็นคลองที่สำคัญของจังหวัดสมุทรปราการ และจังหวัดฉะเชิงเทรา เริ่มจากแม่น้ำเจ้าพระยา ตำบลสำโรง และตำบลสำโรงกลาง (เทศบาลเมืองสำโรงใต้) อำเภอพระประแดง จังหวัดสมุทรปราการ ผ่านพื้นที่อำเภอเมืองสมุทรปราการ อำเภอบางพลี อำเภอบางเสาธง อำเภอบางบ่อ จังหวัดสมุทรปราการ และบรรจบแม่น้ำบางปะกง ตำบลท่าสะอ้าน อำเภอบางปะกง จังหวัดฉะเชิงเทรา สันนิษฐานว่าเป็นคลองที่ขุดขึ้นในสมัยขอมเรืองอำนาจ ระหว่าง..

ใหม่!!: แม่น้ำเจ้าพระยาและคลองสำโรง · ดูเพิ่มเติม »

คลองสนามชัย

ลองสนามชัย หรือ คลองมหาชัย เป็นคลองที่ขุดขึ้นในรัชสมัยสมเด็จพระสรรเพชญที่ 8แห่งกรุงศรีอยุธยา แทนที่คลองโคกขามเดิม ซึ่งมีความคดเคี้ยวอย่างมาก เรียกคลองที่ขุดขึ้นใหม่นี้ว่า คลองพระพุทธเจ้าหลวง แต่ยังไม่ทันแล้วเสร็จก็สวรรคตไปก่อน ต่อมาสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวท้ายสระได้โปรดเกล้าให้พระราชสงครามเป็นนายกอง เกณฑ์คนจากหัวเมืองปักษ์ใต้มาขุดต่อ หัวเมืองปักษ์ใต้ในสมัยนั้น หมายถึงหัวเมืองที่อยู่ทางใต้ของกรุงศรีอยุธยา เช่น เมืองสาครบุรี สามโคก ราชบุรี ธนบุรี นนทบุรี เพชรบุรี ใช้เวลาขุดสองเดือนจึงแล้วเสร็จ จุดเริ่มต้นของคลองอยู่ต่อจากคลองด่าน บริเวณแยกคลองบางขุนเทียน ในเขตจอมทอง แล้วไปออกแม่น้ำท่าจีนที่ อำเภอเมือง จังหวัดสมุทรสาคร ตัวคลองลึก 6 ศอก และกว้าง 7 วา ใช้ในการคมนาคมขนส่ง และทำสงคราม และยังมีชาวต่างชาติใช้เส้นทางนี้ไปกรุงศรีอยุธยาโดยไม่ต้องผ่านเข้าทางแม่น้ำเจ้าพระยาอีกด้วย ผลสืบเนื่องที่สำคัญคือการบุกเบิกพื้นที่สองฝั่งคลองมาใช้ในการเกษตรอย่างกว้างขวาง นับเป็นผลงานสำคัญในรัชกาลนี้ นอกจากนั้นแล้ว ในปี พ.ศ. 2352 คลองสายนี้เป็นเส้นทางที่สมเด็จกรมพระราชวังบวรมหาเสนานุรักษ์ ทรงใช้ยกทัพไปปราบพม่าที่เมืองถลางและเมืองชุมพรอีกด้วย ปัจจุบันคลองสนามชัยเป็นแหล่งท่องเที่ยวที่สำคัญในกรุงเทพมหานคร และจ.สมุทรสาคร คลองมหาชัยนี้ยังเป็นที่มาของชื่อเรียกจังหวัดสมุทรสาครที่นิยมอีกด้วย เนื่องจากตัวเมืองตั้งอยู่ที่บริเวณปากคลองมหาชัยพอดี ในปัจจุบันนิยมเรียกคลองนี้ว่าคลองมหาชัย ใน.สมุทรสาคร และเรียกคลองสนามชัย ในฝั่งธนบุรี โดยทั่วไปไม่ได้เจาะจงว่าบริเวณใดเป็นจุดเริ่มต้นคลองสนามชัย แต่จะถือกันว่าคลองสนามชัยและคลองด่านเป็นคลองเดียวกันในละแวกนั้น ในเขตจอมทองจึงเรียกคลองนี้ทั้งคลองสนามชัย และคลองด่าน.

ใหม่!!: แม่น้ำเจ้าพระยาและคลองสนามชัย · ดูเพิ่มเติม »

คลองอ้อมนนท์

ลองอ้อมนนท์ หรือแม่น้ำอ้อม คลองอ้อมนนท์ เคยเป็นส่วนหนึ่งของแม่น้ำเจ้าพระยาในสมัยก่อน เมื่อถึงปี..

ใหม่!!: แม่น้ำเจ้าพระยาและคลองอ้อมนนท์ · ดูเพิ่มเติม »

คลองผดุงกรุงเกษม

ลองผดุงกรุงเกษมบริเวณสะพานเจริญสวัสดิ์ (ภาพถ่ายสมัยรัชกาลที่ 5) คลองผดุงกรุงเกษม ในปัจจุบัน คลองผดุงกรุงเกษม เป็นคลองรอบพระนครชั้นนอก ขุดขึ้นในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว โปรดให้ขุดเมื่อ..

ใหม่!!: แม่น้ำเจ้าพระยาและคลองผดุงกรุงเกษม · ดูเพิ่มเติม »

คลองทวีวัฒนา

ลองทวีวัฒนา คลองทวีวัฒนา เป็นคลองที่ขุดในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 5 ต่อจากคลองเปรมประชากร เริ่มขุดในปี..

ใหม่!!: แม่น้ำเจ้าพระยาและคลองทวีวัฒนา · ดูเพิ่มเติม »

คลองดาวคะนอง

ลองดาวคะนอง เป็นลำน้ำสาขาฝั่งขวาของแม่น้ำเจ้าพระยา เชื่อมระหว่างแม่น้ำเจ้าพระยา กับคลองบางขุนเทียน ฝั่งคลองดาวคะนองฟากเหนือจากกึ่งกลางแม่น้ำเจ้าพระยา จนถึงถนนสุขสวัสดิ์ เป็นเส้นแบ่งแขวงดาวคะนอง เขตธนบุรี กับแขวงบางปะกอก เขตราษฎร์บูรณะ เป็นหนึ่งในคลองที่มีการสัญจรทางน้ำมาก เนื่องด้วยเป็นเส้นทางท่องเที่ยวทางน้ำของกรุงเทพมหานคร เชื่อมไปยังคลองลัดผ้าเช็ดหน้า และคลองสนามชัย สู่ตลาดน้ำวัดไทร และสวนงูธนบุรี มีประตูระบายน้ำและประตูเรือสัญจร 1 แห่งบนปากคลองริมแม่น้ำเจ้าพร.

ใหม่!!: แม่น้ำเจ้าพระยาและคลองดาวคะนอง · ดูเพิ่มเติม »

คลองด่าน (ฝั่งธนบุรี)

ำหรับคลองด่านในเขตจังหวัดสมุทรปราการ ดูที่: คลองด่าน (บางบ่อ) คลองด่าน ถือเป็นคลองสายประวัติศาสตร์ที่สำคัญอีกแห่งหนึ่งในกรุงเทพมหานคร ชื่อของคลองด่านมีที่มาจาก ในสมัยโบราณที่ปากคลองด่านด้านวัดหมู (วัดอัปสรสวรรค์ในปัจจุบัน) เคยเป็นด่านขนอนมาก่อน ด่านขนอนคือด่านที่เป็นกระโจมหลังคา มียอดสำหรับดูเรือในระยะไกล เพื่อตรวจสิ่งของต้องห้าม และเก็บภาษีจากเรือสินค้าต่างชาติทั้งฝรั่ง และจีน ที่ขึ้นล่องผ่านด่านมาติดต่อค้าขายในอาณาจักร ซึ่ง ณ ที่นี้จะสามารถเก็บภาษีทั้งจากเรือที่ผ่านมาทางแม่น้ำเจ้าพระยา และทางแม่น้ำท่าจีนได้ คลองด่านยังใช้เป็นเส้นทางไปออกแม่น้ำท่าจีนที่จังหวัดสมุทรสาครได้ด้วย ดังปรากฏว่าเป็นเส้นทางเดินทัพไปด่านเจดีย์สามองค์ในสมัยรัชกาลที่ 2 และปรากฏเป็นเส้นทางสำคัญที่ใช้สัญจร ทั้งใน นิราศถลางของเสมียนมี (หมื่นพรหมสมพัตรสร) นิราศนรินทร์ จดหมายเหตุลาลูแบร์ โคลงนิราศพระยาตรัง และโคลงนิราศทวายของพระพิพิธสาลี ในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว คลองด่านเกิดตื้นเขิน จึงโปรดเกล้าฯ ให้พระยาโชฎึกราชเศรษฐี (ทองจีน) เป็นแม่กองขุดลอกในพ.ศ. 2374 คลองด่านเป็นเส้นแบ่งเขตภาษีเจริญและเขตธนบุรี ก่อนที่จะไหลเข้าเขตจอมทอง กรุงเทพมหานคร ปากคลองแยกจากคลองบางกอกใหญ่ที่วัดปากน้ำภาษีเจริญ ไปออกคลองบางขุนเทียน และคลองสนามชัย ความยาวประมาณ 3 กิโลเมตร ปัจจุบัน คลองด่านใช้เป็นคลองเพื่อการระบายน้ำการสัญจร และการท่องเที่ยว วัดสำคัญบริเวณริมฝั่งคลองได้แก่ วัดปากน้ำภาษีเจริญ วัดอัปสรสวรรค์ วัดนางชี วัดหนัง วัดขุนจันทร์ วัดใหม่ยายนุ้ย วัดนางนองวรวิหาร และวัดราชโอรสาราม โดยทั่วไปแล้ว ไม่ได้เจาะจงว่าบริเวณใดเป็นจุดสิ้นสุดของคลองด่าน แต่จะถือกันว่าคลองสนามชัยและคลองด่านเป็นคลองเดียวกัน ทั้งนี้จึงเรียกคลองนี้ทั้งคลองสนามชัย และคลองด่าน.

ใหม่!!: แม่น้ำเจ้าพระยาและคลองด่าน (ฝั่งธนบุรี) · ดูเพิ่มเติม »

คลองคูเมืองธนบุรีฝั่งตะวันตก

แผนที่คูเมืองฝั่งตะวันตก คลองคูเมืองฝั่งตะวันตก เป็นคูคลองที่สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราชโปรดเกล้าฯ ให้ขุดขึ้น เพื่อใช้ป้องกันอริราชศัตรูซึ่งจะเข้ามาจู่โจมพระนคร ซึ่งขุดไว้ทั้ง 2 ฝั่งคือ คลองคูเมืองฝั่งตะวันออก หรือคลองคูเมืองเดิมในปัจจุบัน และคลองคูเมืองฝั่งตะวันตก โดยขุดแยกจากคลองบางกอกใหญ่ ปัจจุบันคือบริเวณใต้สะพานอนุทินสวัสดิ์ ผ่านวัดโมลีโลกยาราม วัดอรุณราชวราราม วัดเครือวัลย์วรวิหาร ตัดคลองนครบาลหรือคลองวัดอรุณ จากนั้นตรงขึ้นไปตัดกับคลองมอญ ตรงขึ้นไปอีกตัดกับคลองวัดระฆัง ผ่านโรงพยาบาลศิริราช ก่อนไปออกคลองบางกอกน้อยที่บริเวณใกล้ๆกับวัดอมรินทราราม.

ใหม่!!: แม่น้ำเจ้าพระยาและคลองคูเมืองธนบุรีฝั่งตะวันตก · ดูเพิ่มเติม »

คลองคูเมืองเดิม

ลองคูเมืองเดิม คลองคูเมืองเดิม เป็นคลองขุดที่สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราชโปรดเกล้าฯ ให้ขุดขึ้นเป็นคูเมืองด้านตะวันออกของกรุงธนบุรีซึ่งกินอาณาเขตเลยมาทางด้านฝั่งพระนคร โดยโปรดฯ ให้ขุดคูเมืองออกแม่น้ำเจ้าพระยาทั้ง 2 ด้าน คือ ด้านเหนือที่ท่าช้างวังหน้า ด้านใต้ที่ปากคลองตลาด ดินจากการขุดคลองโปรดให้พูนขึ้นเป็นเชิงเทิน ตั้งค่ายไม้ทองหลางทั้งต้นตลองแนวคลองเพือป้องกันข้าศึก เมื่อพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกทรงย้ายราชธานีมาอยู่ฝั่งพระนคร โปรดให้ขุดคูเมืองใหม่เพื่อขยายอาณาเขตราชธานี คลองคูเมืองเดิมจึงกลายเป็นเส้นทางคมนาคมของราษฎร ไม่ได้ใช้ประโยชน์เป็นคูเมืองอีกต่อไป ประชาชนเรียกชื่อคลองนี้ตามสถานที่ที่คลองผ่าน เช่น ปากคลองด้านเหนือผ่านโรงไหมหลวง เรียก "คลองโรงไหมหลวง" ปากคลองด้านใต้เป็นตลาดที่คึกคักทั้งบนบกและในน้ำ จึงเรียก "ปากคลองตลาด" ส่วนตอนกลางระหว่างคลองหลอดวัดราชนัดดา (คลองหลอดข้างวัดบุรณศิริมาตยาราม) กับคลองหลอดวัดราชบพิธ ได้มีประกาศของสุขาภิบาล ร..

ใหม่!!: แม่น้ำเจ้าพระยาและคลองคูเมืองเดิม · ดูเพิ่มเติม »

คลองฉะไกรใหญ่

ลองฉะไกรใหญ่หรือคลองท่อ เมื่อปี 2556 คลองฉะไกรใหญ่ หรือ คลองท่อ เป็นแนวคลองขุดโบราณบนเกาะเมืองในจังหวัดพระนครศรีอยุธยา เชื่อมแม่น้ำลพบุรีทางทิศเหนือกับแม่น้ำเจ้าพระยาทางทิศใต้ ถือเป็นเส้นทางหลักในการคมนาคมระหว่างเกาะเมืองไปสู่นอกเกาะเมือง.

ใหม่!!: แม่น้ำเจ้าพระยาและคลองฉะไกรใหญ่ · ดูเพิ่มเติม »

คลองประปา

ลองประปา เป็นคลองขุดขึ้นตามพระราชดำริของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ด้วยทรงเห็นว่าในขณะนั้นประชาชนทั่วไปยังคงใช้น้ำที่ไม่สะอาด โดยเฉพาะในช่วงฤดูแล้ง น้ำทะเลจะเข้าถึงแม่น้ำเจ้าพระยาได้ ดำเนินการโดยเจ้าพระยาเทเวศรวงศ์วิวัฒน์ ผู้บัญชาการกรมสุขาภิบาล ในระยะแรกได้กั้นแม่น้ำน้อย หรือคลองเชียงรากในปัจจุบันกักน้ำไว้ เรียกว่าคลองขัง แล้วขุดคลองจากแม่น้ำเจ้าพระยาบริเวณวัดสำแลที่น้ำทะเลขึ้นไปไม่ถึง เข้ามาที่คลองขัง จากนั้นจึงขุดคลองอ้อมไปออกคลองบ้านพร้าวให้เรือสัญจรได้ ขุดคลองบางหลวงหัวป่า และคลองบางสิงห์ ไปเชื่อมกับคลองระพีพัฒน์และคลองเปรมประชากร รับน้ำจากแม่น้ำเจ้าพระยามาที่คลองขัง คลองขังมีความยาวยาว 8 กิโลเมตร กว้าง 60–100 เมตร ลึกตั้งแต่ 2–6 เมตร ใช้ผลิตน้ำประปาในตอนเริ่มแรก ในระยะต่อมาได้ขุดคลองประปาจากตำบลบางพูนมายังโรงกรองสามเสน มีเขื่อนกั้นจากสามเสนถึงโรงกรองน้ำบางเขน ปลายคลองประตูน้ำกั้นไม่ให้น้ำที่ไม่สะอาดไหลเข้าคลองได้ และเวลาน้ำในคลองสามเสนลดลงประตูน้ำจะเปิดให้น้ำไหลลงคลองสามเสน ตลอดแนวคลองประปามีที่ทำการเจ้าหน้าที่รักษาคลอง 7 แห่ง ที่ตำบลสำแล เชียงราก รังสิต สีกัน บางเขน บางซื่อ และสามเสน เพื่อรักษาคลอง ขุดแล้วเสร็จในเดือนตุลาคม..

ใหม่!!: แม่น้ำเจ้าพระยาและคลองประปา · ดูเพิ่มเติม »

คลองประเวศบุรีรมย์

ลองประเวศบุรีรมย์เมื่อ พ.ศ. 2492 บริเวณโรงเรียนพรตพิทยพยัต คลองประเวศบุรีรมย์ (Khlong Prawet Buri Rom) เป็นคลองขุดที่พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวโปรดเกล้าฯ ให้เจ้าพระยาสุรวงศ์ไวยวัฒน์ให้ขุดต่อจากคลองพระโขนงไปเชื่อมกับ แม่น้ำบางปะกง จังหวัดฉะเชิงเทรา เรียกคลองที่ขุดต่อออกไปว่า "คลองประเวศบุรีรมย์" และให้ขุดคลองแยกจากคลองประเวศบุรีรมย์ อีก 4 คลอง คือ คลองหนึ่ง คลองสอง คลองสาม และคลองสี่ เริ่มขุดตั้งแต่ พ.ศ. 2421 แล้วเสร็จในปี พ.ศ. 2423 มีความยาวทั้งสิ้น 1150 เส้น (46 กิโลเมตร) ในการขุดคลองประเวศบุรีรมย์ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงประกาศใช้พระราชบัญญัติ "ประกาศขุดคลอง" ใน..

ใหม่!!: แม่น้ำเจ้าพระยาและคลองประเวศบุรีรมย์ · ดูเพิ่มเติม »

คลองแสนแสบ

รือด่วนในคลองแสนแสบ คลองแสนแสบ เป็นคลองที่ขุดขึ้นตามพระราชดำริของพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว (รัชกาลที่ 3) เพื่อเชื่อมแม่น้ำเจ้าพระยากับแม่น้ำบางปะกงเข้าด้วยกัน เมื่อปี พ.ศ. 2380 ด้วยพระราชประสงค์เพื่ออำนวยความสะดวกในการขนส่งอาวุธยุทธภัณฑ์ กำลังรบ และเสบียงอาหารไปยังญวน (เวียดนาม) ในราชการสงครามไทย-ญวน ซึ่งใช้เวลารบนานถึง 14 ปี ใน คือ อานามสยามยุทธ คลองแสนแสบเป็นเส้นทางโดยสารที่นิยมเป็นอย่างมากเพราะสะดวกและรวดเร็ว แต่ในปัจจุบันนั้นมีปัญหามลภาวะทางน้ำ ส่งกลิ่นเหม็นเป็นอย่างมาก เนื่องจากมีการทำลายสิ่งแวดล้อมโดยการทิ้งขยะลงในแม่น้ำ ทำให้คลองแสนแสบนั้นมีสภาพที่สกปรกไม่น่ามอง.

ใหม่!!: แม่น้ำเจ้าพระยาและคลองแสนแสบ · ดูเพิ่มเติม »

คลองในไก่

ลองในไก่หรือคลองมะขามเรียงอยู่บริเวณด้านขวาบนเกาะเมือง ขนานไปกับแม่น้ำป่าสักทางทิศตะวันออก คลองในไก่, คลองนายก่าย หรือ คลองมะขามเรียง เป็นแนวคลองขุดโบราณบนเกาะเมืองในจังหวัดพระนครศรีอยุธยา เชื่อมคลองมหาไชยทางทิศเหนือกับแม่น้ำเจ้าพระยาทางทิศใต้ ถือเป็นเส้นทางหลักในการคมนาคมระหว่างเกาะเมืองไปสู่นอกเกาะเมือง และเป็นคลองที่มีขนาดยาวที่สุดในเกาะเมือง.

ใหม่!!: แม่น้ำเจ้าพระยาและคลองในไก่ · ดูเพิ่มเติม »

คลองโยง

ลองโยง เป็นคลองที่อยู่ทางทิศตะวันออกของแม่น้ำท่าจีน ไหลผ่านท้องที่อำเภอนครชัยศรีและอำเภอพุทธมณฑล จังหวัดนครปฐม เชื่อมต่อกับคลองนราภิรมย์ คลองบางใหญ่ และคลองมหาสวั.

ใหม่!!: แม่น้ำเจ้าพระยาและคลองโยง · ดูเพิ่มเติม »

คลองเปรมประชากร

ริ่มต้นคลองเปรมประชากรเชื่อมต่อกับคลองผดุงกรุงเกษม คลองเปรมประชากรที่ไหลผ่านบริเวณข้างทำเนียบรัฐบาล คลองเปรมประชากร (Khlong Prem Prachakon) หรือชื่อเดิมว่า คลองสวัสดิ์เปรมประชากร เป็นคลองขุดที่พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 5 โปรดเกล้าฯ ให้ขุดขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 2413 เชื่อมแม่น้ำเจ้าพระยาจากคลองผดุงกรุงเกษมบริเวณหน้าวัดโสมนัสวิหาร กรุงเทพมหานคร ไปทะลุตำบลเกาะใหญ่ แขวงกรุงเก่า จังหวัดพระนครศรีอยุธยา (ปัจจุบันอยู่ในตำบลบางกระสั้น อำเภอบางปะอิน จังหวัดพระนครศรีอยุธยา) เป็นระยะทาง 1271 เส้น 3 วา (50846 เมตร) เนื่องจากทรงเห็นว่าการเดินเรือขึ้นล่องตามแม่น้ำเจ้าพระยานั้นมีเส้นทางอ้อมไปมาทำให้เสียเวลาในการเดินทางมาก คลองเปรมประชากร เป็นคลองที่มีจุดเริ่มต้นเชื่อมต่อกับคลองผดุงกรุงเกษม ในเขตดุสิต กรุงเทพมหานคร โดยไหลผ่านเขตดุสิต เขตบางซื่อ เขตจตุจักร เขตหลักสี่ เขตดอนเมือง (กรุงเทพมหานคร) อำเภอเมืองปทุมธานี อำเภอสามโคก (จังหวัดปทุมธานี) และไหลสู่แม่น้ำเจ้าพระยาที่อำเภอบางปะอิน จังหวัดพระนครศรีอ.

ใหม่!!: แม่น้ำเจ้าพระยาและคลองเปรมประชากร · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศไทย

ประเทศไทย มีชื่ออย่างเป็นทางราชการว่า ราชอาณาจักรไทย เป็นรัฐชาติอันตั้งอยู่ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เดิมมีชื่อว่า "สยาม" รัฐบาลประกาศเปลี่ยนชื่อเป็นประเทศไทยอย่างเป็นทางการตั้งแต่ปี 2482 ประเทศไทยมีขนาดใหญ่เป็นอันดับที่ 50 ของโลก มีเนื้อที่ 513,115 ตารางกิโลเมตร และมีประชากรมากเป็นอันดับที่ 20 ของโลก คือ ประมาณ 66 ล้านคน กรุงเทพมหานครเป็นศูนย์กลางการบริหารราชการแผ่นดินและนครใหญ่สุดของประเทศ และการปกครองส่วนภูมิภาค จัดระเบียบเป็น 76 จังหวัด แม้จะมีการสถาปนาระบอบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญและประชาธิปไตยระบบรัฐสภาในปี 2475 แต่กองทัพยังมีบทบาทในการเมืองไทยสูง ล่าสุด เกิดรัฐประหารเมื่อวันที่ 22 พฤษภาคม 2557 และมีการปกครองแบบเผด็จการทหารนับแต่นั้น พบหลักฐานการอยู่อาศัยอย่างต่อเนื่องในอาณาเขตประเทศไทยปัจจุบันตั้งแต่ 20,000 ปีก่อนคริสตกาล ชาวไทเริ่มอพยพเข้าสู่บริเวณนี้ในคริสต์ศตวรรษที่ 11 แล้วเข้ามาตั้งแว่นแคว้นต่าง ๆ ที่สำคัญได้แก่ อาณาจักรสุโขทัย อาณาจักรล้านนาและอาณาจักรอยุธยา นักประวัติศาสตร์มักถือว่าอาณาจักรสุโขทัยเป็นจุดเริ่มต้นของประวัติศาสตร์ไทย ต่อมาอาณาจักรอยุธยาค่อย ๆ เรืองอำนาจมากขึ้นจนเป็นมหาอำนาจในภูมิภาคในปลายคริสต์ศตวรรษที่ 14 การติดต่อกับชาติตะวันตกเริ่มด้วยผู้แทนทางทูตชาวโปรตุเกสในปี 2054 อาณาจักรรุ่งเรืองอย่างมากในรัชกาลสมเด็จพระนารายณ์มหาราช (ครองราชย์ปี 2199–2231) แต่หลังจากนั้นค่อย ๆ เสื่อมอำนาจโดยมีสาเหตุส่วนหนึ่งจากการผลัดแผ่นดินที่มีการนองเลือดหลายรัชกาล จนสุดท้ายกรุงศรีอยุธยาถูกทำลายสิ้นเชิงในปี 2310 สมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรีทรงรวบรวมแผ่นดินที่แตกออกเป็นก๊กต่าง ๆ และสถาปนาอาณาจักรธนบุรีที่มีอายุ 15 ปี ความวุ่นวายในช่วงปลายอาณาจักรนำไปสู่การสำเร็จโทษพระองค์โดยพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช ปฐมราชวงศ์จักรีแห่งกรุงรัตนโกสินทร์ ช่วงต้นกรุงรัตนโกสินทร์ ประเทศเผชิญภัยคุกคามจากชาติใกล้เคียง แต่หลังรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวเป็นต้นมา ชาติตะวันตกเริ่มมีอิทธิพลในภูมิภาคเป็นอย่างมาก นำไปสู่การเข้าเป็นภาคีแห่งสนธิสัญญาไม่เป็นธรรมหลายฉบับ กระนั้น สยามไม่ตกเป็นอาณานิคมของตะวันตกชาติใด มีการปรับให้สยามทันสมัยและรวมอำนาจปกครองในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (ครองราชย์ปี 2411–53) สยามเข้าร่วมกับฝ่ายสัมพันธมิตรในสงครามโลกครั้งที่หนึ่งในปี 2460; ในปี 2475 เกิดการปฏิวัติเปลี่ยนแปลงการปกครองสู่ระบอบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญโดยไม่เสียเลือดเนื้อ คณะราษฎรมีบทบาทนำทางการเมือง และในพุทธทศวรรษ 2480 นายกรัฐมนตรี จอมพล แปลก พิบูลสงคราม ดำเนินนโยบายชาตินิยมเข้มข้น ระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง ไทยเข้ากับฝ่ายอักษะ แต่ฝ่ายสัมพันธมิตรส่วนใหญ่ไม่ยอมรับการประกาศสงคราม ในช่วงสงครามเย็น ประเทศไทยเป็นพันธมิตรกับสหรัฐซึ่งสนับสนุนรัฐบาลทหารมาก รัฐประหารที่มีจอมพล สฤษดิ์ ธนะรัชต์เป็นหัวหน้าคณะในปี 2500 ทำให้คณะราษฎรหมดอำนาจ รัฐบาลฟื้นฟูพระราชอำนาจและมีมาตรการต่อต้านคอมมิวนิสต์ในภูมิภาค ผลของเหตุการณ์ 14 ตุลา 2516 ทำให้เกิดประชาธิปไตยระบบรัฐสภาช่วงสั้น ๆ ประเทศไทยมีนายกรัฐมนตรีจากการเลือกตั้งครั้งแรกในปี 2531 หลังพุทธทศวรรษ 2540 มีวิกฤตการเมืองระหว่างฝ่ายที่สนับสนุนและต่อต้านอดีตนายกรัฐมนตรีทักษิณ ชินวัตรมาจนปัจจุบัน รวมทั้งเกิดรัฐประหารสองครั้ง โดยครั้งล่าสุดเกิดในปี 2557 รัฐธรรมนูญฉบับปัจจุบันเป็นฉบับที่ 20 ประกาศใช้เมื่อวันที่ 6 เมษายน 2560 หลังมีการลงประชามติรับร่างเมื่อหนึ่งปีก่อน ประเทศไทยเป็นสมาชิกสหประชาชาติ เอเปก อีกทั้งเป็นร่วมผู้ก่อตั้งอาเซียน ประเทศไทยเป็นพันธมิตรของสหรัฐตั้งแต่สนธิสัญญาซีโต้ในปี 2497 ถือเป็นประเทศอำนาจนำภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และประเทศอำนาจปานกลางในเวทีโลก ประเทศไทยเป็นประเทศที่มีรายได้ปานกลาง-สูงและประเทศอุตสาหกรรมใหม่ มีรายได้หลักจากภาคอุตสาหกรรมและบริการ การเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจทำให้มีการอพยพเข้าสู่เมืองในคริสต์ศตวรรษที่ 20 ตามประมาณการในปี 2560 จีดีพีของประเทศไทยมีมูลค่าราว 432,898 ล้านดอลลาร์สหรัฐ นับว่าเศรษฐกิจไทยเป็นเศรษฐกิจใหญ่สุดเป็นอันดับ 2 ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และใหญ่เป็นอันดับที่ 26 ของโลก.

ใหม่!!: แม่น้ำเจ้าพระยาและประเทศไทย · ดูเพิ่มเติม »

ปากน้ำ

ปากน้ำ หมายถึง ปากแม่น้ำ หรือบริเวณที่แม่น้ำบรรจบกับทะเลหรือบรรจบกับแม่น้ำสายใหญ่กว.

ใหม่!!: แม่น้ำเจ้าพระยาและปากน้ำ · ดูเพิ่มเติม »

ปากน้ำโพ

ปากน้ำโพ อาจหมายถึง.

ใหม่!!: แม่น้ำเจ้าพระยาและปากน้ำโพ · ดูเพิ่มเติม »

แม่น้ำ

แม่น้ำตาปี อำเภอเมืองสุราษฎร์ธานี จังหวัดสุราษฎร์ธานี แม่น้ำ (river) เป็นทางน้ำธรรมชาติที่มีขนาดใหญ่ เป็นคำศัพท์ทั่วไปที่ในทางวิทยาศาสตร์หมายถึงกระแสน้ำตามธรรมชาติทั้งหลาย รวมทั้งกระแสน้ำขนาดเล็ก เช่น ลำธาร คลอง เป็นต้น น้ำฝนที่ตกลงบนพื้นดินจะไหลไปยังแม่น้ำแล้วออกสู่มหาสมุทรหรือแอ่งน้ำขนาดใหญ่อื่น ๆ เช่น ทะเลสาบ แม่น้ำมีส่วนประกอบโดยพื้นฐานหลายส่วน อาจมีแหล่งกำเนิดจากต้นน้ำหรือน้ำซับ แล้วไหลสู่กระแสน้ำหลัก ลำธารสายเล็กที่ไหลลงสู่แม่น้ำเรียกว่าแคว โดยปกติกระแสน้ำจะไหลไปตามร่องน้ำที่ขนาบข้างด้วยตลิ่ง ที่จุดสิ้นสุดของแม่น้ำหรือปากแม่น้ำ มักมีลักษณะแผ่ขยายออก เรียกพื้นที่บริเวณนี้ว่าดินดอนสามเหลี่ยม (Delta) หรือชะวากทะเล (Estuary).

ใหม่!!: แม่น้ำเจ้าพระยาและแม่น้ำ · ดูเพิ่มเติม »

แม่น้ำยม

แม่น้ำยมในจังหวัดแพร่ แม่น้ำยม (20px) เป็นแม่น้ำที่มีต้นกำเนิดอยู่ในป่าดงดิบสูงชันสลับซับซ้อนบนเทือกเขาผีปันน้ำและเทือกเขาแดนลาว ซึ่งอยู่ในเขต พะเยา และแพร่ โดยมีแม่น้ำงิม และ แม่น้ำควร ไหลมาบรรจบกันที่บ้านบุญยืน ตำบลนาปรัง อำเภอปง จังหวัดพะเยา มีความยาวประมาณ 735 กิโลเมตร กระแสน้ำไหลผ่านที่ราบสูงของอำเภอปง อำเภอเชียงม่วน จังหวัดพะเยา ผ่านจังหวัดแพร่ สุโขทัย พิษณุโลก และพิจิตร ไปบรรจบกับแม่น้ำน่านที่ตำบลเกยไชย อำเภอชุมแสง จังหวัดนครสวรรค์ ก่อนแม่น้ำน่านจะไปรวมกับแม่น้ำปิง ที่ตำบลปากน้ำโพ อำเภอเมือง จังหวัดนครสวรรค์ เกิดเป็นแม่น้ำเจ้าพระยา แม่น้ำสายสำคัญของพื้นที่ราบลุ่มภาคกลางของประเทศไทย สภาพโครงสร้างทางน้ำของแม่น้ำยมมีลักษณะแบบกิ่งไม้ ประกอบด้วยลำน้ำสาขา 77 สาย ระดับน้ำสูงสุดในฤดูฝน ลดลงเมื่อถึงฤดูหนาว และต่ำสุดในฤดูร้อน ภูมิอากาศเปลี่ยนแปลงตามอิทธิพลของลมมรสุมตะวันตกเฉียงใต้และลมมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือ.

ใหม่!!: แม่น้ำเจ้าพระยาและแม่น้ำยม · ดูเพิ่มเติม »

แม่น้ำลพบุรี

แม่น้ำลพบุรี เป็นลำน้ำสาขาที่แยกออกจากแม่น้ำเจ้าพระยา ก่อนไหลไปรวมเข้ากับแม่น้ำป่าสัก มีความยาวทั้งหมด 85 กิโลเมตร บางแห่งว่ามีความยาว 95 กิโลเมตร บางแห่งว่า 305 กิโลเมตร.

ใหม่!!: แม่น้ำเจ้าพระยาและแม่น้ำลพบุรี · ดูเพิ่มเติม »

แม่น้ำลัดเกร็ด

แม่น้ำลัดเกร็ด เป็นทางน้ำสายหนึ่งในเขตจังหวัดนนทบุรี เกิดจากการขุดคลองลัดแม่น้ำเจ้าพระยาบริเวณบ้านแหลมซึ่งโค้งวกเข้าไปทางบางบัวทองจนถึงท่าอิฐ ขุดในสมัยสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวท้ายสระเมื่อ พ.ศ. 2265 ขนาดคลองกว้าง 6 วา ยาว 39 เส้น ลึก 6 ศอก ดังปรากฏในพระราชพงศาวดารกรุงสยามฉบับบริติชมิวเซียมตอนหนึ่งว่า "...ในปีขาล จัตวาศก ทรงพระกรุณาโปรดให้พระธนบุรีเป็นแม่กอง เกณฑ์พลนิกายคนหัวเมืองปากใต้ให้ได้คน ๑๐,๐๐๐ เศษ ให้ขุดคลองเตร็ดน้อย ลัดคุ้งบางบัวทองนั้นคดอ้อมนัก ขุดลัดตัดให้ตรง พระธนบุรีรับสั่งแล้วถวายบังคมลามา ให้เกณฑ์พลนิกายในบรรดาหัวเมืองปากใต้ได้คน ๑๐,๐๐๐ เศษ ให้ขุดคลองเตร็ดน้อยนั้นลึก ๖ ศอก กว้าง ๓ วา ยาวทางไกลได้ ๒๙ เส้นเศษ ขุดเดือนเศษจึ่งแล้ว..."พระราชพงศาวดารกรุงสยามฉบับบริติชมิวเซียม.

ใหม่!!: แม่น้ำเจ้าพระยาและแม่น้ำลัดเกร็ด · ดูเพิ่มเติม »

แม่น้ำวัง

แม่น้ำวัง (ᨶᩣᩴ᩶ᩅᩢ᩠ᨦ) เป็นแม่น้ำอยู่ในภาคเหนือของไทย เกิดในเทือกเขาผีปันน้ำในเขตจังหวัดเชียงราย มีความยาว 382 กิโลเมตร ไหลไปรวมกับแม่น้ำปิง ที่อำเภอบ้านตาก จังหวัดตาก ก่อนจะไหลไปที่แม่น้ำเจ้าพร.

ใหม่!!: แม่น้ำเจ้าพระยาและแม่น้ำวัง · ดูเพิ่มเติม »

แม่น้ำสะแกกรัง

แม่น้ำสะแกกรัง เป็นแม่น้ำมีต้นกำเนิดอยู่ในเขตเทือกเขาโมโกจู ในเขตจังหวัดกำแพงเพชร ไหลไปบรรจบกับแม่น้ำเจ้าพระยาที่บ้านท่าซุง ตำบลท่าซุง อำเภอเมือง จังหวัดอุทัยธานี มีความยาวประมาณ 225 กิโลเมตร แม่น้ำสะแกกรัง มีหลายชื่อตามท้องถิ่นที่แม่น้ำไหลผ่านคือ.

ใหม่!!: แม่น้ำเจ้าพระยาและแม่น้ำสะแกกรัง · ดูเพิ่มเติม »

แม่น้ำท่าจีน

แม่น้ำท่าจีน เป็นแม่น้ำที่แยกตัวออกจากแม่น้ำเจ้าพระยาที่ ตำบลท่าซุงบริเวณปากคลองมะขามเฒ่า จึงเรียกแม่น้ำนั้นว่า คลองมะขามเฒ่า และมาหักเลี้ยวเป็นแยกแม่น้ำที่ไหลไปเชื่อมกับแม่น้ำเจ้าพระยาได้อีกที ตรงที่เป็นพื้นที่ปากคลอง ตำบลหาดท่าเสา อำเภอเมืองชัยนาท จังหวัดชัยนาท กับ ฝั่งตะวันตกที่อำเภอวัดสิงห์ จังหวัดชัยนาท ไหลผ่านจังหวัดชัยนาท จังหวัดสุพรรณบุรี จังหวัดนครปฐม จังหวัดสมุทรสาคร ก่อนจะไหลออกสู่อ่าวไทยที่ตำบลบางหญ้าแพรก อำเภอเมืองสมุทรสาคร จังหวัดสมุทรสาคร มีความยาวทั้งสิ้นประมาณ 325 กิโลเมตร แม่น้ำท่าจีนมีชื่อเรียกหลายชื่อ ตอนที่ไหลผ่านจังหวัดชัยนาทเรียกว่า "แม่น้ำมะขามเฒ่า" ตอนที่ผ่านจังหวัดสุพรรณบุรี เรียกว่า "แม่น้ำสุพรรณบุรี" ตอนที่ผ่านจังหวัดนครปฐมเรียกว่า "แม่น้ำนครชัยศรี" ส่วนตอนที่ไหลผ่านจังหวัดสมุทรสาครและไหลลงสู่อ่าวไทยเรียกว่า "แม่น้ำท่าจีน".

ใหม่!!: แม่น้ำเจ้าพระยาและแม่น้ำท่าจีน · ดูเพิ่มเติม »

แม่น้ำปิง

แม่น้ำปิง (50px) เป็นแม่น้ำสายสำคัญของประเทศไทย และเป็นหนึ่งในสองของแม่น้ำที่บรรจบมาเป็นแม่น้ำเจ้าพระยา แม่น้ำปิงไหลอยู่ในหุบเขาระหว่างทิวเขาถนนธงชัยกลางกับทิวเขาผีปันน้ำตะวันตก มีต้นน้ำอยู่ที่ดอยเชียงดาวในอำเภอเชียงดาว จังหวัดเชียงใหม่ ไหลลงทางใต้ผ่านจังหวัดลำพูน รวมกับแม่น้ำวังที่อำเภอบ้านตาก จังหวัดตาก ไหลลงใต้ผ่านจังหวัดกำแพงเพชร แล้วบรรจบกับแม่น้ำน่านที่ อำเภอเมืองนครสวรรค์ จังหวัดนครสวรรค์ และจากจุดนี้ไปเป็นต้นกำเนิดของแม่น้ำเจ้าพระยา แม่น้ำปิงมีความยาวทั้งสิ้น 658 กิโลเมตร แม่น้ำปิงมีแม่น้ำสาขาที่สำคัญอยู่ 6 สาย ได้แก่ น้ำแม่งัด น้ำแม่แตง น้ำแม่กวง น้ำแม่ลี้ น้ำแม่กลาง และน้ำแม่แจ่ม ในบริเวณแม่น้ำปิงตอนบนเป็นที่ตั้งของอุทยานแห่งชาติแม่ปิง มีเนื้อที่ 627,346 ไร่ (1,003.75 ตร.กม.).

ใหม่!!: แม่น้ำเจ้าพระยาและแม่น้ำปิง · ดูเพิ่มเติม »

แม่น้ำป่าสัก

แม่น้ำป่าสัก เป็นแม่น้ำที่มีต้นกำเนิดมาจากเทือกเขาเพชรบูรณ์ในเขตพื้นที่อำเภอด่านซ้าย จังหวัดเลย ไหลลงใต้ผ่าน จังหวัดเพชรบูรณ์ จังหวัดลพบุรี จังหวัดสระบุรี และ จังหวัดพระนครศรีอ.

ใหม่!!: แม่น้ำเจ้าพระยาและแม่น้ำป่าสัก · ดูเพิ่มเติม »

แม่น้ำน่าน

แม่น้ำน่าน (30px) มีต้นกำเนิดอยู่ในเทือกเขาหลวงพระบาง จังหวัดน่าน มีความยาวตลอดลำน้ำ 740 กิโลเมตร ซึ่งยาวที่สุด ในบรรดาแควต้นน้ำเจ้าพระยาด้วยกัน นับเป็นหนึ่งในแม่น้ำสายหลักในภาคเหนือและภาคกลางของไทย โดยได้ไหลย้อนขึ้นไปท่วมจังหวัดเชียงใหม่อยู่เสมอ.

ใหม่!!: แม่น้ำเจ้าพระยาและแม่น้ำน่าน · ดูเพิ่มเติม »

แม่น้ำน้อย

แม่น้ำน้อย แม่น้ำน้อย เป็นแม่น้ำสาขาแยกจากแม่น้ำเจ้าพระยาที่ชุมชนปากแพรก อำเภอเมืองชัยนาท จังหวัดชัยนาท เป็นแม่น้ำสายเล็ก ๆ ที่ไหลผ่านอำเภอบางระจัน อำเภอค่ายบางระจัน และอำเภอท่าช้าง จังหวัดสิงห์บุรี ไหลผ่านจังหวัดอ่างทอง จังหวัดพระนครศรีอยุธยา แล้วไปรวมกับแม่น้ำเจ้าพระยาอีกครั้งที่อำเภอบางไทร จังหวัดพระนครศรีอยุธยา แม่น้ำน้อยมีความยาวทั้งสิ้น 145 กิโลเมตร ความกว้างประมาณ 80 เมตร มีน้ำตลอดทั้งปี มีชื่อเรียกต่างกันตามท้องถิ่น เช่น ตอนที่ไหลผ่านอำเภอเสนา จังหวัดพระนครศรีอยุธยาเรียกว่า "คลองสีกุก" หรือ"แควสีกุก" หรือตอนที่ไหลผ่านอำเภอผักไห่ จังหวัดพระนครศรีอยุธยาเช่นกัน เรียกว่า "แม่น้ำแควผักไห่" เป็นต้น และยังมีแควสาขาเป็นคลองสายต่าง ๆ ที่ไหลและแยกตัวกันอีก เช่น คลองบางปลากด คลองศาลาแดง คลองไชโย เป็นต้น นอกจากนี้แล้ว แม่น้ำน้อยยังเป็นสถานที่แห่งแรกที่มีการค้นพบปลาในสกุล Sikukia หรือปลาน้ำฝาย อันเป็นปลาน้ำจืดในวงศ์ปลาตะเพียน (Cyprinidae) โดย ดร.

ใหม่!!: แม่น้ำเจ้าพระยาและแม่น้ำน้อย · ดูเพิ่มเติม »

โรงพยาบาลศิริราช

รงพยาบาลศิริราช เป็นโรงพยาบาลมหาวิทยาลัย สังกัดคณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล เป็นโรงพยาบาลแห่งแรกของ ประเทศไทย ตั้งอยู่เลขที่ 2 ถนนวังหลัง แขวงศิริราช เขตบางกอกน้อย กรุงเทพมหานคร ริมฝั่ง แม่น้ำเจ้าพระยา ตรงข้ามกับ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (ท่าพระจันทร์) เคยเป็นที่ประทับรักษาพระประชวรของ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช และ สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ ตลอดจนพระบรมวงศานุวงศ์หลายพระองค์ เช่น พระนางเจ้าสุวัทนา พระวรราชเทวี สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี สมเด็จพระเจ้าภคินีเธอ เจ้าฟ้าเพชรรัตนราชสุดา สิริโสภาพัณณวดี สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร.

ใหม่!!: แม่น้ำเจ้าพระยาและโรงพยาบาลศิริราช · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนราชินี

รงเรียนราชินี เป็นโรงเรียนเก่าแก่แห่งหนึ่ง ตั้งอยู่เลขที่ 444 ถนนมหาราช แขวงพระบรมมหาราชวัง เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร ริมฝั่งตะวันออกของแม่น้ำเจ้าพระยา ผู้ทรงให้กำเนิดโรงเรียนคือ สมเด็จพระศรีพัชรินทรา พระบรมราชินีนาถในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เมื่อวันที่ 1 เมษายน พ.ศ. 2447 ณ ตึกแถวมุมถนนอัษฎางค์และถนนจักรเพชร ต่อมาได้ย้ายไปอยู่ตึกริมแม่น้ำเจ้าพระยาใกล้ปากคลองตลาด และมีการเปิดรับนักเรียนกินนอนขึ้นใน..

ใหม่!!: แม่น้ำเจ้าพระยาและโรงเรียนราชินี · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนนายเรือ

รงเรียนนายเรือ เป็นสถาบันการศึกษาระดับอุดมศึกษาสำหรับผู้ที่ต้องการเป็นนายทหารเรือชั้นสัญญาบัตรของกรมยุทธศึกษาทหารเรือ กองทัพเรือไทย ผู้ที่ศึกษาในโรงเรียนนายเรือ เรียกว่า นักเรียนนายเรือ (นนร.) นักเรียนนายเรือที่สำเร็จการศึกษาจะได้รับปริญญาบัตรในระดับปริญญาตรีเช่นเดียวกับสถาบันอุดมศึกษาอื่น ๆ และมีสิทธิได้รับการแต่งตั้งยศนายทหารชั้นสัญญาบัตรเป็น "ว่าที่เรือตรี".

ใหม่!!: แม่น้ำเจ้าพระยาและโรงเรียนนายเรือ · ดูเพิ่มเติม »

ไอคอนสยาม

อคอนสยาม (ICONSIAM) เป็นโครงการพัฒนาพื้นที่เชิงพาณิชยกรรมแบบผสมริมแม่น้ำเจ้าพระยา โดยความร่วมมือของ สยามพิวรรธน์ เครือเจริญโภคภัณฑ์ และแมกโนเลีย ควอลิตี้ ดีเวล็อปเม้นต์ คอร์ปอเรชั่น (ในเครือเจริญโภคภัณฑ์) กำหนดเปิดให้บริการในเดือนตุลาคม..

ใหม่!!: แม่น้ำเจ้าพระยาและไอคอนสยาม · ดูเพิ่มเติม »

เอเชียทีค เดอะ ริเวอร์ฟร้อนท์

อเชียทีค เดอะ ริเวอร์ฟร้อนท์ (Asiatique The Riverfront) เป็นศูนย์การค้าแนวราบริมแม่น้ำที่ใหญ่ที่สุดในเอเชีย ตั้งอยู่ริม แม่น้ำเจ้าพระยา ระหว่างซอยเจริญกรุง 72-76 บริหารงานโดย กองทุนรวมอสังหาริมทรัพย์ไทยรีเทล อินเวสเม้นต์ โดย บริษัท แอสเสท เวิรด์ รีเทล จำกัด ภายในโครงการประกอบด้วยร้านค้า ร้านอาหารริมน้ำ นอกจากนี้ยังเป็นที่ตั้งของโรงละครคาลิปโซ่ที่ย้ายมาจากโรงแรมเอเชีย และโรงละครโจหลุยส์ที่ย้ายมาจากสวนลุมไนท์บาซาร์อีกด้วย เอเชียทีค เดอะ ริเวอร์ฟร้อนท์ เดิมเคยเป็นที่ตั้งของท่าเรือ และบริษัทอีสต์เอเชียติก บริษัทเดินเรือสัญชาติเดนมาร์ก มาเปิดกิจการในสมัยรัชกาลที่ 5 โดยสร้างเป็นโกดัง โรงเลื่อย และนำเครื่องจักรขนาดใหญ่หลายตัวมาติดตั้งไว้ ในช่วง สงครามมหาเอเชียบูรพา กองทัพญี่ปุ่นได้เข้ามายึดท่าเรือและคลังสินค้าของบริษัท อีสต์เอเชียติก เพื่อใช้เป็นฐานกำลังและคลังแสง และยังปรากฏมาจนถึงปัจจุบัน กระทั่งในปี พ.ศ. 2555 ได้มีพัฒนาปรับปรุงเป็นศูนย์การค้าอย่างในปัจจุบัน ได้ชื่อว่าเป็นสถานที่ท่องเที่ยวและช้อปปิ้งที่มีทัศนียภาพที่สวยงาม โดยมีจุดเด่น คือ ชิงช้าสวรรค์ขนาดใหญ่ "เอเชียทีค สกาย" ซึ่งเมื่อขึ้นไปแล้วจะเห็นทัศนียภาพโดยรอบของ กรุงเทพมหานคร ในแบบมุมสูงได้รอบตัว.

ใหม่!!: แม่น้ำเจ้าพระยาและเอเชียทีค เดอะ ริเวอร์ฟร้อนท์ · ดูเพิ่มเติม »

เขตคลองสาน

ตคลองสาน เป็น 1 ใน 50 เขตการปกครองของกรุงเทพมหานคร อยู่ในกลุ่มเขตกรุงธนบุรี ซึ่งถือเป็นเขตอนุรักษ์เมืองเก่า แหล่งท่องเที่ยวเชิงประวัติศาสตร์และศิลปวัฒนธรรมทางฝั่งธนบุรี.

ใหม่!!: แม่น้ำเจ้าพระยาและเขตคลองสาน · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

ลุ่มน้ำเจ้าพระยา

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »