โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ดาวน์โหลด
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

รถไฟฟ้าสายสีชมพู

ดัชนี รถไฟฟ้าสายสีชมพู

รงการรถไฟฟ้าสายสีชมพู ช่วงแคราย-มีนบุรี เป็นโครงการก่อสร้างระบบขนส่งมวลชนในพื้นที่จังหวัดนนทบุรี และกรุงเทพมหานคร ซึ่งได้รับการกำหนดให้ใช้ระบบรถไฟฟ้ารางเดี่ยว (monorail) เป็นระบบหลัก เป็นโครงการรถไฟฟ้าโครงการหนึ่งตามแผนแม่บทโครงการระบบขนส่งมวลชนทางรางในกรุงเทพมหานครและปริมณฑล และเป็นหนึ่งในโครงการก่อสร้างเส้นทางรถไฟฟ้าในระบบรถไฟฟ้ามหานคร โดยการรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนแห่งประเทศไทย ในระยะแรกโครงการดังกล่าวมีระยะทางรวมทั้งสิ้น 27 กิโลเมตร แต่ต่อมาก็ได้มีการขยายต้นทางจากปากเกร็ดมายังแคราย เพื่อเชื่อมกับโครงการรถไฟฟ้ามหานคร สายฉลองรัชธรรม ทำให้เส้นทางของโครงการเริ่มต้นที่ศูนย์ราชการจังหวัดนนทบุรี และสิ้นสุดที่มีนบุรี ระยะทางรวมประมาณ 34–36 กิโลเมตร.

45 ความสัมพันธ์: บอมบาร์ดิเอร์พ.ศ. 2564กรุงเทพมหานครการรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนแห่งประเทศไทยรายชื่อคลองในกรุงเทพมหานครรางที่สามรางเดี่ยวรถไฟฟ้าชานเมืองสายสีแดงเข้มรถไฟฟ้าบีทีเอส สายสุขุมวิทรถไฟฟ้ามหานครรถไฟฟ้ามหานคร สายสีส้มรถไฟฟ้ามหานคร สายฉลองรัชธรรมรถไฟฟ้าสายสีชมพูรถไฟฟ้าสายสีเหลืองรถไฟฟ้าในกรุงเทพมหานครและปริมณฑลศูนย์ราชการเฉลิมพระเกียรติ 80 พรรษา 5 ธันวาคม 2550ศูนย์แสดงสินค้าและการประชุม อิมแพ็ค เมืองทองธานีสมคิด จาตุศรีพิทักษ์สำนักงานนโยบายและแผนการขนส่งและจราจรอำเภอปากเกร็ดอำเภอเมืองนนทบุรีอนุสาวรีย์พิทักษ์รัฐธรรมนูญจังหวัดนนทบุรีถนนพหลโยธินถนนรามคำแหงถนนร่มเกล้าถนนวิภาวดีรังสิตถนนสีหบุรานุกิจถนนแจ้งวัฒนะทางพิเศษศรีรัชทางพิเศษอุดรรัถยาทางพิเศษฉลองรัชทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 302ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 304ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 306ทางด่วนและรถไฟฟ้ากรุงเทพคลองแสนแสบประตูกั้นชานชาลาแยกปากเกร็ดแยกแครายแยกเมืองมีนเขตบางเขนเขตมีนบุรีเขตหลักสี่เขตคันนายาว

บอมบาร์ดิเอร์

อมบาร์ดิเอร์ (Bombardier;, บงบาร์ดีเย) เป็นบริษัทที่เกี่ยวกับการบินและอวกาศของแคนาดา ก่อตั้งโดยโฌแซ็ฟ-อาร์ม็อง บงบาร์ดีเย ชาวฝรั่งเศส ในชื่อแรกว่า โลโต-แนฌบงบาร์ดีเย (L'Auto-Neige Bombardier) เมื่อ..

ใหม่!!: รถไฟฟ้าสายสีชมพูและบอมบาร์ดิเอร์ · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2564

ทธศักราช 2564 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2021 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันศุกร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ใหม่!!: รถไฟฟ้าสายสีชมพูและพ.ศ. 2564 · ดูเพิ่มเติม »

กรุงเทพมหานคร

กรุงเทพมหานคร เป็นเมืองหลวงและนครที่มีประชากรมากที่สุดของประเทศไทย เป็นศูนย์กลางการปกครอง การศึกษา การคมนาคมขนส่ง การเงินการธนาคาร การพาณิชย์ การสื่อสาร และความเจริญของประเทศ เป็นเมืองที่มีชื่อยาวที่สุดในโลก ตั้งอยู่บนสามเหลี่ยมปากแม่น้ำเจ้าพระยา มีแม่น้ำเจ้าพระยาไหลผ่านและแบ่งเมืองออกเป็น 2 ฝั่ง คือ ฝั่งพระนครและฝั่งธนบุรี กรุงเทพมหานครมีพื้นที่ทั้งหมด 1,568.737 ตร.กม.

ใหม่!!: รถไฟฟ้าสายสีชมพูและกรุงเทพมหานคร · ดูเพิ่มเติม »

การรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนแห่งประเทศไทย

การรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนแห่งประเทศไทย หรือ รฟม. (Mass Rapid Transit Authority of Thailand ย่อว่า MRTA) เป็นรัฐวิสาหกิจในสังกัดกระทรวงคมนาคม มีภาระหน้าที่ในการจัดให้มี และให้บริการรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนในกรุงเทพมหานครและปริมณฑล และจังหวัดอื่นๆ รฟม.

ใหม่!!: รถไฟฟ้าสายสีชมพูและการรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนแห่งประเทศไทย · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อคลองในกรุงเทพมหานคร

ตัดกันระหว่างคลองบางน้อย กับคลองบางกอกใหญ่ ในพื้นที่แขวงบางเชือกหนัง เขตตลิ่งชัน คลองในกรุงเทพมหานคร มีจำนวน 1,161 คลอง และคูลำกระโดง จำนวน 521 คู รวมเป็น 1,682 คูคลอง ความยาว 2,604 กม.

ใหม่!!: รถไฟฟ้าสายสีชมพูและรายชื่อคลองในกรุงเทพมหานคร · ดูเพิ่มเติม »

รางที่สาม

รางที่สามที่สถานีใกล้กรุงวอชิงตัน ดีซี มีแรงดันที่ 750V DC รางที่สามอยู่บนสุดของภาพมีกันสาดสีขาว สองรางล่างเป็นรางวิ่งทั่วไป กระแสจากรางที่สามวิ่งกลับสถานีจ่ายไฟด้วยรางวิ่งนี้ รางที่สาม เป็นรางตัวนำลักษณะกึ่งแข็งที่มีกระแสไฟฟ้าเพื่อจ่ายพลังงานไฟฟ้าให้กับขบวนรถไฟอย่างต่อเนื่อง รางนี้จะถูกวางที่ด้านข้างหรือระหว่างรางวิ่งของรถไฟ โดยทั่วไปมันมักจะถูกใช้ในระบบขนส่งมวลชนหรือระบบรถไฟฟ้าขนส่งความเร็วสูง ส่วนใหญ่รางที่สามจะจ่ายไฟฟ้ากระแสตรง ระบบรถไฟฟ้ามหานครกรุงเทพ ใช้ไฟ 750 VDC ระบบรางที่สามของการจ่ายไฟฟ้าโดยทั่วไปไม่มีความเกี่ยวข้องกับระบบรางที่สามที่ใช้ในการรถไฟ.

ใหม่!!: รถไฟฟ้าสายสีชมพูและรางที่สาม · ดูเพิ่มเติม »

รางเดี่ยว

รถรางเดี่ยวในกรุงมอสโก ประเทศรัสเซีย รางเดี่ยว (monorail) เป็นระบบขนส่งทางรางชนิดหนึ่ง ต่างจากระบบเดิมแทนที่จะมีราวเหล็กสองราวประกอบเป็นราง กลับมีลักษณะเป็นราวเหล็กเส้นเดียวให้รถวิ่งผ่าน คำว่า monorail มีมาตั้งแต่ พ.ศ. 2440 โดยอ็อยเกิน ลังเงิน (Eugen Langen) วิศวกรชาวเยอรมัน โดยประสมคำว่า mono (เดี่ยว) และ rail (ราวเหล็กสำหรับประกอบรางรถไฟ) เข้าด้วยกัน รถที่ใช้รางเดี่ยวจะวิ่งบนทางที่มีขนาดแคบกว่าตัวรถ โดยอาจมีครีบสำหรับกอดรัดให้ตัวรถติดกับทางไว้ก็ได้ นิยมใช้เป็นระบบขนส่งมวลชนขนาดกลาง จำนวนคนไม่มาก ต่างจากระบบรถรางหนัก (heavy rail) ซึ่งขนส่งคนได้ในปริมาณที่มากกว.

ใหม่!!: รถไฟฟ้าสายสีชมพูและรางเดี่ยว · ดูเพิ่มเติม »

รถไฟฟ้าชานเมืองสายสีแดงเข้ม

รถไฟฟ้าชานเมืองสายสีแดงเข้ม (บ้านภาชี-มหาชัย) เป็นส่วนหนึ่งของโครงการระบบรถไฟชานเมืองสายสีแดง โดยการรถไฟแห่งประเทศไทย (รฟท.) ซึ่งเป็นเส้นทางรถไฟที่เป็นแกนหลักของแผนแม่บทระบบขนส่งมวลชนทางราง ในกรุงเทพมหานครและปริมณฑล โดยสำนักงานนโยบายและแผนการขนส่งและจราจร (สนข.) มีแนวเส้นทางตามแกนหลักทิศเหนือ-ทิศใต้/ตะวันตกเฉียงใต้ พื้นที่โครงการส่วนใหญ่อยู่ในเขตทางของการรถไฟแห่งประเทศไทย รถไฟฟ้าชานเมืองสายสีแดงเข้ม มีแผนงานรวม 114.3 กม.

ใหม่!!: รถไฟฟ้าสายสีชมพูและรถไฟฟ้าชานเมืองสายสีแดงเข้ม · ดูเพิ่มเติม »

รถไฟฟ้าบีทีเอส สายสุขุมวิท

รถไฟฟ้าเฉลิมพระเกียรติ 6 รอบพระชนมพรรษา สาย 1 หรือ รถไฟฟ้าบีทีเอส สายสุขุมวิท หรือ รถไฟฟ้าสายสีเขียวอ่อน เป็นส่วนหนึ่งของแผนแม่บทระบบขนส่งมวลชนทางราง ในกรุงเทพมหานครและปริมณฑล โดยจะครอบคลุมพื้นที่กรุงเทพมหานคร, จังหวัดปทุมธานี และจังหวัดสมุทรปราการ เปิดให้บริการครั้งแรกในปี..

ใหม่!!: รถไฟฟ้าสายสีชมพูและรถไฟฟ้าบีทีเอส สายสุขุมวิท · ดูเพิ่มเติม »

รถไฟฟ้ามหานคร

รถไฟฟ้ามหานคร (Metropolitan Rapid Transit, MRT) เป็นระบบรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนในกรุงเทพมหานครและปริมณฑล ที่ดำเนินการโดยการรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนแห่งประเทศไทย (รฟม.) เป็นส่วนหนึ่งของโครงข่ายระบบขนส่งมวลชนทางราง ในกรุงเทพมหานครและปริมณฑลนอกเหนือไปจากระบบรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนอื่น ได้แก่ ระบบขนส่งมวลชนกรุงเทพมหานคร (รถไฟฟ้าบีทีเอส) ของกรุงเทพมหานคร (กทม.) และโครงการระบบรถไฟชานเมือง (สายสีแดง) ของการรถไฟแห่งประเทศไทย (รฟท.) รถไฟฟ้ามหานครที่เปิดให้บริการแล้วในปัจจุบันได้แก่ รถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคล และสายฉลองรัชธรรม.

ใหม่!!: รถไฟฟ้าสายสีชมพูและรถไฟฟ้ามหานคร · ดูเพิ่มเติม »

รถไฟฟ้ามหานคร สายสีส้ม

รถไฟฟ้ามหานคร สายสีส้ม (Metropolitan Rapid Transit Orange Line, MRT Orange Line) เป็นหนึ่งในโครงการก่อสร้างเส้นทางรถไฟฟ้าในระบบรถไฟฟ้ามหานคร ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของโครงการระบบขนส่งมวลชนทางรางในกรุงเทพมหานคร และปริมณฑล โดยการรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนแห่งประเทศไทย (รฟม.) เป็นระบบรถไฟฟ้าที่มีทั้งโครงสร้างใต้ดิน และยกระดับ มีแนวเส้นทางที่รองรับการเดินทางภายในเขตเมืองตามแนวตะวันออก - ตะวันตก เริ่มต้นจากสถานีรถไฟชุมทางตลิ่งชัน ชานเมืองด้านทิศตะวันตกเฉียงเหนือของกรุงเทพฯ ฝั่งธนบุรี เข้าสู่ย่านบางกอกน้อย แล้วลอดใต้แม่น้ำเจ้าพระยา เข้าสู่ย่านเมืองเก่าในเขตพระนคร, ป้อมปราบศัตรูพ่าย และดุสิต ผ่านสถานที่สำคัญเช่น สนามหลวง, ถนนราชดำเนิน, ภูเขาทอง, ตลาดมหานาค เข้าสู่ใจกลางเมืองย่านราชเทวี, ประตูน้ำ, ดินแดง ไปยังชุมชนประชาสงเคราะห์, ถนนวัฒนธรรม ออกสู่ถนนรามคำแหง, บางกะปิ, สะพานสูง มาสิ้นสุดเส้นทางที่เขตมีนบุรี ชานเมืองด้านทิศตะวันออกเฉียงเหนือของกรุงเทพฯเอกสารโครงการศึกษาปรับแผนแม่บทระบบขนส่งมวลชนทางรางในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล: การสัมมนารับฟังความคิดเห็นครั้งที่ 3 วันที่ 19 พฤศจิกายน..

ใหม่!!: รถไฟฟ้าสายสีชมพูและรถไฟฟ้ามหานคร สายสีส้ม · ดูเพิ่มเติม »

รถไฟฟ้ามหานคร สายฉลองรัชธรรม

รถไฟฟ้ามหานคร สายฉลองรัชธรรม (Metropolitan Rapid Transit Chalong Ratchadham Line) หรือ รถไฟฟ้ามหานคร สายสีม่วง (MRT Purple Line) ซึ่งเรียกตามสีที่กำหนดในแผนแม่บทโครงการระบบขนส่งมวลชนทางรางในกรุงเทพมหานครและปริมณฑล เป็นหนึ่งในโครงการก่อสร้างเส้นทางรถไฟฟ้าในระบบรถไฟฟ้ามหานคร โดย การรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนแห่งประเทศไทย (รฟม. หรือ MRTA) เส้นทางรถไฟฟ้าสายนี้เกิดขึ้นจากการปรับแผนแม่บทระบบขนส่งมวลชนทางราง พ.ศ. 2538 ที่นำเอาเส้นทางรถไฟฟ้าสายเฉลิมรัชมงคล (สายสีน้ำเงิน) ส่วนต่อขยายเดิมช่วงเตาปูน-บางใหญ่, สายสีม่วงเดิม ช่วงหอสมุดแห่งชาติ-เตาปูน และสายสีส้มเดิม ช่วงสามเสน (หอสมุดแห่งชาติ)-ราษฎร์บูรณะ มาเชื่อมต่อเข้าด้วยกัน กลายเป็นรถไฟฟ้าเส้นทางใหม่ที่กำหนดให้เป็นสายสีม่วง บรรจุในแผนแม่บทฯ ของสำนักงานนโยบายและแผนการขนส่งและจราจร (สนข.) เป็นครั้งแรกเมื่อปี พ.ศ. 2547 นาม ฉลองรัชธรรม เป็นชื่อที่พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานเพื่อเป็นชื่ออย่างเป็นทางการของโครงการรถไฟฟ้ามหานคร สายสีม่วง ระยะแรก สายคลองบางไผ่-นนทบุรี-เตาปูน มีความหมายว่า “เฉลิมฉลองพระราชาที่ปกครองโดยธรรม” โดยการรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนแห่งประเทศไทยได้ยื่นเรื่องขอพระราชทานชื่อเส้นทาง เนื่องในโอกาสฉลองสิริราชสมบัติครบ 70 ปี และเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ ในโอกาสพระราชพืธีมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา 7 รอบ 12 สิงหาคม..

ใหม่!!: รถไฟฟ้าสายสีชมพูและรถไฟฟ้ามหานคร สายฉลองรัชธรรม · ดูเพิ่มเติม »

รถไฟฟ้าสายสีชมพู

รงการรถไฟฟ้าสายสีชมพู ช่วงแคราย-มีนบุรี เป็นโครงการก่อสร้างระบบขนส่งมวลชนในพื้นที่จังหวัดนนทบุรี และกรุงเทพมหานคร ซึ่งได้รับการกำหนดให้ใช้ระบบรถไฟฟ้ารางเดี่ยว (monorail) เป็นระบบหลัก เป็นโครงการรถไฟฟ้าโครงการหนึ่งตามแผนแม่บทโครงการระบบขนส่งมวลชนทางรางในกรุงเทพมหานครและปริมณฑล และเป็นหนึ่งในโครงการก่อสร้างเส้นทางรถไฟฟ้าในระบบรถไฟฟ้ามหานคร โดยการรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนแห่งประเทศไทย ในระยะแรกโครงการดังกล่าวมีระยะทางรวมทั้งสิ้น 27 กิโลเมตร แต่ต่อมาก็ได้มีการขยายต้นทางจากปากเกร็ดมายังแคราย เพื่อเชื่อมกับโครงการรถไฟฟ้ามหานคร สายฉลองรัชธรรม ทำให้เส้นทางของโครงการเริ่มต้นที่ศูนย์ราชการจังหวัดนนทบุรี และสิ้นสุดที่มีนบุรี ระยะทางรวมประมาณ 34–36 กิโลเมตร.

ใหม่!!: รถไฟฟ้าสายสีชมพูและรถไฟฟ้าสายสีชมพู · ดูเพิ่มเติม »

รถไฟฟ้าสายสีเหลือง

รงการรถไฟฟ้าสายสีเหลือง ช่วงลาดพร้าว-สำโรง เป็นโครงการระบบขนส่งมวลชนในพื้นที่กรุงเทพมหานครและปริมณฑล โดยการรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนแห่งประเทศไทย ซึ่งกระทรวงคมนาคมโดยสำนักงานนโยบายและแผนการขนส่งและจราจรได้เร่งรัดแผนงานจากกำหนดการเดิมในปี..

ใหม่!!: รถไฟฟ้าสายสีชมพูและรถไฟฟ้าสายสีเหลือง · ดูเพิ่มเติม »

รถไฟฟ้าในกรุงเทพมหานครและปริมณฑล

รถไฟฟ้าในกรุงเทพมหานครและปริมณฑล หรือ โครงข่ายระบบรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนในกรุงเทพมหานครและพื้นที่ต่อเนื่อง เป็นระบบขนส่งมวลชนแบบรางใน กรุงเทพมหานครและปริมณฑล เริ่มเปิดให้บริการเป็นครั้งแรกเมื่อปี พ.ศ. 2542 ในเส้นทาง รถไฟฟ้าบีทีเอส สายสุขุมวิท สถานีหมอชิต-สถานีอ่อนนุช และ รถไฟฟ้าบีทีเอส สายสีลม สถานีสนามกีฬาแห่งชาติ-สถานีสะพานตากสิน โดยในปัจจุบันมีรถไฟฟ้าที่เปิดให้บริการแล้วทั้งสิ้น 5 สาย 77 สถานี ครอบคลุมระยะทางกว่า 112 กิโลเมตร*.

ใหม่!!: รถไฟฟ้าสายสีชมพูและรถไฟฟ้าในกรุงเทพมหานครและปริมณฑล · ดูเพิ่มเติม »

ศูนย์ราชการเฉลิมพระเกียรติ 80 พรรษา 5 ธันวาคม 2550

ูนย์ราชการเฉลิมพระเกียรติ 80 พรรษา 5 ธันวาคม 2550 ศูนย์ราชการเฉลิมพระเกียรติ 80 พรรษา 5 ธันวาคม 2550 ตั้งอยู่ที่ถนนแจ้งวัฒนะ เป็นสถานที่ที่รวมหน่วยงานราชการต่างๆไว้ในที่เดียวกัน รวมทั้งสิ้น 29 หน่วยงาน เช่น กระทรวงยุติธรรม กระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม กระทรวงการต่างประเทศ และสำนักงานตำรวจแห่งชาติเป็นต้น โดยมีแนวคิดในการบริหารพื้นที่ราชพัสดุ และทรัพยากรของราชการร่วมกันเพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุด โดยพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้สมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ สยามมกุฎราชกุมาร เสด็จพระราชดำเนินทรงเปิดอาคารศูนย์ราชการ ในวันอาทิตย์ที่ 17 กุมภาพันธ์ 2556.

ใหม่!!: รถไฟฟ้าสายสีชมพูและศูนย์ราชการเฉลิมพระเกียรติ 80 พรรษา 5 ธันวาคม 2550 · ดูเพิ่มเติม »

ศูนย์แสดงสินค้าและการประชุม อิมแพ็ค เมืองทองธานี

ูนย์แสดงสินค้าและการประชุม อิมแพ็ค เมืองทองธานี (IMPACT Arena, Exhibition and Convention Center, Muang Thong Thani) เป็นศูนย์จัดแสดงสินค้าและการประชุมที่ใหญ่ที่สุดในประเทศไทย ตั้งอยู่ภายในพื้นที่ของเมืองทองธานี ในเขตอำเภอปากเกร็ด จังหวัดนนทบุรี โดยในแต่ละปีจะมีการจัดงานอีเวนท์ต่างๆ มากกว่า 400 งาน และมีผู้เยี่ยมชมมากกว่า 15 ล้านรายต่อปี.

ใหม่!!: รถไฟฟ้าสายสีชมพูและศูนย์แสดงสินค้าและการประชุม อิมแพ็ค เมืองทองธานี · ดูเพิ่มเติม »

สมคิด จาตุศรีพิทักษ์

รองศาสตราจารย์ สมคิด จาตุศรีพิทักษ์ ปัจจุบันเป็นรองนายกรัฐมนตรี ในรัฐบาล พล.อ.ประยุทธ์ จันทร์โอชา ประธานกรรมการนโยบายการให้เอกชนร่วมลงทุนในกิจการของรัฐ รองประธานกรรมการในคณะกรรมการส่งเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม (เฉพาะกิจ) กรรมการในคณะกรรมการบริหารราชการแผ่นดินตามกรอบการปฏิรูปประเทศยุทธศาสตร์ชาติ และการสร้างความสามัคคีปรองดอง อดีตรองนายกรัฐมนตรี ดูแลด้านเศรษฐกิจ และอดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงพาณิชย์ ในรัฐบาลของนายกรัฐมนตรี ทักษิณ ชินวัตร และเคยดำรงตำแหน่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลังหลายสมัย และยังเป็นที่ปรึกษาคณะรักษาความสงบแห่งชาติและอดีตสมาชิกคณะรักษาความสงบแห่งชาติตามประกาศคณะรักษาความสงบแห่งชาติที่ 122/2557.

ใหม่!!: รถไฟฟ้าสายสีชมพูและสมคิด จาตุศรีพิทักษ์ · ดูเพิ่มเติม »

สำนักงานนโยบายและแผนการขนส่งและจราจร

ำนักงานนโยบายและแผนการขนส่งและจราจร หรือ สน. เป็นส่วนราชการระดับกรม สังกัดกระทรวงคมนาคม จัดตั้งขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 2545.

ใหม่!!: รถไฟฟ้าสายสีชมพูและสำนักงานนโยบายและแผนการขนส่งและจราจร · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอปากเกร็ด

ปากเกร็ด เป็นเป็นอำเภอที่มีตำบลมากที่สุดในจังหวัดนนทบุรี ที่ตั้งมีแม่น้ำเจ้าพระยาตัดผ่านตัวอำเภอ สภาพพื้นที่ทางฝั่งตะวันตกส่วนใหญ่เป็นสวนผลไม้ต่าง ๆ ไร่นา ท้องทุ่ง ปศุสัตว์ ดังเช่นในชนบท ส่วนทางฝั่งตะวันออกมีที่พักอาศัย อุตสาหกรรม ห้างสรรพสินค้า โรงภาพยนตร์ ซูเปอร์มาร์เก็ต และยังเป็นที่ตั้งหน่วยงานราชการส่วนกลางของประเทศ ในอดีตอำเภอปากเกร็ดเคยขึ้นกับจังหวัดพระนครอยู่ช่วงหนึ่ง และบางตำบลเคยอยู่ในอำเภอบางบัวทอง.

ใหม่!!: รถไฟฟ้าสายสีชมพูและอำเภอปากเกร็ด · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอเมืองนนทบุรี

มืองนนทบุรี เป็นอำเภอศูนย์กลางการปกครอง การศึกษา เศรษฐกิจ และการสาธารณสุขของจังหวัดนนทบุรี.

ใหม่!!: รถไฟฟ้าสายสีชมพูและอำเภอเมืองนนทบุรี · ดูเพิ่มเติม »

อนุสาวรีย์พิทักษ์รัฐธรรมนูญ

อนุสาวรีย์พิทักษ์รัฐธรรมนูญ เป็นอนุสาวรีย์ที่ตั้งอยู่ ณ วงเวียนหลักสี่ จุดตัดระหว่างถนนพหลโยธินกับถนนแจ้งวัฒนะและถนนรามอินทรา ตั้งอยู่ในพื้นที่แขวงอนุสาวรีย์ เขตบางเขน กรุงเทพมหานคร อนุสาวรีย์พิทักษ์รัฐธรรมนูญจัดสร้างขึ้นเพื่อรำลึกถึงเหตุการณ์ความขัดแย้งทางการเมืองการปราบกบฏบวรเดช โดยมีการบรรจุอัฐิทหารและตำรวจที่เสียชีวิตในเหตุการณ์ดังกล่าวไว้ภายในรวม 17 นาย จึงมีชื่อเรียกอื่นๆ ได้แก่ อนุสาวรีย์ปราบกบฏ อนุสาวรีย์ 17 ทหารและตำรวจ อนุสาวรีย์หลักสี่ หรืออนุสาวรีย์หลวงอำนวยสงคราม มีการปรับปรุงพื้นที่บริเวณโดยรอบอนุสาวรีย์พิทักษ์รัฐธรรมนูญอยู่หลายครั้งโดยกรมทางหลวง เพื่อลดปัญหาการจราจรติดขัดโดยรอบอนุสาวรีย์ อาทิ การปรับภูมิทัศน์เป็นสี่แยกและการขุดอุโมงค์ลอดอนุสาวรีย์ และการก่อสร้างสะพานลอยด้านข้างอนุสาวรีย์เพื่อเชื่อมต่อถนนแจ้งวัฒนะกับถนนรามอินทรา ปัจจุบันในบริเวณอนุสาวรีย์มีการก่อสร้างโครงการก่อสร้างรถไฟฟ้าสายสีเขียว ส่วนต่อขยายหมอชิต - คูคต และโครงการรถไฟฟ้าสายสีชมพู ช่วงแคราย-มีนบุรี (พ.ศ. 2561) อนุสาวรีย์พิทักษ์รัฐธรรมนูญได้รับการออกแบบโดยหลวงนฤมิตรเลขการ อาจารย์ประจำโรงเรียนนายร้อยพระจุลจอมเกล้า โดยยึดหลักทางการเมืองของรัฐบาล 5 ประการ คือ ชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์ กองทัพ และรัฐธรรมนูญ อนุสาวรีย์พิทักษ์รัฐธรรมนูญ เรียกข้อมูลวันที่ 19 กุมภาพัน..

ใหม่!!: รถไฟฟ้าสายสีชมพูและอนุสาวรีย์พิทักษ์รัฐธรรมนูญ · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดนนทบุรี

ังหวัดนนทบุรี เป็นจังหวัดหนึ่งในภาคกลางของประเทศไทย จัดตั้งขึ้นครั้งล่าสุดโดยพระราชบัญญัติจัดตั้งจังหวัดสมุทรปราการ จังหวัดนนทบุรี จังหวัดสมุทรสาคร และจังหวัดนครนายก พุทธศักราช 2489 ซึ่งมีผลใช้บังคับตั้งแต่วันที่ 9 พฤษภาคม..

ใหม่!!: รถไฟฟ้าสายสีชมพูและจังหวัดนนทบุรี · ดูเพิ่มเติม »

ถนนพหลโยธิน

นนพหลโยธิน (Thanon Phahon Yothin) ซึ่งมีระยะทางส่วนใหญ่เป็น ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 1 สายกรุงเทพมหานคร−แม่สาย (เขตแดน) เป็นถนนสายหลักในกรุงเทพมหานคร และเป็นหนึ่งในทางหลวงสายประธานทั้งสี่ของประเทศไทย (ประกอบด้วยถนนพหลโยธิน ถนนมิตรภาพ ถนนสุขุมวิท และถนนเพชรเกษม) สายทางเริ่มต้นที่อนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ เขตราชเทวี กรุงเทพมหานคร ผ่านภาคกลาง และมุ่งเข้าสู่ภาคเหนือของประเทศไทย สิ้นสุดที่ด่านพรมแดนแม่สาย อำเภอแม่สาย จังหวัดเชียงราย บริเวณชายแดนประเทศพม่า รวมระยะทางยาว 994.749 กิโลเมตร บางช่วงของถนนพหลโยธินอยู่ในโครงข่ายทางหลวงเอเชีย ได้แก่ ช่วงบ้านหินกองถึงอำเภอบางปะอินเป็นทางหลวงเอเชียสาย 1, ช่วงแยกหลวงพ่อโอ (เส้นแบ่งเขตจังหวัดชัยนาทกับจังหวัดนครสวรรค์) ถึงอำเภอเมืองตาก เป็นทั้งทางหลวงเอเชียสาย 1 และสาย 2 และช่วงอำเภอเมืองสระบุรีถึงบ้านหินกองเป็นทางหลวงเอเชียสาย 12 นอกจากนี้ยังเป็นส่วนหนึ่งของทางหลวงคุนหมิง–กรุงเทพ ถนนพหลโยธินช่วงตั้งแต่จังหวัดพระนครศรีอยุธยา เส้นทางของถนนจะเบี่ยงไปทิศตะวันออก ผ่านจังหวัดสระบุรีและจังหวัดลพบุรี แล้ววกกลับมายังจังหวัดชัยนาท เนื่องจากในสมัยก่อนต้องการให้ทางหลวงสายหลักผ่านที่ตั้งของกองทหารสำคัญของประเท.

ใหม่!!: รถไฟฟ้าสายสีชมพูและถนนพหลโยธิน · ดูเพิ่มเติม »

ถนนรามคำแหง

นนรามคำแหง (Thanon Ramkhamhaeng) เป็นถนนสายหนึ่งในกรุงเทพมหานคร ฝั่งตะวันออก มีความยาวรวมทั้งหมดประมาณ 18 กิโลเมตร แบ่งออกเป็น 2 ช่วงคือ.

ใหม่!!: รถไฟฟ้าสายสีชมพูและถนนรามคำแหง · ดูเพิ่มเติม »

ถนนร่มเกล้า

นนร่มเกล้า (Thanon Rom Klao) หรือ ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 3119 สายมีนบุรี–ลาดกระบัง เดิมมีชื่อว่า "ถนนมีนบุรี–ลาดกระบัง" เป็นถนนในกรุงเทพมหานคร ระยะทาง 11.003 กิโลเมตร มีจุดเริ่มต้นจากถนนสุวินทวงศ์ในท้องที่แขวงมีนบุรี เขตมีนบุรี กรุงเทพมหานคร ไปบรรจบกับถนนลาดกระบัง ในท้องที่แขวงลาดกระบัง เขตลาดกระบัง กรุงเทพมหานคร ซึ่งจุดสิ้นสุดของถนนร่มเกล้าในท้องที่เขตลาดกระบังต่อจากนี้ไปจะเป็นทางยกระดับเข้าท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ แต่เดิมถนนเส้นนี้มีเพียง 2 ช่องทางจราจร แต่ในปัจจุบันเป็นถนนแบบ 6 ช่องทางจราจร ยกเว้นช่วงสะพานข้ามคลองแสนแสบและสะพานข้ามทางรถไฟสายตะวันออกจะมีขนาดเพียง 4 ช่องทางจราจร โดยถนนร่มเกล้าฟากตะวันออกในพื้นที่เขตมีนบุรี ตั้งแต่สะพานข้ามคลองแสนแสบถึงเส้นแบ่งเขตมีนบุรีกับเขตลาดกระบัง เป็นเส้นแบ่งแขวงระหว่างแขวงมีนบุรีกับแขวงแสนแ.

ใหม่!!: รถไฟฟ้าสายสีชมพูและถนนร่มเกล้า · ดูเพิ่มเติม »

ถนนวิภาวดีรังสิต

นนวิภาวดีรังสิต (Thanon Vibhavadi Rangsit) หรือ ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 31 (ดินแดง - ดอนเมือง) เป็นทางหลวงแผ่นดินสายรองประธานในภาคกลาง เชื่อมต่อถนนในกรุงเทพมหานครกับถนนพหลโยธินสู่ภาคกลาง, ภาคเหนือ และภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทย ถนนสายนี้มีลักษณะเป็นทางหลวงพิเศษหรือซูเปอร์ไฮเวย์ ซึ่งแบ่งช่องทางเดินรถเป็นทางด่วนหรือทางหลัก และทางคู่ขนาน ยกเว้นช่วงที่ผ่านหน้าท่าอากาศยานดอนเมืองจะไม่แบ่งเป็นช่องทางด่วนและทางคู่ขนานเนื่องจากมีพื้นที่จำกัดเพราะถูกขนาบด้วยสนามบิน และทางรถไฟสายเหนือ ปัจจุบันมีทางยกระดับอุตราภิมุข (ดอนเมืองโทลล์เวย์) เป็นทางด่วนพิเศษยกระดับเก็บค่าผ่านทาง อยู่เหนือถนนวิภาวดีรังสิตด้วย เพื่อเป็นทางเลือกให้ผู้เดินทางที่ต้องการความรวดเร็วกว่าเดิม.

ใหม่!!: รถไฟฟ้าสายสีชมพูและถนนวิภาวดีรังสิต · ดูเพิ่มเติม »

ถนนสีหบุรานุกิจ

นนสีหบุรานุกิจ (Thanon Sihaburanukit) เป็นถนนสายสั้น ๆ ในแขวงมีนบุรี เขตมีนบุรี กรุงเทพมหานคร มีความยาวประมาณ 3 กิโลเมตร มีจุดเริ่มต้นที่แยกเมืองมีน ซึ่งเป็นจุดตัดระหว่างถนนรามอินทรา ถนนสุวินทวงศ์ และถนนเสรีไทย มีทิศทางมุ่งไปทางทิศตะวันออก ข้ามคลองสามวา เลี้ยวขึ้นไปทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือ ไปบรรจบกับกับถนนร่มเกล้าบริเวณวัดแสนสุข สถานที่สำคัญบนถนนสายนี้ มีโรงพยาบาลนวมินทร์ วิทยาลัยเทคนิคมีนบุรี ตลาดนัดจตุจักร 2 ตลาดมีนบุรี สวนเฉลิมพระเกียรติ ร.9 มีนบุรี สำนักงานเขตมีนบุรี พิพิธภัณฑ์ท้องถิ่นกรุงเทพมหานคร เขตมีนบุรี โรงเรียนมีนบุรี โรงเรียนสตรีเศรษฐบุตรบำเพ็ญ ศาลจังหวัดมีนบุรี และวัดแสนสุข ในอดีตถนนสายนี้เคยเป็นทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 3101 แต่ในปัจจุบันดูแลโดยกรุงเทพมหานคร หมวดหมู่:ถนนในกรุงเทพมหานคร หมวดหมู่:ถนนในเขตมีนบุรี.

ใหม่!!: รถไฟฟ้าสายสีชมพูและถนนสีหบุรานุกิจ · ดูเพิ่มเติม »

ถนนแจ้งวัฒนะ

นนแจ้งวัฒนะ ถนนแจ้งวัฒนะ (Thanon Chaeng Watthana) เป็นถนนสายหนึ่งในอำเภอปากเกร็ด จังหวัดนนทบุรี เขตหลักสี่ และเขตบางเขน กรุงเทพมหานคร ตั้งชื่อเพื่อเป็นเกียรติแก่นายชลอ แจ้งวัฒนะ อดีตนายช่างกำกับแขวงการทางกรุงเทพที่ 2 กรมทางหลวง ซึ่งเป็นนายช่างที่ควบคุมการก่อสร้างถนนสายนี้ - ราชกิจจานุเบกษา เล่มที่ 67 ตอน 67 ง, 12 ธันวาคม..

ใหม่!!: รถไฟฟ้าสายสีชมพูและถนนแจ้งวัฒนะ · ดูเพิ่มเติม »

ทางพิเศษศรีรัช

ทางพิเศษศรีรัช หรือ ระบบทางด่วนขั้นที่ 2 (ส่วนในเมือง) เป็นทางพิเศษในกรุงเทพมหานคร ก่อสร้างและเปิดให้บริการเป็นครั้งแรกเมื่อวันที่ 2 กันยายน..

ใหม่!!: รถไฟฟ้าสายสีชมพูและทางพิเศษศรีรัช · ดูเพิ่มเติม »

ทางพิเศษอุดรรัถยา

ทางพิเศษอุดรรัถยา หรือ ทางด่วนสายบางปะอิน–ปากเกร็ด เป็นทางด่วนของการทางพิเศษแห่งประเทศไทย ระยะทางรวม 32 กิโลเมตร มีปลายทางทิศใต้ที่ปลายทางทิศเหนือของทางพิเศษศรีรัชส่วน C บริเวณจุดตัดกับถนนแจ้งวัฒนะ ในอำเภอปากเกร็ด จังหวัดนนทบุรี และมีปลายทางทิศเหนือบนถนนกาญจนาภิเษกด้านตะวันตก ในอำเภอบางไทร จังหวัดพระนครศรีอยุธยา เปิดให้บริการครั้งแรกเมื่อวันที่ 2 ธันวาคม..

ใหม่!!: รถไฟฟ้าสายสีชมพูและทางพิเศษอุดรรัถยา · ดูเพิ่มเติม »

ทางพิเศษฉลองรัช

ทางพิเศษฉลองรัช เป็นทางพิเศษในกรุงเทพมหานคร ก่อสร้างและเปิดให้บริการตลอดสาย เมื่อวันที่ 6 ตุลาคม..

ใหม่!!: รถไฟฟ้าสายสีชมพูและทางพิเศษฉลองรัช · ดูเพิ่มเติม »

ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 302

ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 302 สายแยกมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์–ต่างระดับบางใหญ่ เป็นทางหลวงแผ่นดินในกรุงเทพมหานครและจังหวัดนนทบุรี ครอบคลุมถนนสองสายต่อเนื่องกัน ได้แก่ ถนนรัตนาธิเบศร์ และถนนงามวงศ์วาน ทางหลวงสายนี้ช่วงที่อยู่ในเขตกรุงเทพมหานครจะอยู่ในเขตควบคุมของกรุงเทพมหานครและแขวงทางหลวงกรุงเทพ ส่วนช่วงที่อยู่ในเขตจังหวัดนนทบุรีจะอยู่ในเขตควบคุมของแขวงทางหลวงนนทบุรี โดยสองหน่วยงานหลังเป็นหน่วยงานสังกัดสำนักงานทางหลวงที่ 13 กรุงเท.

ใหม่!!: รถไฟฟ้าสายสีชมพูและทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 302 · ดูเพิ่มเติม »

ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 304

ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 304 สายปากเกร็ด–สะพานต่างระดับนครราชสีมา เป็นทางหลวงแผ่นดินสายรองประธานที่เชื่อมระหว่างจังหวัดนนทบุรี กรุงเทพมหานคร จังหวัดฉะเชิงเทรา จังหวัดปราจีนบุรี และจังหวัดนครราชสีมา มีจุดเริ่มต้นบนถนนติวานนท์ (ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 306) ที่ห้าแยกปากเกร็ด ในอำเภอปากเกร็ด จังหวัดนนทบุรี และสิ้นสุดบนถนนมิตรภาพ กับทางเลี่ยงเมืองนครราชสีมาด้านตะวันตก (ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 204) ที่ทางแยกต่างระดับนครราชสีมา ในอำเภอเมืองนครราชสีมา จังหวัดนครราชสีมา ระยะทางทั้งสิ้น 298.515 กิโลเมตร อยู่ในความรับผิดชอบของกรมทางหลวง 296.707 กิโลเมตร.

ใหม่!!: รถไฟฟ้าสายสีชมพูและทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 304 · ดูเพิ่มเติม »

ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 306

ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 306 สายพระราม 7–บางพูน เป็นทางหลวงแผ่นดินที่ก่อสร้างเลียบแม่น้ำเจ้าพระยาทางฝั่งตะวันออก โดยเริ่มต้นตั้งแต่ในเขตกรุงเทพมหานคร บริเวณหน้ามหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ เข้าเขตจังหวัดนนทบุรี ผ่านท้องที่อำเภอเมืองนนทบุรีและอำเภอปากเกร็ด เข้าสู่เขตจังหวัดปทุมธานี มีขนาด 6 ช่องจราจรตลอดเส้นทาง.

ใหม่!!: รถไฟฟ้าสายสีชมพูและทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 306 · ดูเพิ่มเติม »

ทางด่วนและรถไฟฟ้ากรุงเทพ

ริษัท ทางด่วนและรถไฟฟ้ากรุงเทพ จำกัด (มหาชน) (Bangkok Expressway and Metro Public Company Limited ย่อว่า BEM) บริษัทที่ดำเนินธุรกิจคมนาคมขนส่งซึ่งเป็นโครงการก่อสร้างขนาดใหญ่ซึ่งเป็นความร่วมมือกันระหว่างภาครัฐและเอกชนโดยบริษัทแห่งนี้เป็นคู่สัมปทานกับ การรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนแห่งประเทศไทย (รฟม.) และ การทางพิเศษแห่งประเทศไทย (กทพ.).

ใหม่!!: รถไฟฟ้าสายสีชมพูและทางด่วนและรถไฟฟ้ากรุงเทพ · ดูเพิ่มเติม »

คลองแสนแสบ

รือด่วนในคลองแสนแสบ คลองแสนแสบ เป็นคลองที่ขุดขึ้นตามพระราชดำริของพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว (รัชกาลที่ 3) เพื่อเชื่อมแม่น้ำเจ้าพระยากับแม่น้ำบางปะกงเข้าด้วยกัน เมื่อปี พ.ศ. 2380 ด้วยพระราชประสงค์เพื่ออำนวยความสะดวกในการขนส่งอาวุธยุทธภัณฑ์ กำลังรบ และเสบียงอาหารไปยังญวน (เวียดนาม) ในราชการสงครามไทย-ญวน ซึ่งใช้เวลารบนานถึง 14 ปี ใน คือ อานามสยามยุทธ คลองแสนแสบเป็นเส้นทางโดยสารที่นิยมเป็นอย่างมากเพราะสะดวกและรวดเร็ว แต่ในปัจจุบันนั้นมีปัญหามลภาวะทางน้ำ ส่งกลิ่นเหม็นเป็นอย่างมาก เนื่องจากมีการทำลายสิ่งแวดล้อมโดยการทิ้งขยะลงในแม่น้ำ ทำให้คลองแสนแสบนั้นมีสภาพที่สกปรกไม่น่ามอง.

ใหม่!!: รถไฟฟ้าสายสีชมพูและคลองแสนแสบ · ดูเพิ่มเติม »

ประตูกั้นชานชาลา

ประตูกั้นชานชาลาของสถานีรถไฟใต้ดินเซนต์ปีเตอร์สเบิร์ก ประตูกั้นชานชาลาของสถานีรถไฟใต้ดินสิงคโปร์ ประตูกั้นชานชาลาของสถานีรถไฟฟ้าปารีส สาย 14 ประตูกั้นชานชาลาของสถานีรถไฟใต้ดินบาร์เซโลนา ประตูกั้นชานชาลาของสถานีรถไฟใต้ดินไทเป ประตูกั้นชานชาลาของสถานีรถไฟฟ้าเชื่อมท่าอากาศยานโตรอนโต ประตูกั้นชานชาลาของสถานีรถไฟใต้ดินควังจู ประตูกั้นชานชาลาของสถานีรถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคล กรุงเทพมหานคร ประตูกั้นชานชาลาของสถานีรถไฟใต้ดินลอนดอน ประตูกั้นชานชาลา (Platform screen doors, PSDs) เป็นประตูที่กั้นระหว่างชานชาลาสถานีรถไฟฟ้าและขบวนรถไฟฟ้า ส่วนใหญ่มักจะติดตั้งพร้อมกับวันเปิดเดินรถ หรือภายหลังจากนั้น ประตูกั้นชานชาลาแห่งแรกของโลก อยู่ที่สถานีรถไฟใต้ดินเซนต์ปีเตอร์สเบิร์ก ซึ่งเปิดในปี ค.ศ. 1961.

ใหม่!!: รถไฟฟ้าสายสีชมพูและประตูกั้นชานชาลา · ดูเพิ่มเติม »

แยกปากเกร็ด

แยกปากเกร็ด เป็นทางแยกจุดตัดถนนติวานนท์กับถนนแจ้งวัฒนะและถนนภูมิเวท ในเขตตำบลปากเกร็ด อำเภอปากเกร็ด จังหวัดนนทบุรี.

ใหม่!!: รถไฟฟ้าสายสีชมพูและแยกปากเกร็ด · ดูเพิ่มเติม »

แยกแคราย

แยกแคราย (Khae Rai Intersection) เป็นทางแยกจุดตัดระหว่างถนนติวานนท์ ถนนรัตนาธิเบศร์ และถนนงามวงศ์วาน ในท้องที่หมู่ที่ 9 ตำบลบางกระสอ อำเภอเมืองนนทบุรี จังหวัดนนทบุรี การจราจรบริเวณทางแยกนี้จะติดขัดมากเป็นพิเศษในช่วงเวลาเร่งด่วน.

ใหม่!!: รถไฟฟ้าสายสีชมพูและแยกแคราย · ดูเพิ่มเติม »

แยกเมืองมีน

แยกเมืองมีน หรือ แยกมีนบุรี เป็นสี่แยกจุดตัดระหว่างถนนรามอินทรา (ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 304) ต่อเนื่องถนนสีหบุรานุกิจ ซึ่งเป็นเส้นทางเข้าสู่ชุมชนตลาดมีนบุรี กับถนนเสรีไทยต่อเนื่องถนนสุวินทวงศ์ (ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 304) ในพื้นที่แขวงมีนบุรี เขตมีนบุรี กรุงเทพมหานคร.

ใหม่!!: รถไฟฟ้าสายสีชมพูและแยกเมืองมีน · ดูเพิ่มเติม »

เขตบางเขน

ตบางเขน เป็น 1 ใน 50 เขตการปกครองของกรุงเทพมหานคร อยู่ในกลุ่มเขตกรุงเทพเหนือ ซึ่งถือเป็นเขตที่อยู่อาศัยรองรับการขยายตัวของเมือง ทางทิศตะวันออก (ตอนเหนือ) ของกรุงเทพมหานคร และเป็นเขตที่มีจำนวนประชากรมากเป็นอันดับที่ 4 ในกรุงเทพมหานครรองจากเขตบางแ.

ใหม่!!: รถไฟฟ้าสายสีชมพูและเขตบางเขน · ดูเพิ่มเติม »

เขตมีนบุรี

ตมีนบุรี เป็น 1 ใน 50 เขตการปกครองของกรุงเทพมหานคร อยู่ในกลุ่มเขตกรุงเทพตะวันออก สภาพภูมิประเทศเป็นที่ราบลุ่ม มีคลองและลำรางไหลผ่านหลายสาย ในอดีตเป็นเรือกสวนไร่นา บ่อปลา นาบัว และไร่หญ้า แต่ปัจจุบันเริ่มลดน้อยลง เนื่องจากพื้นที่หลายแห่งถูกเปลี่ยนสภาพเป็นที่อยู่อาศัยหนาแน่น หมู่บ้าน อาคารพาณิชย์ สถานที่ประกอบการทั้งเล็กและขนาดใหญ.

ใหม่!!: รถไฟฟ้าสายสีชมพูและเขตมีนบุรี · ดูเพิ่มเติม »

เขตหลักสี่

ตหลักสี่ เป็น 1 ใน 50 เขตการปกครองของกรุงเทพมหานคร อยู่ในกลุ่มเขตกรุงเทพเหนือ ซึ่งถือเป็นเขตที่อยู่อาศัยรองรับการขยายตัวของเมือง ทางทิศตะวันออก (ตอนเหนือ) ของกรุงเทพมหานคร.

ใหม่!!: รถไฟฟ้าสายสีชมพูและเขตหลักสี่ · ดูเพิ่มเติม »

เขตคันนายาว

ตคันนายาว เป็น 1 ใน 50 เขตการปกครองของกรุงเทพมหานคร จัดอยู่ในกลุ่มเขตกรุงเทพตะวันออก สภาพโดยทั่วไปเป็นแหล่งที่อยู่อาศัยหนาแน่นปานกลางและหนาแน่นน้อย โดยมีย่านการค้าหนาแน่นทางด้านตะวันตกเฉียงเหนือของพื้นที.

ใหม่!!: รถไฟฟ้าสายสีชมพูและเขตคันนายาว · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

รถไฟฟ้า สายสีชมพูรถไฟฟ้ามหานคร สายสีชมพูรถไฟฟ้าโมโนเรล สายสีชมพูรถไฟฟ้าโมโนเรลสายสีชมพูสถานีมีนบุรี (รถไฟฟ้าสายสีชมพู)สถานีมงกุฎวัฒนะสถานีมงกุฎวัฒนะ (รถไฟฟ้าสายสีชมพู)สถานีรามอินทรา 3สถานีราชภัฎพระนครสถานีราชภัฎพระนคร (รถไฟฟ้าสายสีชมพู)สถานีวงเวียนหลักสี่สถานีวงเวียนหลักสี่ (รถไฟฟ้าสายสีชมพู)สถานีศรีรัช (รถไฟฟ้าสายสีชมพู)สถานีศูนย์ราชการกรุงเทพมหานครสถานีศูนย์ราชการกรุงเทพมหานคร (รถไฟฟ้าสายสีชมพู)สถานีศูนย์ราชการแจ้งวัฒนะสถานีศูนย์ราชการเฉลิมพระเกียรติสถานีสามัคคีสถานีสามัคคี (รถไฟฟ้าสายสีชมพู)สถานีสีหบุรานุกิจสถานีสีหบุรานุกิจ (รถไฟฟ้าสายสีชมพู)สถานีสนามบินน้ำสถานีสนามบินน้ำ (รถไฟฟ้าสายสีชมพู)สถานีหลักสี่ (รถไฟฟ้าสายสีชมพู)สถานีอนุสาวรีย์พิทักษ์รัฐธรรมนูญสถานีชลประทานสถานีชลประทาน (รถไฟฟ้าสายสีชมพู)สถานีทางด่วนศรีรัชสถานีทางด่วนศรีรัช (รถไฟฟ้าสายสีชมพู)สถานีปากเกร็ดสถานีปากเกร็ด (รถไฟฟ้าสายสีชมพู)สถานีเมืองทองธานีสถานีเมืองทองธานี (รถไฟฟ้าสายสีชมพู)สถานีเลี่ยงเมืองปากเกร็ดสถานีเลี่ยงเมืองปากเกร็ด (รถไฟฟ้าสายสีชมพู)สถานีเศรษฐบุตรบำเพ็ญ

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »