โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ดาวน์โหลด
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

ประตูกั้นชานชาลา

ดัชนี ประตูกั้นชานชาลา

ประตูกั้นชานชาลาของสถานีรถไฟใต้ดินเซนต์ปีเตอร์สเบิร์ก ประตูกั้นชานชาลาของสถานีรถไฟใต้ดินสิงคโปร์ ประตูกั้นชานชาลาของสถานีรถไฟฟ้าปารีส สาย 14 ประตูกั้นชานชาลาของสถานีรถไฟใต้ดินบาร์เซโลนา ประตูกั้นชานชาลาของสถานีรถไฟใต้ดินไทเป ประตูกั้นชานชาลาของสถานีรถไฟฟ้าเชื่อมท่าอากาศยานโตรอนโต ประตูกั้นชานชาลาของสถานีรถไฟใต้ดินควังจู ประตูกั้นชานชาลาของสถานีรถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคล กรุงเทพมหานคร ประตูกั้นชานชาลาของสถานีรถไฟใต้ดินลอนดอน ประตูกั้นชานชาลา (Platform screen doors, PSDs) เป็นประตูที่กั้นระหว่างชานชาลาสถานีรถไฟฟ้าและขบวนรถไฟฟ้า ส่วนใหญ่มักจะติดตั้งพร้อมกับวันเปิดเดินรถ หรือภายหลังจากนั้น ประตูกั้นชานชาลาแห่งแรกของโลก อยู่ที่สถานีรถไฟใต้ดินเซนต์ปีเตอร์สเบิร์ก ซึ่งเปิดในปี ค.ศ. 1961.

40 ความสัมพันธ์: พ.ศ. 2504พ.ศ. 2534พ.ศ. 2553พ.ศ. 2554พ.ศ. 2555พ.ศ. 2556พ.ศ. 2558พ.ศ. 2561กรุงเทพมหานครรถไฟฟ้าบีทีเอส สายสุขุมวิทรถไฟฟ้าบีทีเอส สายสีลมรถไฟฟ้ามหานคร สายสีส้มรถไฟฟ้ามหานคร สายฉลองรัชธรรมรถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคลรถไฟฟ้าสายสีชมพูรถไฟฟ้าสายสีเหลืองรถไฟฟ้าปารีสรถไฟฟ้าปารีส สาย 1รถไฟฟ้าเชื่อมท่าอากาศยานเดลีรถไฟความเร็วสูงสายตะวันออกรถไฟใต้ดินกว่างโจวรถไฟใต้ดินปักกิ่งรถไฟใต้ดินและรถไฟความเร็วสูงโทรอนโตรถไฟใต้ดินโกลกาตารถไฟใต้ดินโรมรถไฟใต้ดินโคเปนเฮเกนรถไฟใต้ดินเฮลซิงกิรถไฟใต้ดินเดลีรถไฟใต้ดินเซาเปาลูรถไฟใต้ดินเซินเจิ้นรถไฟใต้ดินเซี่ยงไฮ้รถไฟใต้ดินเซนต์ปีเตอร์สเบิร์กสายเกอลานาจายาสถานีรับส่งผู้โดยสารอากาศยานในเมืองสถานีสยามสถานีท่าอากาศยานสุวรรณภูมิประตูกั้นชานชาลาโตเกียวเมโทรโตเกียวเมโทรสายนัมโบะกุ30 มกราคม

พ.ศ. 2504

ทธศักราช 2504 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1961 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: ประตูกั้นชานชาลาและพ.ศ. 2504 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2534

ทธศักราช 2534 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1991 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคารตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: ประตูกั้นชานชาลาและพ.ศ. 2534 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2553

ทธศักราช 2553 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2010 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันศุกร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็นปีแรกในคริสต์ทศวรรษที่ 2010.

ใหม่!!: ประตูกั้นชานชาลาและพ.ศ. 2553 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2554

ทธศักราช 2554 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2011 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ใหม่!!: ประตูกั้นชานชาลาและพ.ศ. 2554 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2555

ทธศักราช 2555 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2012 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็นปีมะโรง จัตวาศก จุลศักราช 1374 (วันที่ 15 เมษายน เป็นวันเถลิงศก) สมัชชาใหญ่แห่งสหประชาชาติประกาศให้..

ใหม่!!: ประตูกั้นชานชาลาและพ.ศ. 2555 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2556

ทธศักราช 2556 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2013 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคารตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ใหม่!!: ประตูกั้นชานชาลาและพ.ศ. 2556 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2558

ทธศักราช 2558 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2015 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดีตามปฏิทินเกรกอเรียน นับเป็นปีที่ 2015 ตามกำหนดสากลศักร.

ใหม่!!: ประตูกั้นชานชาลาและพ.ศ. 2558 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2561

ทธศักราช 2561 เป็นปีปัจจุบัน ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2018 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ใหม่!!: ประตูกั้นชานชาลาและพ.ศ. 2561 · ดูเพิ่มเติม »

กรุงเทพมหานคร

กรุงเทพมหานคร เป็นเมืองหลวงและนครที่มีประชากรมากที่สุดของประเทศไทย เป็นศูนย์กลางการปกครอง การศึกษา การคมนาคมขนส่ง การเงินการธนาคาร การพาณิชย์ การสื่อสาร และความเจริญของประเทศ เป็นเมืองที่มีชื่อยาวที่สุดในโลก ตั้งอยู่บนสามเหลี่ยมปากแม่น้ำเจ้าพระยา มีแม่น้ำเจ้าพระยาไหลผ่านและแบ่งเมืองออกเป็น 2 ฝั่ง คือ ฝั่งพระนครและฝั่งธนบุรี กรุงเทพมหานครมีพื้นที่ทั้งหมด 1,568.737 ตร.กม.

ใหม่!!: ประตูกั้นชานชาลาและกรุงเทพมหานคร · ดูเพิ่มเติม »

รถไฟฟ้าบีทีเอส สายสุขุมวิท

รถไฟฟ้าเฉลิมพระเกียรติ 6 รอบพระชนมพรรษา สาย 1 หรือ รถไฟฟ้าบีทีเอส สายสุขุมวิท หรือ รถไฟฟ้าสายสีเขียวอ่อน เป็นส่วนหนึ่งของแผนแม่บทระบบขนส่งมวลชนทางราง ในกรุงเทพมหานครและปริมณฑล โดยจะครอบคลุมพื้นที่กรุงเทพมหานคร, จังหวัดปทุมธานี และจังหวัดสมุทรปราการ เปิดให้บริการครั้งแรกในปี..

ใหม่!!: ประตูกั้นชานชาลาและรถไฟฟ้าบีทีเอส สายสุขุมวิท · ดูเพิ่มเติม »

รถไฟฟ้าบีทีเอส สายสีลม

รถไฟฟ้าเฉลิมพระเกียรติ 6 รอบพระชนมพรรษา สาย 2 หรือ รถไฟฟ้าบีทีเอส สายสีลม หรือ รถไฟฟ้าสายสีเขียวเข้ม เป็นส่วนหนึ่งของแผนแม่บทระบบขนส่งมวลชนทางราง ในกรุงเทพมหานครและปริมณฑล โดยจะครอบคลุมพื้นที่ทั้งฝั่งพระนคร และฝั่งธนบุรี กรุงเทพมหานคร เปิดให้บริการครั้งแรกในปี..

ใหม่!!: ประตูกั้นชานชาลาและรถไฟฟ้าบีทีเอส สายสีลม · ดูเพิ่มเติม »

รถไฟฟ้ามหานคร สายสีส้ม

รถไฟฟ้ามหานคร สายสีส้ม (Metropolitan Rapid Transit Orange Line, MRT Orange Line) เป็นหนึ่งในโครงการก่อสร้างเส้นทางรถไฟฟ้าในระบบรถไฟฟ้ามหานคร ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของโครงการระบบขนส่งมวลชนทางรางในกรุงเทพมหานคร และปริมณฑล โดยการรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนแห่งประเทศไทย (รฟม.) เป็นระบบรถไฟฟ้าที่มีทั้งโครงสร้างใต้ดิน และยกระดับ มีแนวเส้นทางที่รองรับการเดินทางภายในเขตเมืองตามแนวตะวันออก - ตะวันตก เริ่มต้นจากสถานีรถไฟชุมทางตลิ่งชัน ชานเมืองด้านทิศตะวันตกเฉียงเหนือของกรุงเทพฯ ฝั่งธนบุรี เข้าสู่ย่านบางกอกน้อย แล้วลอดใต้แม่น้ำเจ้าพระยา เข้าสู่ย่านเมืองเก่าในเขตพระนคร, ป้อมปราบศัตรูพ่าย และดุสิต ผ่านสถานที่สำคัญเช่น สนามหลวง, ถนนราชดำเนิน, ภูเขาทอง, ตลาดมหานาค เข้าสู่ใจกลางเมืองย่านราชเทวี, ประตูน้ำ, ดินแดง ไปยังชุมชนประชาสงเคราะห์, ถนนวัฒนธรรม ออกสู่ถนนรามคำแหง, บางกะปิ, สะพานสูง มาสิ้นสุดเส้นทางที่เขตมีนบุรี ชานเมืองด้านทิศตะวันออกเฉียงเหนือของกรุงเทพฯเอกสารโครงการศึกษาปรับแผนแม่บทระบบขนส่งมวลชนทางรางในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล: การสัมมนารับฟังความคิดเห็นครั้งที่ 3 วันที่ 19 พฤศจิกายน..

ใหม่!!: ประตูกั้นชานชาลาและรถไฟฟ้ามหานคร สายสีส้ม · ดูเพิ่มเติม »

รถไฟฟ้ามหานคร สายฉลองรัชธรรม

รถไฟฟ้ามหานคร สายฉลองรัชธรรม (Metropolitan Rapid Transit Chalong Ratchadham Line) หรือ รถไฟฟ้ามหานคร สายสีม่วง (MRT Purple Line) ซึ่งเรียกตามสีที่กำหนดในแผนแม่บทโครงการระบบขนส่งมวลชนทางรางในกรุงเทพมหานครและปริมณฑล เป็นหนึ่งในโครงการก่อสร้างเส้นทางรถไฟฟ้าในระบบรถไฟฟ้ามหานคร โดย การรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนแห่งประเทศไทย (รฟม. หรือ MRTA) เส้นทางรถไฟฟ้าสายนี้เกิดขึ้นจากการปรับแผนแม่บทระบบขนส่งมวลชนทางราง พ.ศ. 2538 ที่นำเอาเส้นทางรถไฟฟ้าสายเฉลิมรัชมงคล (สายสีน้ำเงิน) ส่วนต่อขยายเดิมช่วงเตาปูน-บางใหญ่, สายสีม่วงเดิม ช่วงหอสมุดแห่งชาติ-เตาปูน และสายสีส้มเดิม ช่วงสามเสน (หอสมุดแห่งชาติ)-ราษฎร์บูรณะ มาเชื่อมต่อเข้าด้วยกัน กลายเป็นรถไฟฟ้าเส้นทางใหม่ที่กำหนดให้เป็นสายสีม่วง บรรจุในแผนแม่บทฯ ของสำนักงานนโยบายและแผนการขนส่งและจราจร (สนข.) เป็นครั้งแรกเมื่อปี พ.ศ. 2547 นาม ฉลองรัชธรรม เป็นชื่อที่พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานเพื่อเป็นชื่ออย่างเป็นทางการของโครงการรถไฟฟ้ามหานคร สายสีม่วง ระยะแรก สายคลองบางไผ่-นนทบุรี-เตาปูน มีความหมายว่า “เฉลิมฉลองพระราชาที่ปกครองโดยธรรม” โดยการรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนแห่งประเทศไทยได้ยื่นเรื่องขอพระราชทานชื่อเส้นทาง เนื่องในโอกาสฉลองสิริราชสมบัติครบ 70 ปี และเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ ในโอกาสพระราชพืธีมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา 7 รอบ 12 สิงหาคม..

ใหม่!!: ประตูกั้นชานชาลาและรถไฟฟ้ามหานคร สายฉลองรัชธรรม · ดูเพิ่มเติม »

รถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคล

| open.

ใหม่!!: ประตูกั้นชานชาลาและรถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคล · ดูเพิ่มเติม »

รถไฟฟ้าสายสีชมพู

รงการรถไฟฟ้าสายสีชมพู ช่วงแคราย-มีนบุรี เป็นโครงการก่อสร้างระบบขนส่งมวลชนในพื้นที่จังหวัดนนทบุรี และกรุงเทพมหานคร ซึ่งได้รับการกำหนดให้ใช้ระบบรถไฟฟ้ารางเดี่ยว (monorail) เป็นระบบหลัก เป็นโครงการรถไฟฟ้าโครงการหนึ่งตามแผนแม่บทโครงการระบบขนส่งมวลชนทางรางในกรุงเทพมหานครและปริมณฑล และเป็นหนึ่งในโครงการก่อสร้างเส้นทางรถไฟฟ้าในระบบรถไฟฟ้ามหานคร โดยการรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนแห่งประเทศไทย ในระยะแรกโครงการดังกล่าวมีระยะทางรวมทั้งสิ้น 27 กิโลเมตร แต่ต่อมาก็ได้มีการขยายต้นทางจากปากเกร็ดมายังแคราย เพื่อเชื่อมกับโครงการรถไฟฟ้ามหานคร สายฉลองรัชธรรม ทำให้เส้นทางของโครงการเริ่มต้นที่ศูนย์ราชการจังหวัดนนทบุรี และสิ้นสุดที่มีนบุรี ระยะทางรวมประมาณ 34–36 กิโลเมตร.

ใหม่!!: ประตูกั้นชานชาลาและรถไฟฟ้าสายสีชมพู · ดูเพิ่มเติม »

รถไฟฟ้าสายสีเหลือง

รงการรถไฟฟ้าสายสีเหลือง ช่วงลาดพร้าว-สำโรง เป็นโครงการระบบขนส่งมวลชนในพื้นที่กรุงเทพมหานครและปริมณฑล โดยการรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนแห่งประเทศไทย ซึ่งกระทรวงคมนาคมโดยสำนักงานนโยบายและแผนการขนส่งและจราจรได้เร่งรัดแผนงานจากกำหนดการเดิมในปี..

ใหม่!!: ประตูกั้นชานชาลาและรถไฟฟ้าสายสีเหลือง · ดูเพิ่มเติม »

รถไฟฟ้าปารีส

รถไฟฟ้าปารีส (Métro de Paris) เป็นระบบรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนในกรุงปารีส ประเทศฝรั่งเศส ถือเป็นสัญลักษณ์ของเมืองก็ว่าได้ เห็นได้ชัดจากอิทธิพลของนวศิลป์ (Art Nouveau) มีเส้นทางทั้งหมด 16 สาย ส่วนมากมักจะอยู่ใต้ดินและมีความยาวทั้งสิ้น 213 กิโลเมตร (133 ไมล์) และมีสถานี 298 แห่ง รถไฟฟ้าสายแรกเปิดโดยไม่มีพิธีรีตองในปี พ.ศ. 2443 ระหว่างงานนิทรรศการนานาชาติ (Exposition Universelle 1900) หลังจากนั้นระบบขนส่งมวลชนรถไฟฟ้าได้ขยายตัวอย่างรวดเร็วจนกระทั่งเสร็จในช่วงปี พ.ศ. 2463 ส่วนการขยายออกไปยังชานเมืองได้บรรลุในช่วง 10 กว่าปีต่อมา ระบบรถไฟฟ้าปารีสได้ถึงจุดอิ่มตัวในช่วงหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 ซึ่งระบบรถไฟฟ้าก็ได้นำขบวนรถไฟฟ้าใหม่เข้ามาให้บริการเนื่องจากการจราจรอันคับคั่ง ซึ่งการต่อเติมนั้นเป็นไปได้ยากและมีขีดจำกัดจึงได้เกิดรถไฟฟ้าแอร์เออแอร์ขึ้นในปี พ.ศ. 2503 เป็นต้นมา กรุงปารีสเป็นเมืองที่มีสถานีรถไฟฟ้าใต้ดินที่หนาแน่นที่สุดในโลก ด้วยสถานีกว่า 245 แห่งภายในเนื้อที่กรุงปารีส 41 ตารางกิโลเมตร (16 ตารางไมล์) แต่ละสายจะมีชื่อเป็นหมายเลขตั้งแต่ 1 ถึง 14 และมีสายรองอีกสองสายคือ สาย 3 (2) และสาย 7 (2) สายรองทั้งสองเคยเป็นส่วนหนึ่งของสาย 3 และ 7 แต่แยกตัวออกมาภายหลังในปี พ.ศ. 2514 และ พ.ศ. 2510 ตามลำดับ รถไฟฟ้าปารีสมีสถานีทั้งหมด 298 แห่ง (382 ป้าย) โดยเชื่อมต่อกับสายอื่น 62 ป้าย มีจำนวนผู้โดยสารใช้บริการประมาณ 4.5 ล้านคนต่อวัน (1,409 ล้านคนต่อปี) ถือเป็นลำดับที่ 4 ของโลก ตามหลังมอสโก โตเกียว และเม็กซิโกซิตี และอยู่ในลำดับที่ 7 ของโลกเมื่อเปรียบเทียบระยะทางการเดินรถไฟฟ้า รองจากนิวยอร์ก โซล โตเกียว มอสโก มาดริด (แต่ถ้ารวมกับแอร์เออแอร์แล้วจะอยู่ในอันดับที่ 1) ส่วนจำนวนสถานีนั้นอยู่ที่ลำดับ 3 ของโลก รองลงมาจากนิวยอร์ก (468 สถานี) และโซล ทั้งนี้สถานีชาเตอแล-เลอาลยังเป็นสถานีรถไฟฟ้าใต้ดินที่ใหญ่ที่สุดในโลกอีกด้วย แต่ละสายจะมีเลขและสีในการบ่งบอก ส่วนทิศทางในการเดินทางเห็นได้จากสถานีปลายทางของแต่ล.

ใหม่!!: ประตูกั้นชานชาลาและรถไฟฟ้าปารีส · ดูเพิ่มเติม »

รถไฟฟ้าปารีส สาย 1

รถไฟฟ้าปารีส สาย 1 (ligne 1 du métro de Paris) เป็นรถไฟฟ้าสายแรกของกรุงปารีส ประเทศฝรั่งเศส เปิดให้บริการครั้งแรกในปี พ.ศ. 2443 ซึ่งปัจจุบันเชื่อมต่อสถานีลา ดฟ็องส์เข้ากับสถานีชาโตเดอแว็งแซน โดยมีความยาวทั้งสิ้น 16.5 กิโลเมตร สาย 1 เป็นสายที่เชื่อมต่อระหว่างตะวันตกกับตะวันออก โดยตัดผ่านจุดสำคัญของกรุงปารีส ถ้าไม่รวมรถไฟฟ้าแอร์เออแอร์แล้ว สาย 1 เป็นสายรถไฟฟ้าที่มีผู้ใช้มากที่สุดถึง 165,921,408 คนในปี พ.ศ. 2547 และ 561,000 คนต่อวันโดยเฉลี.

ใหม่!!: ประตูกั้นชานชาลาและรถไฟฟ้าปารีส สาย 1 · ดูเพิ่มเติม »

รถไฟฟ้าเชื่อมท่าอากาศยานเดลี

รถไฟใต้ดินเดลี สายท่าอากาศยาน (DAME) เป็นเส้นทางรถไฟฟ้าในกรุงเดลี วิ่งระหว่างสถานีนิวเดลีและสถานี Dwarka Sector 21 โดยเชื่อมต่อกับท่าอากาศยานนานาชาติอินทิรา คานธี สีประจำเส้นทางคือสีส้ม ดำเนินการโดย Delhi Airport Metro Express Pvt.

ใหม่!!: ประตูกั้นชานชาลาและรถไฟฟ้าเชื่อมท่าอากาศยานเดลี · ดูเพิ่มเติม »

รถไฟความเร็วสูงสายตะวันออก

วรรณภูมิ รถไฟฟ้า City Line รถไฟความเร็วสูงสายตะวันออก (กรุงเทพมหานคร-ระยอง-ตราด) (Eastern High Speed Train) หรือ โครงการรถไฟความเร็วสูงเชื่อม 3 สนามบิน เดิมคือ โครงการระบบขนส่งมวลชนทางรถไฟเชื่อมท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ หรือ รถไฟฟ้าแอร์พอร์ตเรลลิงก์ เป็นโครงการระบบขนส่งมวลชนแบบพิเศษ ที่เป็นส่วนหนึ่งในโครงการก่อสร้างเส้นทางรถไฟฟ้าในระบบรถไฟฟ้าชานเมืองสายสีแดง และ รถไฟความเร็วสูง เป็นส่วนหนึ่งของโครงการระบบขนส่งมวลชนทางราง ในกรุงเทพมหานครและปริมณฑล และโครงการระบบรถไฟความเร็วสูง ดำเนินการก่อสร้างโดยการรถไฟแห่งประเทศไทย (รฟท.) และเปิดดำเนินการเชิงพาณิชย์โดย บริษัท รถไฟฟ้า ร.ฟ.ท. จำกัด ซึ่งเป็นรัฐวิสาหกิจในกระทรวงคมนาคม.

ใหม่!!: ประตูกั้นชานชาลาและรถไฟความเร็วสูงสายตะวันออก · ดูเพิ่มเติม »

รถไฟใต้ดินกว่างโจว

รถไฟใต้ดินกว่างโจว เป็นเส้นทางรถไฟใต้ดินในเมืองกว่างโจว ประเทศจีน ดำเนินการโดย Guangzhou Metro Corporation และเป็นเส้นทางรถไฟฟ้าแห่งที่สี่ของจีนแผ่นดินใหญ่ ต่อเนื่องจาก รถไฟใต้ดินปักกิ่ง รถไฟใต้ดินเทียนจิน และ เซี่ยงไฮ้เมโทร ปัจจุบันประกอบไปด้วยเก้าเส้นทาง ให้บริการเวลา 6:00-24:00 น. จำนวนผู้โดยสารรายวัน 5.6 ล้านคน รถไฟใต้ดินกว่างโจว เป็นรถไฟใต้ดินที่มีผู้โดยสารหนาแน่นเป็นอันดับที่ 6 ของโลก รองจาก โตเกียวเมโทร รถไฟใต้ดินโซล รถไฟใต้ดินมอสโก รถไฟใต้ดินปักกิ่ง และ เซี่ยงไฮ้เมโทร ปัจจุบันมีจำนวน 164 สถานีInterchange stations are counted once for each interchanging line by the convention adopted by Guangzhou Metro.

ใหม่!!: ประตูกั้นชานชาลาและรถไฟใต้ดินกว่างโจว · ดูเพิ่มเติม »

รถไฟใต้ดินปักกิ่ง

รถไฟใต้ดินปักกิ่ง เป็นเครือข่ายรางรถไฟฟ้าใต้ดิน ซึ่งเชื่อมต่อเขตเมืองและชานเมืองของมหานครปักกิ่ง.

ใหม่!!: ประตูกั้นชานชาลาและรถไฟใต้ดินปักกิ่ง · ดูเพิ่มเติม »

รถไฟใต้ดินและรถไฟความเร็วสูงโทรอนโต

รถไฟใต้ดินและรถไฟความเร็วสูงโทรอนโต (Toronto Subway and RT) เป็นระบบการขนส่งความเร็วสูงในเมืองโทรอนโต รัฐออนแทรีโอ ประเทศแคนาดา มีทั้งเส้นทางยกระดับและใต้ดิน ดำเนินการโดยคณะกรรมการการขนส่งโทรอนโต (Toronto Transit Commission, TTC) เป็นรถไฟฟ้าสายแรกของแคนาดา เปิดให้บริการในปี ค.ศ. 1954 พร้อมกับ 12 สถานีเริ่มแรก มีผู้โดยสาร 1,058,100 คนต่อวัน ปัจจุบันมีจำนวน 4 เส้นทาง 69 สถานี ระยะทาง.

ใหม่!!: ประตูกั้นชานชาลาและรถไฟใต้ดินและรถไฟความเร็วสูงโทรอนโต · ดูเพิ่มเติม »

รถไฟใต้ดินโกลกาตา

รถไฟใต้ดินที่เก่าแก่ที่สุดในอินเดีย รถไฟใต้ดินโกลกาตา (কলকাতা মেট্রো) เป็นระบบขนส่งมวลชนในเมืองโกลกาตา ปัจจุบันมีเพียงเส้นทางเดียว คือ สาย 1.

ใหม่!!: ประตูกั้นชานชาลาและรถไฟใต้ดินโกลกาตา · ดูเพิ่มเติม »

รถไฟใต้ดินโรม

รถไฟใต้ดินโรม (Metropolitana di Roma) เป็นเส้นทางรถไฟฟ้าในกรุงโรม ประเทศอิตาลี เปิดให้บริการในปี ค.ศ. 1955 เป็นเส้นทางที่เก่าแก่ที่สุดในอิตาลี ปัจจุบันมีจำนวนสองเส้นทาง คือ สายเอ (ส้ม) และ สายบี (น้ำเงิน) ระยะทาง แนวเส้นทางตัดกันเป็นรูปตัว X.

ใหม่!!: ประตูกั้นชานชาลาและรถไฟใต้ดินโรม · ดูเพิ่มเติม »

รถไฟใต้ดินโคเปนเฮเกน

รถไฟใต้ดินโคเปนเฮเกน (Københavns Metro) เป็นเส้นทางรถไฟใต้ดินในกรุงโคเปนเฮเกน ประเทศเดนมาร์ก มีระยะทาง 20.5 กิโลเมตร ประกอบด้วย 2 เส้นทาง คือ เอ็ม 1 และ เอ็ม 2 ปัจจุบันมีจำนวน 22 สถานี โดยมี 9 สถานี เป็นสถานีใต้ดิน ในปี ค.ศ. 2011 สถิติผู้โดยสารต่อปีคือ 54.3 ล้านคน.

ใหม่!!: ประตูกั้นชานชาลาและรถไฟใต้ดินโคเปนเฮเกน · ดูเพิ่มเติม »

รถไฟใต้ดินเฮลซิงกิ

รถไฟใต้ดินเฮลซิงกิ (Helsingin metro, Helsingfors metro) เป็นระบบรถไฟใต้ดินในกรุงเฮลซิงกิ ประเทศฟินแลนด์ เป็นเส้นทางรถไฟฟ้าที่อยู่เหนือสุดในโลก และมีเพียงแห่งหนึ่งในฟินแลนด์ เปิดให้บริการครั้งแรกเมื่อวันที่ 2 สิงหาคม ค.ศ. 1982 หลังจากที่วางแผนมากว่า 27 ปี ดำเนินการโดย Helsinki City Transport สถิติผู้โดยสาร 50 ล้านคนต่อปี ปัจจุบันมีจำนวน 17 สถานี ระยะทาง.

ใหม่!!: ประตูกั้นชานชาลาและรถไฟใต้ดินเฮลซิงกิ · ดูเพิ่มเติม »

รถไฟใต้ดินเดลี

รถไฟใต้ดินเดลี (ฮินดี: दिल्ली मेट्रो) เป็นระบบขนส่งมวลชนความเร็วสูงที่ให้บริการในกรุงนิวเดลีและปริมณฑล เป็นเส้นทางรถไฟฟ้าที่ยาวเป็นอันดับที่สิบสามของโลก ประกอบด้วย 6 เส้นทาง รวมระยะทางได้ จำนวน 142 สถานี โดยเป็นสถานีใต้ดิน 35 สถานี สถานีเสมอระดับ 5 สถานี และที่เหลือเป็นสถานียกระดับ ทุกสถานีมีสิ่งอำนวยความสะดวกครบทุกอย่าง เส้นทางมีทั้งแบบใต้ดิน เสมอดิน และยกระดับ ใช้ราง broad gauge และรางมาตรฐาน สร้างและดำเนินการโดย Delhi Metro Rail Corporation Limited (DMRC) เมื่อเดือนพฤศจิกายน ค.ศ. 2010 มีรถไฟฟ้าจำนวน 2,700 เที่ยวต่อวัน ให้บริการเวลา 06:00-23:00 น. ความถี่ประมาณ 2 นาที 40 วินาที รถไฟฟ้าจะพ่วงรถ 4-6 คันต่อขบวน แต่ถ้ามีผู้โดยสารมาก ก็จะเพิ่มเป็น 8 คันต่อขบวน โดยสายสีเหลืองเป็นสายแรกที่มี 8 คันต่อขบวน ใช้พลังไฟฟ้า 25 กิโลโวลต์ 50 เฮิร์ตซ์ ไฟฟ้ากระแสสลับ โดยรับส่งไฟฟ้าผ่านทางลวดไฟฟ้าเหนือหัว สถิติผู้โดยสารเฉลี่ยรายวันคือ 2.5 ล้านคน.

ใหม่!!: ประตูกั้นชานชาลาและรถไฟใต้ดินเดลี · ดูเพิ่มเติม »

รถไฟใต้ดินเซาเปาลู

รถไฟใต้ดินเซาเปาลู (Metropolitano de São Paulo) หรือที่นิยมเรียกว่า เมโตร (Metrô) เป็นเส้นทางรถไฟฟ้าขนาดใหญ่ในเมืองเซาเปาลู เมืองใหญ่สุดในประเทศบราซิล เป็นเส้นทางรถไฟฟ้าที่ใหญ่เป็นอันดับสองในทวีปอเมริกาใต้ ปัจจุบันมีระยะทาง จำนวน 5 เส้นทาง 64 สถานี จำนวนผู้โดยสาร 2.999 ล้านคนต่อวัน.

ใหม่!!: ประตูกั้นชานชาลาและรถไฟใต้ดินเซาเปาลู · ดูเพิ่มเติม »

รถไฟใต้ดินเซินเจิ้น

รถไฟใต้ดินเซินเจิ้น เป็นระบบขนส่งมวลชนในเมืองเซินเจิ้น ประเทศจีน เปิดให้บริการในวันที่ 28 ธันวาคม ค.ศ. 2004 เป็นเส้นทางรถไฟฟ้าแห่งที่หกในประเทศจีน มีจำนวน 5 เส้นทาง 137 สถานี ระยะทาง.

ใหม่!!: ประตูกั้นชานชาลาและรถไฟใต้ดินเซินเจิ้น · ดูเพิ่มเติม »

รถไฟใต้ดินเซี่ยงไฮ้

รถไฟใต้ดินเซี่ยงไฮ้ เป็นระบบขนส่งมวลชนความเร็วสูงในเมืองเซี่ยงไฮ้ ประเทศจีน เส้นทางแรก เปิดให้บริการเมื่อ ค.ศ. 1993 ทำให้เซี่ยงไฮ้เป็นเมืองที่ 3 ในจีนแผ่นดินใหญ่ ที่มีระบบรถไฟฟ้าใช้ (ก่อนหน้านั้นเป็นเมืองปักกิ่งและเทียนสิน) ตั้งแต่นั้นเป็นต้นมา รถไฟใต้ดินเซี่ยงไฮ้ เป็นระบบรถไฟฟ้าที่เติบโตเร็วที่สุดในโลก ปัจจบัน มีจำนวน 14 สาย และ 329 สถานี มีระยะทางรวม ทำให้เป็นระบบรถไฟฟ้าที่ยาวเป็นอันดับที่ 3 ของโลก มีรายได้ 2.276 พันล้านบาทในปี ค.ศ. 2012 มีผู้โดยสาร 8.486 ล้านคนต่อวัน (ข้อมูลเมื่อ 9 มีนาคม ค.ศ. 2013).

ใหม่!!: ประตูกั้นชานชาลาและรถไฟใต้ดินเซี่ยงไฮ้ · ดูเพิ่มเติม »

รถไฟใต้ดินเซนต์ปีเตอร์สเบิร์ก

รถไฟใต้ดินเซนต์ปีเตอร์สเบิร์ก (Петербу́ргский метрополитен) เป็นเส้นทางรถไฟฟ้าขนาดใหญ่ในเมืองเซนต์ปีเตอร์สเบิร์ก ประเทศรัสเซีย เปิดให้บริการครั้งแรกในวันที่ 15 พฤศจิกายน ค.ศ. 1955 ปัจจุบันมีจำนวนห้าเส้นทาง.

ใหม่!!: ประตูกั้นชานชาลาและรถไฟใต้ดินเซนต์ปีเตอร์สเบิร์ก · ดูเพิ่มเติม »

สายเกอลานาจายา

กอลานาจายา เป็นเส้นทางรถไฟฟ้าในกัวลาลัมเปอร์ ประเทศมาเลเซีย สีประจำเส้นทางคือ สีชมพู มีระยะทาง จำนวน 24 สถานี โดยก่อนหน้านี้รู้จักกันในชื่อ PUTRA LRT เมื่อวันที่ 28 พฤศจิกายน..

ใหม่!!: ประตูกั้นชานชาลาและสายเกอลานาจายา · ดูเพิ่มเติม »

สถานีรับส่งผู้โดยสารอากาศยานในเมือง

นชาลาที่ 1 ของรถไฟฟ้า City Line มุ่งหน้าสถานีท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ ภายในอาคารผู้โดยสาร สถานีมักกะสัน สถานีรับส่งผู้โดยสารอากาศยานในเมือง (City Air Terminal, รหัส: A6) หรือ สถานีมักกะสัน เป็นสถานีรถไฟฟ้าในเส้นทางระบบขนส่งทางรถไฟเชื่อมท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ (Suvarnabhumi Airport Rail Link - SARL) โดยเป็นสถานีต้นทางของรถไฟฟ้าเชื่อมท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ สาย Express Line (Suvarnabhumi Airport Rail Link Express Line) ซึ่งจะวิ่งตรงจากมักกะสันสู่สถานีท่าอากาศยานสุวรรณภูมิโดยไม่แวะสถานีรายทาง ระยะทาง 25.7 กิโลเมตร ใช้เวลาไม่เกิน 15 นาที (ต่างจากรถไฟฟ้าเชื่อมท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ สาย City Line (Suvarnabhumi Airport Rail Link City Line) ที่แวะจอดรายทางจากสถานีพญาไทถึงสุวรรณภูมิ) สถานีแห่งนี้เป็นสถานีเดียวในระบบรถไฟฟ้าเชื่อมท่าอากาศยานฯ ที่มีจอแสดงผลข้อมูลเที่ยวบินตรงจากท่าอากาศยานสุวรรณภูมิติดตั้งอยู่ และเป็นสถานีที่ผู้โดยสารสามารถมาเช็คอินและโหลดกระเป๋าได้.

ใหม่!!: ประตูกั้นชานชาลาและสถานีรับส่งผู้โดยสารอากาศยานในเมือง · ดูเพิ่มเติม »

สถานีสยาม

นีสยาม เป็นสถานีรถไฟลอยฟ้า ในเส้นทาง รถไฟฟ้าเฉลิมพระเกียรติ 6 รอบพระชนมพรรษา (รถไฟฟ้าบีทีเอส) ซึ่งเป็นจุดเปลี่ยนเส้นทางระหว่างสายสุขุมวิทและสายสีลม ยกระดับเหนือ ถนนพระรามที่ 1 กรุงเทพมหานคร ใจกลางย่านการค้า สยามสแควร.

ใหม่!!: ประตูกั้นชานชาลาและสถานีสยาม · ดูเพิ่มเติม »

สถานีท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ

นีท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ ตั้งอยู่ในท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ เป็นสถานีรถไฟฟ้าของรถไฟฟ้าเชื่อมท่าอากาศยานสุวรรณภูมิและรถไฟฟ้าบีทีเอส สายบางนา-สุวรรณภูมิ (โครงการในอนาคต).

ใหม่!!: ประตูกั้นชานชาลาและสถานีท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ · ดูเพิ่มเติม »

ประตูกั้นชานชาลา

ประตูกั้นชานชาลาของสถานีรถไฟใต้ดินเซนต์ปีเตอร์สเบิร์ก ประตูกั้นชานชาลาของสถานีรถไฟใต้ดินสิงคโปร์ ประตูกั้นชานชาลาของสถานีรถไฟฟ้าปารีส สาย 14 ประตูกั้นชานชาลาของสถานีรถไฟใต้ดินบาร์เซโลนา ประตูกั้นชานชาลาของสถานีรถไฟใต้ดินไทเป ประตูกั้นชานชาลาของสถานีรถไฟฟ้าเชื่อมท่าอากาศยานโตรอนโต ประตูกั้นชานชาลาของสถานีรถไฟใต้ดินควังจู ประตูกั้นชานชาลาของสถานีรถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคล กรุงเทพมหานคร ประตูกั้นชานชาลาของสถานีรถไฟใต้ดินลอนดอน ประตูกั้นชานชาลา (Platform screen doors, PSDs) เป็นประตูที่กั้นระหว่างชานชาลาสถานีรถไฟฟ้าและขบวนรถไฟฟ้า ส่วนใหญ่มักจะติดตั้งพร้อมกับวันเปิดเดินรถ หรือภายหลังจากนั้น ประตูกั้นชานชาลาแห่งแรกของโลก อยู่ที่สถานีรถไฟใต้ดินเซนต์ปีเตอร์สเบิร์ก ซึ่งเปิดในปี ค.ศ. 1961.

ใหม่!!: ประตูกั้นชานชาลาและประตูกั้นชานชาลา · ดูเพิ่มเติม »

โตเกียวเมโทร

ตเกียวเมโทร เป็นหนึ่งในสองระบบขนส่งมวลระบบรางใต้ดินสายหนึ่งในกรุงโตเกียว ประเทศญี่ปุ่น เป็นหนึ่งในระบบขนส่งมวลชนใต้ดินที่มีผู้โดยสารเดินทางมากที่สุดในโลก โดยในปี..

ใหม่!!: ประตูกั้นชานชาลาและโตเกียวเมโทร · ดูเพิ่มเติม »

โตเกียวเมโทรสายนัมโบะกุ

ตเกียวเมโทรสายนัมโบะกุ เป็นเส้นทางรถไฟฟ้าในกรุงโตเกียว ประเทศญี่ปุ่น ดำเนินการโดยโตเกียวเมโทร ความหมายของชื่อหมายถึง สายเหนือ-ใต้ โดยวิ่งระหว่างสถานี (ชินะงะวะ) กับสถานี (คิตะ) เรียกในอีกชื่อว่า สาย 7 สีประจำเส้นทางคือสีเขียวมรกต (▉) ตัวย่อเส้นทางคือ "N".

ใหม่!!: ประตูกั้นชานชาลาและโตเกียวเมโทรสายนัมโบะกุ · ดูเพิ่มเติม »

30 มกราคม

วันที่ 30 มกราคม เป็นวันที่ 30 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 335 วันในปีนั้น (336 วันในปีอธิกสุรทิน).

ใหม่!!: ประตูกั้นชานชาลาและ30 มกราคม · ดูเพิ่มเติม »

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »