โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ดาวน์โหลด
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

แยกเกียกกาย

ดัชนี แยกเกียกกาย

แยกเกียกกาย (Kiakkai Intersection) เป็นสี่แยกจุดตัดระหว่างถนนประชาราษฎร์ สาย 1, ถนนทหาร และถนนสามเสน ในพื้นที่แขวงถนนนครไชยศรี เขตดุสิต กรุงเทพมหานคร คำว่า "เกียกกาย" เป็นศัพท์โบราณที่ใช้เรียกกองทหารส่วนดูแลเสบียง หรือเทียบได้กับกองพลาธิการ ในยุคปัจจุบัน รอบ ๆ แยกเกียกกายเป็นแหล่งที่ตั้งของค่ายทหารต่าง ๆ ในส่วนของกองทัพบก เช่น กองพันทหารม้าที่ 3 รักษาพระองค์ กรมทหารม้าที่ 1 รักษาพระองค์, กองพันทหารม้าที่ 4 กองพลที่ 1 รักษาพระองค์, กองพลทหารปืนใหญ่ต่อสู้อากาศยาน, กรมทหารปืนใหญ่ที่ 1 รักษาพระองค์ สถานีวิทยุกระจายเสียง ศูนย์การทหารม้า (วิทยุยานเกราะ) เป็นต้น ซึ่งหลายแห่งได้เป็นหน่วยที่ได้เกี่ยวข้องกับประวัติศาสตร์ความเปลี่ยนแปลงของประเทศชาติในหลายยุคสมัย เช่น การเปลี่ยนแปลงการปกครอง พ.ศ. 2475, เหตุการณ์ 6 ตุลา, กบฏเมษาฮาวาย หรือกบฏ 9 กันยา เป็นต้น และเคยเป็นที่ตั้งของโรงเรียนโยธินบูรณะ ที่อยู่ฝั่งถนนสามเสน ริมฝั่งแม่น้ำเจ้าพระยา ต่อมาในปี..

21 ความสัมพันธ์: กบฏยังเติร์กกบฏทหารนอกราชการกรมทหารปืนใหญ่ที่ 1 รักษาพระองค์กรุงเทพมหานครกองพันทหารม้าที่ 3 รักษาพระองค์กองทัพบกไทยการปฏิวัติสยาม พ.ศ. 2475รายชื่อทางแยกในกรุงเทพมหานครสะพานพระราม 7สัปปายะสภาสถานถนนสามเสนข่าวสดแม่น้ำเจ้าพระยาแยกบางกระบือแยกบางโพโรงเรียนโยธินบูรณะโอเคเนชั่นเกียกกายเหตุการณ์ 6 ตุลาเอเอสทีวีผู้จัดการเขตดุสิต

กบฏยังเติร์ก

กบฏยังเติร์ก หรือ กบฏเมษาฮาวาย เป็นความพยายามรัฐประหารระหว่างวันที่ 1-3 เมษายน..

ใหม่!!: แยกเกียกกายและกบฏยังเติร์ก · ดูเพิ่มเติม »

กบฏทหารนอกราชการ

วามเสียหายหน้าสถานีวิทยุกองพลที่ 1 รักษาพระองค์ จากการถูกระดมยิงด้วยปืนกล 93 ขนาด 12.7 มม. (0.50 นิ้ว) บนป้อมรถสายพาน M113 กบฏทหารนอกราชการ หรือ กบฏ 9 กันยา หรือ กบฏสองพี่น้อง เป็นความพยายามรัฐประหารเมื่อวันที่ 9 กันยายน..

ใหม่!!: แยกเกียกกายและกบฏทหารนอกราชการ · ดูเพิ่มเติม »

กรมทหารปืนใหญ่ที่ 1 รักษาพระองค์

กองพันทหารปืนใหญ่ที่ 1 รักษาพระองค์หน่วยขึ้นตรงของ กรมทหารปืนใหญ่ที่ 1 รักษาพระองค์ กรมทหารปืนใหญ่ที่ 1 รักษาพระองค์ เป็นหน่วยทหารรักษาพระองค์ในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ตั้งอยู่ที่ถนนนครชัยศรี พระราชวังดุสิต กรุงเทพมหานคร กรมทหารปืนใหญ่ที่ 1 รักษาพระองค์ มีผลงานดีเด่น 3 ประการ คือ.

ใหม่!!: แยกเกียกกายและกรมทหารปืนใหญ่ที่ 1 รักษาพระองค์ · ดูเพิ่มเติม »

กรุงเทพมหานคร

กรุงเทพมหานคร เป็นเมืองหลวงและนครที่มีประชากรมากที่สุดของประเทศไทย เป็นศูนย์กลางการปกครอง การศึกษา การคมนาคมขนส่ง การเงินการธนาคาร การพาณิชย์ การสื่อสาร และความเจริญของประเทศ เป็นเมืองที่มีชื่อยาวที่สุดในโลก ตั้งอยู่บนสามเหลี่ยมปากแม่น้ำเจ้าพระยา มีแม่น้ำเจ้าพระยาไหลผ่านและแบ่งเมืองออกเป็น 2 ฝั่ง คือ ฝั่งพระนครและฝั่งธนบุรี กรุงเทพมหานครมีพื้นที่ทั้งหมด 1,568.737 ตร.กม.

ใหม่!!: แยกเกียกกายและกรุงเทพมหานคร · ดูเพิ่มเติม »

กองพันทหารม้าที่ 3 รักษาพระองค์

กองพันทหารม้าที่ 3 รักษาพระองค์ฯ ในพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว เป็นหน่วยทหารม้ารักษาพระองค์ซึ่งขึ้นตรงต่อกรมทหารม้าที่ 1 รักษาพระองค์ฯ ในกองพลทหารม้าที่ 2 รักษาพระองค์ฯ.

ใหม่!!: แยกเกียกกายและกองพันทหารม้าที่ 3 รักษาพระองค์ · ดูเพิ่มเติม »

กองทัพบกไทย

กองทัพบกไทย (คำย่อ: ทบ.; Royal Thai Army) เป็นเหล่าทัพที่มีประวัติความเป็นมายาวนานที่สุดและมีขนาดใหญ่ที่สุดของกองทัพไทย ก่อตั้งเป็นกองทัพสมัยใหม่ขี้นในปี พ.ศ. 2417.

ใหม่!!: แยกเกียกกายและกองทัพบกไทย · ดูเพิ่มเติม »

การปฏิวัติสยาม พ.ศ. 2475

การปฏิวัติสยาม..

ใหม่!!: แยกเกียกกายและการปฏิวัติสยาม พ.ศ. 2475 · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อทางแยกในกรุงเทพมหานคร

รายชื่อทางแยกในกรุงเทพมหานคร เฉพาะทางแยกสัญญาณไฟจราจร ทางแยกต่างระดับ รวมทั้งทางแยกบางแห่งที่ไม่มีสัญญาณไฟจราจรและไม่ใช่ทางแยกต่างระดับ แต่มีชื่อเรียกอย่างเป็นทางการ.

ใหม่!!: แยกเกียกกายและรายชื่อทางแยกในกรุงเทพมหานคร · ดูเพิ่มเติม »

สะพานพระราม 7

นพระราม 7 (Rama VII Bridge) เป็นสะพานข้ามแม่น้ำเจ้าพระยา เชื่อมระหว่างตำบลบางกรวย อำเภอบางกรวย จังหวัดนนทบุรี กับแขวงวงศ์สว่าง เขตบางซื่อ กรุงเทพมหานคร สะพานพระราม 7 เป็นสะพานแบบคอนกรีตอัดแรงชนิดต่อเนื่อง มีจำนวนช่องทางรถวิ่ง 6 ช่องทางจราจร ความกว้างของสะพาน 29.10 เมตร และมีความยาว 934 เมตร สร้างเสร็จและเปิดการจราจรเมื่อวันที่ 23 กันยายน พ.ศ. 2535 มีนายมานะ มหาสุวีระชัย เป็นผู้อำนวยการโครงการ โดยเปิดใช้เป็นสะพานข้ามแม่น้ำเจ้าพระยาแทนสะพานพระราม 6 ปัจจุบันสะพานแห่งนี้อยู่ในความรับผิดชอบของกรมทางหลวงชนบท.

ใหม่!!: แยกเกียกกายและสะพานพระราม 7 · ดูเพิ่มเติม »

สัปปายะสภาสถาน

ัปปายะสภาสถาน เป็นโครงการก่อสร้างรัฐสภาแห่งใหม่ของประเทศไทยและแห่งที่ 3 ของประเทศไทยแทนที่อาคารเดิมบริเวณข้างสวนสัตว์ดุสิต โครงการก่อสร้างตั้งอยู่ติดริ่มฝั่งแม่น้ำเจ้าพระยา บนถนนทหาร (เกียกกาย) แขวงถนนนครไชยศรี เขตดุสิต โครงการได้ริเริ่มขึ้นในเดือนกรกฎาคม พ.ศ. 2551 สมัยที่นายสมัคร สุนทรเวช เป็นนายกรัฐมนตรี ในการประชุมจัดหาสถานที่ก่อสร้างอาคารรัฐสภาแห่งใหม่ จนมีมติเลือกที่เดินราชพัสดุถนนทหาร (เกียกกาย) แขวงถนนนครไชยศรี เขตดุสิต เป็นสถานที่ในการก่อสร้างอาคารรัฐสภาแห่งใหม่ สัปปายะสภาสถาน เป็นผลงานชนะเลิศการประกวดแบบของธีรพล นิยม ศิลปินแห่งชาติสาขาทัศนศิลป์ (สถาปัตยกรรม) จากผู้ส่งประกวดทั้งหมด 5 ราย โครงการได้เริ่มวางเสาเข็มตั้งแต่วันที่ 8 มิถุนายน..

ใหม่!!: แยกเกียกกายและสัปปายะสภาสถาน · ดูเพิ่มเติม »

ถนนสามเสน

แผนที่เขตดุสิต ถนนสามเสนอยู่บริเวณซ้ายบน ใกล้กับแม่น้ำเจ้าพระยา ถนนสามเสน (Thanon Sam Sen) เป็นถนนสายสำคัญในพื้นที่เขตพระนครและเขตดุสิต กรุงเทพมหานคร.

ใหม่!!: แยกเกียกกายและถนนสามเสน · ดูเพิ่มเติม »

ข่าวสด

วสด เป็นหนังสือพิมพ์รายวันภาษาไทย เสนอข่าวทั่วไป ออกจำหน่ายเป็นยุคแรก ด้วยขนาดแท็บลอยด์ เมื่อราวปี พ.ศ. 2524 ซึ่งดำเนินงานโดยเผด็จ ภูรีปติภาน (นามปากกา: พญาไม้) แต่ผู้อ่านไม่ค่อยนิยมเท่าที่ควร ต่อมาเครือมติชน โดยขรรค์ชัย บุนปาน เข้าช่วยเหลือกิจการ จึงเริ่มทดลองออกจำหน่าย โดยนำชื่อหัวหนังสือกีฬาเดิมของเครือมติชน รวมเข้าด้วยกันเป็น "ข่าวสด-สปอร์ตนิวส์" พร้อมทั้งปรับขนาดหน้ากระดาษเป็นบรอดชีต โดยเริ่มนับเป็นปีที่ 1 ฉบับที่ 1 และตรงกับปีที่ 10 ฉบับที่ 2798 ของข่าวสดยุคแรก ตั้งแต่วันเสาร์ที่ 1 ธันวาคม พ.ศ. 2533 จนถึงวันจันทร์ที่ 8 เมษายน พ.ศ. 2534 เป็นจำนวน 129 ฉบับ ก่อนที่จะเริ่มใช้เพียงชื่อเดียวคือ "ข่าวสด" ตั้งแต่ฉบับที่ 130 ประจำวันอังคารที่ 9 เมษายน..

ใหม่!!: แยกเกียกกายและข่าวสด · ดูเพิ่มเติม »

แม่น้ำเจ้าพระยา

แม่น้ำเจ้าพระยา เป็นแม่น้ำสายหลักสายหนึ่งของประเทศไทย เกิดจากการรวมตัวของแม่น้ำสายหลัก 2 สายจากภาคเหนือ คือแม่น้ำปิงและแม่น้ำน่าน ที่ตำบลปากน้ำโพ อำเภอเมืองนครสวรรค์ จังหวัดนครสวรรค์ จากนั้นไหลลงไปทางทิศใต้ ผ่านจังหวัดอุทัยธานี ชัยนาท สิงห์บุรี อ่างทอง พระนครศรีอยุธยา ปทุมธานี นนทบุรี และกรุงเทพมหานคร ก่อนออกสู่อ่าวไทยที่ปากน้ำ ซึ่งอยู่ระหว่างเขตตำบลท้ายบ้าน ตำบลบางปูใหม่ อำเภอเมืองสมุทรปราการ และตำบลแหลมฟ้าผ่า อำเภอพระสมุทรเจดีย์ จังหวัดสมุทรปราการ.

ใหม่!!: แยกเกียกกายและแม่น้ำเจ้าพระยา · ดูเพิ่มเติม »

แยกบางกระบือ

แยกบางกระบือ (Bang Krabue Intersection) ทางแยกหนึ่งในพื้นที่แขวงถนนนครไชยศรี เขตดุสิต กรุงเทพมหานคร เป็นสี่แยกที่ตัดกันระหว่างถนนสามเสน, ถนนอำนวยสงคราม และถนนเขียวไข่กา ชื่อ "บางกระบือ" มาจากในอดีต พื้นที่นี้เป็นบริเวณที่ติดริมแม่น้ำเจ้าพระยา เป็นสถานที่ ๆ พักขบวนวัวควายที่ต้อนมาจากภาคอีสาน โดยผ่านมาจากสะพานควายในพื้นที่อำเภอพญาไท และยังใช้เป็นที่ตกลงซื้อขายกันอีกด้วย โดยพื้นที่บางกระบือนี้ในรัชสมัยรัชกาลที่ 5 มีฐานะเป็นตำบลมี 13 หมู่บ้าน ขึ้นกับอำเภอบางซื่อ จังหวัดพระนคร และมีเส้นทางคมนาคมหลัก คือ ทางน้ำโดยคลองบางกระบือ ซึ่งเชื่อมต่อจากแม่น้ำเจ้าพระยา มาบรรจบกับคลองเปรมประชากร บริเวณสะพานวัดบางกระบือ (วัดประชาระบือธรรม) และบริเวณถนนสามเสนริมฝั่งแม่น้ำเจ้าพระยาไปจนถึงแยกเกียกกาย ยังเป็นที่ตั้งของโรงสีจำนวนมากถึง 84 แห่ง มีท่าเรือและอู่เรือ รวมถึงเป็นต้นสายของรถราง และยังเป็นแหล่งชุมนุมของนกนางนวลอพยพที่หนีหนาวมาจากต่างประเทศอีกด้ว.

ใหม่!!: แยกเกียกกายและแยกบางกระบือ · ดูเพิ่มเติม »

แยกบางโพ

แยกบางโพ (Bang Pho Intersection) เป็นสี่แยกจุดตัดระหว่างถนนประชาราษฎร์ สาย 1 กับถนนประชาราษฎร์ สาย 2 ในแขวงบางซื่อ เขตบางซื่อ กรุงเทพมหานคร.

ใหม่!!: แยกเกียกกายและแยกบางโพ · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนโยธินบูรณะ

อาคารโรงเรียนโยธินบูรณะแห่งใหม่ ซึ่งสร้างเป็นอาคารรูปทรงกรวย สูง 12 ชั้น ซึ่งทางโรงเรียนได้ย้ายการเรียนการสอนเมื่อวันจันทร์ที่ 16 พฤษภาคม 2559 อาคารสิรินธร โรงเรียนโยธินบูรณะเดิม ก่อนย้ายการเรียนการสอนไปยังโรงเรียนแห่งใหม่ โรงเรียนโยธินบูรณะ เป็นโรงเรียนสหศึกษาระดับมัธยมศึกษา สังกัดกระทรวงศึกษาธิการ ปัจจุบันตั้งอยู่เลขที่ 1313 ถนนประชาราษฎร์ สาย 1 แขวงบางซื่อ เขตบางซื่อ กรุงเทพมหานคร 10800 ก่อตั้งเมื่อวันที่ 20 มิถุนายน..

ใหม่!!: แยกเกียกกายและโรงเรียนโยธินบูรณะ · ดูเพิ่มเติม »

โอเคเนชั่น

ลโก้เว็บไซต์โอเคเนชั่น โอเคเนชั่น เป็นบริการฟรีบล็อก แห่งหนึ่งในประเทศไทย ของเครือเนชั่น เปิดตัวอย่างเป็นทางการเมื่อเดือนกุมภาพันธ์ 2550 โดยผู้เขียนบล็อกมีทั้งบรรณาธิการ คอลัมนิสต์ ผู้สื่อข่าวจากสื่อในเครือเนชั่น และสมาชิกที่ลงทะเบียนร่วมกันผลิตเนื้อหา โดยมีเนื้อหาหลากหลาย ทั้งนี้ รูปแบบการนำเสนอเป็นไปในลักษณะที่เรียกว่า Citizen Reporter โดยให้สมาชิกทุกคนมีส่วนร่วมในการผลิตเนื้อหา โอเคเนชั่นเป็นเว็บไซต์ที่มีผู้เข้าชมจากประเทศไทยมากเป็นอันดับที่ 89 (19 กันยายน 2557) จากการจัดอันดับโดยอะเล็กซ.

ใหม่!!: แยกเกียกกายและโอเคเนชั่น · ดูเพิ่มเติม »

เกียกกาย

กียกกาย เป็นคำไทยโบราณ หมายถึง กองเสบียงหรือกองพลาธิการ อันเป็นส่วนหนึ่งของกองทัพ มีหน้าที่ในการจัดหาและส่งเสบียง ทั้งอาหาร อาหารสัตว์ สำหรับกองทัพ ส่วนที่เก็บเสบียงของทหาร เช่น อาวุธยุทธภัณฑ์ (ammunition) ไม่รวมอยู่ในหน้าที่ของเกียกกาย ในเกือบทุก ๆ หน่วยของทหาร หน้าที่การขนส่งและจัดหาเสบียงถูกดำเนินการโดยกองทหารเดียวกันคือสำนักงานชื่อว่า กรมเกียกกายทหารบก (ปัจจุบันเป็นกรมพลาธิการทหารบก).

ใหม่!!: แยกเกียกกายและเกียกกาย · ดูเพิ่มเติม »

เหตุการณ์ 6 ตุลา

หตุการณ์ 6 ตุลา เป็นเหตุการณ์จลาจลและปราบปรามนักศึกษาและผู้ประท้วงในและบริเวณหน้ามหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ท่าพระจันทร์ และท้องสนามหลวง ขณะที่นักศึกษาจากหลายมหาวิทยาลัยกำลังชุมนุมประท้วงการเดินทางกลับประเทศของจอมพลถนอม กิตติขจร อดีตนายกรัฐมนตรี ที่สนามฟุตบอลมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ โดยสถิติอย่างเป็นทางการระบุว่า มีผู้เสียชีวิต 46 คน ซึ่งมีทั้งถูกยิงด้วยอาวุธปืน ถูกทุบตี หรือถูกทำให้พิการHandley, Paul M. The King Never Smiles: A Biography of Thailand's Bhumibol Adulyadej.

ใหม่!!: แยกเกียกกายและเหตุการณ์ 6 ตุลา · ดูเพิ่มเติม »

เอเอสทีวีผู้จัดการ

ผู้จัดการ 360° เป็นหนังสือพิมพ์ธุรกิจรายวันภาษาไทย ในเครือผู้จัดการ วางแผง(วันจันทร์-วันเสาร์)โดยฉบับ(วันเสาร์จะควบวันอาทิตย์) วางจำหน่ายฉบับปฐมฤกษ์ (ในชื่อเอเอสทีวีผู้จัดการ) เมื่อวันศุกร์ที่ 21 พฤศจิกายน..

ใหม่!!: แยกเกียกกายและเอเอสทีวีผู้จัดการ · ดูเพิ่มเติม »

เขตดุสิต

ตดุสิต เป็น 1 ใน 50 เขตการปกครองของกรุงเทพมหานคร อยู่ในกลุ่มเขตกรุงเทพกลาง สภาพพื้นที่ประกอบไปด้วยแหล่งการค้า แหล่งที่อยู่อาศัยหนาแน่นมาก เขตทหาร แหล่งท่องเที่ยวเชิงประวัติศาสตร์และศิลปวัฒนธรรม นอกจากนี้ยังเป็นสถานที่ที่ตั้งรัฐสภา กระทรวงต่าง ๆ และพระราชวัง จึงทำให้เขตนี้มีลักษณะราวกับว่าเป็นเขตการปกครองส่วนกลางของประเทศไทย อนึ่ง ที่ทำการสำนักงานส่วนภูมิภาคและสำนักงานประจำประเทศไทย ขององค์การสหประชาชาติ และขององค์การระหว่างประเทศหลายองค์การ ก็อยู่ในพื้นที่เขตนี้.

ใหม่!!: แยกเกียกกายและเขตดุสิต · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

สี่แยกเกียกกาย

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »