สารบัญ
108 ความสัมพันธ์: ชีปอนพญาพะโรพญารามที่ 1พญารามที่ 2พญาธรรมราชาพญาทะละพญาเกียรติ์พระยาอายกำกองพระยาอายลาวพระยาอู่พระนางเชงสอบูพระเจ้าบาเยงทเวพระเจ้าบุเรงนองพระเจ้าชเวนันจอชินพระเจ้าฟ้ารั่วพระเจ้าพุกามแมงพระเจ้ากะยอชวาแห่งพุกามพระเจ้ากะเลเจตองโญพระเจ้าญองยานพระเจ้าฝรั่งมังศรีพระเจ้าฝรั่งมังศรีชวาพระเจ้าฝรั่งมังฆ้องพระเจ้ามหาธรรมราชาธิบดีพระเจ้ามังกะยอดินพระเจ้ามังระพระเจ้ามังลอกพระเจ้ามังฆ้องที่ 2พระเจ้ามังฆ้องแห่งแปรพระเจ้ามินละแหง่พระเจ้ามินดงพระเจ้ามีนเยเดะบะพระเจ้าราชาธิราชพระเจ้ารามมะไตยพระเจ้ารามประเดิดพระเจ้าสการะวุตพีพระเจ้าสีหสุระที่ 2 แห่งอังวะพระเจ้าสีหสุระแห่งอังวะพระเจ้าสีหตูพระเจ้าสเน่ห์มินพระเจ้าหม่องหม่องพระเจ้าอลองพญาพระเจ้าอลองสิธูพระเจ้าอะเนาะเพะลูนพระเจ้าอุซะนาพระเจ้าอโนรธามังช่อพระเจ้าจะซวาพระเจ้าจักกายแมงพระเจ้าจั่นซิตาพระเจ้าจิงกูจาพระเจ้าธรรมเจดีย์... ขยายดัชนี (58 มากกว่า) »
ชีปอน
ีปอน (ဇိတ်ပွန် เซย์ปุ่น; 1295 – 1330) เป็นพระเจ้าเมาะตะมะรัชกาลที่ 5 ครองสิริราชสมบัติได้เพียง 7 วันใน..
ดู รายพระนามพระมหากษัตริย์พม่าและชีปอน
พญาพะโร
ญาพะโร (ဗညားဗရူး บะญาบะยู,; ဗညားဗရောဝ်; ประมาณ 1418–1451) พงศาวดารมอญพม่าเรียกว่าพระยาแก่นท้าว เป็นพระเจ้าหงสาวดีรัชกาลที่ 12 ครองราชสมบัติระหว่าง..
ดู รายพระนามพระมหากษัตริย์พม่าและพญาพะโร
พญารามที่ 1
ญารามที่ 1 (ပထမ ဗညားရံ,; ဗညားရာံ; 1393–1446) หรือบางครั้งเรียก พระเจ้ารามาราชาธิราช กษัตริย์องค์ที่ 11 แห่ง อาณาจักรหงสาวดี ครองสิริราชสมบัติระหว่าง..
ดู รายพระนามพระมหากษัตริย์พม่าและพญารามที่ 1
พญารามที่ 2
ญารามที่ 2 (ဒုတိယ ဗညားရံ,; ဗညားရာံ; ประมาณ 1469–1526) กษัตริย์องค์ที่ 17 แห่ง อาณาจักรหงสาวดี ครองสิริราชสมบัติระหว่าง..
ดู รายพระนามพระมหากษัตริย์พม่าและพญารามที่ 2
พญาธรรมราชา
ญาธรรมราชา (ဗညားဓမ္မရာဇာ,; บางครั้งเรียก พระเจ้าสุโทธรรมราชาธิราช, ประมาณ 1392 – 1424) หรือในพงศาวดารมอญเรียก พระเจ้าบินยธรรมราชา กษัตริย์องค์ที่ 10 แห่ง อาณาจักรหงสาวดี ครองสิริราชสมบัติระหว่าง..
ดู รายพระนามพระมหากษัตริย์พม่าและพญาธรรมราชา
พญาทะละ
ญาทะละ (ဗညားဒလ บะญาดะละ; ? – ธันวาคม 1774) เป็นพระเจ้าหงสาวดีพระองค์ที่ 2 และพระองค์สุดท้ายในช่วงฟื้นฟูอาณาจักร ครองราชย์ระหว่าง..
ดู รายพระนามพระมหากษัตริย์พม่าและพญาทะละ
พญาเกียรติ์
ญาเกียรติ์ (ဗညားကျန်း, บะญาจัง; ประมาณ 1420 – 1453) พงศาวดารมอญพม่าเรียกว่าพระยาทาสราชา เป็นพระราชโอรสของพญาธรรมราชา พระเจ้าหงสาวดีรัชกาลที่ 10 ได้ขึ้นสืบราชบัลลังก์เป็นพระเจ้าหงสาวดีรัชกาลที่ 13 หลังจากปลงพระชนม์พญาพะโร กษัตริย์รัชกาลที่ 12 เมื่อ..
ดู รายพระนามพระมหากษัตริย์พม่าและพญาเกียรติ์
พระยาอายกำกอง
ระยาอายกำกองประชุมพงศาวดารเล่ม 2, หน้า 25 (စောအဲကံကောင်း, ซอเอกั่นเกาง์; 1313/14 – 1330) เป็นพระเจ้าเมาะตะมะเพียง 49 วันใน..
ดู รายพระนามพระมหากษัตริย์พม่าและพระยาอายกำกอง
พระยาอายลาว
ระยาอายลาว (ဗညားအဲလော, บะญาเอลอ; 1308 – 1348/49) เป็นพระราชโอรสพระองค์เดียวของพระเจ้ารามประเดิด (ခွန်လော ขุ่นลอ) กษัตริย์รัชกาลที่ 2 เดิมทรงครองเมืองสะโตง ต่อมานางจันทะมังคะละ (စန္ဒာမင်းလှ) พระขนิษฐาต่างพระมารดา ได้สนับสนุนพระองค์ให้ขึ้นสืบราชบัลลังก์เป็นพระเจ้าเมาะตะมะรัชกาลที่ 7 แล้วทรงสถาปนานางจันทะมังคะละเป็นพระอัครมเหสี ครองสิริราชสมบัติระหว่าง..
ดู รายพระนามพระมหากษัตริย์พม่าและพระยาอายลาว
พระยาอู่
ระยาอู่ (ဗညာဥူ; ဗညားဦး,; เป็นที่รู้จักกันในพระนาม พระเจ้าเชงพยูเชง (พระเจ้าช้างเผือก) 1323 – 1384) หรือ บญาอู กษัตริย์องค์ที่ 8 แห่ง อาณาจักรหงสาวดี ครองสิริราชสมบัติระหว่าง..
ดู รายพระนามพระมหากษัตริย์พม่าและพระยาอู่
พระนางเชงสอบู
ระนางเชงสอบู (ရှင်စောပု,; သေဝ်စါဝ်ပေါအ်; อักษรโรมัน: Shin Sawbu; ในราชาธิราชฉบับเจ้าพระยาพระคลัง (หน) ถอดเสียงเป็น แสจาโป) หรือ พระนางพระยาท้าว, ตละเจ้าปุ, พระนางพญาท้าว, ตละเจ้าท้าว และ นางพระยาตละเจ้าท้าว (ဗညားထောဝ်; อักษรโรมัน: Binnya Thau) เป็นกษัตริย์หญิงแห่งอาณาจักรมอญเพียงพระองค์เดียวที่ปกครองชาวมอญเป็นเวลา 17 ปี (พ.ศ.
ดู รายพระนามพระมหากษัตริย์พม่าและพระนางเชงสอบู
พระเจ้าบาเยงทเว
ระเจ้าบาเยงทเว (ဘုရင်ထွေး,; สวรรคต 1533) กษัตริย์องค์ที่ 2 แห่งอาณาจักรแปรครองสิริราชสมบัติระหว่าง..
ดู รายพระนามพระมหากษัตริย์พม่าและพระเจ้าบาเยงทเว
พระเจ้าบุเรงนอง
ระเจ้าบุเรงนอง หรือพระนามเต็มว่า พระเจ้าบุเรงนองกะยอดินนรธา (Bayinnaung Kyawhtin Nawrahta, ဘုရင့်နောင် ကျော်ထင်နော်ရထာ บะยิ่นเหน่าง์จ่อถิ่นหน่อยะถ่า; 16 มกราคม 2059 – 10 พฤศจิกายน 2124) หรือ พระเจ้าหงษานีพัตร เป็นพระมหากษัตริย์พม่าจากราชวงศ์ตองอู เสวยราชย์ตั้งแต่ปี..
ดู รายพระนามพระมหากษัตริย์พม่าและพระเจ้าบุเรงนอง
พระเจ้าชเวนันจอชิน
ระเจ้าชเวนันจอชิน นรปติ (ရွှေနန်းကြော့ရှင် နရပတိ,; กันยายน 1476 – 14 มีนาคม 1527) หรือ พระเจ้านรปติที่ 2 แห่งอังวะ (Narapati II of Ava) กษัตริย์ลำดับที่ 13 แห่งอังวะจาก..
ดู รายพระนามพระมหากษัตริย์พม่าและพระเจ้าชเวนันจอชิน
พระเจ้าฟ้ารั่ว
ระเจ้าฟ้ารั่ว (ဝါရီရူး,; 20 มีนาคม 1253 – ประมาณ 14 มกราคม 1307) เป็นปฐมกษัตริย์ในเมืองเมาะตะมะ ซึ่งปัจจุบันตั้งอยู่ในเขตประเทศพม่า ทรงครองราชสมบัติระหว่าง..
ดู รายพระนามพระมหากษัตริย์พม่าและพระเจ้าฟ้ารั่ว
พระเจ้าพุกามแมง
ระเจ้าพุกามแมง (Pagan min; ပုဂံမင်း) หรือ พระเจ้าพุกามมิน เป็นกษัตริย์องค์ที่ 9 ของราชวงศ์คองบอง พระองค์ประสูติเมื่อ 21 มิถุนายน..
ดู รายพระนามพระมหากษัตริย์พม่าและพระเจ้าพุกามแมง
พระเจ้ากะยอชวาแห่งพุกาม
ระเจ้ากะยอชวาแห่งพุกาม (ကျော်စွာ,; 2 สิงหาคม 1260 – 10 พฤษภาคม 1299) กษัตริย์แห่ง ราชวงศ์พุกาม ครองสิริราชสมบัติระหว่าง..
ดู รายพระนามพระมหากษัตริย์พม่าและพระเจ้ากะยอชวาแห่งพุกาม
พระเจ้ากะเลเจตองโญ
ระเจ้ากะเลเจตองนโย (ကလေး ကျေးတောင်ညို; 1385 – 1426) กษัตริย์ลำดับที่ 7 แห่ง อาณาจักรอังวะ ครองสิริราชสมบัติเพียง 6 เดือนจากเดือนพฤศจิกายน..
ดู รายพระนามพระมหากษัตริย์พม่าและพระเจ้ากะเลเจตองโญ
พระเจ้าญองยาน
ระเจ้าญองยาน (ညောင်ရမ်းမင်း เหญ่าง์ยาน) เป็นพระมหากษัตริย์รัชกาลที่ 5 แห่งราชวงศ์ตองอู ครองราชย์เป็นพระเจ้าอังวะระหว่างปี..
ดู รายพระนามพระมหากษัตริย์พม่าและพระเจ้าญองยาน
พระเจ้าฝรั่งมังศรี
นัตของพระเจ้าฝรั่งมังศรี พระเจ้าฝรั่งมังศรี (သီဟသူ (အင်းဝ),; 1394–1425) หรือ พระเจ้าสีหตูแห่งอังวะ กษัตริย์องค์ที่ 5 แห่งอาณาจักรอังวะครองสิริราชสมบัติระหว่าง..
ดู รายพระนามพระมหากษัตริย์พม่าและพระเจ้าฝรั่งมังศรี
พระเจ้าฝรั่งมังศรีชวา
ระเจ้าฝรั่งมังศรีชวา (မင်းကြီး စွာစော်ကဲ,; หรือ စွာစောကဲ, พระเจ้าสวาซอเก; 1330–1400) กษัตริย์องค์ที่ 2 แห่ง อาณาจักรอังวะ ครองสิริราชสมบัติระหว่าง..
ดู รายพระนามพระมหากษัตริย์พม่าและพระเจ้าฝรั่งมังศรีชวา
พระเจ้าฝรั่งมังฆ้อง
ฝรั่งมังฆ้อง หรือภาษาพม่าว่า ปฐมมินกอง (ပထမ မင်းခေါင်; 1373–1422) หรือ พระเจ้ามนเทียรทอง เป็นพระมหากษัตริย์แห่งอาณาจักรอังวะตั้งแต่ปี 1400 ถึงปี 1422 เป็นที่รู้จักในพงศาวดารพม่าเกี่ยวกับการทำสงครามกับพระเจ้าราชาธิราช (Razadarit) แห่งราชอาณาจักรหงสาวดีตั้งแต่ปี 1385 ถึงปี 1424 ซึ่งเรียก "สงครามสี่สิบปี" (Forty Years' War) และในฐานะที่เป็นพระบิดาของมังรายกะยอชวา (Minyekyawswa) พระเจ้าฝรั่งมังฆ้องเสด็จสู่ราชสมบัติหลังจากพระเจ้าพี่ยาเธอถูกปลงพระชนม์เมื่อปี 1400 ในช่วงแรกหลังเสวยราชย์ คือ ระหว่างปี 1400 ถึงปี 1406 พระเจ้าฝรั่งมังฆ้องทรงเผชิญความวุ่นวายทั้งภายในและภายนอก เกิดการกระด้างกระเดื่องไปทั่ว มีการรุกรานจากไทใหญ่ด้านทิศเหนือ ยะไข่ทางด้านตะวันตก พร้อมด้วยสงครามกับพระเจ้าราชาธิราชกษัตริย์มอญจากทางใต้ ครั้นปี 1406 พระเจ้าฝรั่งมังฆ้องทรงกุมสถานการณ์ทั้งหมดและทรงสามารถตีต้านได้ ในปีนั้นเองทรงมีชัยเหนือไทใหญ่ ครั้นปี 1404 ถึง 1414 กองทัพอาณาจักรอังวะและอาณาจักรหงสาวดีสู้กันอย่างดุเดือดในพม่าตอนใต้ พม่าตอนเหนือ และรัฐยะไข่ ขณะที่ราชวงศ์หมิงก็คอยยุยงให้ไทใหญ่ส่งการก่อกวนเข้าประสมโรงเป็นระยะ ๆ มาตั้งแต่ปี 1413Phayre 1883: 58–60 พอปี 1417 มังรายกะยอชวาพระโอรสเกือบมีชัยชนะเหนืออาณาจักรหงสาวดีในพม่าตอนใต้ได้ทั้งหมด แต่ต้องศัสตราวุธถึงแก่พระชนม์ในที่รบเสียก่อน มอญและพม่ายังคงรบรากันต่อไปจนปี 1418 ก็เบื่อหน่ายสงครามและเลิกรากันไปในที่สุดHtin Aung 1967: 90–93.
ดู รายพระนามพระมหากษัตริย์พม่าและพระเจ้าฝรั่งมังฆ้อง
พระเจ้ามหาธรรมราชาธิบดี
ระเจ้ามหาธรรมราชาธิบดี (မဟာ ဓမ္မရာဇာ ဓိပတိ) เป็นพระมหากษัตริย์พระองค์สุดท้ายของราชวงศ์ตองอูของพม่า ตั้งแต..
ดู รายพระนามพระมหากษัตริย์พม่าและพระเจ้ามหาธรรมราชาธิบดี
พระเจ้ามังกะยอดิน
ระเจ้ามังกะยอดิน (မင်းရဲကျော်ထင်) เป็นพระมหากษัตริย์แห่งราชวงศ์ตองอูของพม่า ตั้งแต..
ดู รายพระนามพระมหากษัตริย์พม่าและพระเจ้ามังกะยอดิน
พระเจ้ามังระ
ระเจ้ามังระ หรือ พระเจ้าซินพะยูชิน (ဆင်ဖြူရှင်; Hsinbyushin.) เป็นพระโอรสองค์ที่ 2 ในจำนวน 6 พระองค์ของพระเจ้าอลองพญา ปฐมกษัตริย์ราชวงศ์อลองพญาหรือราชวงศ์คองบอง ได้ขึ้นเป็นกษัตริย์พระองค์ที่ 3 ของราชวงศ์อลองพญา ในปี..
ดู รายพระนามพระมหากษัตริย์พม่าและพระเจ้ามังระ
พระเจ้ามังลอก
ระเจ้ามังลอก (Naungdawgyi) เป็นพระโอรสพระองค์โตของพระเจ้าอลองพญา ในบรรดาพระโอรส 6 พระองค์ ขึ้นครองราชย์เนื่องจากทรงเป็น "เองเชเมง" หรือ อุปราชวังหน้า ซึ่งเมื่อการสวรรคตของพระเจ้าอลองพญา ในสมัยของพระองค์ได้เกิดการกบฏครั้งสำคัญคือมังฆ้องนรธาขุนพลคู่บารมีของพระเจ้าอลองพญา รวมไปถึงการแก่งแย่งอำนาจจากเจ้านายฝ่ายพม่าด้วยกันเอง ทำให้ตลอดรัชสมัยของพระองค์ต้องทำการปราบกบฎอยู่หลายครั้ง แต่ด้วยอุปนิสัยที่มีเมตตาของพระองค์ จึงทำเพียงขับไล่ หรือคุมขังผู้ทำผิดเสียเป็นส่วนมาก แต่ไม่ประหารชีวิตบางครั้งก็ถึงกับอภัยโทษให้ผู้ทำผิดอยู่บ่อ.
ดู รายพระนามพระมหากษัตริย์พม่าและพระเจ้ามังลอก
พระเจ้ามังฆ้องที่ 2
ระเจ้ามังฆ้องที่ 2 (ဒုတိယ မင်းခေါင်; 9 ตุลาคม 1446 – 7 เมษายน 1501) กษัตริย์ลำดับที่ 12 แห่ง อาณาจักรอังวะ จาก..
ดู รายพระนามพระมหากษัตริย์พม่าและพระเจ้ามังฆ้องที่ 2
พระเจ้ามังฆ้องแห่งแปร
ระเจ้ามังฆ้องแห่งแปร (မင်းခေါင် (ပြည်); ประมาณ 1510s – เมษายน 1553) กษัตริย์องค์ที่ 4 และองค์สุดท้ายแห่งอาณาจักรแปรครองสิริราชสมบัติระหว่าง..
ดู รายพระนามพระมหากษัตริย์พม่าและพระเจ้ามังฆ้องแห่งแปร
พระเจ้ามินละแหง่
ระเจ้ามินลาเง (မင်းလှငယ်,; 1418–1425) กษัตริย์องค์ที่ 6 แห่ง อาณาจักรอังวะ เป็นเวลา 3 เดือนใน..
ดู รายพระนามพระมหากษัตริย์พม่าและพระเจ้ามินละแหง่
พระเจ้ามินดง
ระเจ้ามินดง (5 กรกฎาคม พ.ศ. 2351 - 1 ตุลาคม พ.ศ. 2421) เป็นกษัตริย์พม่าแห่งราชวงศ์อลองพญา (ค.ศ. 1853 - 1878) พระองค์เป็นผู้ย้ายเมืองหลวงไปอยู่ที่อมรปุระ และมัณฑะเลย์ พระองค์เป็นผู้ปฏิรูปการปกครองให้ทันสมัยขึ้น ตอนที่พระองค์ขึ้นเสวยราชสมบัติ ทรงสถาปนาเจ้าหญิงเสกขรเทวี น้องร่วมพระชนนีกับพระเจ้าพุกาม ขึ้นเป็นอัครมเหสี และสถาปนาเจ้าหญิงราชธิดาพระเจ้าพาคยีดอ คือนางอเลนันดอ เป็นมเหสี ในสมัยของพระองค์ต้องประสบปัญหาความขัดแย้งกับอังกฤษ การสูญเสียดินแดนของพม่าตอนล่าง และปัญหาการแย่งชิงอำนาจภายในประเทศ ภาพของพระเจ้ามินดงในเอกสารชาวตะวันตก.
ดู รายพระนามพระมหากษัตริย์พม่าและพระเจ้ามินดง
พระเจ้ามีนเยเดะบะ
ระเจ้ามินแยไดกปา (မင်းရဲဒိဗ္ဗ) เป็นพระมหากษัตริย์พระองค์ที่ 7 ของราชวงศ์ตองอูแห่งพม่า พระองค์ครองราชบัลลังก์ในเดือนกรกฎาคม..
ดู รายพระนามพระมหากษัตริย์พม่าและพระเจ้ามีนเยเดะบะ
พระเจ้าราชาธิราช
ระเจ้าราชาธิราช (ရာဇာဓိရာဇ်, หย่าซาดะยิต; ค.ศ. 1368–1421) มีพระนามเดิมว่า พญาน้อย (ဗညားနွဲ့) ทรงเป็นกษัตริย์มอญแห่งราชอาณาจักรหงสาวดี ระหว่างปี..
ดู รายพระนามพระมหากษัตริย์พม่าและพระเจ้าราชาธิราช
พระเจ้ารามมะไตย
ระเจ้ารามมะไตย (စောဇိတ်,; 19 พฤษภาคม 1303 – เมษายน 1330) หรือ พระเจ้าสอเซน ตามพงศาวดารมอญ กษัตริย์องค์ที่ 4 แห่ง อาณาจักรหงสาวดี ระหว่าง..
ดู รายพระนามพระมหากษัตริย์พม่าและพระเจ้ารามมะไตย
พระเจ้ารามประเดิด
ระเจ้ารามประเดิด (ခွန်လော,; 1254 – 1311) เป็นพระมหากษัตริย์รัชกาลที่ 2 แห่งเมืองเมาะตะมะ ครองราชย์ระหว่าง..
ดู รายพระนามพระมหากษัตริย์พม่าและพระเจ้ารามประเดิด
พระเจ้าสการะวุตพี
ระเจ้าสการะวุตพีพระราชพงศาวดารพม่า, หน้า 118 (Takayutpi ตะก่ายุปิ๊; 1511 – 1539) พงศาวดารมอญพม่าเรียกว่าพระเจ้าพะธิโรราชา เป็นพระเจ้าหงสาวดีพระองค์ที่ 18 และพระองค์สุดท้ายแห่งอาณาจักรหงสาวดีในพม่าระหว่าง..
ดู รายพระนามพระมหากษัตริย์พม่าและพระเจ้าสการะวุตพี
พระเจ้าสีหสุระที่ 2 แห่งอังวะ
ระเจ้าสีหสุระที่ 2 แห่งอังวะ (ဒုတိယ သီဟသူရ (အင်းဝ); 1474–1501) กษัตริย์ผู้ปกครองร่วมแห่ง อาณาจักรอังวะ โดยปกครองร่วมกับพระราชบิดาของพระองค์ พระเจ้ามังฆ้องที่ 2 เป็นเวลา 15 ปี เมื่อพระชนมายุได้ 6 พรรษาพระราชบิดาของพระองค์ได้ขึ้นสืบราชบัลลังก์แห่งอังวะพร้อมกับสถาปนาพระองค์เป็น ทายาทผู้มีสิทธิโดยตรง ใน..
ดู รายพระนามพระมหากษัตริย์พม่าและพระเจ้าสีหสุระที่ 2 แห่งอังวะ
พระเจ้าสีหสุระแห่งอังวะ
ระเจ้าสีหสุระแห่งอังวะ (သီဟသူရ (အင်းဝ),; หรือ มหาสีหสุระ; 1431–1480) พระมหากษัตริย์ลำดับที่ 11 แห่ง อาณาจักรอังวะ จาก..
ดู รายพระนามพระมหากษัตริย์พม่าและพระเจ้าสีหสุระแห่งอังวะ
พระเจ้าสีหตู
ระเจ้าสีหตู (သီဟသူ,; 1265–1325) ผู้ร่วมสถาปนา อาณาจักรมยินซาง และปฐมกษัตริย์แห่ง อาณาจักรปีนยะ ซึ่งปัจจุบันตั้งอยู่ในเขตพม่าตอนกลาง พระเจ้าสีหตูเป็นพระอนุชาองค์เล็กที่โดดเด่นที่สุดในบรรดาเจ้าชายสามพระองค์ซึ่งประสบความสำเร็จจากการป้องกันพม่าตอนกลางให้รอดพ้นจากการรุกรานของ จักรวรรดิมองโกล เมื่อ..
ดู รายพระนามพระมหากษัตริย์พม่าและพระเจ้าสีหตู
พระเจ้าสเน่ห์มิน
ระเจ้าสเน่ห์มินเป็นพระมหากษัตริย์พม่าองค์ที่ 12แห่งราชวงศ์ตองอูครองราชต่อจากพระเจ้ามังกะยอดินพระบิดาของพระองค์ เมื่อปี..
ดู รายพระนามพระมหากษัตริย์พม่าและพระเจ้าสเน่ห์มิน
พระเจ้าหม่องหม่อง
ระเจ้าหม่องหม่อง หรือ พระเจ้าพองกาซาหม่องหม่อง (Maung Maung, Phaungkaza Maung Maung, ဖောင်းကားစား မောင်မောင်,; 12 กันยายน ค.ศ. 1763 - 11 กุมภาพันธ์ ค.ศ.
ดู รายพระนามพระมหากษัตริย์พม่าและพระเจ้าหม่องหม่อง
พระเจ้าอลองพญา
ระบรมราชานุสาวรีย์ของพระเจ้าอลองพญาที่หน้าพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติใน นครย่างกุ้ง พระบรมราชานุสาวรีย์พระเจ้าอลองพญา พระเจ้าอลองพญา หรือ พระเจ้าอลองพญารี (Alaungpaya, အလောင်းမင်းတရား พระนามของพระองค์ออกสำเนียงเป็นภาษาพม่าว่า "อลองเมงตะยาจี" หรือ "อลองพะ" มีความหมายว่า "พระโพธิสัตว์"; สิงหาคม ค.ศ.
ดู รายพระนามพระมหากษัตริย์พม่าและพระเจ้าอลองพญา
พระเจ้าอลองสิธู
พระเจ้าอลองสิธู ในรูปลักษณ์ของนัต "เมงสิธู" พระเจ้าอลองสิธู (Alaungsithu, အလောင်းစည်သူ) กษัตริย์ในราชวงศ์พุกาม ที่ครองราชย์อย่างยาวนานถึงกว่า 54 ปี (พ.ศ.
ดู รายพระนามพระมหากษัตริย์พม่าและพระเจ้าอลองสิธู
พระเจ้าอะเนาะเพะลูน
ระเจ้าอะเน่าก์แพตหลุ่น (အနောက်ဖက်လွန် อะเน่าก์แพะหลุ่นมิง แปลว่า พระราชาแห่งทิศตะวันตก) หรือ พระเจ้ามหาธรรมราชา พงศาวดารมอญพม่าเรียกว่าพระเจ้าปราสาททองกลดแก้ว เป็นพระมหากษัตริย์พม่าในราชวงศ์ตองอู เมื่อสิ้นพระเจ้าบุเรงนองและพระเจ้านันทบุเรงแล้ว ฐานอำนาจของราชวงศ์ตองอูสั่นคลอนเนื่องจากเกิดการกบฏจากพม่าด้วยกันเองในหลายหัวเมือง อีกทั้งการรุกรานจากต่างชาติ เช่น มอญและชาวโปรตุเกส พระองค์ทรงเป็นผู้รวบรวมอาณาจักรพม่าให้กลับมายิ่งใหญ่ได้อีกครั้ง แม้ไม่ยิ่งใหญ่เท่าสมัยของพระอัยกาก็ตาม.
ดู รายพระนามพระมหากษัตริย์พม่าและพระเจ้าอะเนาะเพะลูน
พระเจ้าอุซะนา
พระเจ้าอุซะนา (ဥဇနာ,; พ.ศ. 1794-1799) ประวัติศาสตร์บันทึกไว้ว่าพระองค์มิได้มีความสามารถแต่อย่างใด จึงโปรดให้มหาอำมาตย์ ราชสิงคาล (Yazathingyan) ดูแลบ้านเมืองแทนพระองค์ เมื่อพระเจ้าอุซะนาเสด็จสวรรคตจากการคล้องช้าง มหาอำมาตย์ราชสิงคาลได้เลือกเจ้าชายพระราชโอรสพระองค์เล็กที่สุดของพระเจ้าอุซะนาพระนามว่า พระเจ้านรสีหบดี ขึ้นครองราชย์ หมวดหมู่:พระมหากษัตริย์ราชวงศ์พุกาม.
ดู รายพระนามพระมหากษัตริย์พม่าและพระเจ้าอุซะนา
พระเจ้าอโนรธามังช่อ
ระบรมราชานุสาวรีย์พระเจ้าอโนรธามังช่อ ในปัจจุบัน เจดีย์ชเวซีโกน ในปัจจุบัน พระเจ้าอโนรธามังช่อ หรือ พระเจ้าอโนรธา (Anawrahta Minsaw, Anawrahta, အနိရုဒ္ဓ) (พ.ศ.
ดู รายพระนามพระมหากษัตริย์พม่าและพระเจ้าอโนรธามังช่อ
พระเจ้าจะซวา
ระเจ้าจะซวา (Kyaswa,ကျစွာ 1198 – 1251) กษัตริย์แห่ง ราชวงศ์พุกาม ครองสิริราชสมบัติระหว่าง..
ดู รายพระนามพระมหากษัตริย์พม่าและพระเจ้าจะซวา
พระเจ้าจักกายแมง
ระเจ้าบาจีดอ หรือ พระเจ้าจักกายแมง (Bagyidaw, Sagaing Min; ဘကြီးတော်)เป็นกษัตริย์ลำดับที่ 6 แห่งราชวงศ์อลองพญา มีนโยบายขยายอำนาจเข้าไปในแคว้นอัสสัมและมณีปุระ ทำให้มีปัญหากับอังกฤษ และนำไปสู่การเกิดสงครามพม่า-อังกฤษครั้งที่หนึ่ง.
ดู รายพระนามพระมหากษัตริย์พม่าและพระเจ้าจักกายแมง
พระเจ้าจั่นซิตา
ั่นซิตา (Kyanzittha, ကျန်စစ်သား; พ.ศ. 1627 - 1656) เป็นพระเจ้ากรุงพุกาม และถือเป็นพระมหากษัตริย์ผู้ยิ่งใหญ่ที่สุดพระองค์หนึ่งในประวัติศาสตร์พม่าไม่แพ้พระเจ้าอโนรธามังช่อ เนื่องด้วยพระองค์ทรงเป็นธรรมกษัตริย์ที่ทำนุบำรุงศาสนาพุทธจนเจริญรุ่งเรืองถึงขีดสุด จนเป็นที่ยอมรับทั้งจากชาวพม่าและชาวมอญ พระเจ้าจั่นซิตาเป็นขุนนางชั้นผู้ใหญ่คนหนึ่งในรัชสมัยพระเจ้าอโนรธา เมื่อพระเจ้าซอลูพระราชโอรสของพระเจ้าอโนรธาขึ้นครองราชย์ พระองค์มิได้ประกอบภารกิจอันใดด้วยความสามารถพระองค์เอง แต่จะทรงใช้และปรึกษาเหล่าเสนาอำมาตย์อยู่บ่อย ๆ ในปลายรัชสมัยพระเจ้าซอลู งะรมัน เจ้าเมืองพะโค ซึ่งเป็นชาวมอญได้ก่อกบฏขึ้นจับตัวพระเจ้าซอลูเป็นตัวประกัน จั่นซิตาซึ่งครองเมืองถิเลงอยู่ ไม่สามารถยกทัพกลับมาช่วยพระองค์ได้ทัน งะรมันได้สังหารพระเจ้าซอลูที่เมืองพวาสอ และพยายามเข้ายึดครองอาณาจักรพุกามแต่จั่นซิตาได้เข้าขัดขวาง เหล่าเสนาอำมาตย์ และพระธัมมทัสสีมหาเถระที่ปรึกษาองค์สำคัญของพระเจ้าอโนรธา จึงได้อัญเชิญจั่นซิตาขึ้นครองราชย์เป็นกษัตริย์ เมื่อขึ้นครองราชย์ จั่นซิตามีพระนามว่า ศรีตรีภูวนาทิตยธัมมมราชาTaw, Blagden 1911: 216 ในภาษาสันสกฤต ในจารึกพม่าเรียกพระองค์ว่า "ถิลุงมัง" (T’iluin Man) แปลว่า "กษัตริย์แห่งถิเลง" แต่เนื่องจากจั่นซิตามิได้มีเชื้อสายของกษัตริย์ พระองค์จึงอ้างสิทธิธรรมในการครองราชสมบัติว่าพระองค์ทรงเป็นภาคหนึ่งของพระโพธิสัตว์ และเป็นองค์อวตารของพระวิษณุของชาวปยูอีกด้วย สมัยนี้จึงถือเป็นรัชสมัยที่ศิลปศาสตร์แบบมอญเจริญรุ่งเรืองถึงขีดสุดในพุกาม ในรัชสมัยของพระเจ้าจั่นซิตา ทรงติดต่อกับต่างประเทศเป็นอย่างมาก ในปี..
ดู รายพระนามพระมหากษัตริย์พม่าและพระเจ้าจั่นซิตา
พระเจ้าจิงกูจา
ระเจ้าจิงกูจา (Singu Min,စဉ့်ကူးမင်း) พระโอรสของพระเจ้ามังระ ขึ้นครองราชย์ด้วยพระชันษาเพียง 20 ปี ภายหลังการสวรรคตของพระเจ้ามังระ พระเจ้าจิงกูจา ได้ทำการปราบบรรดาผู้ที่ต่อต้านน้อยใหญ่ ซึ่งประกอบไปด้วยเชื้อพระวงศ์ พระญาติ และเหล่าขุนนางด้วยวิธีการที่เด็ดขาด คือ ประหารชีวิตเสียหลายคน และหลายคนก็ถูกลดอำนาจหรือส่งไปอยู่หัวเมืองที่ห่างไกล เช่น พระเจ้าปดุง ที่ถูกส่งไปอยู่เมืองสะกาย และมีผู้ทำการควบคุมอีกชั้นหนึ่ง โดยเมื่อพระองค์ได้อำนาจเบ็ดเสร็จเด็ดขาดแล้วก็ทรงปลดอะแซหวุ่นกี้แม่ทัพคู่บารมีของพระเจ้ามังระพระราชบิดาของพระองค์ลงแล้วเนรเทศไปอยู่ที่เมืองสะกายเช่นเดียวกับพระเจ้าปดุง ทั้งที่แม่ทัพเฒ่าผู้นี้ยกกองทัพกลับมาจากการตีกรุงธนบุรี เพื่อมาควบคุมสถานะการในกรุงอังวะจนเรียบร้อยและมอบพระราชอำนาจเต็มแก่พระองค์ ซึ่งหากวิเคราะห์แล้วก็อาจเป็นเพราะอะแซหวุ่นกี้มีอำนาจ บารมีทางการทหารมากเกินไป รวมไปถึงเนเมียวสีหบดี, เนเมียวสีหตูและเหล่าขุนนางเก่าในพระเจ้ามังระพระองค์ก็ประหารทิ้งบ้าง ปลดทิ้งเสียจากตำแหน่งบ้างไปอีกหลายคน ซึ่งการใช้พระเดชเช่นนี้ทำให้ระหว่างการครองราชย์ผู้คนรอบตัวต่างหวาดระแวงภัยที่อาจมาถึงตัวเมื่อใดก็ได้ ในที่สุดหลังจากพระเจ้าจิงกูจาครองราชย์เพียง 5 ปี ก็ถูกเชื้อพระวงศ์พระองค์หนึ่ง คือ หม่องหม่อง โอรสของพระเจ้ามังลอก ทำการรัฐประหารยึดพระราชวัง ในระหว่างที่พระองค์เสด็จไปสักการะพระพุทธรูปสิงหดอที่ทางเหนือ โดยความช่วยเหลือของขุนนางและเชื้อพระวงศ์หลายคน (เชื่อว่ารวมทั้งอะแซหวุ่นกี้ที่ทนต่อการบริหารราชการของพระองค์ไม่ได้) แต่แรกพระเจ้าจิงกูจาคิดจะหนีไปอาศัยอยู่เมืองกะแซ แต่เป็นห่วงพระราชชนนีจึงลอบลงมาใกล้เมืองอังวะ แล้วมีหนังสือเข้าไปทูลให้ทราบว่าจะหนีไปเมืองกะแซ.
ดู รายพระนามพระมหากษัตริย์พม่าและพระเจ้าจิงกูจา
พระเจ้าธรรมเจดีย์
ระเจ้าธรรมเจดีย์ (ဓမ္မစေတီ,; c. 1409–1492) กษัตริย์องค์ที่ 16 แห่ง อาณาจักรหงสาวดี ครองสิริราชสมบัติระหว่างปี..
ดู รายพระนามพระมหากษัตริย์พม่าและพระเจ้าธรรมเจดีย์
พระเจ้าธีบอ
ระเจ้าธีบอ หรือ พระเจ้าสีป่อ (ตี่บอมิง) เป็นพระมหากษัตริย์พม่าพระองค์สุดท้ายแห่งราชวงศ์อลองพญา ถูกบังคับให้สละราชสมบัติและเนรเทศไปอยู่ที่เมืองรัตนคีรีในบริติชราช หลังสิ้นสงครามอังกฤษ-พม่าครั้งที่สาม และสวรรคตเมื่อ..
ดู รายพระนามพระมหากษัตริย์พม่าและพระเจ้าธีบอ
พระเจ้าตราพระยาแห่งอังวะ
ระสาทิสลักษณ์ของพระเจ้าตราพระยาในรูปแบบของนัต พระเจ้าตราพระยาแห่งอังวะ (တရဖျား, or; 22 ธันวาคม 1368 – ประมาณ 25 พฤศจิกายน 1400) กษัตริย์องค์ที่ 3 แห่ง อาณาจักรอังวะ ครองสิริราชสมบัติได้เพียง 7 เดือนใน..
ดู รายพระนามพระมหากษัตริย์พม่าและพระเจ้าตราพระยาแห่งอังวะ
พระเจ้าตะนินกันเหว่
ระเจ้าทนินกันเว (တနင်္ဂနွေမင်း) เป็นพระมหากษัตริย์แห่งราชวงศ์ตองอูของพม่า ตั้งแต..
ดู รายพระนามพระมหากษัตริย์พม่าและพระเจ้าตะนินกันเหว่
พระเจ้าตะโดมินพญา
ระเจ้าตะโดมินพญา (သတိုးမင်းဖျား,; 7 ธันวาคม 1345 – ประมาณ 3 กันยายน 1367) ปฐมกษัตริย์แห่ง อาณาจักรอังวะ ระหว่าง..
ดู รายพระนามพระมหากษัตริย์พม่าและพระเจ้าตะโดมินพญา
พระเจ้าตะโดเมงสอแห่งแปร
ระเจ้าตะโดเมงสอแห่งแปร (သတိုးမင်းစော,; สวรรคต 1526) กษัตริย์ผู้ก่อตั้งอาณาจักรแปรครองสิริราชสมบัติระหว่าง..
ดู รายพระนามพระมหากษัตริย์พม่าและพระเจ้าตะโดเมงสอแห่งแปร
พระเจ้าตะเบ็งชะเวตี้
ระเจ้าตะเบ็งชะเวตี้ หรือ ตะเบ็งเฉวฺ่ที (Tabinshwehti, တပင်ရွှေထီး; สำเนียงพม่าออกว่า "ตะเบ็งเฉวฺ่ที") เป็นพระมหากษัตริย์พม่ารัชกาลที่ 2 ในราชวงศ์ตองอู เป็นพระราชโอรสเพียงพระองค์เดียวในพระเจ้าเมงจีโย ซึ่งเป็นปฐมกษัตริย์ของราชวงศ์ตองอู.
ดู รายพระนามพระมหากษัตริย์พม่าและพระเจ้าตะเบ็งชะเวตี้
พระเจ้าตาลูน
ระเจ้าทาลุน (พระเจ้าสิริสุธรรมราชามหาธิบดีตลุนมิน) เป็นพระอนุชาของ พระเจ้าอโนเพตลุน และเป็นพระโอรสของ พระเจ้าสีหสุธรรมราชา หรือ เจ้านยองยาน พระโอรสของพระเจ้าบุเรงนอง กล่าวคือพระองค์เองและพระเชษฐาธิราชต่างก็เป็นพระราชนัดดาในพระเจ้าชนะสิบทิศบุเรงนอง พระเจ้าสิริสุธรรมราชามหาธิบดี (พระเจ้าทาลุน) (พ.ศ.
ดู รายพระนามพระมหากษัตริย์พม่าและพระเจ้าตาลูน
พระเจ้าซอลู
พระเจ้าซอลู กษัตริย์องค์ที่ 2 แห่งราชวงศ์พุกามเป็นพระราชโอรสในพระเจ้าอโนรธามังช่อมหาราชองค์แรกของพม่า เมื่อพระราชบิดาสวรรคตด้วยการถูกควายเผือกขวิดในปีค.ศ.
ดู รายพระนามพระมหากษัตริย์พม่าและพระเจ้าซอลู
พระเจ้าปยีนบยา
ระเจ้าปยีนบยา (ပျဉ်ပြား,; 817–876) กษัตริย์แห่งราชวงศ์พุกาม ซึ่งเป็นผู้ก่อตั้งเมืองพุกามใน..
ดู รายพระนามพระมหากษัตริย์พม่าและพระเจ้าปยีนบยา
พระเจ้าปีนดะเล
พระเจ้าพินดาเล (2191-2204) กษัตริย์องค์ที่ 8 แห่งราชวงศ์ตองอู เป็นพระราชโอรสองค์โตในพระเจ้าทาลุน เสด็จขึ้นครองราชย์แทนพระราชบิดาเมื่อปีพ.ศ.
ดู รายพระนามพระมหากษัตริย์พม่าและพระเจ้าปีนดะเล
พระเจ้าปดุง
ระเจ้าปดุง (Bodawpaya) เป็นพระมหากษัตริย์ลำดับที่ 5 แห่งราชวงศ์อลองพญา (หรือเป็นองค์ที่ 6 หากนับรวมพระเจ้าหม่องหม่องด้วย) ราชวงศ์สุดท้ายของพม่า เป็นพระโอรสลำดับที่ 5 ใน 6 พระองค์ของพระเจ้าอลองพญา ขึ้นครองราชย์โดยการปราบดาภิเษกในปี พ.ศ.
ดู รายพระนามพระมหากษัตริย์พม่าและพระเจ้าปดุง
พระเจ้าปเย
ระเจ้าปเย (พระเจ้ามหาสีหสุรสุธรรมราชา) เป็นพระมหากษัตริย์พม่าองค์ที่ 9แห่งราชวงศ์ตองอูพระองค์เป็นพระราชโอรสของพระเจ้าทาลุน พระองค์ครองราชย์เมื่อปี..
ดู รายพระนามพระมหากษัตริย์พม่าและพระเจ้าปเย
พระเจ้านรสิงขะ
ระเจ้านรสิงขะ (နရသိင်္ခ, นะระเตงคะ) เป็นพระราชโอรสของพระเจ้านรตู่ ครองราชย์เป็นพระเจ้าพุกาม (พม่า) ระหว่างปี..
ดู รายพระนามพระมหากษัตริย์พม่าและพระเจ้านรสิงขะ
พระเจ้านรสีหบดี
ระเจ้านรสีหบดี (Narathihapate.; နရသီဟပတေ့, nəɹa̰ θìha̰pətḛ; c. 1238–1287) เป็นกษัตริย์พม่าองค์สุดท้ายแห่งราชวงศ์พุกาม ครองราชย์ตั้งแต่ปี..1254-1287 มีเรื่องโดดเด่นสองประการที่สร้างพระเจ้านรสีหบดีพระองค์นี้เป็นที่จดจำ คือ ความตะกละตะกลามชอบเสวยอาหาร โดยร่ำลือกันว่าต้องมีอาหารหลากหลายถึงสามร้อยชนิดต่อมื้อพระกระยาหาร และอีกประการคือ ความขลาดกลัวต่อการรุกรานของทัพมองโกล จนเป็นกษัตริย์ที่ได้ฉายาว่า "กษัตริย์ขี้ตะกละผู้หนีทัพจีน" พระองค์เสด็จสวรรคตด้วยถูกปลงพระชนม์โดยการวางยาพิษจากราชโอรสพระองค์รองนาม สีหตู (Thihathu) ซึ่งขณะนั้นได้ครองเมืองแปร จากนั้นราชวงศ์พุกามก็ได้ล่มสลายลงพร้อมกับชัยชนะของมองโกลที่มีอำนาจเหนือภูมิภาคตอนบนของพม่า กว่า 250 ปี ที่ราชวงศ์พุกามปกครองมีอำนาจในพื้นที่ลุ่มน้ำอิรวดี ผืนแผ่นดินอาณาจักรได้กลับไปแตกแยกเป็นแคว้นเล็กเมืองน้อยอีกครั้ง สภาพสุญญากาศทางการปกครอง สภาวะไร้ผู้นำได้ดำเนินต่อไปอีกกว่า 250 ปี จนกระทั่งการขึ้นมาของราชวงศ์ตองอูที่ได้รวบรวมอาณาจักรให้เป็นปึกแผ่นอีกครั้งในช่วงกลางคริสต์ศตวรรษที่ 16.
ดู รายพระนามพระมหากษัตริย์พม่าและพระเจ้านรสีหบดี
พระเจ้านรปติสี่ตู่
พระเจ้านรปติสี่ตู่ เป็นกษัตริย์แห่งราชวงศ์พุกาม พระราชนัดดาของพระเจ้านรถุได้ขี้นครองราชสมบัติต่อมา ทรงพระนามว่า พระเจ้านรปติสี่ตู่ (พ.ศ.
ดู รายพระนามพระมหากษัตริย์พม่าและพระเจ้านรปติสี่ตู่
พระเจ้านรปติที่ 1 แห่งอังวะ
ระเจ้านรปติที่ 1 แห่งอังวะ (နရပတိ (အင်းဝ),; 7 มิถุนายน 1413 – 24 กรกฎาคม 1468) กษัตริย์ลำดับที่ 10 แห่ง อาณาจักรอังวะ จาก..
ดู รายพระนามพระมหากษัตริย์พม่าและพระเจ้านรปติที่ 1 แห่งอังวะ
พระเจ้านรปติแห่งแปร
ระเจ้านรปติแห่งแปร (နရပတိ (ပြည်),; สวรรคต 1539) หรือในนวนิยาย ผู้ชนะสิบทิศ ถอดเสียงเป็น พระเจ้านรบดี กษัตริย์องค์ที่ 3 แห่ง อาณาจักรแปร ครองสิริราชสมบัติระหว่าง..
ดู รายพระนามพระมหากษัตริย์พม่าและพระเจ้านรปติแห่งแปร
พระเจ้านะระตู
พระเจ้านราธู (Narathu) กษัตริย์แห่งราชวงศ์พุกาม ได้ชื่อว่าเป็นผู้โหดร้าย และเป็นจุดเริ่มต้นความเสื่อมของอาณาจักรพุกาม มีพระนามที่เป็นที่รู้จักอีกพระนามหนึ่งว่า "อิมตอวสยัน" (Im Taw Syan) ที่ได้ชื่อว่าเป็นกษัตริย์จอมโหด เนื่องจากทรงลอบปลงพระชนม์พระบิดา คือ พระเจ้าอลองสิธูและพระเชษฐาเพื่อขึ้นครองราชย์ และเมื่อขึ้นครองราชย์แล้วก็ยังได้ประหารอีกหลายคนที่ทรงหวาดระแวง เช่น มเหสีของพระองค์ ซึ่งตามตำนานเล่าว่าเป็นธิดาของกษัตริย์ลังกา ในช่วงสมัยนี้พุกามยังขัดขวางการค้าช้างระหว่าง เขมร กับลังกา ผ่านการควบคุมการค้าข้ามบริเวณเมาะตะมะและคอคอดกระ ที่พุกามได้ควบคุมไว้ตั้งแต่รัชกาลพระเจ้าอลองสิธู พระเจ้าปรากรมพาหุที่ 1 แห่งลังกา จึงยกทัพเรือมาโจมตีเมืองพะสิมที่ปากแม่น้ำอิระวดี และล่องเรือขึ้นมาถึงอาณาจักรพุกามจนสามารถจับพระเจ้านราธูและประหารชีวิตพระองค์ในที่สุด พระเจ้านราธูครองราชย์อยู่เป็นระยะเวลาสั้น ๆ เพียง 4 ปี (พ.ศ.
ดู รายพระนามพระมหากษัตริย์พม่าและพระเจ้านะระตู
พระเจ้านะราวะระ
พระเจ้านราวาระ เป็นพระมหากษัตริย์พม่าพระองค์ที่ 10 แห่ง ราชวงศ์ตองอู ขึ้นครองราชย์เมื่อปี พ.ศ. 2215 แต่พระองค์ครองราชย์แค่เพียงปีเดียวก็สิ้นพระชนม์อย่างกะทันหัน พระอนุชาของพระองค์จึงขึ้นครองราชย์ต่อเป็น พระเจ้ามังกะยอดิน หมวดหมู่:พระมหากษัตริย์ราชวงศ์ตองอู.
ดู รายพระนามพระมหากษัตริย์พม่าและพระเจ้านะราวะระ
พระเจ้านันทบุเรง
นันทบุเรง (နန္ဒဘုရင်,; Nanda Bayin; 9 พฤศจิกายน ค.ศ. 1535 – 30 พฤศจิกายน ค.ศ. 1600) หรือ พระเจ้าหงษางาจีสะยาง เป็นพระมหากษัตริย์พม่าจากราชวงศ์ตองอู เสวยราชสมบัติตั้งแต..
ดู รายพระนามพระมหากษัตริย์พม่าและพระเจ้านันทบุเรง
พระเจ้าแสรกแมง
ระฆัง ''Maha Tissada Gandha'' สร้างโดยพระเจ้าแสรกแมง แขวนไว้ที่พระเจดีย์ชเวดากอง พระเจ้าสารวดี (Tharrawaddy Min; သာယာဝတီမင်း) หรือ พระเจ้าแสรกแมง เป็นพระโอรสของตะโดเมงสอ (Thado Minsaw) ซึ่งเป็นพระโอรสของพระเจ้าปดุง พระองค์เป็นพระอนุชาของพระเจ้าจักกายแมง หรือพระเจ้าบาจีดอว์ และเป็นกษัตริย์องค์ที่ 7 ในราชวงศ์อลองพญา ประสูติเมื่อ 14 มีนาคม..
ดู รายพระนามพระมหากษัตริย์พม่าและพระเจ้าแสรกแมง
พระเจ้าแสนเมือง
ระเจ้าแสนเมือง (စောအို,; 1284 – 1323) เป็นพระมหากษัตริย์มอญรัชกาลที่ 3 แห่งเมืองเมาะตะมะ ครองราชสมบัติระหว่าง..
ดู รายพระนามพระมหากษัตริย์พม่าและพระเจ้าแสนเมือง
พระเจ้าโมญีนตะโด
ระเจ้าโม่ญี่นตะโด (မိုးညှင်းသတိုး,; 1379 – 1439) กษัตริย์ลำดับที่ 8 แห่ง อาณาจักรอังวะ จาก..
ดู รายพระนามพระมหากษัตริย์พม่าและพระเจ้าโมญีนตะโด
พระเจ้าโต่หั่นบวา
ระเจ้าโต่หั่นบวา (သိုဟန်ဘွား,, 1505 – พฤษภาคม 1542) กษัตริย์แห่ง อาณาจักรอังวะ จาก..
ดู รายพระนามพระมหากษัตริย์พม่าและพระเจ้าโต่หั่นบวา
พระเจ้าไชยสิงขะ
พระเจ้าไชยสิงขะ (ဇေယျသိင်္ခ) หรือ ทีโหล่มีนโหล่ (ထီးလိုမင်းလို,; พ.ศ. 1754-1778) หรือพระเจ้านันเด่าง์เมีย (နန်းတောင်းများမင်း) เป็นพระเจ้าพุกาม ที่ครองราชย์ต่อจากพระราชบิดา ในรัชกาลนี้แทบไม่มีความวุ่นวายทางการเมืองเลย จึงเป็นยุคสมัยของการสร้างวัดและเจดีย์ขนาดใหญ่เป็นจำนวนมาก จนในท้ายรัชกาลเกิดปัญหาจากการกัลปนาที่ดิน และกำลังพลจำนวนมากให้เป็นข้าวัด เนื่องจากข้าวัดเหล่านี้จะไม่ถูกเกณฑ์แรงงานจากหลวง หมวดหมู่:พระมหากษัตริย์ราชวงศ์พุกาม.
ดู รายพระนามพระมหากษัตริย์พม่าและพระเจ้าไชยสิงขะ
พระเจ้าเมงจีโย
ระเจ้าเมงจีโย (สำเนียงพม่าออกว่า มินจีโหญ่) (Mingyinyo, မင်းကြီးညို) หรือ พระเจ้าสิริชัยสุระ ตามพงศาวดารไทย หรือในนวนิยายผู้ชนะสิบทิศเรียก เมงกะยินโย เป็นปฐมกษัตริย์ของราชวงศ์ตองอู ราชวงศ์และอาณาจักรที่ 2 ของประวัติศาสตร์พม่า พระเจ้าเมงจีโยเดิมเป็นนายทหารที่มีความสามารถในการรบ ได้ทำการรวบรวมชาวพม่าที่อยู่กันอย่างกระจัดกระจายหลังการล่มสลายของอาณาจักรพุกามภายหลังการโจมตีของมองโกล โดยได้รับความช่วยเหลือจากขุนนางสำคัญหลายคน เช่น เมงเยสีหตู (บางคนถูกสมมติเป็นตัวละครในนวนิยายผู้สิบทิศ เช่น มหาเถรวัดกุโสดอ) พระเจ้าเมงจีโยได้สถาปนาเมืองตองอู ซึ่งเป็นเมืองในขุนเขาเป็นปราการที่ดีขึ้นเป็นศูนย์กลางอำนาจใหม่ ต่อมามีการแผ่ขยายอำนาจเข้ายึดเมืองแปรโดยสามารถรบชนะพระเจ้านระบดีแห่งเมืองแปรได้สำเร็จ ต่อมาคิดจะเข้ายึดเมืองหงสาวดีที่มีพระเจ้าสการะวุตพีเป็นกษัตริย์ แต่ไม่สำเร็จเนื่องจากพระเจ้าเมงจีโยสวรรคตเสียก่อน ในมหาราชวงศ์พงศาวดารพม่า ระบุว่า พระองค์ได้พบกับพระมเหสีเมื่อเสด็จทอดพระเนตรการสร้างเขื่อน ซึ่งต่อมามีพระโอรสเพียงพระองค์เดียว ที่ได้ครองราชย์ต่อมา คือ พระเจ้าตะเบ็งชะเวตี้ พระเจ้าเมงจีโย สิ้นพระชนม์ในปี พ.ศ.
ดู รายพระนามพระมหากษัตริย์พม่าและพระเจ้าเมงจีโย
พะสิม
ม (ဖာသဳ พะแซม) หรือ บัสเซียน (Bassein) เป็นเมืองท่าสำคัญและเป็นเมืองศูนย์กลางของเขตอิรวดี ห่างจากนครย่างกุ้งมาทางตะวันตกเฉียงใต้ ริมแม่น้ำพะสิม ซึ่งเป็นแม่น้ำสาขาฝั่งตะวันตกของแม่น้ำอิรวดี เมืองนี้มีประชากร 237,089 คน (ค.ศ.
ดู รายพระนามพระมหากษัตริย์พม่าและพะสิม
พะโค
(ပဲခူးမြို့, Bago หรือ Pegu) หรือชื่อในอดีตคือ หงสาวดี (ဟံသာဝတီ, หงสาวะโตย; Hongsawatoi, Hanthawaddy, Hanthawady, Hanthawadi หรือ Handawaddy) เป็นเมืองหลวงของเขตหงสาวดี ตั้งอยู่ใกล้เมืองเมาะตะมะ ทางตอนใต้ของประเทศพม่า นครหงสาวดีเคยเป็นเมืองหลวงของราชอาณาจักรหงสาวดีของชาวมอญ และอาณาจักรตองอูของชาวพม.
ดู รายพระนามพระมหากษัตริย์พม่าและพะโค
กูนซอ จองบยู
นัตพระเจ้ากูนซอ จองบยู พระเจ้ากูนซอ จองบยู (ကွမ်းဆော်ကြောင်ဖြူ) เป็นกษัตริย์ของพุกาม ได้เข้าชิงราชสมบัติของพระเจ้าญองอู ซอยะฮาน และอภิเษกมเหสีทั้งสามของพระเจ้าญองอู ซอยะฮาน ขึ้นเป็นมเหสีของพระองค์ พระองค์เป็นพระราชบิดาของพระเจ้าอโนรธา ผู้สถาปนาอาณาจักรพุกาม ในปลายรัชกาลพระองค์ถูกพระราชโอรสบุญธรรม คือ จีนโซ บีบบังคับให้สละราชสมบัติและบีบบังคับให้พระองค์ออกบวชและสิ้นพระชนม์ในเวลาต่อมา ปัจจุบัน พระเจ้ากูนซอ จองบยู เป็นหนึ่งใน 37 นัตหลวงตามความเชื่อเรื่องผีนัตแห่งประเทศพม.
ดู รายพระนามพระมหากษัตริย์พม่าและกูนซอ จองบยู
ญองอู ซอยะฮาน
ญองอู ซอยะฮาน (Nyaung-u Sawrahan; ညောင်ဦး စောရဟန်း) พระมหากษัตริย์แห่งพม่า ซึ่งครองราชย์ในช่วง พ.ศ. 1499 -..
ดู รายพระนามพระมหากษัตริย์พม่าและญองอู ซอยะฮาน
มหาราชวงศ์ ฉบับหอแก้ว
มหาราชวงศ์ ฉบับหอแก้ว (မှန်နန်း မဟာ ရာဇဝင်တော်ကြီး, หมั่นนัน มะห่าหย่าซะหวิ่นด่อจี) เป็นหนังสือบันทึกเหตุการณ์ฉบับทางการเป็นฉบับแรกของราชวงศ์คองบอง ที่พระเจ้าจักกายแมงโปรดให้คณะกรรมการประวัติศาสตร์หลวงแห่งพม่าเรียบเรียงขึ้นระหว่าง..
ดู รายพระนามพระมหากษัตริย์พม่าและมหาราชวงศ์ ฉบับหอแก้ว
มะมุดตาว
ระยายุตราชา มีพระนามเดิมว่ามะมุดตาวประชุมพงศาวดารเล่ม 2, หน้า 30 หรือ มหอดอ (မမောဟ်ထာဝ်; လိပ်မွတ်ထော, เล่ยหมุ่นทอ; ประมาณ 1432–1454) เป็นพระเจ้าหงสาวดีรัชกาลที่ 14 ในราชวงศ์พระเจ้าฟ้ารั่ว หลังปลงพระชนม์พญาเกียรติ์ในเดือนมิถุนายน..
ดู รายพระนามพระมหากษัตริย์พม่าและมะมุดตาว
มังรายกะยอชวาที่ 1 แห่งอังวะ
มังรายกะยอชวาที่ 1 แห่งอังวะ (မင်းရဲကျော်စွာ (အင်းဝ),; บางครั้งเรียก มังรายกะยอชวา, 1410 – 1442) กษัตริย์องค์ที่ 9 แห่ง อาณาจักรอังวะ จาก..
ดู รายพระนามพระมหากษัตริย์พม่าและมังรายกะยอชวาที่ 1 แห่งอังวะ
ยะไข่
ทความนี้เป็นบทความเกี่ยวกับชาติพันธุ์ สำหรับเขตการปกครอง ดูที่ รัฐยะไข่ สำหรับแคว้นโบราณ ดูที่ แคว้นยะไข่ ยะไข่, อะระกัน หรือ ระขึน (ရခိုင်လူမျိုး; IPA:; Rakhine) เป็นหนึ่งในกลุ่มชาติพันธุ์หลักกลุ่มหนึ่งในประเทศพม่า อาศัยในรัฐยะไข่ ชาวยะไข่ถือเป็นชาวพม่าพื้นถิ่นในรัฐยะไข่กลุ่มหนึ่ง ภาษาพูดของชาวยะไข่นั้นถือเป็นสำเนียงหนึ่งในภาษาพม่า และยังมีร่องรอยของภาษาพม่าโบราณหลงเหลืออยู่ อันมีเสียงบางเสียงซึ่งในภาษาพม่าสำเนียงย่างกุ้งไม่มีใช้แล้ว เช่น เสียง ร โดยภาษายะไข่นั้นยังรักษาเสียง ร ไว้ได้ครบแทบทุกตำแหน่ง หากต้องการสะกดคำที่มีอักษร ร จึงควรดูที่การออกเสียงของภาษายะไข่ ทั้งนี้เนื่องจากยะไข่ห่างไกลศูนย์กลางจากพม่า โดยมีเทือกเขาอาระกันโยมาขวางกั้นอยู่ อีกทั้งยะไข่เองก็เคยมีอิสรภาพในการปกครองตนเองเป็นอาณาจักรอยู่ร่วมหลายร้อยปี ภายหลังจากการมาของอังกฤษ ยะไข่ถูกมองว่าต่างจากชาวพม่าทั่วไป ดินแดนยะไข่จึงถูกกำหนดเป็นรัฐหนึ่งเฉกเช่นเดียวกับชนกลุ่มน้อยในพม.
ดู รายพระนามพระมหากษัตริย์พม่าและยะไข่
ราชวงศ์ตองอู
ราชวงศ์ตองอู (Toungoo Dynasty; တောင်ငူခေတ်) ราชวงศ์ที่ 2 ในประวัติศาสตร์พม่า ภายหลังจากราชวงศ์พุกาม ราชวงศ์แรกล่มสลายลงจากการรุกรานของชาวมองโกลโดยกุบไลข่าน พระเจ้าเมงจีโย ได้รวบรวมชาวพม่าที่หลงเหลืออยู่อย่างกระจัดกระจาย โดยสถาปนาเมืองตองอูขึ้นเป็นราชธานี เพราะเป็นเมืองที่อยู่ในขุนเขาซึ่งเป็นปราการที่เข้มแข็ง ตองอูเข้มแข็งขึ้นมารัชสมัยของ พระเจ้าตะเบ็งชะเวตี้ พระโอรสของพระองค์ที่ขึ้นครองราชย์ต่อมา โดยได้แผ่อาณาเขตของอาณาจักรขยายไปรอบด้าน เช่น แปร, พะสิม อังวะ, ยะไข่ และที่สำคัญที่สุดคือ หงสาวดี อันเป็นอาณาจักรเดิมของมอญ ซึ่งเป็นศัตรูที่สำคัญของพม่า ยุคสมัยของพระเจ้าตะเบ็งชะเวตี้ได้ครอบคลุมอาณาจักรพม่าทั้งตอนบนและตอนล่างลุ่มน้ำอิระวดี อีกทั้งได้บุคลากรที่สำคัญ เช่น มหาอุปราชาบุเรงนอง, เมงเยสีหตู ร่วมกันสร้างอาณาจักรให้ยิ่งใหญ่ เข้มแข็ง และได้ย้ายเมืองหลวงจากตองอูมายังหงสาวดี ภายหลังการสิ้นพระชนม์ของพระเจ้าตะเบ็งชะเวตี้ เมืองต่าง ๆ ที่เคยขึ้นต่ออาณาจักร ก็แข็งเมืองไม่ยอมขึ้นตรงต่อไป มีกบฏเกิดขึ้นมากมาย มหาอุปราชาบุเรงนองต้องใช้เวลาปราบปรามอยู่ราวอีก 2-3 ปี จึงจะได้ปราบดาภิเษกขึ้นเป็นกษัตริย์ ในรัชสมัยของพระเจ้าบุเรงนอง ได้แผ่อาณาเขตของอาณาจักรตองอู ให้กว้างขวางยิ่งขึ้นโดยครอบคลุมตั้งแต่ลุ่มน้ำอิระวดี ลุ่มน้ำเจ้าพระยา ไปจรดถึงลุ่มน้ำโขงในลาว มีเมืองเป็นประเทศราชต่าง ๆ มากมาย เช่น เชียงใหม่, ฉาน, อยุธยา, ล้านช้าง, กัมพุช เป็นต้น จนได้การขนานพระนามว่าเป็น "พระเจ้าชนะสิบทิศ" แต่ภายหลังการสิ้นพระชนม์ของพระเจ้าบุเรงนอง ศูนย์กลางอำนาจของอาณาจักรถูกสั่นคลอน เนื่องจากการปกครองอย่างแข็งกร้าว ไร้ไมตรีของพระเจ้านันทบุเรง พระราชโอรสของพระองค์ เมืองที่เคยขึ้นเป็นประเทศราชต่าง ๆ ต่างแข็งเมืองและได้ประกาศอิสรภาพ ทำสงครามรบพุ่งกันตลอดมา เช่น แปร, อังวะ, อยุธยา เป็นต้น ในที่สุดเมืองทั้งหลายเหล่านี้ก็แตกแยกกระจัดกระจายออกไป และภายหลังการสิ้นพระชนม์ของพระเจ้านันทบุเรง ราชวงศ์ตองอูก็ยังได้สืบราชสมบัติต่อมา แต่ไม่มีกษัตริย์พระองค์ใดที่เข้มแข็งพอที่จะก้าวขึ้นมาเป็นผู้นำกอบกู้อาณาจักรขึ้นมา แม้นจะมีความพยายามจากพระเจ้าอโนเพตลุน ราชนัดดาของพระเจ้าบุเรงนอง ซึ่งเรียกกันว่า "ยุคนยองยาน" (Nyaungyan Dynasty) แต่ก็สำเร็จเพียงชั่วระยะเวลาสั้น ๆ หลังจากยุคนี้แล้ว มอญสามารถตั้งตัวได้และขึ้นมาเป็นใหญ่แทน ก่อนที่ทางพม่าจะสถาปนาศูนย์กลางอำนาจขึ้นมาอีกครั้งในสมัยพระเจ้าอลองพญา ในทางวิชาการ นักประวัติศาสตร์ได้แบ่งราชวงศ์ตองอูไว้เป็น 2 ยุค คือ ราชวงศ์ตองอูตอนต้น กินระยะเวลาตั้งแต่ พ.ศ.
ดู รายพระนามพระมหากษัตริย์พม่าและราชวงศ์ตองอู
ราชวงศ์โกนบอง
ราชวงศ์โกนบอง (ကုန်းဘောင်ခေတ်,; Konbaung Dynasty) เป็นราชวงศ์ที่ 3 ในประวัติศาสตร์พม่า และเป็นราชวงศ์สุดท้ายของพม่า ก่อนที่จะตกเป็นเมืองขึ้นของสหราชอาณาจักร และสิ้นสุดการปกครองระบอบราชาธิปไตยของพม่า ราชวงศ์อลองพญานั้นได้รับการสถาปนาขึ้นโดยการเสวยราชสมบัติของพระเจ้าอลองพญาในปี..
ดู รายพระนามพระมหากษัตริย์พม่าและราชวงศ์โกนบอง
ราชาธิราช
ราชาธิราช หรือชื่อในภาษาพม่า ยาซาดะริต อเยดอว์บอง (ရာဇာဓိရာဇ် အရေးတော်ပုံ) เป็นชื่อของพงศาวดารพม่า ซึ่งมีเนื้อหาว่าด้วยประวัติศาสตร์ของอาณาจักรหงสาวดีของชาวมอญตั้งแต่ พ.ศ.
ดู รายพระนามพระมหากษัตริย์พม่าและราชาธิราช
ราซะทินจาน
ราซะทินจาน (ရာဇသင်္ကြန်,; ประมาณ 1263 – 1312/13) ผู้ร่วมก่อตั้งอาณาจักรมยีนไซง์ ซึ่งทุกวันนี้ตั้งอยู่ในพม่าตอนกลาง พระองค์เป็นผู้บัญชาการกองทัพพุกาม โดยร่วมกับพระเชษฐาและพระอนุชาคืออะทินคะยาและสีหตู ในการป้องกันพม่าตอนกลางให้รอดพ้นจากการโจมตีของกองทัพจักรวรรดิมองโกล เป็นผลสำเร็จเมื่อ..
ดู รายพระนามพระมหากษัตริย์พม่าและราซะทินจาน
สมิงสอตุต
มิงสอตุด (သမိန်စောထွတ်,; สวรรคตสิงหาคม 1550) เป็นผู้อ้างสิทธิในราชบัลลังก์ ราชอาณาจักรหงสาวดี และเป็นผู้ลอบสังหารพระเจ้าตะเบ็งชะเวตี้ของราชวงศ์ตองอู เดิมเป็นขุนนางชาวมอญที่ได้รับราชการให้ไปปกครองเมืองสะโตงในรัชสมัยของพระเจ้าตะเบ็งชะเวตี้ ผู้ที่พิชิตราชอาณาจักรหงสาวดีของชาวมอญได้ในปี..
ดู รายพระนามพระมหากษัตริย์พม่าและสมิงสอตุต
สมิงทอ
มิงทอ (သမိန်ထော,; ? – 27 มีนาคม 1553) หรือสมิงเตารามะ เป็นพระเจ้าหงสาวดีพระองค์สุดท้ายจากราชวงศ์หงสาวดี ซึ่งมีราชอาณาเขตเล็กเพียงรอบกรุงหงสาวดีจาก..
ดู รายพระนามพระมหากษัตริย์พม่าและสมิงทอ
สมิงทอพุทธกิตติ
มิงทอพุทธกิตติ (သမိန်ထောဗုဒ္ဓကိတ္တိ สะเมงทอโบ้วด๊ะเกติ๊) เป็นพระเจ้าหงสาวดีระหว่าง..
ดู รายพระนามพระมหากษัตริย์พม่าและสมิงทอพุทธกิตติ
อาณาจักรพุกาม
อาณาจักรพุกาม (Pagan Kingdom; ပုဂံခေတ်) เป็นอาณาจักรโบราณในช่วง..
ดู รายพระนามพระมหากษัตริย์พม่าและอาณาจักรพุกาม
อาณาจักรมยีนไซง์
อาณาจักรมยีนไซง์ (Myinsaing Kingdom; မြင်စိုင်းခေတ်) อาณาจักรที่ปกครองพม่าตอนกลางระหว่าง..
ดู รายพระนามพระมหากษัตริย์พม่าและอาณาจักรมยีนไซง์
อาณาจักรหงสาวดี
อาณาจักรหงสาวดี (ဟံသာဝတီ ပဲခူး နေပြည်တော်;,; บางครั้งเรียก กรุงหงสาวดี หรืออย่างสั้น พะโค) เป็นอาณาจักรที่ปกครองพม่าตอนล่างตั้งแต..
ดู รายพระนามพระมหากษัตริย์พม่าและอาณาจักรหงสาวดี
อาณาจักรหงสาวดีใหม่
อาณาจักรหงสาวดีใหม่ (ဟံသာဝတီ နေပြည်တော်) เป็นอาณาจักรที่ปกครองพม่าตอนล่าง และบางส่วนของพม่าตอนบน ระหว่าง..
ดู รายพระนามพระมหากษัตริย์พม่าและอาณาจักรหงสาวดีใหม่
อาณาจักรอยุธยา
ำหรับความหมายอื่น ดูที่ อยุธยา ระวังสับสนกับ อโยธยา อาณาจักรอยุธยา เป็นอาณาจักรของชนชาติไทยในลุ่มแม่น้ำเจ้าพระยาในช่วง พ.ศ.
ดู รายพระนามพระมหากษัตริย์พม่าและอาณาจักรอยุธยา
อาณาจักรอังวะ
อาณาจักรอังวะ (Ava Kingdom; အင်းဝခေတ်) อาณาจักรอิสระที่ปกครอง พม่าตอนบน ระหว่าง..
ดู รายพระนามพระมหากษัตริย์พม่าและอาณาจักรอังวะ
อาณาจักรซะไกง์
อาณาจักรสะกาย (Sagaing Kingdom; စစ်ကိုင်း နေပြည်တော်) อาณาจักรเล็ก ๆ ที่ปกครองโดยราชสกุลสายเล็ก ๆ ของ อาณาจักรมยินซาง เดิมสะกายเป็นส่วนหนึ่งของ อาณาจักรปีนยะ ระหว่าง..
ดู รายพระนามพระมหากษัตริย์พม่าและอาณาจักรซะไกง์
อาณาจักรปีนยะ
อาณาจักรปีนยะ (Pinya Kingdom; ပင်းယခေတ်) อาณาจักรที่ปกครองพม่าตอนกลางระหว่าง..
ดู รายพระนามพระมหากษัตริย์พม่าและอาณาจักรปีนยะ
อาณาจักรแปร
อาณาจักรแปร (Prome Kingdom; ဒုတိယ သရေခေတ္တရာ နေပြည်တော်) อาณาจักรเล็ก ๆ ที่มีอายุยาวนานกว่า 6 ทศวรรษระหว่าง..
ดู รายพระนามพระมหากษัตริย์พม่าและอาณาจักรแปร
จีนโซ
นัตเจ้ามีนกองแห่งปะเยนมาหรือพระเจ้าจีนโซ พระเจ้าจีนโซ (Kyiso; ကျဉ်စိုး) พระมหากษัตริย์พม่าแห่งราชวงศ์พุกาม ครองราชย์ในระหว่างปี พ.ศ.
ดู รายพระนามพระมหากษัตริย์พม่าและจีนโซ
ตานเนต
ระเจ้าตานเนต (တန်နက်,; 859–904) กษัตริย์แห่ง ราชวงศ์พุกาม ครองสิริราชสมบัติระหว่าง..
ดู รายพระนามพระมหากษัตริย์พม่าและตานเนต
ต่อพะยา
้าต่อพะยา (ประสูติ 22 มีนาคม 1924) เป็นพระราชโอรสองค์ที่สองของเจ้าหญิงมยะพะยา ซึ่งเป็นพระราชธิดาของพระเจ้าธีบอพระมหากษัตริย์พระองค์สุดท้ายแห่งประเทศพม่า ทรงเป็นผู้อ้างสิทธิในราชบัลลังก์ของพม่า พระเชษฐาของพระองค์ซึ่งก็คือพระราชโอรสองค์ที่หนึ่งเจ้าหญิงมยะ พะยา ถูกลอบปลงพระชนม์โดยพวกคอมมิวนิสต์ก่อการร้ายในปี 1948 กับการสิ้นพระชนม์ของพระมาตุจฉาในปี 1956 พระองค์จึงทรงเป็นประมุขในราชวงศ์คองบอง.
ดู รายพระนามพระมหากษัตริย์พม่าและต่อพะยา
ซะไกง์
ซะไกง์ เป็นเมืองในเขตซะไกง์ ประเทศพม่า ตั้งอยู่บนฝั่งขวาของแม่น้ำอิรวดี ตรงข้ามกับเมืองอังวะ เมืองซะไกง์มีวัดทางพุทธศาสนาที่สำคัญหลายแห่ง เมืองสร้างขึ้นตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 14 เพื่อเป็นเมืองหลวงของอาณาจักรสะกาย (ค.ศ.
ดู รายพระนามพระมหากษัตริย์พม่าและซะไกง์
แปร
แปร หรือ ปยี (ပြည်) หรือ โปรม (Prome; ပြန်, ปรอน) เป็นเมืองในเขตหงสาวดีของประเทศพม่า ตั้งอยู่ที่ราบลุ่มปากแม่น้ำอิรวดี ห่างจากย่างกุ้งไปทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือ 260 กิโลเมตร ในอดีต เมืองแปรเป็นศูนย์กลางของอาณาจักรศรีเกษตรของชนเผ่าปยูมาตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 1 เป็นศูนย์กลางการค้าเพราะอยู่เดินทางออกสู่ทะเลได้สะดวก.
ดู รายพระนามพระมหากษัตริย์พม่าและแปร
โซะกะเต
ระเจ้าโซะกะเต (Sokkate,စုက္ကတေး) กษัตริย์แห่ง ราชวงศ์พุกาม ครองสิริราชสมบัติระหว่าง..
ดู รายพระนามพระมหากษัตริย์พม่าและโซะกะเต
เมาะตะมะ
เมาะตะมะ (မုတ္တမမြို့; Mottama) เดิมชื่อ มะตะบัน เป็นเมืองเล็ก ๆ ในรัฐมอญ ประเทศพม่า ตั้งอยู่ริมฝั่งเหนือของแม่น้ำสาละวิน เคยเป็นเมืองหลวงของราชอาณาจักรหงสาวดี ในช่วงศตวรรษที่ 13-14 เมืองนี้ในอดีต มีความสำคัญที่ พม่าใช้รวมพลเตรียมทัพจัดขบวน ก่อนจะข้ามลำน้ำสาละวิน ด่านเจดีย์สามองค์ แล้วแบ่งกองกำลัง เพื่อเข้ามาทำสงครามตีเมืองต่างๆ เช่น อยุธยา, ธนบุรี ฯลฯ ในสยาม หมวดหมู่:เมืองในประเทศพม่า หมวดหมู่:รัฐมอญ.
ดู รายพระนามพระมหากษัตริย์พม่าและเมาะตะมะ
เจ้าหญิงเมียะพะยาละ
้าหญิงมยะพะยาละ (မြတ်ဘုရားလတ်,; 4 ตุลาคม 1883 - 4 เมษายน 1956) เป็นพระราชธิดาในพระเจ้าธีบอกับพระนางศุภยาลัต ก่อนหน้าที่จะมีการล้มล้างระบอบราชาธิปไตยในพม่าโดยอังกฤษ เจ้าหญิงมยะพะยาละ ได้รับเลือกให้เป็นรัชทายาทในราชบัลลังก์พม่า เมื่อพระเจ้าธีบอถูกโค่นล้มราชบัลลังก์ พระองค์จึงต้องไปพำนักที่อินเดียกับพระบิดาและพระมารดา ต่อมาเมื่อพระเจ้าธีบอสวรรคตลง พระองค์จึงเป็นผู้อ้างสิทธิในราชบัลลังก์พม่าต่อจากพระบิดา พระองค์สื้นพระชนม์ที่เมืองกาลิมปง ประเทศอินเดีย เมื่อวันที่ 4 เมษายน 1956 เจ้าตอ พญา ผู้เป็นพระราชภาคิไนย (เจ้าตอ พญาทรงเป็นพระโอรสในพระขนิษฐาของพระองค์) จึงเป็นผู้อ้างสิทธิ์ในราชบัลลังก์พม่าคนต่อไป พระราชธิดาทั้งสี่ของพระเจ้าธีบอและพระนางศุภยาลัต จากซ้าย: พระราชธิดาองค์ที่สี่ เจ้าหญิงเมียะพยากเล, พระราชธิดาองค์ที่หนึ่ง เจ้าหญิงเมียะพยาจี, พระราชธิดาองค์ที่สาม เจ้าหญิงเมียะพยา และพระราชธิดาองค์ที่สอง เจ้าหญิงเมียะพยาลัต หรือ เจ้าหญิงมยะพะยาละ ภาพจาก Myanmar Historical Archive.
ดู รายพระนามพระมหากษัตริย์พม่าและเจ้าหญิงเมียะพะยาละ
หรือที่รู้จักกันในชื่อ พระมหากษัตริย์พม่า