โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ติดตั้ง
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

สมิงทอพุทธกิตติ

ดัชนี สมิงทอพุทธกิตติ

มิงทอพุทธกิตติ (သမိန်ထောဗုဒ္ဓကိတ္တိ สะเมงทอโบ้วด๊ะเกติ๊) เป็นพระเจ้าหงสาวดีระหว่าง..

14 ความสัมพันธ์: ชาวมอญพญาทะละพม่าตอนล่างกวางตุ้งราชวงศ์ตองอูสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศหม่อง ทินอ่องอาณาจักรหงสาวดีใหม่อาณาจักรอยุธยาองค์คำคำให้การชาวกรุงเก่าคำให้การขุนหลวงวัดประดู่ทรงธรรมแคว้นเชียงใหม่ไทใหญ่

ชาวมอญ

มอญ (မွန်လူမျိုး; မန် หรือ မည်; IPA:; อังกฤษ: Mon) เป็นชนชาติเจ้าของอารยธรรมอันเก่าแก่ในแผ่นดินพม่า พูดภาษาในตระกูลมอญ-เขมร.

ใหม่!!: สมิงทอพุทธกิตติและชาวมอญ · ดูเพิ่มเติม »

พญาทะละ

ญาทะละ (ဗညားဒလ บะญาดะละ; ? – ธันวาคม 1774) เป็นพระเจ้าหงสาวดีพระองค์ที่ 2 และพระองค์สุดท้ายในช่วงฟื้นฟูอาณาจักร ครองราชย์ระหว่าง..

ใหม่!!: สมิงทอพุทธกิตติและพญาทะละ · ดูเพิ่มเติม »

พม่าตอนล่าง

ม่าตอนล่างแสดงด้วยสีชมพู พม่าตอนบนแสดงด้วยสีส้ม พม่าตอนล่าง (Lower Burma; အောက်မြန်မာပြည်) บางครั้งเรียก พม่านอก (Outer Myanmar) เป็นพื้นที่ทางภูมิศาสตร์ของพม่าอยู่ในบริเวณดินดอนสามเหลี่ยมปากแม่น้ำอิรวดี (เขตอิรวดี, เขตพะโค และเขตย่างกุ้ง) และพื้นที่ตามแนวชายฝั่งของประเทศ (รัฐยะไข่, รัฐมอญ และเขตตะนาวศรี) ในภาษาพม่า ประชาชนที่มาจากพม่าตอนบนมักเรียกว่า อะ-เทต-ตา สำหรับผู้ชาย และ อะ-เทียต-ลฮู สำหรับผู้หญิง ในขณะที่ประชาชนที่มาจากพม่าตอนล่างจะเรียกว่า เอาะตา สำหรับผู้ชาย และ เอาะธู สำหรับผู้หญิง ส่วน อะ-ญา-ตา หมายถึงประชาชนที่อาศัยอยู่ส่วนในของประเทศ ในทางประวัติศาสตร์ พม่าตอนล่างหมายถึงดินแดนของพม่าที่ถูกผนวกเข้ากับจักรวรรดิบริติชหลังจากสิ้นสุดสงครามพม่า-อังกฤษครั้งที่สอง ใน..

ใหม่!!: สมิงทอพุทธกิตติและพม่าตอนล่าง · ดูเพิ่มเติม »

กวางตุ้ง

กวางตุ้ง อาจหมายถึง.

ใหม่!!: สมิงทอพุทธกิตติและกวางตุ้ง · ดูเพิ่มเติม »

ราชวงศ์ตองอู

ราชวงศ์ตองอู (Toungoo Dynasty; တောင်ငူခေတ်) ราชวงศ์ที่ 2 ในประวัติศาสตร์พม่า ภายหลังจากราชวงศ์พุกาม ราชวงศ์แรกล่มสลายลงจากการรุกรานของชาวมองโกลโดยกุบไลข่าน พระเจ้าเมงจีโย ได้รวบรวมชาวพม่าที่หลงเหลืออยู่อย่างกระจัดกระจาย โดยสถาปนาเมืองตองอูขึ้นเป็นราชธานี เพราะเป็นเมืองที่อยู่ในขุนเขาซึ่งเป็นปราการที่เข้มแข็ง ตองอูเข้มแข็งขึ้นมารัชสมัยของ พระเจ้าตะเบ็งชะเวตี้ พระโอรสของพระองค์ที่ขึ้นครองราชย์ต่อมา โดยได้แผ่อาณาเขตของอาณาจักรขยายไปรอบด้าน เช่น แปร, พะสิม อังวะ, ยะไข่ และที่สำคัญที่สุดคือ หงสาวดี อันเป็นอาณาจักรเดิมของมอญ ซึ่งเป็นศัตรูที่สำคัญของพม่า ยุคสมัยของพระเจ้าตะเบ็งชะเวตี้ได้ครอบคลุมอาณาจักรพม่าทั้งตอนบนและตอนล่างลุ่มน้ำอิระวดี อีกทั้งได้บุคลากรที่สำคัญ เช่น มหาอุปราชาบุเรงนอง, เมงเยสีหตู ร่วมกันสร้างอาณาจักรให้ยิ่งใหญ่ เข้มแข็ง และได้ย้ายเมืองหลวงจากตองอูมายังหงสาวดี ภายหลังการสิ้นพระชนม์ของพระเจ้าตะเบ็งชะเวตี้ เมืองต่าง ๆ ที่เคยขึ้นต่ออาณาจักร ก็แข็งเมืองไม่ยอมขึ้นตรงต่อไป มีกบฏเกิดขึ้นมากมาย มหาอุปราชาบุเรงนองต้องใช้เวลาปราบปรามอยู่ราวอีก 2-3 ปี จึงจะได้ปราบดาภิเษกขึ้นเป็นกษัตริย์ ในรัชสมัยของพระเจ้าบุเรงนอง ได้แผ่อาณาเขตของอาณาจักรตองอู ให้กว้างขวางยิ่งขึ้นโดยครอบคลุมตั้งแต่ลุ่มน้ำอิระวดี ลุ่มน้ำเจ้าพระยา ไปจรดถึงลุ่มน้ำโขงในลาว มีเมืองเป็นประเทศราชต่าง ๆ มากมาย เช่น เชียงใหม่, ฉาน, อยุธยา, ล้านช้าง, กัมพุช เป็นต้น จนได้การขนานพระนามว่าเป็น "พระเจ้าชนะสิบทิศ" แต่ภายหลังการสิ้นพระชนม์ของพระเจ้าบุเรงนอง ศูนย์กลางอำนาจของอาณาจักรถูกสั่นคลอน เนื่องจากการปกครองอย่างแข็งกร้าว ไร้ไมตรีของพระเจ้านันทบุเรง พระราชโอรสของพระองค์ เมืองที่เคยขึ้นเป็นประเทศราชต่าง ๆ ต่างแข็งเมืองและได้ประกาศอิสรภาพ ทำสงครามรบพุ่งกันตลอดมา เช่น แปร, อังวะ, อยุธยา เป็นต้น ในที่สุดเมืองทั้งหลายเหล่านี้ก็แตกแยกกระจัดกระจายออกไป และภายหลังการสิ้นพระชนม์ของพระเจ้านันทบุเรง ราชวงศ์ตองอูก็ยังได้สืบราชสมบัติต่อมา แต่ไม่มีกษัตริย์พระองค์ใดที่เข้มแข็งพอที่จะก้าวขึ้นมาเป็นผู้นำกอบกู้อาณาจักรขึ้นมา แม้นจะมีความพยายามจากพระเจ้าอโนเพตลุน ราชนัดดาของพระเจ้าบุเรงนอง ซึ่งเรียกกันว่า "ยุคนยองยาน" (Nyaungyan Dynasty) แต่ก็สำเร็จเพียงชั่วระยะเวลาสั้น ๆ หลังจากยุคนี้แล้ว มอญสามารถตั้งตัวได้และขึ้นมาเป็นใหญ่แทน ก่อนที่ทางพม่าจะสถาปนาศูนย์กลางอำนาจขึ้นมาอีกครั้งในสมัยพระเจ้าอลองพญา ในทางวิชาการ นักประวัติศาสตร์ได้แบ่งราชวงศ์ตองอูไว้เป็น 2 ยุค คือ ราชวงศ์ตองอูตอนต้น กินระยะเวลาตั้งแต่ พ.ศ. 2029 - พ.ศ. 2142 คือตั้งแต่รัชสมัยพระเจ้าเมงจีโยจนถึงพระเจ้านันทบุเรง และราชวงศ์ตองอูตอนปลายหรือยุคหลัง ตั้งแต่ พ.ศ. 2140 - พ.ศ. 2295 ตั้งแต่รัชสมัยพระเจ้านยองยานจนถึงการสถาปนาอำนาจขึ้นมาของพระเจ้าอลองพญ.

ใหม่!!: สมิงทอพุทธกิตติและราชวงศ์ตองอู · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศ

มเด็จพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศ หรือ พระมหาธรรมราชา เป็นพระมหากษัตริย์ไทยรัชกาลที่ 31 แห่งอาณาจักรอยุธยา และเป็นพระองค์ที่ 4 ในราชวงศ์บ้านพลูหลวง.

ใหม่!!: สมิงทอพุทธกิตติและสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศ · ดูเพิ่มเติม »

หม่อง ทินอ่อง

หม่อง ทินอ่อง (Htin Aung; ထင်အောင်; ค.ศ. 1909-1978) เป็นนักประพันธ์และนักวิชาการประวัติศาสตร์พม่าและวัฒนธรรมพม่าคนสำคัญ สำเร็จการศึกษาจากมหาวิทยาลัยอ็อกซ์ฟอร์ดและมหาวิทยาลัยเคมบริดจ์ มีผลงานเขียนเป็นหนังสือหลายเล่มเกี่ยวกับประวัติศาสตร์และวัฒนธรรมพม่าทั้งในภาษาพม่าและภาษาอังกฤษ ผลงานภาษาอังกฤษของเขานั้นได้เปิดมุมมองที่เป็นที่ต้องการมากในการศึกษาประวัติศาสตร์พม่าแบบสากล ซึ่งจนถึงขณะนี้มีเฉพาะนักประวัติศาสตร์อังกฤษในสมัยอาณานิคมเท่านั้น ผลงานที่สำคัญ อาทิ ประวัติศาสตร์พม่า, Folk Elements in Burmese Buddhism และ Burmese Drama.

ใหม่!!: สมิงทอพุทธกิตติและหม่อง ทินอ่อง · ดูเพิ่มเติม »

อาณาจักรหงสาวดีใหม่

อาณาจักรหงสาวดีใหม่ (ဟံသာဝတီ နေပြည်တော်) เป็นอาณาจักรที่ปกครองพม่าตอนล่าง และบางส่วนของพม่าตอนบน ระหว่าง..

ใหม่!!: สมิงทอพุทธกิตติและอาณาจักรหงสาวดีใหม่ · ดูเพิ่มเติม »

อาณาจักรอยุธยา

ำหรับความหมายอื่น ดูที่ อยุธยา ระวังสับสนกับ อโยธยา อาณาจักรอยุธยา เป็นอาณาจักรของชนชาติไทยในลุ่มแม่น้ำเจ้าพระยาในช่วง พ.ศ. 1893 ถึง พ.ศ. 2310 มีกรุงศรีอยุธยาเป็นศูนย์กลางอำนาจหรือราชธานี ทั้งยังมีความสัมพันธ์ทางการค้ากับหลายชาติ จนถือได้ว่าเป็นศูนย์กลางการค้าในระดับนานาชาติ เช่น จีน เวียดนาม อินเดีย ญี่ปุ่น เปอร์เซีย รวมทั้งชาติตะวันตก เช่น โปรตุเกส สเปน เนเธอร์แลนด์ (ฮอลันดา) อังกฤษ และฝรั่งเศส ซึ่งในช่วงเวลาหนึ่งเคยสามารถขยายอาณาเขตประเทศราชถึงรัฐฉานของพม่า อาณาจักรล้านนา มณฑลยูนนาน อาณาจักรล้านช้าง อาณาจักรขอม และคาบสมุทรมลายูในปัจจุบัน.

ใหม่!!: สมิงทอพุทธกิตติและอาณาจักรอยุธยา · ดูเพิ่มเติม »

องค์คำ

ระบรมเชษฐขัตติยสุริยวงศา มีพระนามเดิมว่า เจ้าองค์คำ เป็นพระมหากษัตริย์องค์ที่ 2 แห่งราชอาณาจักรล้านช้างหลวงพระบาง ต่อจาก เจ้ากิ่งกิสราช พระองค์มีนามแรกประสูติว่า หม่อมน้อย เป็นโอรสใน เจ้าอินทกุมาร เจ้าเมืองศรีฟ้าวาหะหัวขาวเชื้อสายกษัตริย์เมืองเชียงรุ้ง กับ หม่อมคำแล เมื่อแรกพระบิดาของพระองค์ทรงลี้ภัยสงครามลงมาขอพึ่งพระบรมโพธิสมภารใน พระเจ้าสุริยวงศาธรรมิกราชมหาราช ที่อณาจักรล้านช้าง เมื่อ เจ้ากิ่งกิสราช สวรรคตลง เจ้ากิ่งกิสราช ไม่มีพระโอรสสืบบัลลังค์ อันจะมีแต่พระธิดา 2 องค์ เหล่าบรรดาขุนนาได้อัญเชิญพระองค์ขึ้นครองราช และให้ เจ้านางแทนสาว เจ้านางแทนคำ ขึ้นเป็นเทวี คู่กับพระองค์ แต่เมือ เจ้าอินทโฉม ซึ่งตอนนั้นครองเมืองเชียงขอมอยู่ทราบข่าวการสวรรคตของ เจ้ากิ่งกิสราช จึงได้รวบรวมไพล่พลลงมาตีเอาเมืองคืน เจ้าองค์คำ เห็นว่าสู้ไม่ได้จึงได้จึงได้พาบริวาลส่วนหนึ่งเดินทางหนีไปผนวชอยู่ที่วัดช้างเผือกในเมืองเชียงใหม.

ใหม่!!: สมิงทอพุทธกิตติและองค์คำ · ดูเพิ่มเติม »

คำให้การชาวกรุงเก่า

ำให้การชาวกรุงเก่า เป็นหนังสือพงศาวดารบอกเล่าเรื่องราวในประวัติศาสตร์ไทยโดยเฉพาะช่วงอาณาจักรอยุธยา ตั้งแต่ก่อตั้งอาณาจักร จนกระทั่งเสียแก่พม่าใน..

ใหม่!!: สมิงทอพุทธกิตติและคำให้การชาวกรุงเก่า · ดูเพิ่มเติม »

คำให้การขุนหลวงวัดประดู่ทรงธรรม

ำให้การขุนหลวงวัดประดู่ทรงธรรม เอกสารจากหอหลวง เป็นเอกสารยุคปลายกรุงศรีอยุธยา สันนิษฐานว่าเขียนขึ้นราวรัชสมัยของสมเด็จพระบรมราชาธิราชที่ 3 หรือ พระเจ้าอยู่หัวบรมโกศ มีเนื้อหาเป็นเรื่องเรื่องเล่าจากความทรงจำ สันนิษฐานว่ารับการคัดลอกและเรียบเรียงจากต้นฉบับในหอหลวง เอกสารบรรยายสภาพกรุงศรีอยุธยาโดยละเอียด ข้อมูลเหล่านี้เมื่อสำรวจศึกษาพื้นที่แล้ว พบว่ามีคำถูกต้องแม่นยำ ในส่วนหลังของเอกสารบรรยายถึงโบราณราชประเพณี ได้แก่ ธรรมเนียมถือน้ำ พระราชพิธีลงสรงเจ้าฟ้า พิธีโสกันต์ ว่าด้วยเครื่องยศสำหรับศพ แบบอย่างการพระเมรุ ยังมีบรรยายถึงตำแหน่งยศพระราชาคณะฐานานุกรม มีตอนทีว่าด้วยพระพิไชยเสนา เป็นตำราสอนข้อความประพฤติของราชการ ตอนสุดท้ายเล่าเกี่ยวกับเหตุการณ์สมัยอยุธยาตอนหลาย ตั้งแต่รัชสมัยสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศ สมเด็จพระเจ้าอุทุมพรและช่วงต้นรัชกาลสมเด็จพระเจ้าเอกทัศน์คำให้การขุนหลวงวัดประดู่ทรงธรรม: เอกสารจากหอหลวง.นนทบุรี: มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช โครงการเลือกสรรหนังสือ, 2555.

ใหม่!!: สมิงทอพุทธกิตติและคำให้การขุนหลวงวัดประดู่ทรงธรรม · ดูเพิ่มเติม »

แคว้นเชียงใหม่

แคว้นเชียงใหม่ เป็นอาณาจักรอันเป็นหัวเมืองประเทศราชของราชวงศ์ตองอู ตั้งแต..

ใหม่!!: สมิงทอพุทธกิตติและแคว้นเชียงใหม่ · ดูเพิ่มเติม »

ไทใหญ่

ทใหญ่ หรือ ฉาน (တႆး ไต๊; ရှမ်းလူမျိုး) หรือ เงี้ยว (ซึ่งเป็นคำเรียกที่ไม่สุภาพ) คือกลุ่มชาติพันธุ์ในตระกูลภาษาไท-กะได ซึ่งเป็นกลุ่มชาติพันธุ์ขนาดใหญ่อันดับสองของพม่า ส่วนมากอาศัยในรัฐฉาน ประเทศพม่า และบางส่วนอาศัยอยู่บริเวณดอยไตแลง ชายแดนระหว่างประเทศไทยกับประเทศพม่าคนไทใหญ่ในประเทศพม่ามีประมาณ 3 หรือ 4 ล้านคน แต่มีไทใหญ่หลายแสนคนที่ได้อพยพเข้าสู่ประเทศไทย เพื่อหนีปัญหาทางการเมืองและการหางาน ตามภาษาของเขาเองจะเรียกตัวเอง ไต มีหลายกลุ่มเช่น ไตขืน ไตแหลง ไตคัมตี ไตลื้อ และไตมาว แต่กลุ่มใหญ่ที่สุดคือ ไตโหลง (ไต.

ใหม่!!: สมิงทอพุทธกิตติและไทใหญ่ · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

Smim Htaw Buddhaketiสมิงธอพุทธิเกตุสมิงทอพุทธเกติ

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »