เรากำลังดำเนินการเพื่อคืนค่าแอป Unionpedia บน Google Play Store
ขาออกขาเข้า
🌟เราได้ทำให้การออกแบบของเราง่ายขึ้นเพื่อการนำทางที่ดีขึ้น!
Instagram Facebook X LinkedIn

พระเจ้าแสนเมือง

ดัชนี พระเจ้าแสนเมือง

ระเจ้าแสนเมือง (စောအို,; 1284 – 1323) เป็นพระมหากษัตริย์มอญรัชกาลที่ 3 แห่งเมืองเมาะตะมะ ครองราชสมบัติระหว่าง..

สารบัญ

  1. 9 ความสัมพันธ์: พระเจ้าฟ้ารั่วพระเจ้ารามมะไตยพระเจ้ารามประเดิดสมิงมังละอาณาจักรสุโขทัยอาณาจักรหงสาวดีจังหวัดลำพูนตะนาวศรีนางอุ่นเรือน

  2. บุคคลที่เกิดในปี พ.ศ. 1827
  3. บุคคลที่เสียชีวิตในปี พ.ศ. 1866
  4. ราชวงศ์หงสาวดี

พระเจ้าฟ้ารั่ว

ระเจ้าฟ้ารั่ว (ဝါရီရူး,; 20 มีนาคม 1253 – ประมาณ 14 มกราคม 1307) เป็นปฐมกษัตริย์ในเมืองเมาะตะมะ ซึ่งปัจจุบันตั้งอยู่ในเขตประเทศพม่า ทรงครองราชสมบัติระหว่าง..

ดู พระเจ้าแสนเมืองและพระเจ้าฟ้ารั่ว

พระเจ้ารามมะไตย

ระเจ้ารามมะไตย (စောဇိတ်,; 19 พฤษภาคม 1303 – เมษายน 1330) หรือ พระเจ้าสอเซน ตามพงศาวดารมอญ กษัตริย์องค์ที่ 4 แห่ง อาณาจักรหงสาวดี ระหว่าง..

ดู พระเจ้าแสนเมืองและพระเจ้ารามมะไตย

พระเจ้ารามประเดิด

ระเจ้ารามประเดิด (ခွန်လော,; 1254 – 1311) เป็นพระมหากษัตริย์รัชกาลที่ 2 แห่งเมืองเมาะตะมะ ครองราชย์ระหว่าง..

ดู พระเจ้าแสนเมืองและพระเจ้ารามประเดิด

สมิงมังละ

มิงมังละ (မင်းဗလ,; ถึงแก่กรรมประมาณคริสต์ทศวรรษ 1310) เจ้าเมือง มยองยา (ปัจจุบันตั้งอยู่ในประเทศพม่า) ระหว่างประมาณคริสต์ทศวรรษ 1290 ถึงประมาณคริสต์ทศวรรษ 1310 เขาเป็นพระบิดาของ พระเจ้าแสนเมือง กษัตริย์องค์ที่ 3 (ครองราชย์ 1311 – 1323) และ พระเจ้ารามมะไตย (ครองราชย์ 1323 – 1330) กษัตริย์องค์ที่ 4 แห่ง อาณาจักรหงสาวดี สมิงมังละเป็นผู้มีอำนาจอยู่เบื้องหลังราชบัลลังก์ในช่วงต้นรัชสมัยพระเจ้าแสนเมือง ใน..

ดู พระเจ้าแสนเมืองและสมิงมังละ

อาณาจักรสุโขทัย

อาณาจักรสุโขทัย เคยเป็นรัฐในอดีตรัฐหนึ่ง ตั้งอยู่บนที่ราบลุ่มแม่น้ำยม สถาปนาขึ้นราวพุทธศตวรรษที่ 18 ในฐานะสถานีการค้าของรัฐละโว้ หลังจากนั้นราวปี 1800 พ่อขุนบางกลางหาวและพ่อขุนผาเมือง ได้ร่วมกันกระทำการยึดอำนาจจากขอมสบาดโขลญลำพง ซึ่งทำการเป็นผลสำเร็จและได้สถาปนาเอกราชให้รัฐสุโขทัยเป็นอาณาจักรสุโขทัย และมีความเจริญรุ่งเรืองตามลำดับและเพิ่มถึงขีดสุดในสมัยพ่อขุนรามคำแหงมหาราช ก่อนจะค่อย ๆ ตกต่ำ และประสบปัญหาทั้งจากปัญหาภายนอกและภายใน จนต่อมาถูกรวมเป็นส่วนหนึ่งของอาณาจักรอยุธยาไปในที.

ดู พระเจ้าแสนเมืองและอาณาจักรสุโขทัย

อาณาจักรหงสาวดี

อาณาจักรหงสาวดี (ဟံသာဝတီ ပဲခူး နေပြည်တော်;,; บางครั้งเรียก กรุงหงสาวดี หรืออย่างสั้น พะโค) เป็นอาณาจักรที่ปกครองพม่าตอนล่างตั้งแต..

ดู พระเจ้าแสนเมืองและอาณาจักรหงสาวดี

จังหวัดลำพูน

ังหวัดลำพูน (30px หละปูน) เป็นจังหวัดที่มีขนาดเล็กที่สุดในภาคเหนือ นับเป็นอีกจังหวัดหนึ่งที่มีประวัติศาสตร์เก่าแก่ ยาวนาน เคยเป็นที่ตั้งของนครหริภุญชัย ในสมัยพระนางจามเทวีเดิมชื่อเมืองหริภุญไชย เป็นเมืองโบราณ มีอายุประมาณ 1,343 ปี ตามพงศาวดารโยนกเล่าสืบต่อกันถึงการสร้างเมืองหริภุญไชย โดยฤๅษีวาสุเทพ เป็นผู้เกณฑ์พวกเม็งคบุตรหรือชนเชื้อชาติมอญมาสร้างเมืองนี้ขึ้น ในพื้นที่ระหว่างแม่น้ำสองสาย คือ แม่น้ำกวงและแม่น้ำปิง เมื่อมาสร้างเสร็จได้ส่งทูตไปเชิญราชธิดากษัตริย์เมืองละโว้พระนาม “จามเทวี” มาเป็นปฐมกษัตริย์ปกครองเมืองหริภุญไชยสืบราชวงศ์กษัตริย์ต่อมาหลายพระองค์ จนกระทั่งถึงสมัยพญายีบาจึงได้เสียการปกครองให้แก่พญามังราย ผู้รวบรวมแว่นแคว้นทางเหนือเข้าเป็นอาณาจักรล้านนา ถึงแม้ว่าเมืองลำพูนจะตกอยู่ภายใต้การปกครองของอาณาจักรล้านนา แต่ก็ได้เป็นผู้ถ่ายทอดมรดกทางศิลปะและวัฒนธรรมให้แก่ผู้ที่เข้ามาปกครอง ดังปรากฏหลักฐานทั่วไปในเวียงกุมกาม เชียงใหม่ และเชียงราย เมืองลำพูนจึงยังคงความสำคัญในทางศิลปะและวัฒนธรรมของอาณาจักรล้านนา จนกระทั่งสมัยสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช เมืองลำพูนจึงได้เข้ามาอยู่ในราชอาณาจักรไทย มีผู้ครองนครสืบต่อกันมาจนถึงสมัยกรุงรัตนโกสินทร์ ต่อมาภายหลังการเปลี่ยนแปลงการปกครอง..

ดู พระเจ้าแสนเมืองและจังหวัดลำพูน

ตะนาวศรี

ตะนาวศรี (တနင်္သာရီ, ตะนี้นตายี; สำเนียงมอญ: ตะเนิงซอย; Tanintharyi, Taninthayi) เดิมใช้ชื่อเป็นภาษาอังกฤษว่า เทนัสเซริม (Tenasserim) เป็นเมืองเล็ก ๆ แห่งหนึ่งในภูมิภาคตะนาวศรี ทางตอนใต้ของประเทศพม.

ดู พระเจ้าแสนเมืองและตะนาวศรี

นางอุ่นเรือน

นางอุ่นเรือน (ဏင်ဥရိုန်; နှင်းဥရိုင်,; ประมาณคริสต์ทศวรรษ 1250 – ประมาณคริสต์ทศวรรษ 1310) เจ้าหญิงแห่ง เมาะตะมะ และเป็นพระราชมารดาของกษัตริย์ 2 พระองค์คือ พระเจ้าแสนเมือง และ พระเจ้ารามมะไตย พระนางมีส่วนช่วยให้พระเชษฐาพระองค์ใหญ่คือ พระเจ้าฟ้ารั่ว ปฐมกษัตริย์แห่งอาณาจักรหงสาวดีขณะยังเป็น มะกะโท เข้ายึดอำนาจการปกครองในเมือง เมาะตะมะ เมื่อ..

ดู พระเจ้าแสนเมืองและนางอุ่นเรือน

ดูเพิ่มเติม

บุคคลที่เกิดในปี พ.ศ. 1827

บุคคลที่เสียชีวิตในปี พ.ศ. 1866

ราชวงศ์หงสาวดี

หรือที่รู้จักกันในชื่อ Saw Oพระเจ้าสอโอ