โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ดาวน์โหลด
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

พระเจ้านันทบุเรง

ดัชนี พระเจ้านันทบุเรง

นันทบุเรง (နန္ဒဘုရင်,; Nanda Bayin; 9 พฤศจิกายน ค.ศ. 1535 – 30 พฤศจิกายน ค.ศ. 1600) หรือ พระเจ้าหงษางาจีสะยาง เป็นพระมหากษัตริย์พม่าจากราชวงศ์ตองอู เสวยราชสมบัติตั้งแต..

65 ความสัมพันธ์: พ.ศ. 2124พ.ศ. 2142พญาทะละ (เสนาบดี)พระยาสุมังคละโพธิสัตว์พระราชวังกัมโพชธานีพระวรปิตาพระหน่อแก้วกุมารพระนางรัตนาเทวีแห่งตองอูพระนางสิริราชเทวีพระนางอตุลสิริมหาราชเทวีพระเจ้าบุเรงนองพระเจ้าญองยานพระเจ้าสีหตูพระเจ้าจักรพรรดิพระเจ้าตะโดเมงสอแห่งอังวะพระเจ้าตะเบ็งชะเวตี้พระเจ้าเมงจีโยพะโคมหาราชวงศ์มังกะยอชวามังรายกะยอชวาที่ 2 แห่งอังวะมังฆ้องที่ 2 แห่งตองอูมณฑลยูนนานยะไข่ย่างกุ้งรัฐชานรัฐมณีปุระราชวงศ์ตองอูราชวงศ์โกนบองรายพระนามพระมหากษัตริย์พม่ารายพระนามพระมหากษัตริย์ลาวรายพระนามพระมหากษัตริย์ล้านนารายพระนามพระมหากษัตริย์ไทยสมเด็จพระมหาธรรมราชาธิราชสมเด็จพระนเรศวรมหาราชสมเด็จพระไชยเชษฐาธิราชสงครามพระเจ้าตะเบ็งชเวตี้หงสาวดีมิบะยาอังวะอังวะมิบะยาอาณาจักรพุกามอาณาจักรล้านช้างอาณาจักรล้านนาอาณาจักรอยุธยาอาณาจักรอังวะอาณาจักรปีนยะอำเภอเชียงแสนจังหวัดลำพูนจังหวัดสุโขทัยจังหวัดเชียงใหม่...ตองอูตะโดธรรมราชาที่ 2ตะโดธรรมราชาที่ 3ตี่บอนรธาเมงสอนะฉิ่นเหน่าง์แม่น้ำสาละวินแปรไทใหญ่เมืองนายเมงเยสีหตูที่ 2 แห่งตองอูเวียงจันทน์เถรวาทเขตปกครองตนเองชนชาติไทและจิ่งพัว เต๋อหงเป่าซาน ขยายดัชนี (15 มากกว่า) »

พ.ศ. 2124

ทธศักราช 2124 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: พระเจ้านันทบุเรงและพ.ศ. 2124 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2142

ทธศักราช 2142 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: พระเจ้านันทบุเรงและพ.ศ. 2142 · ดูเพิ่มเติม »

พญาทะละ (เสนาบดี)

อัครมหาเสนาบดีพญาทะละ (အဂ္ဂမဟာသေနာပတိ ဗညားဒလ,; บางครั้งเรียก พญาทะละ, 1518 – 1573) รัฐบุรุษ,นายพลและนักปราชญ์ชาวพม่าในระหว่างรัชสมัย พระเจ้าบุเรงนอง แห่ง ราชวงศ์ตองอู เขาเป็นที่ปรึกษาและนายพลที่พระเจ้าบุเรงนองไว้วางพระราชหฤทัยมากที่สุดและเป็นกุญแจสำคัญในการขยายและปกป้องดินแดนของ อาณาจักรตองอู ระหว่างคริสต์ทศวรรษ 1550 กระทั่งถึงแก่อสัญกรรมใน..

ใหม่!!: พระเจ้านันทบุเรงและพญาทะละ (เสนาบดี) · ดูเพิ่มเติม »

พระยาสุมังคละโพธิสัตว์

ระยาสุมังคละโพธิสัตว์สุรศักดิ์ ศรีสำอาง.

ใหม่!!: พระเจ้านันทบุเรงและพระยาสุมังคละโพธิสัตว์ · ดูเพิ่มเติม »

พระราชวังกัมโพชธานี

้านหน้าของพระราชวังกัมโพชธานี พระราชวังกัมโพชธานี (Kamboza Thadi Palace, Kanbawzathadi Palace; ကမ္ဘောဇသာဒီ နန်းတော်) พระราชวังแห่งเมืองหงสาวดี (พะโค) ของพระเจ้าบุเรงนอง เป็นพระราชวังที่ยิ่งใหญ่สมพระเกียรติ ตั้งอยู่ทางตอนใต้ของพระมหาธาตุเจดีย์ชเวมอดอ (พระธาตุมุเตา) สร้างขึ้นในปี พ.ศ. 2109 ซึ่งเป็นปีที่ 15 ของการครองราชย์ของพระองค์ ซึ่งเป็นช่วงเวลาที่พระองค์เรืองอำนาจสูงสุด พระองค์ตัดสินพระทัยเผาพระราชวังเก่าไปเนื่องจากมีการกบฏ พระราชวังกัมโพชธานีสร้างขึ้นโดยใช้แรงงานจากประเทศราชต่าง ๆ และพระองค์โปรดให้ใช้ชื่อประตูต่าง ๆ ทั้งหมด 20 ประตู ตามชื่อของแรงงานประเทศราชที่สร้าง เช่น ประตูทางตอนเหนือปรากฏชื่อ ประตูโยเดีย (อยุธยา) ประตูตอนใต้ชื่อ ประตูเชียงใหม่ อีกทั้งยังมีพระตำหนักของพระสุพรรณกัลยา องค์ประกันที่ตกเป็นเชลยและกลายเป็นมเหสีองค์หนึ่งของพระองค์ด้วย พระราชวังกัมโพชธานีถูกเผาจนเหลือแต่เพียงซาก หลังจากการสวรรคตของพระเจ้าบุเรงนอง ด้วยกบฏยะไข่ พร้อม ๆ กับอาณาจักรตองอูที่เคยเรืองอำนาจเสื่อมลงhttp://culturemyanmar.org/pages/doa_royal_palace.html จนกระทั่งในปี พ.ศ. 2533 รัฐบาลพม่าได้ขุดค้นพบซากของพระราชวังที่เหลือเพียงแค่ตอไม้ที่โผล่พ้นดินออกมาเท่านั้น และได้มีการเร่งสร้างพระราชวังจำลององค์ใหม่ขึ้นมา ฉาบด้วยสีทองทั้งหลัง ทั้งที่พื้นดินบริเวณโดยรอบได้ขุดพบโบราณวัตถุต่าง ๆ มากมาย ซึ่งเชื่อว่ายังมีอยู่อีกจำนวนมากที่ยังไม่ถูกขุดขึ้นมา แต่ได้ถูกทางการสร้างพระราชวังทับลงไปแล้ว แต่ซากไม้ที่ใช้สร้างพระราชวังแต่ครั้งอดีตที่ยังหลงเหลืออยู่ได้ถูกจัดแสดง ซึ่งไม้แต่ละท่อนมีตัวอักษรจารึกอยู่ว่าเป็นผลงานของเมืองใด ภายในพระราชวัง มีพระราชบัลลังก์ที่มีชื่อว่า "บัลลังก์ภุมรินทร์" หรือ "บัลลังก์ผึ้ง" ซึ่งสร้างขึ้นมาจากคติเรื่องจักรวาลตามความเชื่อของศาสนาฮินดู ปัจจุบัน พระราชวังกัมโพชธานีเป็นสถานที่ท่องเที่ยวแห่งหนึ่งของหงสาวดีและประเทศพม.

ใหม่!!: พระเจ้านันทบุเรงและพระราชวังกัมโพชธานี · ดูเพิ่มเติม »

พระวรปิตา

ระวรปิตา เป็นพระราชบิดาของพระเจ้าวรวงศาธรรมิกราช เดิมเป็นสามัญชน นามเดิมไม่ปรากฏ เมื่อพระหน่อแก้วกุมารสวรรคต ทางราชสำนักล้านช้างได้เลือกเจ้าวรวงศาขึ้นเป็นกษัตริย์เมื่อ..

ใหม่!!: พระเจ้านันทบุเรงและพระวรปิตา · ดูเพิ่มเติม »

พระหน่อแก้วกุมาร

ระหน่อแก้วกุมาร เป็นพระราชโอรสของพระเจ้าไชยเชษฐาธิราช ประสูติเมื่อ..

ใหม่!!: พระเจ้านันทบุเรงและพระหน่อแก้วกุมาร · ดูเพิ่มเติม »

พระนางรัตนาเทวีแห่งตองอู

พระนางรัตนาเทวีแห่งตองอู (ရတနာ ဒေဝီ) หนึ่งในห้าพระมเหสีของ พระเจ้าเมงจีโย ปฐมกษัตริย์แห่ง ราชวงศ์ตองอู และเป็นพระมารดาของ พระนางอตุลสิริมหาราชเทวี พระอัครมเหสีใน พระเจ้าบุเรงนอง มีพระนามเมื่อแรกประสูติว่า ขิ่นเว หมวดหมู่:ราชวงศ์ตองอู หมวดหมู่:บุคคลที่เกิดในคริสต์ทศวรรษ 1490.

ใหม่!!: พระเจ้านันทบุเรงและพระนางรัตนาเทวีแห่งตองอู · ดูเพิ่มเติม »

พระนางสิริราชเทวี

ระนางสิริราชเทวี (သီရိရာဇဒေဝီ) พระมเหสีตำหนักเหนือของ พระเจ้านันทบุเรง แห่ง ราชวงศ์ตองอู ของพม่าจาก..

ใหม่!!: พระเจ้านันทบุเรงและพระนางสิริราชเทวี · ดูเพิ่มเติม »

พระนางอตุลสิริมหาราชเทวี

ระนางอตุลสิริมหาราชเทวี (အတုလသီရိ မဟာရာဇ ဒေဝီ; ประมาณ 1518 – 15 มิถุนายน 1568) พระอัครมเหสีองค์แรกใน พระเจ้าบุเรงนอง กษัตริย์องค์ที่ 3 แห่งราชวงศ์ตองอูจาก..

ใหม่!!: พระเจ้านันทบุเรงและพระนางอตุลสิริมหาราชเทวี · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าบุเรงนอง

ระเจ้าบุเรงนอง หรือพระนามเต็มว่า พระเจ้าบุเรงนองกะยอดินนรธา (Bayinnaung Kyawhtin Nawrahta, ဘုရင့်နောင် ကျော်ထင်နော်ရထာ บะยิ่นเหน่าง์จ่อถิ่นหน่อยะถ่า; 16 มกราคม 2059 – 10 พฤศจิกายน 2124) หรือ พระเจ้าหงษานีพัตร เป็นพระมหากษัตริย์พม่าจากราชวงศ์ตองอู เสวยราชย์ตั้งแต่ปี..

ใหม่!!: พระเจ้านันทบุเรงและพระเจ้าบุเรงนอง · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าญองยาน

ระเจ้าญองยาน (ညောင်ရမ်းမင်း เหญ่าง์ยาน) เป็นพระมหากษัตริย์รัชกาลที่ 5 แห่งราชวงศ์ตองอู ครองราชย์เป็นพระเจ้าอังวะระหว่างปี..

ใหม่!!: พระเจ้านันทบุเรงและพระเจ้าญองยาน · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าสีหตู

ระเจ้าสีหตู (သီဟသူ,; 1265–1325) ผู้ร่วมสถาปนา อาณาจักรมยินซาง และปฐมกษัตริย์แห่ง อาณาจักรปีนยะ ซึ่งปัจจุบันตั้งอยู่ในเขตพม่าตอนกลาง พระเจ้าสีหตูเป็นพระอนุชาองค์เล็กที่โดดเด่นที่สุดในบรรดาเจ้าชายสามพระองค์ซึ่งประสบความสำเร็จจากการป้องกันพม่าตอนกลางให้รอดพ้นจากการรุกรานของ จักรวรรดิมองโกล เมื่อ..

ใหม่!!: พระเจ้านันทบุเรงและพระเจ้าสีหตู · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าจักรพรรดิ

ระเจ้าจักรพรรดิ (จกฺกวตฺติ) คือจักรพรรดิผู้ปกครองทวีปทั้ง 4 ในความเชื่อของพระพุทธศาสนา เป็นผู้รักษาศีล เป็นธรรมราชา ปกครองด้วยทศพิธราชธรรม มีพระโอรสนับพัน ไม่เบียดเบียนผู้อื่น ไม่ปรารถนาสงคราม ไม่ประสงค์เครื่องบรรณาการ พระเจ้าจักรพรรดิมีแต่ผู้เคารพนับถือ พระเจ้าจักรพรรดิเป็นผู้มีบุญญาธิการมาก พระเจ้าจักรพรรดิมีลักษณะของมหาบุรุษเช่นเดียวกับพระพุทธเจ้า แต่ทรงเลือกปกครองแผ่นดิน ยามใดที่มีพระพุทธศาสนา พระเจ้าจักรพรรดิก็ทรงบำรุงอุปัฎฐากพระพุทธเจ้า พระอรหันตสาวก ช่วยเผยแพร่พระธรรม แต่ยามใดที่ไม่มีพระพุทธศาสนา พระองค์ก็ทรงรวบรวมผืนแผ่นดิน ผู้คนให้เป็นปึกแผ่น ทรงปกครองโดยธรรม สั่งสอนประชาชนทั้งมวล พระเจ้าจักรพรรดิทรงขยันในการสร้างบารมีมาก ถึงแม้จะเป็นพระมหาจักรพรรดิก็ยังทรงสร้างพระบารมีไม่หยุดหย่อน.

ใหม่!!: พระเจ้านันทบุเรงและพระเจ้าจักรพรรดิ · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าตะโดเมงสอแห่งอังวะ

ระเจ้าตะโดเมงสอแห่งอังวะ (သတိုးမင်းစော,; 1531–1584) อุปราชแห่งอังวะในฐานะเมืองออกของ พระเจ้าบุเรงนอง ผู้เป็นพระเชษฐาและ พระเจ้านันทบุเรง ผู้เป็นพระราชนัดดาระหว่าง..

ใหม่!!: พระเจ้านันทบุเรงและพระเจ้าตะโดเมงสอแห่งอังวะ · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าตะเบ็งชะเวตี้

ระเจ้าตะเบ็งชะเวตี้ หรือ ตะเบ็งเฉวฺ่ที (Tabinshwehti, တပင်ရွှေထီး; สำเนียงพม่าออกว่า "ตะเบ็งเฉวฺ่ที") เป็นพระมหากษัตริย์พม่ารัชกาลที่ 2 ในราชวงศ์ตองอู เป็นพระราชโอรสเพียงพระองค์เดียวในพระเจ้าเมงจีโย ซึ่งเป็นปฐมกษัตริย์ของราชวงศ์ตองอู.

ใหม่!!: พระเจ้านันทบุเรงและพระเจ้าตะเบ็งชะเวตี้ · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าเมงจีโย

ระเจ้าเมงจีโย (สำเนียงพม่าออกว่า มินจีโหญ่) (Mingyinyo, မင်းကြီးညို) หรือ พระเจ้าสิริชัยสุระ ตามพงศาวดารไทย หรือในนวนิยายผู้ชนะสิบทิศเรียก เมงกะยินโย เป็นปฐมกษัตริย์ของราชวงศ์ตองอู ราชวงศ์และอาณาจักรที่ 2 ของประวัติศาสตร์พม่า พระเจ้าเมงจีโยเดิมเป็นนายทหารที่มีความสามารถในการรบ ได้ทำการรวบรวมชาวพม่าที่อยู่กันอย่างกระจัดกระจายหลังการล่มสลายของอาณาจักรพุกามภายหลังการโจมตีของมองโกล โดยได้รับความช่วยเหลือจากขุนนางสำคัญหลายคน เช่น เมงเยสีหตู (บางคนถูกสมมติเป็นตัวละครในนวนิยายผู้สิบทิศ เช่น มหาเถรวัดกุโสดอ) พระเจ้าเมงจีโยได้สถาปนาเมืองตองอู ซึ่งเป็นเมืองในขุนเขาเป็นปราการที่ดีขึ้นเป็นศูนย์กลางอำนาจใหม่ ต่อมามีการแผ่ขยายอำนาจเข้ายึดเมืองแปรโดยสามารถรบชนะพระเจ้านระบดีแห่งเมืองแปรได้สำเร็จ ต่อมาคิดจะเข้ายึดเมืองหงสาวดีที่มีพระเจ้าสการะวุตพีเป็นกษัตริย์ แต่ไม่สำเร็จเนื่องจากพระเจ้าเมงจีโยสวรรคตเสียก่อน ในมหาราชวงศ์พงศาวดารพม่า ระบุว่า พระองค์ได้พบกับพระมเหสีเมื่อเสด็จทอดพระเนตรการสร้างเขื่อน ซึ่งต่อมามีพระโอรสเพียงพระองค์เดียว ที่ได้ครองราชย์ต่อมา คือ พระเจ้าตะเบ็งชะเวตี้ พระเจ้าเมงจีโย สิ้นพระชนม์ในปี พ.ศ. 2074 พระนามของพระองค์อาจแปลได้ว่า "พระองค์ดำ" (มิน.

ใหม่!!: พระเจ้านันทบุเรงและพระเจ้าเมงจีโย · ดูเพิ่มเติม »

พะโค

(ပဲခူးမြို့, Bago หรือ Pegu) หรือชื่อในอดีตคือ หงสาวดี (ဟံသာဝတီ, หงสาวะโตย; Hongsawatoi, Hanthawaddy, Hanthawady, Hanthawadi หรือ Handawaddy) เป็นเมืองหลวงของเขตหงสาวดี ตั้งอยู่ใกล้เมืองเมาะตะมะ ทางตอนใต้ของประเทศพม่า นครหงสาวดีเคยเป็นเมืองหลวงของราชอาณาจักรหงสาวดีของชาวมอญ และอาณาจักรตองอูของชาวพม.

ใหม่!!: พระเจ้านันทบุเรงและพะโค · ดูเพิ่มเติม »

มหาราชวงศ์

มหาราชวงศ์ (မဟာရာဇဝင်ကြီး, มะห่าหย่าซะหวิ่นจี; Maha-Radza Weng) เป็นหนังสือบันทึกเหตุการณ์ประวัติศาสตร์พม่า ที่อูกะลา อาลักษณ์ในราชสำนักพระเจ้าตะนินกันเหว่แห่งกรุงอังวะ ได้แต่งจนแล้วเสร็จในปี..

ใหม่!!: พระเจ้านันทบุเรงและมหาราชวงศ์ · ดูเพิ่มเติม »

มังกะยอชวา

มังกะยอชวา (พระนามภาษาพม่า: မင်းကြီးစွာ; อักษรโรมัน: Minyekyawswa, Minchit Sra; ออกเสียง: เมงเยจอสวา) หรือ มังสามเกียด (ตามที่พงศาวดารไทยและพงศาวดารมอญเรียก) เป็นพระราชโอรสในพระเจ้านันทบุเรง เป็นผู้มีบทบาทสำคัญในประวัติศาสตร์ไทยโดยทรงนำทัพมาตีกรุงศรีอยุธยาหลายครั้ง รวมถึงได้ทรงทำยุทธหัตถีกับสมเด็จพระนเรศวรมหาร.

ใหม่!!: พระเจ้านันทบุเรงและมังกะยอชวา · ดูเพิ่มเติม »

มังรายกะยอชวาที่ 2 แห่งอังวะ

มังรายกะยอชวาที่ 2 แห่งอังวะ (မင်းရဲကျော်စွာ,; 1567 – ปลายธันวาคม 1599) ทายาทผู้มีสิทธิโดยตรง แห่ง พม่า ระหว่าง..

ใหม่!!: พระเจ้านันทบุเรงและมังรายกะยอชวาที่ 2 แห่งอังวะ · ดูเพิ่มเติม »

มังฆ้องที่ 2 แห่งตองอู

มังฆ้องที่ 2 แห่งตองอู (တောင်ငူမင်းခေါင်, เต่าง์หงู่มิงเข่าง์; ประมาณ 1520s – มิถุนายน 1584) หรือที่รู้จักกันในราชทินนามสีหตู (သီဟသူ ตี่หะตู่) เป็นพระเจ้าตองอูในฐานะประเทศราชของพระเจ้าตะเบ็งชะเวตี้ระหว่าง..

ใหม่!!: พระเจ้านันทบุเรงและมังฆ้องที่ 2 แห่งตองอู · ดูเพิ่มเติม »

มณฑลยูนนาน

มณฑลยูนนาน หรือ หยุนหนาน มีชื่อย่อว่า หยุน(云)หรือ เตียน(滇)มีชื่อในภาษาไทยถิ่นเหนือว่า วิเทหราช ตั้งอยู่ทิศตะวันตกเฉียงใต้ของจีน มีเมืองหลวงชื่อ คุนหมิง มีเนื้อที่ 394,100 ก.ม. มีประชากร ประมาณ 45,966,000 คน (2010) จีดีพี 10309.47 พันล้านหยวน (2012) ประชากรส่วนใหญ่เป็นชาวฮั่น นอกจากนั้นยังมีกลุ่มชาติพันธุ์อื่นๆอีก 25 กลุ่มชาติพัน.

ใหม่!!: พระเจ้านันทบุเรงและมณฑลยูนนาน · ดูเพิ่มเติม »

ยะไข่

ทความนี้เป็นบทความเกี่ยวกับชาติพันธุ์ สำหรับเขตการปกครอง ดูที่ รัฐยะไข่ สำหรับแคว้นโบราณ ดูที่ แคว้นยะไข่ ยะไข่, อะระกัน หรือ ระขึน (ရခိုင်လူမျိုး; IPA:; Rakhine) เป็นหนึ่งในกลุ่มชาติพันธุ์หลักกลุ่มหนึ่งในประเทศพม่า อาศัยในรัฐยะไข่ ชาวยะไข่ถือเป็นชาวพม่าพื้นถิ่นในรัฐยะไข่กลุ่มหนึ่ง ภาษาพูดของชาวยะไข่นั้นถือเป็นสำเนียงหนึ่งในภาษาพม่า และยังมีร่องรอยของภาษาพม่าโบราณหลงเหลืออยู่ อันมีเสียงบางเสียงซึ่งในภาษาพม่าสำเนียงย่างกุ้งไม่มีใช้แล้ว เช่น เสียง ร โดยภาษายะไข่นั้นยังรักษาเสียง ร ไว้ได้ครบแทบทุกตำแหน่ง หากต้องการสะกดคำที่มีอักษร ร จึงควรดูที่การออกเสียงของภาษายะไข่ ทั้งนี้เนื่องจากยะไข่ห่างไกลศูนย์กลางจากพม่า โดยมีเทือกเขาอาระกันโยมาขวางกั้นอยู่ อีกทั้งยะไข่เองก็เคยมีอิสรภาพในการปกครองตนเองเป็นอาณาจักรอยู่ร่วมหลายร้อยปี ภายหลังจากการมาของอังกฤษ ยะไข่ถูกมองว่าต่างจากชาวพม่าทั่วไป ดินแดนยะไข่จึงถูกกำหนดเป็นรัฐหนึ่งเฉกเช่นเดียวกับชนกลุ่มน้อยในพม.

ใหม่!!: พระเจ้านันทบุเรงและยะไข่ · ดูเพิ่มเติม »

ย่างกุ้ง

งกุ้ง หรือ ยานโกน (ရန်ကုန်, MLCTS rankun mrui, ยานโกน มโย; "อวสานสงคราม") หรือ ร่างกุ้ง (Rangoon) เป็นเมืองหลวงของเขตย่างกุ้ง ย่างกุ้งเป็นเมืองหลวงของพม่าจนถึงปี..

ใหม่!!: พระเจ้านันทบุเรงและย่างกุ้ง · ดูเพิ่มเติม »

รัฐชาน

รัฐชาน หรือ รัฐฉาน (ရှမ်းပြည်နယ်, ช้าน ปหฺยี่แหน่; ไทใหญ่:; เมิ้งไต๊) บ้างเรียก รัฐไทใหญ่ เป็นรัฐหนึ่งในประเทศพม.

ใหม่!!: พระเจ้านันทบุเรงและรัฐชาน · ดูเพิ่มเติม »

รัฐมณีปุระ

รัฐมณีปุระ (ภาษาเบงกาลี: মণিপুর, ภาษามณีปุรี: mnipur) คือหนึ่งในรัฐทางตะวันออกเฉียงเหนือของอินเดีย มีเขตติดต่อกับรัฐนาคาแลนด์ทางทิศเหนือ รัฐอัสสัมทางทิศตะวันตก รัฐมิโซรัมทางทิศใต้ และประเทศพม่าทางทิศตะวันออก เป็นรัฐในเขตชายแดนซึ่งถือเป็นเขตพิเศษ ชาวต่างชาติที่จะเข้าไปต้องได้รับอนุญาต เป็นจุดกำเนิดของกีฬาโปโลสมัยใหม.

ใหม่!!: พระเจ้านันทบุเรงและรัฐมณีปุระ · ดูเพิ่มเติม »

ราชวงศ์ตองอู

ราชวงศ์ตองอู (Toungoo Dynasty; တောင်ငူခေတ်) ราชวงศ์ที่ 2 ในประวัติศาสตร์พม่า ภายหลังจากราชวงศ์พุกาม ราชวงศ์แรกล่มสลายลงจากการรุกรานของชาวมองโกลโดยกุบไลข่าน พระเจ้าเมงจีโย ได้รวบรวมชาวพม่าที่หลงเหลืออยู่อย่างกระจัดกระจาย โดยสถาปนาเมืองตองอูขึ้นเป็นราชธานี เพราะเป็นเมืองที่อยู่ในขุนเขาซึ่งเป็นปราการที่เข้มแข็ง ตองอูเข้มแข็งขึ้นมารัชสมัยของ พระเจ้าตะเบ็งชะเวตี้ พระโอรสของพระองค์ที่ขึ้นครองราชย์ต่อมา โดยได้แผ่อาณาเขตของอาณาจักรขยายไปรอบด้าน เช่น แปร, พะสิม อังวะ, ยะไข่ และที่สำคัญที่สุดคือ หงสาวดี อันเป็นอาณาจักรเดิมของมอญ ซึ่งเป็นศัตรูที่สำคัญของพม่า ยุคสมัยของพระเจ้าตะเบ็งชะเวตี้ได้ครอบคลุมอาณาจักรพม่าทั้งตอนบนและตอนล่างลุ่มน้ำอิระวดี อีกทั้งได้บุคลากรที่สำคัญ เช่น มหาอุปราชาบุเรงนอง, เมงเยสีหตู ร่วมกันสร้างอาณาจักรให้ยิ่งใหญ่ เข้มแข็ง และได้ย้ายเมืองหลวงจากตองอูมายังหงสาวดี ภายหลังการสิ้นพระชนม์ของพระเจ้าตะเบ็งชะเวตี้ เมืองต่าง ๆ ที่เคยขึ้นต่ออาณาจักร ก็แข็งเมืองไม่ยอมขึ้นตรงต่อไป มีกบฏเกิดขึ้นมากมาย มหาอุปราชาบุเรงนองต้องใช้เวลาปราบปรามอยู่ราวอีก 2-3 ปี จึงจะได้ปราบดาภิเษกขึ้นเป็นกษัตริย์ ในรัชสมัยของพระเจ้าบุเรงนอง ได้แผ่อาณาเขตของอาณาจักรตองอู ให้กว้างขวางยิ่งขึ้นโดยครอบคลุมตั้งแต่ลุ่มน้ำอิระวดี ลุ่มน้ำเจ้าพระยา ไปจรดถึงลุ่มน้ำโขงในลาว มีเมืองเป็นประเทศราชต่าง ๆ มากมาย เช่น เชียงใหม่, ฉาน, อยุธยา, ล้านช้าง, กัมพุช เป็นต้น จนได้การขนานพระนามว่าเป็น "พระเจ้าชนะสิบทิศ" แต่ภายหลังการสิ้นพระชนม์ของพระเจ้าบุเรงนอง ศูนย์กลางอำนาจของอาณาจักรถูกสั่นคลอน เนื่องจากการปกครองอย่างแข็งกร้าว ไร้ไมตรีของพระเจ้านันทบุเรง พระราชโอรสของพระองค์ เมืองที่เคยขึ้นเป็นประเทศราชต่าง ๆ ต่างแข็งเมืองและได้ประกาศอิสรภาพ ทำสงครามรบพุ่งกันตลอดมา เช่น แปร, อังวะ, อยุธยา เป็นต้น ในที่สุดเมืองทั้งหลายเหล่านี้ก็แตกแยกกระจัดกระจายออกไป และภายหลังการสิ้นพระชนม์ของพระเจ้านันทบุเรง ราชวงศ์ตองอูก็ยังได้สืบราชสมบัติต่อมา แต่ไม่มีกษัตริย์พระองค์ใดที่เข้มแข็งพอที่จะก้าวขึ้นมาเป็นผู้นำกอบกู้อาณาจักรขึ้นมา แม้นจะมีความพยายามจากพระเจ้าอโนเพตลุน ราชนัดดาของพระเจ้าบุเรงนอง ซึ่งเรียกกันว่า "ยุคนยองยาน" (Nyaungyan Dynasty) แต่ก็สำเร็จเพียงชั่วระยะเวลาสั้น ๆ หลังจากยุคนี้แล้ว มอญสามารถตั้งตัวได้และขึ้นมาเป็นใหญ่แทน ก่อนที่ทางพม่าจะสถาปนาศูนย์กลางอำนาจขึ้นมาอีกครั้งในสมัยพระเจ้าอลองพญา ในทางวิชาการ นักประวัติศาสตร์ได้แบ่งราชวงศ์ตองอูไว้เป็น 2 ยุค คือ ราชวงศ์ตองอูตอนต้น กินระยะเวลาตั้งแต่ พ.ศ. 2029 - พ.ศ. 2142 คือตั้งแต่รัชสมัยพระเจ้าเมงจีโยจนถึงพระเจ้านันทบุเรง และราชวงศ์ตองอูตอนปลายหรือยุคหลัง ตั้งแต่ พ.ศ. 2140 - พ.ศ. 2295 ตั้งแต่รัชสมัยพระเจ้านยองยานจนถึงการสถาปนาอำนาจขึ้นมาของพระเจ้าอลองพญ.

ใหม่!!: พระเจ้านันทบุเรงและราชวงศ์ตองอู · ดูเพิ่มเติม »

ราชวงศ์โกนบอง

ราชวงศ์โกนบอง (ကုန်းဘောင်ခေတ်,; Konbaung Dynasty) เป็นราชวงศ์ที่ 3 ในประวัติศาสตร์พม่า และเป็นราชวงศ์สุดท้ายของพม่า ก่อนที่จะตกเป็นเมืองขึ้นของสหราชอาณาจักร และสิ้นสุดการปกครองระบอบราชาธิปไตยของพม่า ราชวงศ์อลองพญานั้นได้รับการสถาปนาขึ้นโดยการเสวยราชสมบัติของพระเจ้าอลองพญาในปี..

ใหม่!!: พระเจ้านันทบุเรงและราชวงศ์โกนบอง · ดูเพิ่มเติม »

รายพระนามพระมหากษัตริย์พม่า

ทความนี้รวบรวมรายพระนามพระมหากษัตริย์ของอาณาจักรต่าง ๆ ภายในประเทศพม.

ใหม่!!: พระเจ้านันทบุเรงและรายพระนามพระมหากษัตริย์พม่า · ดูเพิ่มเติม »

รายพระนามพระมหากษัตริย์ลาว

ระเจ้ามหินทรเทพนิภาธร (เจ้าอุ่นคำ) กษัตริย์อาณาจักรล้านช้างหลวงพระบาง ประทับบนพระราชบัลลังก์ ในพระราชวังหลวงเมืองหลวงพระบาง ลำดับกษัตริย์ลาว อ้างอิงตามพงศาวดารหลวงพระบาง ชินกาลมาลีปกรณ์ และ ตำนานพระแก้วมรกต กรณีศักราชไม่ตรงกัน จะยึดตามตำนานพระแก้วมรกตเป็นหลัก ขุนบรมราชาธิราช (พ.ศ. 1240 - พ.ศ. 1293) ได้ย้ายจากหนองแส (เมืองหลวงของอาณาจักรน่านเจ้า) มาอยู่ที่ใหม่เรียกว่า นาน้อยอ้อยหนู (เมืองแถนหรือเมืองกาหลง) ปัจจุบันเรียกว่าเชียงรุ่งเขตสิบสองพันนา พร้อมทั้งขยายอาณาเขตออกไปโดยส่งโอรส 7 องค์ไปครองเมืองต่าง ๆ คือ.

ใหม่!!: พระเจ้านันทบุเรงและรายพระนามพระมหากษัตริย์ลาว · ดูเพิ่มเติม »

รายพระนามพระมหากษัตริย์ล้านนา

รายพระนามพระมหากษัตริย์ล้านนา (พ.ศ. 1839 - พ.ศ. 2318) ตั้งแต่พญามังราย ก่อตั้งอาณาจักรจนกระทั่งสิ้นสุดเมื่อพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวโปรดเกล้าฯ ให้ยกเลิกประเพณีแต่งตั้งเจ้าหลวง.

ใหม่!!: พระเจ้านันทบุเรงและรายพระนามพระมหากษัตริย์ล้านนา · ดูเพิ่มเติม »

รายพระนามพระมหากษัตริย์ไทย

รายพระนามพระมหากษัตริย์ไทยตั้งแต่ราชวงศ์พระร่วงแห่งอาณาจักรสุโขทัยถึงปัจจุบันมีดังนี้.

ใหม่!!: พระเจ้านันทบุเรงและรายพระนามพระมหากษัตริย์ไทย · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระมหาธรรมราชาธิราช

มเด็จพระมหาธรรมราชาธิราชเจ้า หรือ สมเด็จพระสรรเพชญ์ที่ 1 พระมหากษัตริย์ไทยผู้สถาปนาราชวงศ์สุโขทัยสมัยอาณาจักรอ.

ใหม่!!: พระเจ้านันทบุเรงและสมเด็จพระมหาธรรมราชาธิราช · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระนเรศวรมหาราช

มเด็จพระนเรศวรมหาราช มีพระนามเดิมว่าพระนเรศ หรือ "พระองค์ดำ" เป็นพระราชโอรสในสมเด็จพระมหาธรรมราชาและพระวิสุทธิกษัตรีย์ (พระราชธิดาของสมเด็จพระศรีสุริโยทัยและสมเด็จพระมหาจักรพรรดิ) เสด็จพระราชสมภพเมื่อ..

ใหม่!!: พระเจ้านันทบุเรงและสมเด็จพระนเรศวรมหาราช · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระไชยเชษฐาธิราช

ระอุปภัยพุทธบวรไชยเชษฐาธิราช หรือที่รู้จักกันดีในพระนาม สมเด็จพระไชยเชษฐาธิราช (ໄຊເສດຖາ, ເສດຖາທິຣາດ; 80px) ถือเป็นพระมหากษัตริย์ผู้ยิ่งใหญ่ที่สุดพระองค์หนึ่งของชาติลาว ทรงเป็นผู้นำแห่งอาณาจักรล้านช้าง ผู้สถาปนากรุงเวียงจันทน์ให้เป็นศูนย์กลางอารยธรรม และเป็นศูนย์รวมศิลปะวัฒนธรรมต่าง ๆ ของอาณาจักรล้านช้างเข้าไว้ด้วยกัน ประวัติศาสตร์สันนิษฐานว่าพระองค์เป็นพระญาติหรือพระนัดดาในพระนางจิรประภาเทวีเจ้านางหลวงแห่งอาณาจักรล้านนา ในรัชสมัยพระยาโพธิสาลราช (พ.ศ. 2063-2090) พระองค์เป็นผู้เคร่งครัดทางศาสนาพุทธเป็นอย่างยิ่ง ได้มีพระราชโองการให้พลเมืองเลิกนับถือผีสางเทวดา เลิกการทรงเจ้าเข้าผีทั่วพระราชอาณาจักร ให้รื้อศาลหลวง ศาลเจ้าผีเสื้อเมืองทรงเมือง และให้หันมานับถือพระพุทธศาสนาแทน ทรงสร้างวัดสุวรรณเทวโลกเพื่อเป็นสัญลักษณ์แห่งพระพุทธศาสนา แต่เนื่องจากประเพณีการนับถือผีนั้นมีมาช้านาน และได้ฝังเข้าไปในจิตใจของประชาชนทั่วไป จึงยากที่จะเลิกอย่างเด็ดขาดได้ ครั้นต่อมาทางอาณาจักรล้านนาว่างกษัตริย์ปกครอง จึงได้อัญเชิญเจ้าไชยเชษโฐหรือเชษฐวังโส พระโอรสของพระเจ้าโพธิสาร ไปครองนครล้านนา เมื่อปี..

ใหม่!!: พระเจ้านันทบุเรงและสมเด็จพระไชยเชษฐาธิราช · ดูเพิ่มเติม »

สงครามพระเจ้าตะเบ็งชเวตี้

งครามพระเจ้าตะเบ็งชเวตี้ หรือ สงครามคราวเสียสมเด็จพระสุริโยทัยดนั.

ใหม่!!: พระเจ้านันทบุเรงและสงครามพระเจ้าตะเบ็งชเวตี้ · ดูเพิ่มเติม »

หงสาวดีมิบะยา

หงสาวดีมิบะยาหงสาวดี มิบะยา แปลว่า พระมเหสีกรุงหงสาวดี แต่พระนามเดิมไม่ปรากฏในพงศาวดาร (ဟံသာဝတီ မိဖုရား, หั่งส่าวะดี่ มิบะยา; ประมาณ 1536 – มิถุนายน 1606) เป็นพระอัครมเหสีในพระเจ้านันทบุเรงแห่งราชวงศ์ตองอู ดำรงพระอิสสริยยศระหว่าง..

ใหม่!!: พระเจ้านันทบุเรงและหงสาวดีมิบะยา · ดูเพิ่มเติม »

อังวะ

อังวะ (အင်းဝ, อีนวะ หรือ อะวะ) ตั้งอยู่ในเขตมัณฑะเลย์ ประเทศพม่า เป็นเมืองหลวงเก่าของพม่าถึง 5 ครั้งในช่วง 360 ปีระหว่าง ค.ศ. 1365 ถึง ค.ศ. 1842 ทั้งในสมัยราชวงศ์อังวะ ราชวงศ์ตองอู และราชวงศ์คองบอง ในประวัติศาสตร์เมืองอังวะผ่านการสู้รบ ถูกปล้นสะดมและฟื้นฟูมาแล้วหลายครั้ง ปัจจุบันถูกทิ้งร้างอย่างสิ้นเชิง อันเป็นผลมาจากแผ่นดินไหวครั้งใหญ่เมื่อวันที่ 22 มีนาคม ค.ศ. 1839 ซากปรักหักพังที่เหลืออยู่ยังเป็นแหล่งท่องเที่ยวที่สำคัญในเขตมัณฑะเลย์ อังวะมีชื่อในภาษาบาลีว่า "รัตนปุระ" (พม่าเรียก ยะดะหน่าบู่ยะ) (ऋअतनपुर; ရတနာပူရ) ส่วนชื่อในภาษาพม่า มีความหมายว่า "ปากทะเลสาบ" เนื่องจากที่ตั้งทางภูมิศาสตร์ของเมือง ตั้งอยู่ใกล้ทะเลสาบในเขตอำเภอจอกเซ.

ใหม่!!: พระเจ้านันทบุเรงและอังวะ · ดูเพิ่มเติม »

อังวะมิบะยา

อังวะมิบะยาอังวะมิบะยา แปลว่า พระมเหสีกรุงอังวะ แต่พระนามจริงไม่ปรากฏในพงศาวดาร (အင်းဝ မိဖုရား, อิงวะ มิบะยา; 1534 – 1595) เป็นพระอัครมเหสีแห่งอังวะ ระหว่าง..

ใหม่!!: พระเจ้านันทบุเรงและอังวะมิบะยา · ดูเพิ่มเติม »

อาณาจักรพุกาม

อาณาจักรพุกาม (Pagan Kingdom; ပုဂံခေတ်) เป็นอาณาจักรโบราณในช่วง..

ใหม่!!: พระเจ้านันทบุเรงและอาณาจักรพุกาม · ดูเพิ่มเติม »

อาณาจักรล้านช้าง

อาณาจักรล้านช้าง (ອານາຈັກລ້ານຊ້າງ) เป็นอาณาจักรของชนชาติลาวซึ่งตั้งอยู่ในแถบลุ่มแม่น้ำโขง มีอาณาเขตอยู่ในบริเวณประเทศลาวทั้งหมด ตลอดจนพื้นที่บางส่วนทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือของไทย โดยมีความเจริญรุ่งเรืองทั้งการเมืองการปกครอง ด้านศิลปวัฒนธรรม ตลอดจนพระพุทธศาสนา ที่มีพัฒนาการเคียงคู่มาพร้อมกันอาณาจักรอื่น ๆ ใกล้เคียง ทั้งล้านนา สยาม พม่า และเขมร อาณาจักรแห่งนี้ได้สถาปนาขึ้นอย่างเป็นปึกแผ่นมั่งคงอย่างแท้จริงในปี พ.ศ. 1896 สมัยพระเจ้าฟ้างุ้ม มีความรุ่งเรืองสลับกับความร่วงโรยต่อมาหลายสมัย ซึ่งยุคที่นับได้ว่าเป็นยุคทองของอาณาจักรล้านช้างคือรัชสมัยของพระเจ้าไชยเชษฐาธิราช (พ.ศ. 2091- พ.ศ. 2114 และรัชสมัยพระเจ้าสุริยวงศาธรรมิกราช (พ.ศ. 2181- พ.ศ. 2238) หลังจากนั้นอาณาจักรลาวก็เสื่อมอำนาจลงและแตกแยกเป็น 3 ราชอาณาจักร และในปี พ.ศ. 2321 ทั้ง 3 อาณาจักรก็ได้สูญเสียเอกราชแก่ราชอาณาจักรสยามในที.

ใหม่!!: พระเจ้านันทบุเรงและอาณาจักรล้านช้าง · ดูเพิ่มเติม »

อาณาจักรล้านนา

อาณาจักรล้านนา (95px) คือ ราชอาณาจักรของชาวไทยวนในอดีตที่ตั้งอยู่บริเวณภาคเหนือตอนบนของประเทศไทย ตลอดจนสิบสองปันนา เช่น เมืองเชียงรุ่ง (จิ่งหง) มณฑลยูนนาน ภาคตะวันออกของพม่า ฝั่งตะวันออกของแม่น้ำสาละวิน ซึ่งมีเมืองเชียงตุงเป็นเมืองเอก ฝั่งตะวันตกแม่นำสาละวิน มีเมืองนายเป็นเมืองเอก และ 8 จังหวัด ได้แก่ จังหวัดเชียงใหม่ ลำพูน ลำปาง เชียงราย พะเยา แพร่ น่าน และแม่ฮ่องสอนสรัสวดี อ๋องสกุล.

ใหม่!!: พระเจ้านันทบุเรงและอาณาจักรล้านนา · ดูเพิ่มเติม »

อาณาจักรอยุธยา

ำหรับความหมายอื่น ดูที่ อยุธยา ระวังสับสนกับ อโยธยา อาณาจักรอยุธยา เป็นอาณาจักรของชนชาติไทยในลุ่มแม่น้ำเจ้าพระยาในช่วง พ.ศ. 1893 ถึง พ.ศ. 2310 มีกรุงศรีอยุธยาเป็นศูนย์กลางอำนาจหรือราชธานี ทั้งยังมีความสัมพันธ์ทางการค้ากับหลายชาติ จนถือได้ว่าเป็นศูนย์กลางการค้าในระดับนานาชาติ เช่น จีน เวียดนาม อินเดีย ญี่ปุ่น เปอร์เซีย รวมทั้งชาติตะวันตก เช่น โปรตุเกส สเปน เนเธอร์แลนด์ (ฮอลันดา) อังกฤษ และฝรั่งเศส ซึ่งในช่วงเวลาหนึ่งเคยสามารถขยายอาณาเขตประเทศราชถึงรัฐฉานของพม่า อาณาจักรล้านนา มณฑลยูนนาน อาณาจักรล้านช้าง อาณาจักรขอม และคาบสมุทรมลายูในปัจจุบัน.

ใหม่!!: พระเจ้านันทบุเรงและอาณาจักรอยุธยา · ดูเพิ่มเติม »

อาณาจักรอังวะ

อาณาจักรอังวะ (Ava Kingdom; အင်းဝခေတ်) อาณาจักรอิสระที่ปกครอง พม่าตอนบน ระหว่าง..

ใหม่!!: พระเจ้านันทบุเรงและอาณาจักรอังวะ · ดูเพิ่มเติม »

อาณาจักรปีนยะ

อาณาจักรปีนยะ (Pinya Kingdom; ပင်းယခေတ်) อาณาจักรที่ปกครองพม่าตอนกลางระหว่าง..

ใหม่!!: พระเจ้านันทบุเรงและอาณาจักรปีนยะ · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอเชียงแสน

อำเภอเชียงแสน (60px) เป็นอำเภอหนึ่งของจังหวัดเชียงราย ลักษณะภูมิประเทศเป็นที่ราบ มีซากโบราณสถานของเมืองเชียงแสนเก่าอยู่ในบริเวณตัวอำเภอ ปัจจุบันเป็นแหล่งท่องเที่ยวและท่าเรือขนส่งสินค้าที่สำคัญในภาคเหนือ นอกจากนี้เชียงแสนมีพื้นที่ซึ่งเรียกว่า สามเหลี่ยมทองคำ ในพื้นที่หมู่ที่ 1 บ้านสบรวก ตำบลเวียง อำเภอเชียงแสน จังหวัดเชียงราย อันเป็นบริเวณที่บรรจบกันของชายแดนสามประเทศ คือ ไทย ลาว และพม.

ใหม่!!: พระเจ้านันทบุเรงและอำเภอเชียงแสน · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดลำพูน

ังหวัดลำพูน (30px หละปูน) เป็นจังหวัดที่มีขนาดเล็กที่สุดในภาคเหนือ นับเป็นอีกจังหวัดหนึ่งที่มีประวัติศาสตร์เก่าแก่ ยาวนาน เคยเป็นที่ตั้งของนครหริภุญชัย ในสมัยพระนางจามเทวีเดิมชื่อเมืองหริภุญไชย เป็นเมืองโบราณ มีอายุประมาณ 1,343 ปี ตามพงศาวดารโยนกเล่าสืบต่อกันถึงการสร้างเมืองหริภุญไชย โดยฤๅษีวาสุเทพ เป็นผู้เกณฑ์พวกเม็งคบุตรหรือชนเชื้อชาติมอญมาสร้างเมืองนี้ขึ้น ในพื้นที่ระหว่างแม่น้ำสองสาย คือ แม่น้ำกวงและแม่น้ำปิง เมื่อมาสร้างเสร็จได้ส่งทูตไปเชิญราชธิดากษัตริย์เมืองละโว้พระนาม “จามเทวี” มาเป็นปฐมกษัตริย์ปกครองเมืองหริภุญไชยสืบราชวงศ์กษัตริย์ต่อมาหลายพระองค์ จนกระทั่งถึงสมัยพญายีบาจึงได้เสียการปกครองให้แก่พญามังราย ผู้รวบรวมแว่นแคว้นทางเหนือเข้าเป็นอาณาจักรล้านนา ถึงแม้ว่าเมืองลำพูนจะตกอยู่ภายใต้การปกครองของอาณาจักรล้านนา แต่ก็ได้เป็นผู้ถ่ายทอดมรดกทางศิลปะและวัฒนธรรมให้แก่ผู้ที่เข้ามาปกครอง ดังปรากฏหลักฐานทั่วไปในเวียงกุมกาม เชียงใหม่ และเชียงราย เมืองลำพูนจึงยังคงความสำคัญในทางศิลปะและวัฒนธรรมของอาณาจักรล้านนา จนกระทั่งสมัยสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช เมืองลำพูนจึงได้เข้ามาอยู่ในราชอาณาจักรไทย มีผู้ครองนครสืบต่อกันมาจนถึงสมัยกรุงรัตนโกสินทร์ ต่อมาภายหลังการเปลี่ยนแปลงการปกครอง..

ใหม่!!: พระเจ้านันทบุเรงและจังหวัดลำพูน · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดสุโขทัย

ทัย (ᩈᩩᨠᩮ᩠ᨡᩣᨴᩱ᩠ᨿ, เดิมสะกดว่า ศุโขไทย) เป็นจังหวัดหนึ่งในภาคกลางของประเทศไทย มีอาณาเขตติดต่อกับจังหวัดแพร่ อุตรดิตถ์ พิษณุโลก กำแพงเพชร ตาก และลำปาง (เรียงตามเข็มนาฬิกาจากด้านเหนือ).

ใหม่!!: พระเจ้านันทบุเรงและจังหวัดสุโขทัย · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดเชียงใหม่

ังหวัดเชียงใหม่ (40px เจียงใหม่) เป็นจังหวัดหนึ่งของไทย ตั้งอยู่ทางภาคเหนือของประเทศ ครอบคลุมพื้นที่ประมาณ 20,107 ตารางกิโลเมตร ซึ่งใหญ่เป็นอันดับ 2 ของประเทศ มีประชากร 1,746,840 คน มากเป็นอันดับ 5 ของประเทศ ในจำนวนนี้เป็นประชากรที่อาศัยอยู่ในเขตเมืองและชานเมือง 960,906 คน โดยจังหวัดเชียงใหม่ทิศเหนือติดต่อกับรัฐฉานของเมียนมา จังหวัดเชียงใหม่ จัดเป็นเมืองใหญ่อันดับที่สองของประเทศไทย รองจากกรุงเทพมหานคร โดยแบ่งการปกครองออกเป็น 25 อำเภอ โดยมีอำเภอเมืองเชียงใหม่เป็นศูนย์กลางของจังหวัด เมื่อ พ.ศ. 2552 มีการจัดตั้งอำเภอกัลยาณิวัฒนาเป็นอำเภอลำดับที่ 25 ของจังหวัด และลำดับที่ 878 ของประเทศ ซึ่งเป็นอำเภอล่าสุดของไทย จังหวัดเชียงใหม่มีประวัติศาสตร์อันยาวนาน เคยเป็นเมืองหลวงของอาณาจักรล้านนาแต่โบราณ มี "คำเมือง" เป็นภาษาท้องถิ่น มีเอกลักษณ์เฉพาะตัวทั้งด้านประเพณีวัฒนธรรม และมีแหล่งท่องเที่ยวจำนวนมาก โดยเริ่มวางตัวเป็นนครสร้างสรรค์ และได้รับการประกาศเป็นเมืองสร้างสรรค์ของโลกทางด้านหัตถกรรมและศิลปะพื้นบ้าน เมื่อปี พ.ศ. 2560 ปัจจุบันกำลังพิจารณาสมัครเมืองมรดกโลกจากองค์การยูเนสโก.

ใหม่!!: พระเจ้านันทบุเรงและจังหวัดเชียงใหม่ · ดูเพิ่มเติม »

ตองอู

ตองอู หรือ ตองงู (တောင်ငူ;; เตาง์งู; คำแปล: เมืองในขุนเขา) เป็นเมืองในเขตหงสาวดี ประเทศพม่า อยู่ห่างจากย่างกุ้งไปทางเหนือ 220 กิโลเมตร ตั้งบนฝั่งแม่น้ำสะโตง เป็นเมืองหลวงของราชอาณาจักรอิสระตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 14–16 ในสงครามโลกครั้งที่สอง ญี่ปุ่นเข้ายึดครองระหว่างปี..

ใหม่!!: พระเจ้านันทบุเรงและตองอู · ดูเพิ่มเติม »

ตะโดธรรมราชาที่ 2

ระเจ้าตะโดธรรมราชาที่ 2 (သတိုးဓမ္မရာဇာ,; Thado Dhamma Yaza II of Prome, ประมาณ 1520s – 1588) เริ่มรับราชการทหารในรัชสมัยพระเจ้าตะเบ็งชะเวตี้แห่งราชวงศ์ตองอู กระทั่งได้รับการสถาปนาเป็นพระเจ้าแปรในฐานะกษัตริย์เมืองออกของพระเจ้าบุเรงนองผู้เป็นพระเชษฐาและพระเจ้านันทบุเรงพระนัดดาระหว่าง..

ใหม่!!: พระเจ้านันทบุเรงและตะโดธรรมราชาที่ 2 · ดูเพิ่มเติม »

ตะโดธรรมราชาที่ 3

ระเจ้าตะโดธรรมราชาที่ 3 (သတိုးဓမ္မရာဇာ,; 1571 – 1597) มีพระนามเดิมว่า เมงจีนอง (Mingyi Hnaung) ได้รับการสถาปนาเป็นพระเจ้าแปรในฐานะเมืองออกของ พระเจ้านันทบุเรง ผู้เป็นพระราชบิดาระหว่าง..

ใหม่!!: พระเจ้านันทบุเรงและตะโดธรรมราชาที่ 3 · ดูเพิ่มเติม »

ตี่บอ

ตี่บอ (သီပေါ) หรือ สี่ป้อ (ไทใหญ่) เป็นเมืองหลักของตำบลตี่บอ ในรัฐชาน ประเทศพม่า หมวดหมู่:เมืองในประเทศพม่า หมวดหมู่:รัฐฉาน.

ใหม่!!: พระเจ้านันทบุเรงและตี่บอ · ดูเพิ่มเติม »

นรธาเมงสอ

นรธาเมงสอ (နော်ရထာ မင်းစော, หน่อยะถ่ามิงซอ) หรือ สาวัตถีนรถามังคะยอ (ตำนานพื้นเมืองเชียงใหม่) หรือ เมงซานรธามังคุย (พงศาวดารโยนก) เป็นพระเจ้าเชียงใหม่ผู้ปกครองแคว้นล้านนา ในช่วง..

ใหม่!!: พระเจ้านันทบุเรงและนรธาเมงสอ · ดูเพิ่มเติม »

นะฉิ่นเหน่าง์

นะฉิ่นเหน่าง์ (Natshinnaung; နတ်သျှင်နောင်) หรือ พระสังขทัต ตามพงศาวดารไทย เป็นพระราชโอรสของพระเจ้าตองอู (สีหตู) อันเป็นพระอนุชาของพระเจ้าหงสาวดีบุเรงนอง นะฉิ่นเหน่าง์นั้นเป็นที่เลื่องลือในพม่าว่าเป็นมีความสามารถด้านการกวีสูงอย่างยิ่งและมีความรอบรู้ในพระไตรปิฎกเป็นอย่างมาก ต่อมานะฉิ่นเหน่าง์ได้ปกครองเมืองตองอูต่อจากบิดา ต่อมาได้เป็นผู้วางยาพิษปลงพระเจ้าหงสาวดีนันทบุเรง ในช่วงนั้นเครือข่ายอำนาจของพม่าแตกออกเป็นสามขั้วคือ อังวะ แปร และตองอู พระเจ้าอังวะคือ พระเจ้าอโนเพตลุน ได้ยึดเมืองแปรได้ นะฉิ่นเหน่าง์เห็นว่าเมืองตองอูคงไม่อาจสามารถต่อสู้กับอังวะได้จึงสวามิภักดิ์ต่อกรุงศรีอยุธยาซึ่งในสมัยนั้นมี สมเด็จพระเอกาทศรถปกครองอยู่ ต่อมาพระเจ้าอังวะได้บุกเมืองตองอู นะฉิ่นเหน่าง์ได้ขอความช่วยเหลือต่อกรุงศรีอยุธยา สมเด็จพระเอกาทศรถทรงให้นายพลฟิลิปป์ เดอ บริโต ทหารรับจ้างชาวโปรตุเกสยกทัพไปช่วย แต่ไปไม่ทันเมืองตองอูก็แตกซะก่อน นะฉิ่นเหน่าง์จึงหนีไปที่เมืองสิเรียมกับนายพลฟิลิป เดอ บริโตและเปลี่ยนมานับถือศาสนาคริสต์ พระเจ้าอังวะสั่งให้ฟิลิปป์ เดอบริโตส่งตัวนะฉิ่นเหน่าง์มาให้ตน แต่นายพลเดอบริโตไม่ยอมพระเจ้าอังวะจึงเข้าโจมตีเมืองสิเรียมในปี พ.ศ. 2156 แล้วจับนายพลฟิลิปป์ เดอ บริโตไปตรึงกางเขนและบังคับให้นะฉิ่นเหน่าง์มานับถือพุทธแต่ไม่ยอมจึงถูกประหารชีวิต.

ใหม่!!: พระเจ้านันทบุเรงและนะฉิ่นเหน่าง์ · ดูเพิ่มเติม »

แม่น้ำสาละวิน

แม่น้ำสาละวิน (Salween River; သံလွင်မြစ်; 40px; กะเหรี่ยงสะกอ: โคโหล่โกล) เป็นแม่น้ำสายที่ยาวเป็นอันดับที่ 26 ของโลก ยาว 2,800 กิโลเมตร และเป็นแม่น้ำที่มีความยาวเป็นอันดับสองของภูมิภาคเอเชียอาคเนย์ รองมาจากแม่น้ำโขง จากไทยพีบีเอส มีต้นกำเนิดจากการละลายของหิมะเหนือเทือกเขาหิมาลัย ไหลผ่านมณฑลยูนนาน ประเทศจีน ที่ซึ่งเรียกแม่น้ำนี้ว่า นู่เจียง (怒江) หมายถึง "แม่น้ำพิโรธ" และผ่านประเทศพม่าผ่านรัฐฉาน รัฐกะยา รัฐกะเหรี่ยง ซึ่งเป็นแม่น้ำกั้นพรมแดน ระหว่างพม่ากับไทยที่จังหวัดแม่ฮ่องสอน และไหลลงมาบรรจบกับแม่น้ำเมย หลังจากนั้นแม่น้ำสาละวินจึงไหลวกกลับเข้าประเทศพม่า และไหลลงสู่มหาสมุทรอินเดียที่อ่าวเมาะตะมะ รัฐมอญ แม่น้ำสาละวินมีต้นกำเนิดที่เดียวกับแม่น้ำโขง และแม่น้ำแยงซี โดยแบ่งแยกออกจากกันอย่างชัดเจนจากต้นกำเนิด และเนื่องจากเป็นน้ำที่เกิดจากการละลายของหิมะ อุณหภูมิของน้ำในแม่น้ำสาละวินจึงมีความเย็นกว่าน้ำในแม่น้ำอื่น ๆ ในประเทศไทย บางช่วงมีความลึกมากและน้ำไหลแรง นอกจากนี้ ในประเทศ จีน แม่น้ำสาละวิน เป็น 1 ในแม่น้ำ 3 สาย ที่ได้รับการขึ้นทะเบียนเป็น "มรดกโลก" ร่วมกับ แม่น้ำโขง และ แม่น้ำแยงซี ในเขตพื้นที่มณฑลยูนนาน ภายใต้ชื่อ พื้นที่คุ้มครองแม่น้ำขนานสามสายแห่งยูนนาน โดยพื้นที่ดังกล่าว นับได้ว่าเป็นสถานที่แห่งหนึ่งบนโลกที่มีความอุดมสมบูรณ์และความหลายหลายทางชีวภาพสูง.

ใหม่!!: พระเจ้านันทบุเรงและแม่น้ำสาละวิน · ดูเพิ่มเติม »

แปร

แปร หรือ ปยี (ပြည်) หรือ โปรม (Prome; ပြန်, ปรอน) เป็นเมืองในเขตหงสาวดีของประเทศพม่า ตั้งอยู่ที่ราบลุ่มปากแม่น้ำอิรวดี ห่างจากย่างกุ้งไปทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือ 260 กิโลเมตร ในอดีต เมืองแปรเป็นศูนย์กลางของอาณาจักรศรีเกษตรของชนเผ่าปยูมาตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 1 เป็นศูนย์กลางการค้าเพราะอยู่เดินทางออกสู่ทะเลได้สะดวก.

ใหม่!!: พระเจ้านันทบุเรงและแปร · ดูเพิ่มเติม »

ไทใหญ่

ทใหญ่ หรือ ฉาน (တႆး ไต๊; ရှမ်းလူမျိုး) หรือ เงี้ยว (ซึ่งเป็นคำเรียกที่ไม่สุภาพ) คือกลุ่มชาติพันธุ์ในตระกูลภาษาไท-กะได ซึ่งเป็นกลุ่มชาติพันธุ์ขนาดใหญ่อันดับสองของพม่า ส่วนมากอาศัยในรัฐฉาน ประเทศพม่า และบางส่วนอาศัยอยู่บริเวณดอยไตแลง ชายแดนระหว่างประเทศไทยกับประเทศพม่าคนไทใหญ่ในประเทศพม่ามีประมาณ 3 หรือ 4 ล้านคน แต่มีไทใหญ่หลายแสนคนที่ได้อพยพเข้าสู่ประเทศไทย เพื่อหนีปัญหาทางการเมืองและการหางาน ตามภาษาของเขาเองจะเรียกตัวเอง ไต มีหลายกลุ่มเช่น ไตขืน ไตแหลง ไตคัมตี ไตลื้อ และไตมาว แต่กลุ่มใหญ่ที่สุดคือ ไตโหลง (ไต.

ใหม่!!: พระเจ้านันทบุเรงและไทใหญ่ · ดูเพิ่มเติม »

เมืองนาย

มืองนาย (Mong Nai) ตั้งอยู่ที่ละติจูด 20 องศา 30 ลิปดา เหนือ ลองติจูด 97 องศา 52 ลิปดาตะวันออก อยู่ในพื้นที่รัฐฉานใต้ ฝั่งตะวันตกแม่น้ำสาละวิน ใกล้กับจังหวัดแม่ฮ่องสอน ในอดีตเคยเป็นเมืองลูกของเชียงใหม่สมัยพญามังราย และอดีตเมืองหลวงของรัฐฉาน สมัยพระเจ้าสีหสุรมหาธรรมราชา เจ้าเมืองอังวะ ซึ่งเป็นพระโอรสของพระเจ้าบุเรงนอง ยกทัพมาตีเมืองนาย ซึ่งสมัยนั้นยังขึ้นตรงต่อเชียงใหม่ อันเป็นประเทศราชของอาณาจักรอยุธยา เป็นเหตุให้สมเด็จพระนเรศวรมหาราชทรงยกทัพไพร่พล 100,000 นายไปเมืองนายและอังวะ ระหว่างเคลื่อนทัพผ่านเมืองเชียงใหม่ พระองค์ประชวรและสวรรคต ณ เมืองแหน แขวงเมืองเชียงใหม่ สมเด็จพระเอกาทศรถจึงเลิกทัพและทรงนำพระบรมศพกลับมายังอ.

ใหม่!!: พระเจ้านันทบุเรงและเมืองนาย · ดูเพิ่มเติม »

เมงเยสีหตูที่ 2 แห่งตองอู

มงเยสีหตูที่ 2 แห่งตองอู (မင်းရဲ သီဟသူ,; ประมาณ 6 สิงหาคม 1550 – 11 สิงหาคม 1609) เป็นพระเจ้าตองอูในฐานะประเทศราชของหงสาวดีในรัชสมัยพระเจ้านันทบุเรงพระญาติของพระองค์ ระหว่าง..

ใหม่!!: พระเจ้านันทบุเรงและเมงเยสีหตูที่ 2 แห่งตองอู · ดูเพิ่มเติม »

เวียงจันทน์

วียงจันทน์ (ວຽງຈັນ) เป็นเมืองหลวงและเมืองใหญ่ที่สุดของประเทศลาว อยู่ในลุ่มแม่น้ำโขง ในพิกัด 17°58' เหนือ, 102°36' ตะวันออก (17.9667, 102.6) ประชากรในตัวเมืองมีประมาณ 200,000 คน (ค.ศ. 2005) แต่ประชากรทั้งหมดที่อาศัยในนครหลวงเวียงจันทน์ เชื่อว่ามีอยู่ถึงกว่า 730,000 คน เวียงจันทน์มีชื่อที่ตั้งในรัชสมัยพระเจ้าไชยเชษฐาธิราช ว่า กรุงศรีสัตนาคคนหุต วิสุทธิ์รัตนราชธานีบุรีรม.

ใหม่!!: พระเจ้านันทบุเรงและเวียงจันทน์ · ดูเพิ่มเติม »

เถรวาท

รวาท (อ่านว่า เถ-ระ-วาด) (theravāda เถรวาท, स्थविरवाद sthaviravāda สฺถวิรวาท; Theravada) โดยศัพท์แปลว่า "ตามแนวทางของพระเถระ" เป็นชื่อของนิกายที่เก่าแก่ที่สุดในศาสนาพุทธ ฝ่ายมหายานเรียกนิกายนี้ว่า หีนยาน (บาลี/สันสกฤต: हीनयान) นิกายเถรวาทเป็นนิกายหลักที่ได้รับการนับถือในประเทศศรีลังกา (ประมาณ 70% ของประชากรทั้งหมด) และประเทศในแผ่นดินเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ได้แก่ ไทย กัมพูชา ลาว และพม่า และเป็นส่วนน้อยในประเทศจีนและเวียดนาม โดยเฉพาะในมณฑลยูนนาน เนปาล บังกลาเทศที่เขตจิตตะกอง เวียดนามทางตอนใต้ใกล้ชายแดนกัมพูชา อินโดนีเซีย มาเลเซียมีนับถือทางตอนเหนือของประเทศ มีศาสนิกส่วนใหญ่เป็นชาวไทยและชาวสิงหล ตัวเลขผู้นับถือศาสนาพุทธนิกายเถรวาทอยู่ที่ประมาณ 100 ล้านคน สำหรับประเทศไทยมีผู้นับถือพุทธศาสนานิกายเถรวาทประมาณ 94% ของประชากรทั้งหมด (ข้อมูลจากกรมศาสนา เฉพาะประชากรอิสลามในประเทศไทยมีไม่น้อยกว่า 10 ล้านคน คิดเป็นสัดส่วนไม่น้อยกว่า 15% ของประชากรไทย ไม่นับผู้นับถือศาสนาคริสต์ ฮินดู สิกข์ และไม่มีศาสนา จึงเป็นไปได้ว่าชาวพุทธในประเทศไทย อาจมีไม่ถึง 80% ของจำนวนประชากรทั้งหมด) นิกายเถรวาทได้รับการนับถือคู่กับนิกายอาจริยวาท (คือนิกายมหายาน ในปัจจุบัน).

ใหม่!!: พระเจ้านันทบุเรงและเถรวาท · ดูเพิ่มเติม »

เขตปกครองตนเองชนชาติไทและจิ่งพัว เต๋อหง

ตปกครองตนเองชนชาติไทและจิ่งพัว เต๋อหง หรือเขตปกครองตนเองใต้คง (ไทเหนือ: 60px; เต๋อหง ไต่จู๋ จิ่งพัวจู๋ จื้อจื้อโจว) คือหนึ่งในเขตปกครองตนเองระดับจังหวัดของมณฑลยูนนาน ประเทศจีน มีพื้นที่ประมาณ 11,526 ตร.

ใหม่!!: พระเจ้านันทบุเรงและเขตปกครองตนเองชนชาติไทและจิ่งพัว เต๋อหง · ดูเพิ่มเติม »

เป่าซาน

เป่าซาน เป็นจังหวัดหนึ่งในมณฑลยูนนาน สาธารณรัฐประชาชนจีน หมวดหมู่:เมืองในประเทศจีน หมวดหมู่:เมืองในมณฑลยูนนาน.

ใหม่!!: พระเจ้านันทบุเรงและเป่าซาน · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

Nanda Bayinมังเอิงพระมหาอุปราชนันทบุเรงพระเจ้าหงษางาจีสะยางพระเจ้าหงสาวดีนันทบุเรงพระเจ้าหงสางาจีสะยางงาจีสะยางนันทบุเรงนานเตี๊ยะบาเยง

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »