เรากำลังดำเนินการเพื่อคืนค่าแอป Unionpedia บน Google Play Store
ขาออกขาเข้า
🌟เราได้ทำให้การออกแบบของเราง่ายขึ้นเพื่อการนำทางที่ดีขึ้น!
Instagram Facebook X LinkedIn

พระเจ้าราชาธิราช

ดัชนี พระเจ้าราชาธิราช

ระเจ้าราชาธิราช (ရာဇာဓိရာဇ်, หย่าซาดะยิต; ค.ศ. 1368–1421) มีพระนามเดิมว่า พญาน้อย (ဗညားနွဲ့) ทรงเป็นกษัตริย์มอญแห่งราชอาณาจักรหงสาวดี ระหว่างปี..

สารบัญ

  1. 21 ความสัมพันธ์: ชาวมอญพญารามที่ 1พญาธรรมราชาพม่าตอนบนพม่าตอนล่างพระยาอู่พระนางเชงสอบูพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวรวรรณากร กรมพระนราธิปประพันธ์พงศ์พะโคพ่อลาวแก่นท้าวกษัตริย์ภาษาพม่าภาษามอญสงครามสี่สิบปีหม่อง ทินอ่องอาณาจักรหงสาวดีอาณาจักรอังวะตะละแม่ท้าวโด่นวุนเมาะตะมะเถรวาท

  2. บุคคลที่เกิดในปี พ.ศ. 1911
  3. ราชวงศ์หงสาวดี

ชาวมอญ

มอญ (မွန်လူမျိုး; မန် หรือ မည်; IPA:; อังกฤษ: Mon) เป็นชนชาติเจ้าของอารยธรรมอันเก่าแก่ในแผ่นดินพม่า พูดภาษาในตระกูลมอญ-เขมร.

ดู พระเจ้าราชาธิราชและชาวมอญ

พญารามที่ 1

ญารามที่ 1 (ပထမ ဗညားရံ,; ဗညားရာံ; 1393–1446) หรือบางครั้งเรียก พระเจ้ารามาราชาธิราช กษัตริย์องค์ที่ 11 แห่ง อาณาจักรหงสาวดี ครองสิริราชสมบัติระหว่าง..

ดู พระเจ้าราชาธิราชและพญารามที่ 1

พญาธรรมราชา

ญาธรรมราชา (ဗညားဓမ္မရာဇာ,; บางครั้งเรียก พระเจ้าสุโทธรรมราชาธิราช, ประมาณ 1392 – 1424) หรือในพงศาวดารมอญเรียก พระเจ้าบินยธรรมราชา กษัตริย์องค์ที่ 10 แห่ง อาณาจักรหงสาวดี ครองสิริราชสมบัติระหว่าง..

ดู พระเจ้าราชาธิราชและพญาธรรมราชา

พม่าตอนบน

ม่าตอนบนแสดงด้วยสีส้ม พม่าตอนล่างแสดงด้วยสีชมพู พม่าตอนบน (Upper Burma; အထက်မြန်မာပြည်) บางครั้งเรียก พม่าจริง (Real Myanmar) เป็นพื้นที่ทางภูมิศาสตร์ของพม่า ครอบคลุมบริเวณ มัณฑะเลย์ และรอบนอก (ปัจจุบันคือ เขตมัณฑะเลย์, เขตซะไกง์ และเขตมาเกว) และอาจรวมกว้างๆเข้ากับ รัฐคะฉิ่น และรัฐชาน ในภาษาพม่า ประชาชนที่มาจากพม่าตอนบนมักเรียกว่า อะ-ญา-ตา, ในขณะที่ประชาชนที่มาจากพม่าตอนล่างจะเรียกว่า เอาะตา คำนี้ถูกใช้โดยบริติชเพื่ออ้างถึงพื้นที่ตอนกลางและตอนเหนือของพม่า หลังจากสิ้นสุดสงครามพม่า-อังกฤษครั้งที่สอง ใน..

ดู พระเจ้าราชาธิราชและพม่าตอนบน

พม่าตอนล่าง

ม่าตอนล่างแสดงด้วยสีชมพู พม่าตอนบนแสดงด้วยสีส้ม พม่าตอนล่าง (Lower Burma; အောက်မြန်မာပြည်) บางครั้งเรียก พม่านอก (Outer Myanmar) เป็นพื้นที่ทางภูมิศาสตร์ของพม่าอยู่ในบริเวณดินดอนสามเหลี่ยมปากแม่น้ำอิรวดี (เขตอิรวดี, เขตพะโค และเขตย่างกุ้ง) และพื้นที่ตามแนวชายฝั่งของประเทศ (รัฐยะไข่, รัฐมอญ และเขตตะนาวศรี) ในภาษาพม่า ประชาชนที่มาจากพม่าตอนบนมักเรียกว่า อะ-เทต-ตา สำหรับผู้ชาย และ อะ-เทียต-ลฮู สำหรับผู้หญิง ในขณะที่ประชาชนที่มาจากพม่าตอนล่างจะเรียกว่า เอาะตา สำหรับผู้ชาย และ เอาะธู สำหรับผู้หญิง ส่วน อะ-ญา-ตา หมายถึงประชาชนที่อาศัยอยู่ส่วนในของประเทศ ในทางประวัติศาสตร์ พม่าตอนล่างหมายถึงดินแดนของพม่าที่ถูกผนวกเข้ากับจักรวรรดิบริติชหลังจากสิ้นสุดสงครามพม่า-อังกฤษครั้งที่สอง ใน..

ดู พระเจ้าราชาธิราชและพม่าตอนล่าง

พระยาอู่

ระยาอู่ (ဗညာဥူ; ဗညားဦး,; เป็นที่รู้จักกันในพระนาม พระเจ้าเชงพยูเชง (พระเจ้าช้างเผือก) 1323 – 1384) หรือ บญาอู กษัตริย์องค์ที่ 8 แห่ง อาณาจักรหงสาวดี ครองสิริราชสมบัติระหว่าง..

ดู พระเจ้าราชาธิราชและพระยาอู่

พระนางเชงสอบู

ระนางเชงสอบู (ရှင်စောပု,; သေဝ်စါဝ်ပေါအ်; อักษรโรมัน: Shin Sawbu; ในราชาธิราชฉบับเจ้าพระยาพระคลัง (หน) ถอดเสียงเป็น แสจาโป) หรือ พระนางพระยาท้าว, ตละเจ้าปุ, พระนางพญาท้าว, ตละเจ้าท้าว และ นางพระยาตละเจ้าท้าว (ဗညားထောဝ်; อักษรโรมัน: Binnya Thau) เป็นกษัตริย์หญิงแห่งอาณาจักรมอญเพียงพระองค์เดียวที่ปกครองชาวมอญเป็นเวลา 17 ปี (พ.ศ.

ดู พระเจ้าราชาธิราชและพระนางเชงสอบู

พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวรวรรณากร กรมพระนราธิปประพันธ์พงศ์

ระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระนราธิปประพันธ์พงศ์ มีพระนามเดิมว่า พระองค์เจ้าวรวรรณากร เป็นพระบิดาแห่งการละครร้อง เป็นพระราชโอรสในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว กับ เจ้าจอมมารดาเขียน ทรง เป็นกวีและนักประพันธ์ ทรงเข้ารับราชการในแผ่นดินพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงดำรงตำแหน่งรองเสนาบดี กระทรวงพระคลังมหาสมบัติ ทรงเป็นต้นราชสกุลวรวรรณ.

ดู พระเจ้าราชาธิราชและพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวรวรรณากร กรมพระนราธิปประพันธ์พงศ์

พะโค

(ပဲခူးမြို့, Bago หรือ Pegu) หรือชื่อในอดีตคือ หงสาวดี (ဟံသာဝတီ, หงสาวะโตย; Hongsawatoi, Hanthawaddy, Hanthawady, Hanthawadi หรือ Handawaddy) เป็นเมืองหลวงของเขตหงสาวดี ตั้งอยู่ใกล้เมืองเมาะตะมะ ทางตอนใต้ของประเทศพม่า นครหงสาวดีเคยเป็นเมืองหลวงของราชอาณาจักรหงสาวดีของชาวมอญ และอาณาจักรตองอูของชาวพม.

ดู พระเจ้าราชาธิราชและพะโค

พ่อลาวแก่นท้าว

อลาวแก่นท้าว (ဘောလောကျန်းထော,; ประมาณ 1383 - 1390) พระราชโอรสองค์ใหญ่และพระราชบุตรองค์แรกของ พระเจ้าราชาธิราช กษัตริย์องค์ที่ 9 แห่ง อาณาจักรหงสาวดี กับตะละแม่ท้าว เจ้าชายน้อยพระองค์นี้เป็นที่รู้จักจากคำสาบานที่พระองค์ให้ไว้ก่อนถูกสำเร็จโทษตามพระบัญชาของพระเจ้าราชาธิราช ว่าจะกลับมาเกิดใหม่เพื่อสู้กับพระองค์ถ้าพระองค์บริสุทธิ์ ทำให้ประชาชนของหงสาวดีและประชาชนของอาณาจักรคู่แข่งอย่างอังวะเชื่อว่าเจ้าชาย มังรายกะยอชวา แห่งอาณาอังวะคือพ่อลาวแก่นท้าวที่กลับมาเกิดใหม่เพื่อเติมเต็มคำสาบาน พระเจ้าราชาธิราชกลัวว่าเจ้าชายหนุ่มจะก่อการจลาจลต่อต้านพระองค์ หลังพระมารดาของพระองค์ตะละแม่ท้าวปลงพระชนม์ชีพพระองค์เอง และกลัวว่าเจ้าชายหนุ่มจะแก้แค้นให้กับพระมาร.

ดู พระเจ้าราชาธิราชและพ่อลาวแก่นท้าว

กษัตริย์

กษัตริย์ (क्षत्रिय กฺษตฺริย; khattiya ขตฺติย; ปรากฤต:khatri) เป็นวรรณะหนึ่งในสังคมชาวฮินดู (อีก 4 วรรณะที่เหลือคือพราหมณ์ แพศย์ และศูทร).

ดู พระเจ้าราชาธิราชและกษัตริย์

ภาษาพม่า

ษาพม่า หรือ ภาษาเมียนมา (MLCTS: myanma bhasa) เป็นภาษาราชการของประเทศพม่า จัดอยู่ในในตระกูลภาษาย่อยทิเบต-พม่า อันเป็นสาขาย่อยของตระกูลภาษา โดยเป็นภาษาแม่ของคนประมาณ 32 ล้านคนในพม่า และเป็นภาษาที่สองของชนกลุ่มน้อยในพม่า และในประเทศอินเดีย ประเทศบังกลาเทศ ประเทศมาเลเซีย ประเทศไทย และสหรัฐอเมริกา ภาษาพม่าเป็นภาษาที่มีระดับเสียง หรือวรรณยุกต์ มีวรรณยุกต์ 4 เสียงและเขียนโดยใช้อักษรพม่า ซึ่งดัดแปลงจากอักษรมอญอีกทอดหนึ่ง และจัดเป็นสมาชิกในตระกูลอักษรพราหมี รหัส ISO 639 สำหรับภาษาพม่าคือ 'my' และรหัส SIL คือ BMS.

ดู พระเจ้าราชาธิราชและภาษาพม่า

ภาษามอญ

ษามอญ (เพียซาโหม่น) เป็นภาษาในตระกูลภาษาออสโตรเอเชียติก กลุ่มภาษามอญ-เขมร ซึ่งเป็นสายหนึ่งในตระกูลภาษามอญ-เขมร 12 สาย พูดโดยชาวมอญ ที่อาศัยอยู่ในพม่า และไทย ภาษาตระกูลมอญ-เขมรมีการใช้มานานประมาณ 3,000-4,000 ปีมาแล้ว มีผู้ใช้ภาษานี้อยู่ประมาณ 5,000,000 คน อักษรมอญ ที่เก่าแก่ที่สุดนั้น ค้นพบในประเทศไทย หลักฐานที่พบคือ จารึกวัดโพธิ์ร้าง พ.ศ.

ดู พระเจ้าราชาธิราชและภาษามอญ

สงครามสี่สิบปี

งครามสี่สิบปี (အနှစ်လေးဆယ်စစ်; Forty Years' War) หรือ สงครามพม่ามอญ (Mon-Burmese War) หรือ สงครามหงสาอังวะ (Ava-Pegu War) เป็นการขัดกันทางทหารระหว่างฝ่ายพม่า คือ อาณาจักรอังวะ กับฝ่ายมอญ คือ อาณาจักรหงสาวดี ตั้งแต่ปี 1385 ถึงปี 1424 โดยรบรากันเป็นสองช่วงแยกกัน คือ ช่วงปี 1385 ถึงปี 1391 แล้วหย่าศึกกันตั้งแต่ปี 1391 ถึงปี 1404 จึงกลับมาสับประยุทธ์กันอีกตั้งแต่ปี 1404 ถึงปี 1424 สมรภูมิหลักนั้นปัจจุบันอยู่ในพม่าตอนล่าง พม่าตอนบน ชาน และยะไข่ สงครามคราวนี้สิ้นสุดลงโดยที่ต่างฝ่ายต่างไม่อาจเอาชัยเหนือกัน กรุงหงสาวดีสามารถรักษาเอกราชไว้ได้ ขณะที่กรุงอังวะจำต้องเลิกล้มความพยายามที่จะสถาปนาอาณาจักรพุกามขึ้นอีกครั้ง.

ดู พระเจ้าราชาธิราชและสงครามสี่สิบปี

หม่อง ทินอ่อง

หม่อง ทินอ่อง (Htin Aung; ထင်အောင်; ค.ศ. 1909-1978) เป็นนักประพันธ์และนักวิชาการประวัติศาสตร์พม่าและวัฒนธรรมพม่าคนสำคัญ สำเร็จการศึกษาจากมหาวิทยาลัยอ็อกซ์ฟอร์ดและมหาวิทยาลัยเคมบริดจ์ มีผลงานเขียนเป็นหนังสือหลายเล่มเกี่ยวกับประวัติศาสตร์และวัฒนธรรมพม่าทั้งในภาษาพม่าและภาษาอังกฤษ ผลงานภาษาอังกฤษของเขานั้นได้เปิดมุมมองที่เป็นที่ต้องการมากในการศึกษาประวัติศาสตร์พม่าแบบสากล ซึ่งจนถึงขณะนี้มีเฉพาะนักประวัติศาสตร์อังกฤษในสมัยอาณานิคมเท่านั้น ผลงานที่สำคัญ อาทิ ประวัติศาสตร์พม่า, Folk Elements in Burmese Buddhism และ Burmese Drama.

ดู พระเจ้าราชาธิราชและหม่อง ทินอ่อง

อาณาจักรหงสาวดี

อาณาจักรหงสาวดี (ဟံသာဝတီ ပဲခူး နေပြည်တော်;,; บางครั้งเรียก กรุงหงสาวดี หรืออย่างสั้น พะโค) เป็นอาณาจักรที่ปกครองพม่าตอนล่างตั้งแต..

ดู พระเจ้าราชาธิราชและอาณาจักรหงสาวดี

อาณาจักรอังวะ

อาณาจักรอังวะ (Ava Kingdom; အင်းဝခေတ်) อาณาจักรอิสระที่ปกครอง พม่าตอนบน ระหว่าง..

ดู พระเจ้าราชาธิราชและอาณาจักรอังวะ

ตะละแม่ท้าว

ตะละแม่ท้าว (တလမည်ဒေါ,; หรือ တလမေဒေါ; ประมาณ 1368 – ประมาณ 1390) พระอัครมเหสีองค์แรกใน พระเจ้าราชาธิราช กษัตริย์องค์ที่ 9 แห่ง อาณาจักรหงสาวดี พระองค์เป็นพระขนิษฐาต่างพระมารดาของพระเจ้าราชาธิราชและเป็นพระราชธิดาของ พระยาอู่ กษัตริย์องค์ที่ 8 ที่ประสูติแต่ นางมหาจันทเทวีPan Hla 2005: 161 ในเดือนพฤษภาคม..

ดู พระเจ้าราชาธิราชและตะละแม่ท้าว

โด่นวุน

นวุน (ဒုန်ဝန်း) หรือที่ในวรรณคดีเรื่องราชาธิราชเรียกว่า เมืองวาน เคยเป็นราชธานีของอาณาจักรหงสาวดีอยู่ 6 ปี (ระหว่าง ค.ศ.

ดู พระเจ้าราชาธิราชและโด่นวุน

เมาะตะมะ

เมาะตะมะ (မုတ္တမမြို့; Mottama) เดิมชื่อ มะตะบัน เป็นเมืองเล็ก ๆ ในรัฐมอญ ประเทศพม่า ตั้งอยู่ริมฝั่งเหนือของแม่น้ำสาละวิน เคยเป็นเมืองหลวงของราชอาณาจักรหงสาวดี ในช่วงศตวรรษที่ 13-14 เมืองนี้ในอดีต มีความสำคัญที่ พม่าใช้รวมพลเตรียมทัพจัดขบวน ก่อนจะข้ามลำน้ำสาละวิน ด่านเจดีย์สามองค์ แล้วแบ่งกองกำลัง เพื่อเข้ามาทำสงครามตีเมืองต่างๆ เช่น อยุธยา, ธนบุรี ฯลฯ ในสยาม หมวดหมู่:เมืองในประเทศพม่า หมวดหมู่:รัฐมอญ.

ดู พระเจ้าราชาธิราชและเมาะตะมะ

เถรวาท

รวาท (อ่านว่า เถ-ระ-วาด) (theravāda เถรวาท, स्थविरवाद sthaviravāda สฺถวิรวาท; Theravada) โดยศัพท์แปลว่า "ตามแนวทางของพระเถระ" เป็นชื่อของนิกายที่เก่าแก่ที่สุดในศาสนาพุทธ ฝ่ายมหายานเรียกนิกายนี้ว่า หีนยาน (บาลี/สันสกฤต: हीनयान) นิกายเถรวาทเป็นนิกายหลักที่ได้รับการนับถือในประเทศศรีลังกา (ประมาณ 70% ของประชากรทั้งหมด) และประเทศในแผ่นดินเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ได้แก่ ไทย กัมพูชา ลาว และพม่า และเป็นส่วนน้อยในประเทศจีนและเวียดนาม โดยเฉพาะในมณฑลยูนนาน เนปาล บังกลาเทศที่เขตจิตตะกอง เวียดนามทางตอนใต้ใกล้ชายแดนกัมพูชา อินโดนีเซีย มาเลเซียมีนับถือทางตอนเหนือของประเทศ มีศาสนิกส่วนใหญ่เป็นชาวไทยและชาวสิงหล ตัวเลขผู้นับถือศาสนาพุทธนิกายเถรวาทอยู่ที่ประมาณ 100 ล้านคน สำหรับประเทศไทยมีผู้นับถือพุทธศาสนานิกายเถรวาทประมาณ 94% ของประชากรทั้งหมด (ข้อมูลจากกรมศาสนา เฉพาะประชากรอิสลามในประเทศไทยมีไม่น้อยกว่า 10 ล้านคน คิดเป็นสัดส่วนไม่น้อยกว่า 15% ของประชากรไทย ไม่นับผู้นับถือศาสนาคริสต์ ฮินดู สิกข์ และไม่มีศาสนา จึงเป็นไปได้ว่าชาวพุทธในประเทศไทย อาจมีไม่ถึง 80% ของจำนวนประชากรทั้งหมด) นิกายเถรวาทได้รับการนับถือคู่กับนิกายอาจริยวาท (คือนิกายมหายาน ในปัจจุบัน).

ดู พระเจ้าราชาธิราชและเถรวาท

ดูเพิ่มเติม

บุคคลที่เกิดในปี พ.ศ. 1911

ราชวงศ์หงสาวดี

หรือที่รู้จักกันในชื่อ Razadaritพระยาน้อย