โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

พญาเกียรติ์

ดัชนี พญาเกียรติ์

ญาเกียรติ์ (ဗညားကျန်း, บะญาจัง; ประมาณ 1420 – 1453) พงศาวดารมอญพม่าเรียกว่าพระยาทาสราชา เป็นพระราชโอรสของพญาธรรมราชา พระเจ้าหงสาวดีรัชกาลที่ 10 ได้ขึ้นสืบราชบัลลังก์เป็นพระเจ้าหงสาวดีรัชกาลที่ 13 หลังจากปลงพระชนม์พญาพะโร กษัตริย์รัชกาลที่ 12 เมื่อ..

7 ความสัมพันธ์: พญาพะโรพญารามที่ 1พญาธรรมราชาพระเจ้าราชาธิราชมะมุดตาวอาณาจักรหงสาวดีเจดีย์ชเวดากอง

พญาพะโร

ญาพะโร (ဗညားဗရူး บะญาบะยู,; ဗညားဗရောဝ်; ประมาณ 1418–1451) พงศาวดารมอญพม่าเรียกว่าพระยาแก่นท้าว เป็นพระเจ้าหงสาวดีรัชกาลที่ 12 ครองราชสมบัติระหว่าง..

ใหม่!!: พญาเกียรติ์และพญาพะโร · ดูเพิ่มเติม »

พญารามที่ 1

ญารามที่ 1 (ပထမ ဗညားရံ,; ဗညားရာံ; 1393–1446) หรือบางครั้งเรียก พระเจ้ารามาราชาธิราช กษัตริย์องค์ที่ 11 แห่ง อาณาจักรหงสาวดี ครองสิริราชสมบัติระหว่าง..

ใหม่!!: พญาเกียรติ์และพญารามที่ 1 · ดูเพิ่มเติม »

พญาธรรมราชา

ญาธรรมราชา (ဗညားဓမ္မရာဇာ,; บางครั้งเรียก พระเจ้าสุโทธรรมราชาธิราช, ประมาณ 1392 – 1424) หรือในพงศาวดารมอญเรียก พระเจ้าบินยธรรมราชา กษัตริย์องค์ที่ 10 แห่ง อาณาจักรหงสาวดี ครองสิริราชสมบัติระหว่าง..

ใหม่!!: พญาเกียรติ์และพญาธรรมราชา · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าราชาธิราช

ระเจ้าราชาธิราช (ရာဇာဓိရာဇ်, หย่าซาดะยิต; ค.ศ. 1368–1421) มีพระนามเดิมว่า พญาน้อย (ဗညားနွဲ့) ทรงเป็นกษัตริย์มอญแห่งราชอาณาจักรหงสาวดี ระหว่างปี..

ใหม่!!: พญาเกียรติ์และพระเจ้าราชาธิราช · ดูเพิ่มเติม »

มะมุดตาว

ระยายุตราชา มีพระนามเดิมว่ามะมุดตาวประชุมพงศาวดารเล่ม 2, หน้า 30 หรือ มหอดอ (မမောဟ်ထာဝ်; လိပ်မွတ်ထော, เล่ยหมุ่นทอ; ประมาณ 1432–1454) เป็นพระเจ้าหงสาวดีรัชกาลที่ 14 ในราชวงศ์พระเจ้าฟ้ารั่ว หลังปลงพระชนม์พญาเกียรติ์ในเดือนมิถุนายน..

ใหม่!!: พญาเกียรติ์และมะมุดตาว · ดูเพิ่มเติม »

อาณาจักรหงสาวดี

อาณาจักรหงสาวดี (ဟံသာဝတီ ပဲခူး နေပြည်တော်;,; บางครั้งเรียก กรุงหงสาวดี หรืออย่างสั้น พะโค) เป็นอาณาจักรที่ปกครองพม่าตอนล่างตั้งแต..

ใหม่!!: พญาเกียรติ์และอาณาจักรหงสาวดี · ดูเพิ่มเติม »

เจดีย์ชเวดากอง

ีย์ชเวดากอง (ရွှေတိဂုံစေတီတော်, เฉว่ดะโก่งเส่ดี่ด่อ) ตั้งอยู่บริเวณเนินเขาเชียงกุตระ เมืองย่างกุ้ง ประเทศพม่า โดยคำว่า "ชเว" (ရွှေ) หมายถึง ทอง, "ดากอง" (ဒဂုံ แผลงเป็น တိဂုံ) คือชื่อดั้งเดิมของเมืองย่างกุ้ง เชื่อกันว่าเป็นมหาเจดีย์ที่บรรจุพระเกศาธาตุของพระโคตมพุทธเจ้าจำนวน 8 เส้น ยอดสุดของพระเจดีย์บริเวณลูกแก้วหรือหยาดน้ำข้างประดับด้วยเครื่องประดับต่างๆและเพชร 5,448 เม็ด ชั้นบนสุดมีทับทิม 2,317 เม็ดและเพชรเม็ดใหญ่ 76 กะรัต เพื่อรับลำแสงแรกและลำแสงสุดท้ายของดวงอาทิตย์ ผู้ที่เข้ามานมัสการหรือเยี่ยมชมจะต้องถอดรองเท้าทุกครั้ง.

ใหม่!!: พญาเกียรติ์และเจดีย์ชเวดากอง · ดูเพิ่มเติม »

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »