เรากำลังดำเนินการเพื่อคืนค่าแอป Unionpedia บน Google Play Store
ขาออกขาเข้า
🌟เราได้ทำให้การออกแบบของเราง่ายขึ้นเพื่อการนำทางที่ดีขึ้น!
Instagram Facebook X LinkedIn

พระเจ้ามหาธรรมราชาธิบดี

ดัชนี พระเจ้ามหาธรรมราชาธิบดี

ระเจ้ามหาธรรมราชาธิบดี (မဟာ ဓမ္မရာဇာ ဓိပတိ) เป็นพระมหากษัตริย์พระองค์สุดท้ายของราชวงศ์ตองอูของพม่า ตั้งแต..

สารบัญ

  1. 7 ความสัมพันธ์: พ.ศ. 2276พ.ศ. 2295พระเจ้าอลองพญาพระเจ้าตะนินกันเหว่ราชวงศ์ตองอูรายพระนามพระมหากษัตริย์พม่าหม่อง ทินอ่อง

  2. บุคคลที่เกิดในปี พ.ศ. 2257
  3. บุคคลที่เสียชีวิตในปี พ.ศ. 2297

พ.ศ. 2276

ทธศักราช 2276 ใกล้เคียงกั.

ดู พระเจ้ามหาธรรมราชาธิบดีและพ.ศ. 2276

พ.ศ. 2295

ทธศักราช 2295 ใกล้เคียงกั.

ดู พระเจ้ามหาธรรมราชาธิบดีและพ.ศ. 2295

พระเจ้าอลองพญา

ระบรมราชานุสาวรีย์ของพระเจ้าอลองพญาที่หน้าพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติใน นครย่างกุ้ง พระบรมราชานุสาวรีย์พระเจ้าอลองพญา พระเจ้าอลองพญา หรือ พระเจ้าอลองพญารี (Alaungpaya, အလောင်းမင်းတရား พระนามของพระองค์ออกสำเนียงเป็นภาษาพม่าว่า "อลองเมงตะยาจี" หรือ "อลองพะ" มีความหมายว่า "พระโพธิสัตว์"; สิงหาคม ค.ศ.

ดู พระเจ้ามหาธรรมราชาธิบดีและพระเจ้าอลองพญา

พระเจ้าตะนินกันเหว่

ระเจ้าทนินกันเว (တနင်္ဂနွေမင်း) เป็นพระมหากษัตริย์แห่งราชวงศ์ตองอูของพม่า ตั้งแต..

ดู พระเจ้ามหาธรรมราชาธิบดีและพระเจ้าตะนินกันเหว่

ราชวงศ์ตองอู

ราชวงศ์ตองอู (Toungoo Dynasty; တောင်ငူခေတ်) ราชวงศ์ที่ 2 ในประวัติศาสตร์พม่า ภายหลังจากราชวงศ์พุกาม ราชวงศ์แรกล่มสลายลงจากการรุกรานของชาวมองโกลโดยกุบไลข่าน พระเจ้าเมงจีโย ได้รวบรวมชาวพม่าที่หลงเหลืออยู่อย่างกระจัดกระจาย โดยสถาปนาเมืองตองอูขึ้นเป็นราชธานี เพราะเป็นเมืองที่อยู่ในขุนเขาซึ่งเป็นปราการที่เข้มแข็ง ตองอูเข้มแข็งขึ้นมารัชสมัยของ พระเจ้าตะเบ็งชะเวตี้ พระโอรสของพระองค์ที่ขึ้นครองราชย์ต่อมา โดยได้แผ่อาณาเขตของอาณาจักรขยายไปรอบด้าน เช่น แปร, พะสิม อังวะ, ยะไข่ และที่สำคัญที่สุดคือ หงสาวดี อันเป็นอาณาจักรเดิมของมอญ ซึ่งเป็นศัตรูที่สำคัญของพม่า ยุคสมัยของพระเจ้าตะเบ็งชะเวตี้ได้ครอบคลุมอาณาจักรพม่าทั้งตอนบนและตอนล่างลุ่มน้ำอิระวดี อีกทั้งได้บุคลากรที่สำคัญ เช่น มหาอุปราชาบุเรงนอง, เมงเยสีหตู ร่วมกันสร้างอาณาจักรให้ยิ่งใหญ่ เข้มแข็ง และได้ย้ายเมืองหลวงจากตองอูมายังหงสาวดี ภายหลังการสิ้นพระชนม์ของพระเจ้าตะเบ็งชะเวตี้ เมืองต่าง ๆ ที่เคยขึ้นต่ออาณาจักร ก็แข็งเมืองไม่ยอมขึ้นตรงต่อไป มีกบฏเกิดขึ้นมากมาย มหาอุปราชาบุเรงนองต้องใช้เวลาปราบปรามอยู่ราวอีก 2-3 ปี จึงจะได้ปราบดาภิเษกขึ้นเป็นกษัตริย์ ในรัชสมัยของพระเจ้าบุเรงนอง ได้แผ่อาณาเขตของอาณาจักรตองอู ให้กว้างขวางยิ่งขึ้นโดยครอบคลุมตั้งแต่ลุ่มน้ำอิระวดี ลุ่มน้ำเจ้าพระยา ไปจรดถึงลุ่มน้ำโขงในลาว มีเมืองเป็นประเทศราชต่าง ๆ มากมาย เช่น เชียงใหม่, ฉาน, อยุธยา, ล้านช้าง, กัมพุช เป็นต้น จนได้การขนานพระนามว่าเป็น "พระเจ้าชนะสิบทิศ" แต่ภายหลังการสิ้นพระชนม์ของพระเจ้าบุเรงนอง ศูนย์กลางอำนาจของอาณาจักรถูกสั่นคลอน เนื่องจากการปกครองอย่างแข็งกร้าว ไร้ไมตรีของพระเจ้านันทบุเรง พระราชโอรสของพระองค์ เมืองที่เคยขึ้นเป็นประเทศราชต่าง ๆ ต่างแข็งเมืองและได้ประกาศอิสรภาพ ทำสงครามรบพุ่งกันตลอดมา เช่น แปร, อังวะ, อยุธยา เป็นต้น ในที่สุดเมืองทั้งหลายเหล่านี้ก็แตกแยกกระจัดกระจายออกไป และภายหลังการสิ้นพระชนม์ของพระเจ้านันทบุเรง ราชวงศ์ตองอูก็ยังได้สืบราชสมบัติต่อมา แต่ไม่มีกษัตริย์พระองค์ใดที่เข้มแข็งพอที่จะก้าวขึ้นมาเป็นผู้นำกอบกู้อาณาจักรขึ้นมา แม้นจะมีความพยายามจากพระเจ้าอโนเพตลุน ราชนัดดาของพระเจ้าบุเรงนอง ซึ่งเรียกกันว่า "ยุคนยองยาน" (Nyaungyan Dynasty) แต่ก็สำเร็จเพียงชั่วระยะเวลาสั้น ๆ หลังจากยุคนี้แล้ว มอญสามารถตั้งตัวได้และขึ้นมาเป็นใหญ่แทน ก่อนที่ทางพม่าจะสถาปนาศูนย์กลางอำนาจขึ้นมาอีกครั้งในสมัยพระเจ้าอลองพญา ในทางวิชาการ นักประวัติศาสตร์ได้แบ่งราชวงศ์ตองอูไว้เป็น 2 ยุค คือ ราชวงศ์ตองอูตอนต้น กินระยะเวลาตั้งแต่ พ.ศ.

ดู พระเจ้ามหาธรรมราชาธิบดีและราชวงศ์ตองอู

รายพระนามพระมหากษัตริย์พม่า

ทความนี้รวบรวมรายพระนามพระมหากษัตริย์ของอาณาจักรต่าง ๆ ภายในประเทศพม.

ดู พระเจ้ามหาธรรมราชาธิบดีและรายพระนามพระมหากษัตริย์พม่า

หม่อง ทินอ่อง

หม่อง ทินอ่อง (Htin Aung; ထင်အောင်; ค.ศ. 1909-1978) เป็นนักประพันธ์และนักวิชาการประวัติศาสตร์พม่าและวัฒนธรรมพม่าคนสำคัญ สำเร็จการศึกษาจากมหาวิทยาลัยอ็อกซ์ฟอร์ดและมหาวิทยาลัยเคมบริดจ์ มีผลงานเขียนเป็นหนังสือหลายเล่มเกี่ยวกับประวัติศาสตร์และวัฒนธรรมพม่าทั้งในภาษาพม่าและภาษาอังกฤษ ผลงานภาษาอังกฤษของเขานั้นได้เปิดมุมมองที่เป็นที่ต้องการมากในการศึกษาประวัติศาสตร์พม่าแบบสากล ซึ่งจนถึงขณะนี้มีเฉพาะนักประวัติศาสตร์อังกฤษในสมัยอาณานิคมเท่านั้น ผลงานที่สำคัญ อาทิ ประวัติศาสตร์พม่า, Folk Elements in Burmese Buddhism และ Burmese Drama.

ดู พระเจ้ามหาธรรมราชาธิบดีและหม่อง ทินอ่อง

ดูเพิ่มเติม

บุคคลที่เกิดในปี พ.ศ. 2257

บุคคลที่เสียชีวิตในปี พ.ศ. 2297

หรือที่รู้จักกันในชื่อ Mahadhammaraza Dipadi