สารบัญ
15 ความสัมพันธ์: พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชกรุงเทพมหานครวัดปทุมคงคาราชวรวิหารวัดไตรมิตรวิทยารามวรวิหารสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีจอมพลถนนลำพูนไชยถนนข้าวหลาม (กรุงเทพมหานคร)ถนนตรีมิตรถนนเยาวราชถนนเจริญกรุงประภาส จารุเสถียรแยกไมตรีจิตต์เขตสัมพันธวงศ์เซียงกง
- ทางแยกในกรุงเทพมหานคร
- สถานที่ท่องเที่ยวในกรุงเทพมหานคร
- สิ่งก่อสร้างในกรุงเทพมหานคร
- อนุสาวรีย์ในประเทศไทย
- เขตสัมพันธวงศ์
พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช
ระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช (5 ธันวาคม พ.ศ. 2470 — 13 ตุลาคม พ.ศ. 2559) เป็นพระมหากษัตริย์ไทย รัชกาลที่ 9 แห่งราชวงศ์จักรี เสด็จสู่พระราชสมบัติตั้งแต่วันที่ 9 มิถุนายน..
ดู วงเวียนโอเดียนและพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช
กรุงเทพมหานคร
กรุงเทพมหานคร เป็นเมืองหลวงและนครที่มีประชากรมากที่สุดของประเทศไทย เป็นศูนย์กลางการปกครอง การศึกษา การคมนาคมขนส่ง การเงินการธนาคาร การพาณิชย์ การสื่อสาร และความเจริญของประเทศ เป็นเมืองที่มีชื่อยาวที่สุดในโลก ตั้งอยู่บนสามเหลี่ยมปากแม่น้ำเจ้าพระยา มีแม่น้ำเจ้าพระยาไหลผ่านและแบ่งเมืองออกเป็น 2 ฝั่ง คือ ฝั่งพระนครและฝั่งธนบุรี กรุงเทพมหานครมีพื้นที่ทั้งหมด 1,568.737 ตร.กม.
ดู วงเวียนโอเดียนและกรุงเทพมหานคร
วัดปทุมคงคาราชวรวิหาร
วัดปทุมคงคาราชวรวิหาร เป็นพระอารามหลวงชั้นโท ชนิดราชวรวิหาร ตั้งอยู่ริมฝั่งแม่น้ำเจ้าพระยา ฝั่งพระนคร ถนนทรงวาดติดต่อกับถนนสำเพ็ง แขวงสัมพันธวงศ์ เขตสัมพันธวงศ์ กรุงเทพมหานคร เดิมชื่อวัดสำเพ็ง ตามชื่อถนนหน้าวัด ต่อมาในสมัยรัชกาลที่ 1 พระราชทานนามใหม่ว่า “วัดปทุมคงคา”.
ดู วงเวียนโอเดียนและวัดปทุมคงคาราชวรวิหาร
วัดไตรมิตรวิทยารามวรวิหาร
วัดไตรมิตรวิทยาราม ตั้งอยู่ที่ถนนมิตรภาพไทย-จีน แขวงตลาดน้อย เขตสัมพันธวงศ์ เป็นวัดโบราณอยู่ในที่ลุ่มพระอารามเป็นเรือนไม้ มีชื่อเดิมว่า "วัดสามจีน" เข้าใจกันว่า ชาวจีน 3 คนร่วมกันสร้างพระอารามเพื่อเป็นวิหารทานการบุญ ในปี..
ดู วงเวียนโอเดียนและวัดไตรมิตรวิทยารามวรวิหาร
สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี
ตราจารย์ พลเอกหญิง พลเรือเอกหญิง พลอากาศเอกหญิง นายกองใหญ่ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี (2 เมษายน พ.ศ.
ดู วงเวียนโอเดียนและสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี
จอมพล
อมพล (Field Marshal) เป็นยศทหาร ซึ่งในปัจจุบันถือได้ว่าเป็นยศสูงสุดในกองทัพบกที่เกือบทุกประเทศทั่วโลกใช้ จอมพลเป็นยศที่สูงกว่าพลเอก.
ถนนลำพูนไชย
นนลำพูนไชย ถนนลำพูนไชย เป็นถนนสายสั้น ๆ ในย่านเยาวราช พื้นที่แขวงตลาดน้อยและแขวงสัมพันธวงศ์ เขตสัมพันธวงศ์ กรุงเทพมหานคร มีจุดเริ่มต้นที่ถนนพระรามที่ 4 ไปทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ ผ่านทางแยกลำพูนไชยที่เป็นจุดตัดกับถนนเจริญกรุง และไปสิ้นสุดที่ถนนเยาวราชบริเวณใกล้กับวงเวียนโอเดียน ถนนลำพูนไชยเป็นที่ตั้งของสถาบันกวดวิชาดาว้องก์ และเมื่อปี..
ดู วงเวียนโอเดียนและถนนลำพูนไชย
ถนนข้าวหลาม (กรุงเทพมหานคร)
นนข้าวหลาม (Thanon Khao Lam) เป็นถนนสายหนึ่งในพื้นที่แขวงตลาดน้อย เขตสัมพันธวงศ์ กรุงเทพมหานคร เป็นถนนสายสั้น ๆ มีจุดเริ่มต้นที่จุดตัดระหว่างถนนเจริญกรุง และถนนทรงวาด (วงเวียนข้าวหลาม) จากนั้นทอดไปข้ามสะพานข้ามคลองผดุงกรุงเกษมไปสิ้นสุดที่ถนนมหาพฤฒาราม ใกล้กับแยกไมตรีจิตต์ ในอดีต พื้นที่บริเวณถนนข้าวหลามนี้เคยเป็นที่ตั้งของโรงชำแหละหมู ที่ถูกส่งมาจากสถานีรถไฟหัวลำโพง จึงมักถูกเรียกว่า "ตรอกโรงหมู" (ปัจจุบัน คือ ซอยสุกร 1 และซอยสุกร 2 สามารถเข้าได้อีกทางจากถนนมิตรภาพไทย-จีน ข้างวัดไตรมิตรวิทยารามวรวิหาร) โดยบริเวณนี้ปัจจุบันเป็นแหล่งรวมของร้านอาหารที่หลากหลาย และมีชื่อเสียงโด่งดัง เช่น ข้าวหมูแดง, หมูสะเต๊ะ, โจ๊ก, หอยทอด, ปอเปี๊ยสด, เย็นตาโฟ, ก๋วยเตี๋ยว, บะหมี่และเกี๊ยว, ลูกชิ้นหมูปิ้ง, ไอศครีม เป็นต้น.
ดู วงเวียนโอเดียนและถนนข้าวหลาม (กรุงเทพมหานคร)
ถนนตรีมิตร
นนตรีมิตร (Thanon Tri Mit) ถนนสายหนึ่งในพื้นที่แขวงสัมพันธวงศ์ และแขวงตลาดน้อย เขตสัมพันธวงศ์ กรุงเทพมหานคร เป็นถนนที่มีจุดเริ่มต้นโดยตัดแยกจากถนนทรงวาด บริเวณหน้าวัดปทุมคงคาราชวรวิหาร ไปจรดกับถนนพระราม 4 และถนนเจริญกรุง ที่วงเวียนโอเดียน และทอดผ่านข้างวัดไตรมิตรวิทยาราม ขนานไปกับถนนข้าวหลาม หรือซอยสุกร ในอีกด้าน ไปสิ้นสุดที่แยกไมตรีจิตต์ บริเวณหน้าสถานีรถไฟหัวลำโพง โดยถนนตรีมิตร ช่วงบริเวณวัดไตรมิตรวิทยารามไปสิ้นสุดที่แยกไมตรีจิตต์ มีชื่อว่า ถนนมิตรภาพไทย-จีน โดยเปลี่ยนชื่อถนนเมื่อปี..
ดู วงเวียนโอเดียนและถนนตรีมิตร
ถนนเยาวราช
รรยายกาศของเยาวราชยามค่ำคืนและร้านอาหารริมทาง ถนนเยาวราช (Thanon Yaowarat; 耀華力路) เป็นถนนสายหนึ่งในกรุงเทพมหานคร ระยะทางความยาวตลอดเส้นทางประมาณ 1.5 กิโลเมตร ได้รับการกล่าวขานและขนานนามว่าเป็น "ถนนมังกร" โดยมีจุดเริ่มต้นของหัวมังกรที่ซุ้มประตูเฉลิมพระเกียรติ 72 พรรษาบริเวณวงเวียนโอเดียน ท้องมังกรอยู่ที่บริเวณตลาดเก่าเยาวราชและสิ้นสุดปลายหางมังกรที่บริเวณปลายสุดของถนน สร้างขึ้นในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ใช้ระยะเวลาในการตัดถนน 8 ปี ตั้งแต่ ปี พ.ศ.
ดู วงเวียนโอเดียนและถนนเยาวราช
ถนนเจริญกรุง
นนเจริญกรุงในสมัยรัชกาลที่ 5 ถนนเจริญกรุงในกลางปี พ.ศ. 2559 ช่วงเชิงสะพานพิทยเสถียร (สะพานเหล็กล่าง) ย่านตลาดน้อย เขตสัมพันธวงศ์ ถนนเจริญกรุง (Thanon Charoen Krung) ถนนสายสำคัญสายหนึ่งในพื้นที่กรุงเทพมหานคร เริ่มต้นตั้งแต่ถนนสนามไชยบริเวณวงเวียน รด.
ดู วงเวียนโอเดียนและถนนเจริญกรุง
ประภาส จารุเสถียร
อมพล จอมพลเรือ จอมพลอากาศ พลตำรวจเอก ประภาส จารุเสถียร (5 ธันวาคม พ.ศ. 2455 — 18 สิงหาคม พ.ศ. 2540) อดีตรองนายกรัฐมนตรี, อดีตผู้บัญชาการทหารบก, อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย, อดีตอธิบดีกรมตำรวจ และอดีตอธิการบดีจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลั.
ดู วงเวียนโอเดียนและประภาส จารุเสถียร
แยกไมตรีจิตต์
แยกไมตรีจิตต์ (Maitri Chit Intersection) เป็นทางแยกแห่งหนึ่งในกรุงเทพมหานคร มีลักษณะเป็นห้าแยกตัดกันระหว่างถนนไมตรีจิตต์, ถนนมิตรภาพไทย-จีน, ถนนพระราม 4, ถนนกรุงเกษม และซอยโปริสภา ซึ่งเป็นซอยหนึ่งของถนนข้าวหลาม แยกไมตรีจิตต์ อยู่บริเวณเชิงสะพานเจริญสวัสดิ์ข้ามคลองผดุงกรุงเกษมในด้านที่มาจากแยกหัวลำโพง อยู่ใกล้กับสถานีรถไฟหัวลำโพง ถือได้ว่าเป็นจุดที่เริ่มต้นเข้าสู่ย่านเยาวราช หรือไชน่าทาวน์ของกรุงเทพมหานคร และยังเป็นจุดตัดระหว่างพื้นที่เขตสามเขตอีกด้วย คือ เขตป้อมปราบศัตรูพ่าย, เขตสัมพันธวงศ์ และเขตปทุมวัน ชื่อ "ไมตรีจิตต์" มาจากชื่อของถนนไมตรีจิตต์ อันเป็นถนนสายหนึ่งที่พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ได้โปรดเกล้าฯ ให้สร้างขึ้นเพื่อเป็นอนุสรณ์ระลึกถึงสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง ที่ประเทศไทยได้เข้าร่วม เช่นเดียวกับ วงเวียน 22 กรกฎาคม, ถนนมิตรพันธ์ และถนนสันติภาพ ที่สร้างขึ้นในวาระเดียวกัน บริเวณใกล้ทางแยก ทางฝั่งถนนไมตรีจิตต์ ยังเป็นที่ตั้งของศาสนสถานสองแห่งในสองศาสนา สองความเชื่อที่แตกต่างกัน คือ คริสตจักรไมตรีจิต เป็นคริสตจักรแบบโปรเตสแตนต์แห่งแรกในประเทศไทยและของทวีปเอเชียด้วย โดยก่อตั้งมาตั้งแต..
ดู วงเวียนโอเดียนและแยกไมตรีจิตต์
เขตสัมพันธวงศ์
ตสัมพันธวงศ์ เป็นเขตที่เล็กที่สุดของกรุงเทพมหานคร อยู่ในกลุ่มเขตกรุงเทพกลาง สภาพพื้นที่ประกอบไปด้วยแหล่งการค้าหนาแน่นและแหล่งท่องเที่ยวเชิงประวัติศาสตร์และศิลปวัฒนธรรม.
ดู วงเวียนโอเดียนและเขตสัมพันธวงศ์
เซียงกง
นเซียงกงในปัจจุบัน เซียงกง หรือ เชียงกง (Sieng Kong, Xiang Gong) เป็นกลุ่มธุรกิจจำหน่ายอะไหล่ ชิ้นส่วนประกอบ และ เครื่องยนต์สำหรับรถใช้แล้ว คำว่าเชียงกงเพี้ยนมาจากคำว่า เซียงกง อันเป็นชื่อของศาลเจ้าเซียงกงเกง ที่ตั้งอยู่ใกล้บริเวณถนนทรงวาดส่วนที่ตัดกับถนนเจริญกรุง (วงเวียนข้าวหลาม) แขวงตลาดน้อย เขตสัมพันธวงศ์ กรุงเทพมหานคร เป็นชุมชนชาวจีน ย่านนี้เรียกว่า เซียงกง หรือชื่ออย่างเป็นทางการว่า ซอยวานิช 2 สามารถเข้ามาถึงได้จากซอยเจริญกรุง 20 หรือซอยเจริญกรุง 22 และถนนทรงวาด ทั้งนี้คำว่า "เซียงกง" นั้นแปลตรงตัวได้ว่า "ปู่เทวดา" (仙; เทวดา หรือเซียน และ 公; ปู่) ในช่วงก่อนสงครามโลกครั้งที่ 2 ชุมชนเซียงกงได้เริ่มทำธุรกิจเก็บของเก่า เช่น จักรยาน นำมาซ่อมปรับปรุงหรือแยกชิ้นส่วนออกไปจำหน่าย หลังสงครามโลกครั้งที่ 2 สิ้นสุดลงธุรกิจนี้ขยายตัวเพิ่มมากขึ้นเนื่องจากมีรถที่ใช้ในสงครามปลดประจำการลงเป็นอันมาก แต่ธุรกิจยังคงขยายตัวอย่างต่อเนื่องจนต้องมีการนำเข้าอะไหล่จากประเทศญี่ปุ่น ซึ่งอะไหล่ใช้แล้วมีบทบาทสำคัญในการผลิตรถต่าง ๆ เช่น รถสามล้อเครื่อง หรือรถตุ๊กตุ๊ก, รถอีแต๋น และในปัจจุบันคำว่า เซียงกง ก็ยังนำไปใช้เรียกย่านธุรกิจแบบเดียวกันในต่างถิ่นอีกด้วย เช่น ย่านรังสิต, ถนนพระราม 3, ถนนบางนา-ตราด หรือตามจังหวัดต่าง ๆ เช่น เชียงใหม่ หรือสมุทรปราการ เป็นต้น.
ดูเพิ่มเติม
ทางแยกในกรุงเทพมหานคร
- กล้วยน้ำไท
- ตลาดพลู
- ถนนตก
- ถนนพลับพลาไชย
- ถนนราชวงศ์
- ถนนวรจักร
- ถนนเสือป่า
- ถนนแปลงนาม
- ราชประสงค์
- วงเวียน 22 กรกฎาคม
- วงเวียนโอเดียน
- วงเวียนใหญ่
- สะพานควาย
- สะพานช้างโรงสี
- สะพานผ่านฟ้าลีลาศ
- สะพานมอญ (กรุงเทพมหานคร)
- สะพานมัฆวานรังสรรค์
- สะพานเฉลิมวันชาติ
- สะพานเทวกรรมรังรักษ์
- สี่กั๊กพระยาศรี
- สี่กั๊กเสาชิงช้า
- อนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ
- อนุสาวรีย์ประชาธิปไตย
- เสาชิงช้า
- แยกกษัตริย์ศึก
- แยกคอกวัว
- แยกท่าพระ
- แยกบางกระบือ
- แยกบ้านขมิ้น
- แยกบ้านเนิน
- แยกมไหสวรรย์
- แยกราชเทวี
- แยกลำสาลี
- แยกวัดตึก
- แยกศาลาแดง
- แยกสามยอด
- แยกสามเหลี่ยมดินแดง
- แยกหมอมี
- แยกอุรุพงษ์
- แยกเกียกกาย
- แยกเฉลิมบุรี
- แยกเอส. เอ. บี.
- แยกแม้นศรี
- แยกโพธิ์สามต้น
- แยกไฟฉาย
สถานที่ท่องเที่ยวในกรุงเทพมหานคร
- คลองชักพระ
- คลองบางกอกน้อย
- คลองบางกอกใหญ่
- คลองมอญ
- ซอยคาวบอย
- ซาฟารีเวิลด์
- ถนนข้าวสาร
- ถนนพัฒน์พงศ์
- ถนนรามบุตรี
- ถนนอุทยาน
- บางกอก ซี ไลฟ์ โอเชียนเวิลด์
- บางลำพู
- พระที่นั่งวิมานเมฆ
- พระพุทธมหาสุวรรณปฏิมากร
- พระราชวังดุสิต
- มัสยิดบางหลวง
- ลานพระราชวังดุสิต
- ล้ง 1919
- วงเวียนโอเดียน
- วงเวียนใหญ่
- วังสวนผักกาด
- วัดสระเกศราชวรมหาวิหาร
- วัดสุวรรณารามราชวรวิหาร
- ศาลท้าวมหาพรหม โรงแรมเอราวัณ
- ศูนย์การประชุมแห่งชาติสิริกิติ์
- สถานแสดงพันธุ์สัตว์น้ำจืดกรุงเทพมหานคร
- สยามนิรมิต
- อนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ
- อนุสาวรีย์ประชาธิปไตย
- อาคารใบหยก 2
- อาร์ซีเอ (สถานบันเทิง)
- อาสนวิหารอัสสัมชัญ
- เสาชิงช้า
- แขวงตลาดน้อย
- แดนเนรมิต
สิ่งก่อสร้างในกรุงเทพมหานคร
- กำแพงเมืองและป้อมปราการกรุงเทพมหานคร
- จัตุรัสจามจุรี
- ซาฟารีเวิลด์
- ซีคอนบางแค
- ดิโอลด์สยามพลาซ่า
- ตลาดธนบุรี
- ตลาดนัดจตุจักร
- ตลาดบางแค
- ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย
- ตึกหุ่นยนต์
- ทำเนียบรัฐบาลไทย
- ท่าวังหลังและท่าพรานนก
- ท่าสาทร
- ท่าอากาศยานดอนเมือง
- บางกอก ซี ไลฟ์ โอเชียนเวิลด์
- บ้านพิษณุโลก
- บ้านสาทร
- บ้านหวั่งหลี
- พระตำหนักจิตรลดารโหฐาน
- พระที่นั่งวิมานเมฆ
- พระที่นั่งอนันตสมาคม
- รายชื่อตลาดในกรุงเทพมหานคร
- ร้านเจ๊ไฝ
- วงเวียน 22 กรกฎาคม
- วงเวียนโอเดียน
- วงเวียนใหญ่
- วังปารุสกวัน
- วัน แบงค็อก
- ศาลเจ้าพ่อเสือ
- ศาลเจ้าเกียนอันเกง
- ศาลเจ้าเล่งบ๊วยเอี๊ยะ
- ศุลกสถาน
- ศูนย์การประชุมแห่งชาติสิริกิติ์
- สถานีรถไฟชุมทางบางซื่อ
- สถานีสามเสน
- สถานแสดงพันธุ์สัตว์น้ำจืดกรุงเทพมหานคร
- สวนสัตว์ดุสิต
- สำนักหอสมุดแห่งชาติ
- สุสานหลวง วัดราชบพิธสถิตมหาสีมารามราชวรวิหาร
- หอกลอง
- หอประชุมกองทัพเรือ
- ห้างไนติงเกล
- อนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ
- อนุสาวรีย์ประชาธิปไตย
- เซ็นทรัล ชิดลม
- เสาชิงช้า
- แฮปปี้แลนด์
- โรงพยาบาลเทียนฟ้ามูลนิธิ
- ไปรษณียาคาร
อนุสาวรีย์ในประเทศไทย
- พระบรมราชานุสรณ์ดอนเจดีย์
- พระบรมรูปทรงม้า
- วงเวียน 22 กรกฎาคม
- วงเวียนโอเดียน
- วงเวียนใหญ่
- อนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ
- อนุสาวรีย์ประชาธิปไตย
- อนุสาวรีย์สุนทรภู่
- อุทยานพระบรมราชานุสรณ์ พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย
- เสาสะดือเมืองเชียงราย
เขตสัมพันธวงศ์
- คลองถม
- ถนนทรงวาด
- ถนนผดุงด้าว
- ถนนราชวงศ์
- ถนนเยาวราช
- ถนนแปลงนาม
- ธนาคารไทยพาณิชย์ สาขาตลาดน้อย
- พระพุทธมหาสุวรรณปฏิมากร
- วงเวียนโอเดียน
- วัดกันมาตุยาราม
- วัดจักรวรรดิราชาวาสวรมหาวิหาร
- วัดชัยชนะสงคราม
- วัดบพิตรพิมุขวรวิหาร
- วัดบำเพ็ญจีนพรต
- วัดปทุมคงคาราชวรวิหาร
- วัดสัมพันธวงศารามวรวิหาร
- วัดไตรมิตรวิทยารามวรวิหาร
- ศาลเจ้าเล่งบ๊วยเอี๊ยะ
- สะพานพิทยเสถียร
- สะพานหัน
- สำเพ็ง
- เขตสัมพันธวงศ์
- เซียงกง
- เวิ้งนาครเขษม
- แขวงตลาดน้อย
- แยกวัดตึก
- แยกหมอมี
- แยกเฉลิมบุรี
- แยกเอส. เอ. บี.
- โรงพยาบาลเทียนฟ้ามูลนิธิ
- ไชนาทาวน์ (กรุงเทพมหานคร)
หรือที่รู้จักกันในชื่อ วงเวียนโอเดี้ยนโอเดียน