เรากำลังดำเนินการเพื่อคืนค่าแอป Unionpedia บน Google Play Store
ขาออกขาเข้า
🌟เราได้ทำให้การออกแบบของเราง่ายขึ้นเพื่อการนำทางที่ดีขึ้น!
Instagram Facebook X LinkedIn

ท่าวังหลังและท่าพรานนก

ดัชนี ท่าวังหลังและท่าพรานนก

ท่าวังหลัง ท่าศิริราช ที่อยู่ใกล้เคียง ท่าวังหลัง หรือ ท่าพรานนก หรือ ท่าศิริราช เป็นท่าน้ำริมฝั่งแม่น้ำเจ้าพระยาฝั่งตะวันตกหรือฝั่งธนบุรี บริเวณปลายถนนวังหลัง ในพื้นที่แขวงศิริราช เขตบางกอกน้อย กรุงเทพมหานคร ประกอบด้วยท่าเรือด่วนเจ้าพระยา และท่าเรือข้ามฟาก โดยแบ่งการให้บริการออกเป็นท่าเรือหลายท่าเรียงรายอยู่ในบริเวณเดียวกัน.

สารบัญ

  1. 34 ความสัมพันธ์: พ.ศ. 2538พ.ศ. 2558พระราชวังบวรสถานพิมุขกรมเจ้าท่ากระแสไฟฟ้ากรุงเทพมหานครภัทราวดีเธียเตอร์รายชื่อเขตของกรุงเทพมหานครรูปแบบเอกสารใช้ได้หลายระบบรถไฟฟ้าบีทีเอส สายสีลมวัดระฆังโฆสิตารามวรมหาวิหารวัดอมรินทรารามวรวิหารศาลฎีกาสมเด็จพระเจ้าหลานเธอ เจ้าฟ้าทองอิน กรมพระราชวังบวรสถานพิมุขสถานีรถไฟธนบุรี (เดิม)สถานีสะพานตากสินสนุก.คอมถนนวังหลังท่าช้างวังหลวงท่าพระจันทร์ท่าสาทรท่าน้ำนนทบุรีท่าเรือปากเกร็ดคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดลคณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดลคณะเทคนิคการแพทย์ มหาวิทยาลัยมหิดลแม่น้ำเจ้าพระยาโรงพยาบาลศิริราชโรงพยาบาลศิริราช ปิยมหาราชการุณย์ไทยรัฐเรือด่วนเจ้าพระยาเขตบางกอกน้อย14 มิถุนายน19 กุมภาพันธ์

พ.ศ. 2538

ทธศักราช 2538 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1995 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ดู ท่าวังหลังและท่าพรานนกและพ.ศ. 2538

พ.ศ. 2558

ทธศักราช 2558 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2015 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดีตามปฏิทินเกรกอเรียน นับเป็นปีที่ 2015 ตามกำหนดสากลศักร.

ดู ท่าวังหลังและท่าพรานนกและพ.ศ. 2558

พระราชวังบวรสถานพิมุข

ระราชวังบวรสถานพิมุข หรือ วังหลัง คือ วังของสมเด็จเจ้าฟ้ากรมพระอนุรักษ์เทเวศร์ กรมพระราชวังบวรสถานภิมุข ซึ่งทรงเป็นกรมพระราชวังบวรสถานภิมุขในรัชกาลที่ 1 สร้างขึ้นที่ตำบลสวนลิ้นจี่ ตั้งแต่เมื่อครั้งยังดำรงพระยศเป็นสมเด็จเจ้าฟ้ากรมหลวงอนุรักษ์เทเวศร์ ถือว่าเป็นพระราชนิเวศน์เดิมของพระองค์ท่าน พื้นที่ดังกล่าวนี้มีขอบเขตทางทิศเหนือจรดกำแพงเมืองธนบุรีเดิม ทางทิศใต้จรดฉางเกลือ วังหลังนี้เป็นกำลังสำคัญที่จะป้องกันพระนครทางทิศตะวันตกฝ่ายเหนือจากการรุกรานของข้าศึก ถัดจากวังหลังลงไปเป็นตำบลสวนมังคุด ซึ่งเป็นบ้านเดิมของสมเด็จเจ้าฟ้ากรมพระยาเทพสุดาวดี ต่อไปเป็นบ้านปูนและบ้านขมิ้นตามลำดับ ครั้นกรมพระราชวังหลังทิวงคตแล้ว วังก็ถูกแบ่งออกเป็นตอน ๆ ตอนพระมนเทียรสถานเดิม เจ้าครอกทองอยู่ ที่เรียกกันทั่วไปว่า "เจ้าครอกข้างใน" ประทับอยู่ ทางตอนใต้แบ่งออกเป็น 3 วัง คือ.

ดู ท่าวังหลังและท่าพรานนกและพระราชวังบวรสถานพิมุข

กรมเจ้าท่า

กรมเจ้าท่า (Marine Department; เคยใช้ชื่อ: กรมการขนส่งทางน้ำและพาณิชยนาวี) มีหน้าที่ดูแลพื้นน้ำและการเดินทางทางน้ำ มีสำนักงานตั้งอยู่ที่ 1278 ถนนโยธา แขวงตลาดน้อย เขตสัมพันธวงศ์ กรุงเทพมหานคร.

ดู ท่าวังหลังและท่าพรานนกและกรมเจ้าท่า

กระแสไฟฟ้า

วงจรไฟฟ้าอย่างง่าย โดยที่กระแสถูกแสดงด้วยอักษร ''i'' ความสัมพันธ์ระหว่างแรงดันไฟฟ้า (V), ตัวต้านทาน (R), และกระแส (I) คือ V.

ดู ท่าวังหลังและท่าพรานนกและกระแสไฟฟ้า

กรุงเทพมหานคร

กรุงเทพมหานคร เป็นเมืองหลวงและนครที่มีประชากรมากที่สุดของประเทศไทย เป็นศูนย์กลางการปกครอง การศึกษา การคมนาคมขนส่ง การเงินการธนาคาร การพาณิชย์ การสื่อสาร และความเจริญของประเทศ เป็นเมืองที่มีชื่อยาวที่สุดในโลก ตั้งอยู่บนสามเหลี่ยมปากแม่น้ำเจ้าพระยา มีแม่น้ำเจ้าพระยาไหลผ่านและแบ่งเมืองออกเป็น 2 ฝั่ง คือ ฝั่งพระนครและฝั่งธนบุรี กรุงเทพมหานครมีพื้นที่ทั้งหมด 1,568.737 ตร.กม.

ดู ท่าวังหลังและท่าพรานนกและกรุงเทพมหานคร

ภัทราวดีเธียเตอร์

ัทราวดีเธียเตอร์ เป็น โรงละครเอกชนและสถาบันสอนศิลปะการแสดง ตั้งอยู่ในซอยวัดระฆัง เขตบางกอกน้อย ริมฝั่งแม่น้ำเจ้าพระยา จัดตั้งโดย ภัทราวดี มีชูธน เมื่อปี..

ดู ท่าวังหลังและท่าพรานนกและภัทราวดีเธียเตอร์

รายชื่อเขตของกรุงเทพมหานคร

ต (district หรือ khet) เป็นชื่อเรียกหน่วยการปกครองทางมหาดไทย อยู่ระดับเดียวกับอำเภอซึ่งอยู่รองจากจังหวัด แต่ใช้เฉพาะในกรุงเทพมหานครซึ่งไม่มีสถานะเป็นจังหวัด ในแต่ละเขตแบ่งออกเป็นแขวง.

ดู ท่าวังหลังและท่าพรานนกและรายชื่อเขตของกรุงเทพมหานคร

รูปแบบเอกสารใช้ได้หลายระบบ

รูปแบบเอกสารใช้ได้หลายระบบ (portable document format (ย่อ: pdf)) คือ รูปแบบแฟ้มลักษณะหนึ่ง ที่พัฒนาโดยบริษัทอะโดบีซิสเต็มส์ สำหรับแสดงเอกสารที่สามารถใช้งานได้ในทุกระบบปฏิบัติการ และยังคงลักษณะเอกสารเหมือนต้นฉบับ เอกสารในรูปแบบนี้สามารถจัดเก็บ ตัวอักษร รูปภาพ รูปลายเส้น ในลักษณะเป็นหน้าหนังสือ ตั้งแต่ หนึ่งหน้า หรือหลายพันหน้าได้ในแฟ้มเดียวกัน รูปแบบเป็นมาตรฐานที่เปิดให้คนอื่นสามารถเขียนโปรแกรมมาทำงานร่วมกันได้ รูปแบบนี้ เหมาะสมสำหรับงานที่ต้องการให้แสดงผลลักษณะเดียวกับต้นฉบับ ซึ่งแตกต่างกับการใช้งานรูปแบบอื่น เช่น HTML เพราะการแสดงผลของ HTML จะขึ้นอยู่กับโปรแกรมเบราว์เซอร์และคอมพิวเตอร์ที่ใช้ และเพราะฉะนั้น จะแสดงผลต่างกัน ถ้าใช้ต่างกัน.

ดู ท่าวังหลังและท่าพรานนกและรูปแบบเอกสารใช้ได้หลายระบบ

รถไฟฟ้าบีทีเอส สายสีลม

รถไฟฟ้าเฉลิมพระเกียรติ 6 รอบพระชนมพรรษา สาย 2 หรือ รถไฟฟ้าบีทีเอส สายสีลม หรือ รถไฟฟ้าสายสีเขียวเข้ม เป็นส่วนหนึ่งของแผนแม่บทระบบขนส่งมวลชนทางราง ในกรุงเทพมหานครและปริมณฑล โดยจะครอบคลุมพื้นที่ทั้งฝั่งพระนคร และฝั่งธนบุรี กรุงเทพมหานคร เปิดให้บริการครั้งแรกในปี..

ดู ท่าวังหลังและท่าพรานนกและรถไฟฟ้าบีทีเอส สายสีลม

วัดระฆังโฆสิตารามวรมหาวิหาร

วัดระฆังโฆสิตารามวรมหาวิหาร หรือ วัดระฆัง, วัดหลวงพ่อโต ตั้งอยู่เลขที่ 250 แขวงศิริราช เขตบางกอกน้อย กรุงเทพมหานคร เป็นพระอารามหลวงชั้นโทชนิดวรมหาวิหาร อยู่ในเขตการปกครองคณะสงฆ์มหานิกายภาค 1 วัดแห่งนี้เป็นวัดโบราณ สร้างในสมัยอยุธยา เดิมชื่อ วัดบางว้าใหญ่ (หรือบางหว้าใหญ่) ในสมัยธนบุรี สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราชทรงสร้างพระราชวังใกล้วัดบางว้าใหญ่ โปรดเกล้าฯ ให้ยกเป็นพระอารามหลวงและเป็นที่ประทับของสมเด็จพระสังฆราช ในสมัยรัตนโกสินทร์ รัชสมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช วัดบางว้าใหญ่อยู่ในพระอุปถัมภ์ของเจ้านายวังหลัง คือสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้ากรมพระยาเทพสุดาวดี (สา) พระเชษฐภคินีของพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราชและเป็นพระชนนีของกรมพระราชวังบวรสถานพิมุข ทรงมีตำหนักที่ประทับอยู่ติดกับวัด ได้ทรงบูรณปฏิสังขรณ์วัดร่วมกับพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช และได้ขุดพบระฆังลูกหนึ่ง ซึ่งโปรดเกล้าฯ ให้นำไปไว้ที่วัดพระศรีรัตนศาสดาราม โดยทรงสร้างระฆังชดเชยให้วัดบางว้าใหญ่ 5 ลูก จากนั้นได้พระราชทานนามวัดใหม่ว่า “วัดระฆังโฆสิตาราม” นอกจากเป็นเพราะขุดพบระฆังที่วัดนี้และเพื่อฟื้นฟูแบบแผนครั้งกรุงศรีอยุธยาที่มีวัดชื่อวัดระฆังเช่นกัน ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว โปรดเกล้าฯ ให้เปลี่ยนชื่อ “วัดระฆังโฆสิตาราม” เป็น “วัดราชคัณฑิยาราม” (คัณฑิ แปลว่าระฆัง) แต่ไม่มีคนนิยมเรียกชื่อนี้ ยังคงเรียกว่าวัดระฆังต่อมา วัดระฆังโฆสิตารามมีหอพระไตรปิฎกซึ่งเป็นสถาปัตยกรรมที่สวยงามมาก เคยเป็นพระตำหนักและหอประทับนั่งของพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราชขณะทรงรับราชการในสมัยธนบุรี และโปรดเกล้าฯ ให้รื้อมาถวายวัด เมื่อเสด็จขึ้นครองราชสมบัติแล้ว มีพระราชประสงค์จะบูรณปฏิสังขรณ์ให้สวยงามเพื่อเป็นหอพระไตรปิฎก.

ดู ท่าวังหลังและท่าพรานนกและวัดระฆังโฆสิตารามวรมหาวิหาร

วัดอมรินทรารามวรวิหาร

วัดอมรินทรารามวรวิหาร หรือชื่อเดิมว่า วัดบางหว้าน้อย ตั้งอยู่เลขที่ 566 แขวงศิริราช เขตบางกอกน้อย กรุงเทพมหานคร เป็นพระอารามหลวงชั้นตรีชนิดราชวรวิหาร ต่อมาถูกจัดเป็นชั้นตรีชนิดวรวิหาร ตามประกาศลงวันที่ 30 กันยายน..

ดู ท่าวังหลังและท่าพรานนกและวัดอมรินทรารามวรวิหาร

ศาลฎีกา

ัญลักษณ์ของศาลฎีกา ศาลฎีกา เป็นศาลยุติธรรมชั้นสูงสุด มีเขตอำนาจทั่วทั้งราชอาณาจักร มีอำนาจพิจารณาพิพากษาบรรดาคดีที่อุทธรณ์คำพิพากษาหรือคำสั่งของศาลอุทธรณ์และศาลอุทธรณ์ภาค ภายใต้เงื่อนไขของกฎหมายว่าด้วยการฎีกา และมีอำนาจพิจารณาพิพากษาคดีที่อุทธรณ์คำพิพากษาหรือคำสั่งของศาลชั้นต้นโดยตรงต่อศาลฎีกาไม่ต้องผ่านศาลอุทธรณ์หรือศาลอุทธรณ์ภาคตามกฎหมายเฉพาะ เช่น คดีแรงงาน คดีภาษีอากร คดีทรัพย์สินทางปัญญาและการค้าระหว่างประเทศ คดีล้มละลายเกี่ยวกับการฟื้นฟูกิจการ เป็นต้น และคดีที่กฎหมายอื่นบัญญัติให้ศาลฎีกามีอำนาจพิจารณาพิพากษา รวมทั้งมีอำนาจวินิจฉัยชี้ขาดหรือสั่งคำร้องคำขอที่ยื่นต่อศาลฎีกาตามกฎหมาย (พระธรรมนูญศาลยุติธรรม มาตรา 23) คำสั่งหรือคำพิพากษาของศาลฎีกาเป็นที่สุด (พระธรรมนูญศาลยุติธรรม มาตรา 23).

ดู ท่าวังหลังและท่าพรานนกและศาลฎีกา

สมเด็จพระเจ้าหลานเธอ เจ้าฟ้าทองอิน กรมพระราชวังบวรสถานพิมุข

กรมพระราชวังบวรสถานพิมุข พระนามเดิม ทองอิน (28 มีนาคม พ.ศ. 2289 - 20 ธันวาคม พ.ศ. 2349) เป็นพระภาคิไนยในพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช และเป็นพระโอรสพระองค์ใหญ่ในสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าสา กรมพระยาเทพสุดาวดี กับพระอินทรรักษา (เสม).

ดู ท่าวังหลังและท่าพรานนกและสมเด็จพระเจ้าหลานเธอ เจ้าฟ้าทองอิน กรมพระราชวังบวรสถานพิมุข

สถานีรถไฟธนบุรี (เดิม)

นีรถไฟธนบุรี (เดิม) ภาพในปี พ.ศ. 2549 สถานีรถไฟธนบุรี (เดิม) (ภาพในอดีต เมื่อยังมีการเดินรถ) ดูเพิ่มที่ สถานีรถไฟธนบุรี (แก้ความกำกวม) สถานีรถไฟธนบุรี (เดิม) ตั้งอยู่ ณ แขวงศิริราช เขตบางกอกน้อย กรุงเทพมหานคร มีความสำคัญในฐานะเคยเป็นสถานีต้นทางแห่งแรกของรถไฟสายใต้ ตัวสถานีรถไฟได้รับการออกแบบโดย หม่อมเจ้าโวฒยากร วรวรรณ ซึ่งสร้างแล้วเสร็จในปี..

ดู ท่าวังหลังและท่าพรานนกและสถานีรถไฟธนบุรี (เดิม)

สถานีสะพานตากสิน

นีสะพานตากสิน เป็นสถานีรถไฟลอยฟ้า ในเส้นทางรถไฟฟ้าเฉลิมพระเกียรติ 6 รอบพระชนมพรรษา (รถไฟฟ้าบีทีเอส) สายสีลม ยกระดับระหว่างสะพานสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช 2 สะพานที่ขนานกัน และคร่อมบริเวณปากคลองสาทร ช่วงริมแม่น้ำเจ้าพระยาถึงจุดตัดถนนเจริญกรุง เป็นสถานีรถไฟฟ้าแห่งเดียวในกรุงเทพมหานครที่เชื่อมต่อกับการสัญจรทางเรือในแม่น้ำเจ้าพระยา ที่ท่าเรือสาทร (Central Pier) และยังเป็นที่ตั้งของศูนย์บริการนักท่องเที่ยวบีทีเอ.

ดู ท่าวังหลังและท่าพรานนกและสถานีสะพานตากสิน

สนุก.คอม

นุก.คอม (Sanook.com ตราสัญลักษณ์สะกดว่า Sanook!) เป็นเว็บท่าที่ได้รับความนิยมอันดับต้นๆ ของประเทศไทยมาโดยตลอดนับตั้งแต่เริ่มดำเนินการ เว็บไซต์ สนุก.คอม ก่อตั้งโดย ปรเมศวร์ มินศิริ เมื่อปี..

ดู ท่าวังหลังและท่าพรานนกและสนุก.คอม

ถนนวังหลัง

นนวังหลัง (Thanon Wang Lang) เป็นถนนสายสำคัญในพื้นที่เขตบางกอกน้อย ฝั่งธนบุรี กรุงเทพมหานคร เป็นถนนแอสฟัลต์ 4 ช่องจราจร ไม่มีเกาะกลาง ความยาวประมาณ 950 เมตร เขตถนนกว้าง 14.50 เมตร ผิวจราจรกว้าง 11.40 เมตร เริ่มต้นจากท่าเรือพรานนกและท่าเรือวังหลัง (ริมฝั่งแม่น้ำเจ้าพระยา ตรงข้ามท่าพระจันทร์) ตรงไปทางทิศตะวันตกในท้องที่แขวงศิริราช ตัดกับถนนอรุณอมรินทร์ที่ทางแยกศิริราช จากนั้นข้ามคลองบ้านขมิ้น ตั้งแต่จุดนี้ถือเป็นเส้นแบ่งเขตการปกครองระหว่างแขวงศิริราชทางฟากเหนือกับแขวงบ้านช่างหล่อทางฟากใต้ของถนน ตรงไปทางทิศเดิมจนกระทั่งสิ้นสุดถนนที่ทางแยกพรานนก โดยมีแนวถนนตรงต่อเนื่องไปเป็นถนนพรานนก.

ดู ท่าวังหลังและท่าพรานนกและถนนวังหลัง

ท่าช้างวังหลวง

ท่าช้างวังหลวง หรือที่นิยมเรียกกันสั้น ๆ ว่า ท่าช้าง เป็นท่าเรือริมฝั่งแม่น้ำเจ้าพระยา ตั้งอยู่บริเวณสุดถนนหน้าพระลาน แขวงพระบรมมหาราชวัง เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร.

ดู ท่าวังหลังและท่าพรานนกและท่าช้างวังหลวง

ท่าพระจันทร์

ท่าพระจันทร์ในยุคปัจจุบัน ท่าพระจันทร์ เป็นท่าเรือริมฝั่งแม่น้ำเจ้าพระยา ตั้งอยู่บริเวณสุดถนนพระจันทร์ ข้างมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ แขวงพระบรมมหาราชวัง เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร ให้บริการเฉพาะเรือข้ามฟากในเส้นทางท่าพระจันทร์-วังหลัง และท่าพระจันทร์-พระปิ่นเกล้า บริเวณท่าเรือแห่งนี้เคยเป็นที่ตั้งของป้อมพระจันทร์ ซึ่งเป็นป้อมแห่งหนึ่งที่พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราชโปรดเกล้าฯ ให้สร้างขึ้นตามแนวกำแพงพระนครด้านตะวันตก ต่อมาในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวโปรดเกล้าฯ ให้ใช้บริเวณพระราชวังบวรสถานมงคลเป็นท้องสนามหลวง ถนนหน้าพระธาตุ ป้อมต่าง ๆ รอบกำแพงพระราชวังบวรสถานมงคลถูกรื้อลงหมดรวมถึงป้อมพระจันทร์ด้วย ถนนที่ตัดตรงสู่บริเวณที่เคยเป็นที่ตั้งของป้อมพระจันทร์จึงมีชื่อว่า "ถนนพระจันทร์" และท่าน้ำในบริเวณที่เคยเป็นที่ตั้งของป้อมพระจันทร์จึงเรียกว่า "ท่าพระจันทร์" มาจนถึงปัจจุบัน ใช้เป็นท่าเรือโดยสารซึ่งมีบริษัทเอกชนเป็นผู้ดำเนินกิจการเดินเรือข้ามฟากที่ประมูลมาจากกรุงเทพมหานคร ปัจจุบัน บริเวณท่าพระจันทร์เป็นแหล่งการค้าที่คึกคักมาก โดยเฉพาะในช่วงเวลาเย็น โดยเป็นที่รู้จักกันดีของการเป็นตลาดพระเครื่องและวัตถุมงคลต่าง ๆ รวมถึงร้านค้า, ร้านอาหาร, ร้านหนังสือต่าง ๆ อีกด้ว.

ดู ท่าวังหลังและท่าพรานนกและท่าพระจันทร์

ท่าสาทร

ท่าสาทร ท่าสาทร หรือ ท่าสะพานตากสิน เป็นท่าน้ำริมฝั่งแม่น้ำเจ้าพระยาฝั่งตะวันออก หรือฝั่งพระนคร ใต้สะพานสมเด็จพระเจ้าตากสิน บริเวณปลายถนนสาทรและปากคลองสาทรทั้งสองฝั่ง ในพื้นที่แขวงสีลม เขตบางรัก และแขวงยานนาวา เขตสาทร กรุงเทพมหานคร ประกอบด้วยท่าเรือด่วนเจ้าพระยา และท่าเรือข้ามฟาก.

ดู ท่าวังหลังและท่าพรานนกและท่าสาทร

ท่าน้ำนนทบุรี

ท่าน้ำนนทบุรี หรือ ท่าน้ำนนท์ หรือ ท่าน้ำพิบูลสงคราม 3 เป็นท่าน้ำริมแม่น้ำเจ้าพระยาหลายท่าใกล้เคียงกัน ตั้งอยู่บริเวณหน้าศาลากลางจังหวัดนนทบุรีหลังเก่าและหอนาฬิกาจังหวัดนนทบุรี ถนนประชาราษฎร์ เขตเทศบาลนครนนทบุรี จังหวัดนนทบุรี ประกอบด้วยท่าเรือด่วนเจ้าพระยาและท่าเรือข้ามฟาก.

ดู ท่าวังหลังและท่าพรานนกและท่าน้ำนนทบุรี

ท่าเรือปากเกร็ด

ท่าเรือปากเกร็ด ในปี พ.ศ. 2551 ท่าเรือปากเกร็ด หรือ ท่าน้ำแจ้งวัฒนะ หรือ ท่าน้ำสะพานพระราม 4 เป็นท่าน้ำริมแม่น้ำเจ้าพระยาหลายท่าใกล้เคียงกัน บริเวณด้านล่างสะพานพระราม 4 ถนนแจ้งวัฒนะ เขตเทศบาลนครปากเกร็ด จังหวัดนนทบุรี ประกอบด้วยท่าเรือด่วนเจ้าพระยา และท่าเรือข้ามฟาก.

ดู ท่าวังหลังและท่าพรานนกและท่าเรือปากเกร็ด

คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล

ณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล เป็นคณะพยาบาลแห่งแรกของไทย กำเนิดมาจาก โรงเรียนแพทย์ผดุงครรภ์และหญิงพยาบาล ในยุคโรงเรียนราชแพทยาลัย นับได้ว่าเป็นคณะพยาบาลที่วางรากฐานด้านการพยาบาลที่ยอดเยี่ยมของไท.

ดู ท่าวังหลังและท่าพรานนกและคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล

คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล

ณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล นับได้ว่าเป็นคณะที่มีอายุเก่าแก่ที่สุดของประเทศไทย โดยมีต้นกำเนิดมาจากโรงเรียนแพทยากร และพัฒนามาจนกระทั่งเป็น คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล ปัจจุบันคณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล มีอายุ 128 ปี มีแพทย์สำเร็จการศึกษาทั้งหมด 121 รุ่น นักศึกษาแพทย์ปีการศึกษา 2560 นี้นับเป็นรุ่นที่ 128.

ดู ท่าวังหลังและท่าพรานนกและคณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล

คณะเทคนิคการแพทย์ มหาวิทยาลัยมหิดล

อาคารคณะเทคนิคการแพทย์ มหาวิทยาลัยมหิดล คณะเทคนิคการแพทย์ มหาวิทยาลัยมหิดล เป็นคณะเทคนิคการแพทย์คณะแรกของประเทศไทยและเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เปิดสอนในหลักสูตรเทคนิคการแพทย์และรังสีเทคนิค ทั้งในระดับปริญญาตรี โท และเอก ด้วยความสำนึกในพระมหากรุณาธิคุณที่มีต่อวงการเทคนิคการแพทย์ และคณะเทคนิคการแพทย์ มหาวิทยาลัยมหิดล ในปีการศึกษา 2544 มหาวิทยาลัยมหิดล ได้ทูลเกล้าฯ ถวายปริญญาวิทยาศาสตรดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ (เทคนิคการแพทย์) แด่ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวและ ในปีการศึกษา 2545 ทูลเกล้าฯ ถวายปริญญาวิทยาศาสตรดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ (เทคนิคการแพทย์) แด่ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ยังความปลาบปลื้มมาสู่คณาจารย์ และนักศึกษาคณะเทคนิคการแพทย์อย่างมาก.

ดู ท่าวังหลังและท่าพรานนกและคณะเทคนิคการแพทย์ มหาวิทยาลัยมหิดล

แม่น้ำเจ้าพระยา

แม่น้ำเจ้าพระยา เป็นแม่น้ำสายหลักสายหนึ่งของประเทศไทย เกิดจากการรวมตัวของแม่น้ำสายหลัก 2 สายจากภาคเหนือ คือแม่น้ำปิงและแม่น้ำน่าน ที่ตำบลปากน้ำโพ อำเภอเมืองนครสวรรค์ จังหวัดนครสวรรค์ จากนั้นไหลลงไปทางทิศใต้ ผ่านจังหวัดอุทัยธานี ชัยนาท สิงห์บุรี อ่างทอง พระนครศรีอยุธยา ปทุมธานี นนทบุรี และกรุงเทพมหานคร ก่อนออกสู่อ่าวไทยที่ปากน้ำ ซึ่งอยู่ระหว่างเขตตำบลท้ายบ้าน ตำบลบางปูใหม่ อำเภอเมืองสมุทรปราการ และตำบลแหลมฟ้าผ่า อำเภอพระสมุทรเจดีย์ จังหวัดสมุทรปราการ.

ดู ท่าวังหลังและท่าพรานนกและแม่น้ำเจ้าพระยา

โรงพยาบาลศิริราช

รงพยาบาลศิริราช เป็นโรงพยาบาลมหาวิทยาลัย สังกัดคณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล เป็นโรงพยาบาลแห่งแรกของ ประเทศไทย ตั้งอยู่เลขที่ 2 ถนนวังหลัง แขวงศิริราช เขตบางกอกน้อย กรุงเทพมหานคร ริมฝั่ง แม่น้ำเจ้าพระยา ตรงข้ามกับ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (ท่าพระจันทร์) เคยเป็นที่ประทับรักษาพระประชวรของ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช และ สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ ตลอดจนพระบรมวงศานุวงศ์หลายพระองค์ เช่น พระนางเจ้าสุวัทนา พระวรราชเทวี สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี สมเด็จพระเจ้าภคินีเธอ เจ้าฟ้าเพชรรัตนราชสุดา สิริโสภาพัณณวดี สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร.

ดู ท่าวังหลังและท่าพรานนกและโรงพยาบาลศิริราช

โรงพยาบาลศิริราช ปิยมหาราชการุณย์

รงพยาบาลศิริราช ปิยมหาราชการุณย์ เป็นโรงพยาบาลของรัฐ สังกัดคณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล ตั้งอยู่ เลขที่ 2 ถนนวังหลัง แขวงศิริราช เขตบางกอกน้อย กรุงเทพมหานคร ริมฝั่งแม่น้ำเจ้าพระยา ตรงข้ามกับมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (ท่าพระจันทร์).

ดู ท่าวังหลังและท่าพรานนกและโรงพยาบาลศิริราช ปิยมหาราชการุณย์

ไทยรัฐ

ทยรัฐ (Thai Rath) เป็นหนังสือพิมพ์รายวันภาษาไทย นำเสนอข่าวทั่วไป ที่มียอดจำหน่ายมากที่สุดในประเทศไทย จากการสำรวจเมื่อปี พ.ศ.

ดู ท่าวังหลังและท่าพรานนกและไทยรัฐ

เรือด่วนเจ้าพระยา

รือด่วนเจ้าพระยา เป็นเรือโดยสารในแม่น้ำเจ้าพระยา ให้บริการในเส้นทางอำเภอปากเกร็ด-ท่าน้ำนนทบุรี-สาทร-วัดราชสิงขร-ราษฎร์บูรณะ โดยบริษัท เรือด่วนเจ้าพระยา จำกั.

ดู ท่าวังหลังและท่าพรานนกและเรือด่วนเจ้าพระยา

เขตบางกอกน้อย

ตบางกอกน้อย เป็น 1 ใน 50 เขตการปกครองของกรุงเทพมหานคร อยู่ในกลุ่มเขตกรุงธนเหนือ ซึ่งถือเป็นเขตอนุรักษ์เมืองเก่า แหล่งท่องเที่ยวเชิงประวัติศาสตร์และศิลปวัฒนธรรมทางฝั่งธนบุรี โดยมีคำขวัญประจำเขตว่า "สมเด็จโตวัดระฆัง วังหลังตั้งอยู่ อู่เรือพระราชพิธี สถานีรถไฟ คลองใหญ่มีชื่อ เลื่องลือเครื่องลงหิน นามระบิลช่างหล่อ งามลออวัดวา".

ดู ท่าวังหลังและท่าพรานนกและเขตบางกอกน้อย

14 มิถุนายน

วันที่ 14 มิถุนายน เป็นวันที่ 165 ของปี (วันที่ 166 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 200 วันในปีนั้น.

ดู ท่าวังหลังและท่าพรานนกและ14 มิถุนายน

19 กุมภาพันธ์

วันที่ 19 กุมภาพันธ์ เป็นวันที่ 50 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 315 วันในปีนั้น (316 วันในปีอธิกสุรทิน).

ดู ท่าวังหลังและท่าพรานนกและ19 กุมภาพันธ์

หรือที่รู้จักกันในชื่อ ท่าวังหลังท่าวังหลัง (ศิริราช)ท่าวังหลัง/ท่าพรานนกท่าพรานนกท่าน้ำวังหลังเหตุการณ์โป๊ะล่มที่ท่าพรานนก พ.ศ. 2538