สารบัญ
16 ความสัมพันธ์: พ.ศ. 2532พ.ศ. 2534กรุงเทพกรุงเทพมหานครรถโดยสารประจำทางรถไฟฟ้ามหานครสถาบันอุดมศึกษาเอกชนสถานีศูนย์การประชุมแห่งชาติสิริกิติ์องค์การขนส่งมวลชนกรุงเทพถนนรัชดาภิเษกงานสัปดาห์หนังสือแห่งชาติตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยประเทศไทยนางสาวไทยนางงามจักรวาลเขตคลองเตย
- ศูนย์ประชุมและศูนย์แสดงสินค้าในประเทศไทย
- สถานที่ท่องเที่ยวในกรุงเทพมหานคร
- สิ่งก่อสร้างในกรุงเทพมหานคร
- เขตคลองเตย
พ.ศ. 2532
ทธศักราช 2532 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1989 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.
ดู ศูนย์การประชุมแห่งชาติสิริกิติ์และพ.ศ. 2532
พ.ศ. 2534
ทธศักราช 2534 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1991 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคารตามปฏิทินเกรกอเรียน.
ดู ศูนย์การประชุมแห่งชาติสิริกิติ์และพ.ศ. 2534
กรุงเทพ
กรุงเทพ อาจหมายถึง; ดินแดนและการปกครอง.
ดู ศูนย์การประชุมแห่งชาติสิริกิติ์และกรุงเทพ
กรุงเทพมหานคร
กรุงเทพมหานคร เป็นเมืองหลวงและนครที่มีประชากรมากที่สุดของประเทศไทย เป็นศูนย์กลางการปกครอง การศึกษา การคมนาคมขนส่ง การเงินการธนาคาร การพาณิชย์ การสื่อสาร และความเจริญของประเทศ เป็นเมืองที่มีชื่อยาวที่สุดในโลก ตั้งอยู่บนสามเหลี่ยมปากแม่น้ำเจ้าพระยา มีแม่น้ำเจ้าพระยาไหลผ่านและแบ่งเมืองออกเป็น 2 ฝั่ง คือ ฝั่งพระนครและฝั่งธนบุรี กรุงเทพมหานครมีพื้นที่ทั้งหมด 1,568.737 ตร.กม.
ดู ศูนย์การประชุมแห่งชาติสิริกิติ์และกรุงเทพมหานคร
รถโดยสารประจำทาง
รถโดยสารประจำทางในกรุงเทพมหานคร Benz-Omnibus, 1896 รถโดยสารประจำทาง หรือที่นิยมเรียกกันว่า รถเมล์ เป็นระบบขนส่งมวลชนระบบหนึ่งที่ให้บริการบนถนน โดยมีลักษณะเป็นรถขนาดใหญ่ที่บรรทุกผู้โดยสารเป็นจำนวนมาก โดยกำหนดเส้นทาง และส่วนใหญ่เรียกชื่อเส้นทางเป็นตัวเลข เช่น สาย1 สาย 2 และมีเก็บค่าโดยสารโดยวิธีต่างๆกันไป จำนวนผู้โดยสารบนรถเมล์จะแตกต่างกันขึ้นอยู่กับขนาดของรถ ตัวอย่างเช่นในประเทศเยอรมันมีรถเมล์ที่ยาวที่สุดในโลกบรรจุผู้โดยสารได้กว่า 200 คน รถโดยสารประจำทางมีเรียกกันหลายชื่อในประเทศไทยเช่น รถเมล์ รถทัวร์ รถสองแถว รถสองแถวใหญ่ หรือ รถสองแถวเล็ก หรือเรียกชื่อเฉพาะตามพื้นที่ เช่น รถสี่ล้อแดง เป็นชื่อเรียกทั้งรถโดยสารและรถรับจ้างในจังหวัดเชียงใหม.
ดู ศูนย์การประชุมแห่งชาติสิริกิติ์และรถโดยสารประจำทาง
รถไฟฟ้ามหานคร
รถไฟฟ้ามหานคร (Metropolitan Rapid Transit, MRT) เป็นระบบรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนในกรุงเทพมหานครและปริมณฑล ที่ดำเนินการโดยการรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนแห่งประเทศไทย (รฟม.) เป็นส่วนหนึ่งของโครงข่ายระบบขนส่งมวลชนทางราง ในกรุงเทพมหานครและปริมณฑลนอกเหนือไปจากระบบรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนอื่น ได้แก่ ระบบขนส่งมวลชนกรุงเทพมหานคร (รถไฟฟ้าบีทีเอส) ของกรุงเทพมหานคร (กทม.) และโครงการระบบรถไฟชานเมือง (สายสีแดง) ของการรถไฟแห่งประเทศไทย (รฟท.) รถไฟฟ้ามหานครที่เปิดให้บริการแล้วในปัจจุบันได้แก่ รถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคล และสายฉลองรัชธรรม.
ดู ศูนย์การประชุมแห่งชาติสิริกิติ์และรถไฟฟ้ามหานคร
สถาบันอุดมศึกษาเอกชน
ันอุดมศึกษาเอกชน คือ สถาบันอุดมศึกษาที่เปิดทำการเรียนการสอนภายใต้การบริหารของหน่วยงานเอกชน ในประเทศไทย สถาบันอุดมศึกษาเอกชนอยู่ภายใต้การควบคุมดูแลของสำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา ซึ่งมีวัตถุประสงค์ในการจัดการศึกษา การวิจัย ให้บริการทางวิชาการแก่สังคม และทำนุบำรุง ศิลปวัฒนธรรม โดยหลักสูตรที่ได้รับอนุญาตให้เปิดสอนนั้น หลังจากได้รับการรับรองจากสำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษาแล้ว จะส่งหลักสูตรดังกล่าวให้สำนักงานคณะกรรมการข้าราชการพลเรือนพิจารณารับรองคุณวุฒิ เพื่อให้ผู้สำเร็จการศึกษาสามารถบรรจุเข้ารับราชการในอัตราเงินเดือนเทียบเท่ากับสถาบันอุดมศึกษาของรั.
ดู ศูนย์การประชุมแห่งชาติสิริกิติ์และสถาบันอุดมศึกษาเอกชน
สถานีศูนย์การประชุมแห่งชาติสิริกิติ์
นีศูนย์การประชุมแห่งชาติสิริกิติ์ (รหัส SRI) หรือสถานีศูนย์ฯ สิริกิติ์ เป็นสถานีรถไฟฟ้าใต้ดิน ในเส้นทางรถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคล ที่ถนนรัชดาภิเษก-พระรามที่ 4 กรุงเทพมหานคร บริเวณด้านหน้าศูนย์การประชุมแห่งชาติสิริกิติ์ มีทำเลอยู่ใจกลางย่านธุรกิจ ใกล้กับตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย, สวนเบญจกิติ และตลาดคลองเต.
ดู ศูนย์การประชุมแห่งชาติสิริกิติ์และสถานีศูนย์การประชุมแห่งชาติสิริกิติ์
องค์การขนส่งมวลชนกรุงเทพ
องค์การขนส่งมวลชนกรุงเทพ (ชื่อย่อ: ขสมก; Bangkok Mass Transit Authority, BMTA) เป็นหน่วยงานรัฐวิสาหกิจประเภทสาธารณูปโภค สังกัดกระทรวงคมนาคม จัดตั้งขึ้นตามพระราชกฤษฎีกาจัดตั้งองค์การขนส่งมวลชนกรุงเทพ พุทธศักราช 2519 (ประกาศใช้เมื่อวันที่ 19 ตุลาคม) มีหน้าที่จัดบริการรถโดยสารประจำทางเพื่อรับส่งประชาชนในเขตกรุงเทพมหานคร จังหวัดนนทบุรี จังหวัดปทุมธานี จังหวัดนครปฐม จังหวัดสมุทรสาคร และจังหวัดสมุทรปราการ รวม 108 เส้นทาง มีจำนวนรถประจำทาง (bus) ทั้งสิ้น 3,509 คัน (สถิติเมื่อเดือนกันยายน พ.ศ.
ดู ศูนย์การประชุมแห่งชาติสิริกิติ์และองค์การขนส่งมวลชนกรุงเทพ
ถนนรัชดาภิเษก
นนรัชดาภิเษก (Thanon Ratchadaphisek) เป็นถนนวงแหวนรอบในของกรุงเทพมหานคร เริ่มจากสะพานข้ามคลองบางกอกใหญ่ ผ่านสะพานกรุงเทพ ตัดผ่านถนนพระรามที่ 3 ถนนสุขุมวิท ถนนเพชรบุรี ถนนพระราม 9 ถนนลาดพร้าว ถนนวิภาวดีรังสิต ถนนประชาชื่น ถนนกรุงเทพฯ-นนทบุรี ข้ามสะพานพระราม 7 เข้าเขตอำเภอบางกรวย จังหวัดนนทบุรี ตัดกับถนนบางกรวย-ไทรน้อย ลอดใต้สะพานพระราม 6 เข้าเขตกรุงเทพมหานคร รวมกับถนนจรัญสนิทวงศ์ และมาบรรจบที่ทางแยกท่าพร.
ดู ศูนย์การประชุมแห่งชาติสิริกิติ์และถนนรัชดาภิเษก
งานสัปดาห์หนังสือแห่งชาติ
ัญลักษณ์ประจำงานสัปดาห์หนังสือแห่งชาติ งานสัปดาห์หนังสือแห่งชาติ (Thai National Book Fair) เป็นงานจำหน่ายหนังสือและสื่อการศึกษา ที่มีบริษัทผู้ผลิตหนังสือ สำนักพิมพ์และร้านหนังสือ ร่วมออกร้านมากที่สุดในประเทศไทย ตามปกติจะจัดขึ้นในราวปลายเดือนมีนาคม ถึงต้นเดือนเมษายนของทุกปี.
ดู ศูนย์การประชุมแห่งชาติสิริกิติ์และงานสัปดาห์หนังสือแห่งชาติ
ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย
ปลี่ยนแปลงจากปีก่อน: +198.96 จุด (+%) |- ! colspan.
ดู ศูนย์การประชุมแห่งชาติสิริกิติ์และตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย
ประเทศไทย
ประเทศไทย มีชื่ออย่างเป็นทางราชการว่า ราชอาณาจักรไทย เป็นรัฐชาติอันตั้งอยู่ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เดิมมีชื่อว่า "สยาม" รัฐบาลประกาศเปลี่ยนชื่อเป็นประเทศไทยอย่างเป็นทางการตั้งแต่ปี 2482 ประเทศไทยมีขนาดใหญ่เป็นอันดับที่ 50 ของโลก มีเนื้อที่ 513,115 ตารางกิโลเมตร และมีประชากรมากเป็นอันดับที่ 20 ของโลก คือ ประมาณ 66 ล้านคน กรุงเทพมหานครเป็นศูนย์กลางการบริหารราชการแผ่นดินและนครใหญ่สุดของประเทศ และการปกครองส่วนภูมิภาค จัดระเบียบเป็น 76 จังหวัด แม้จะมีการสถาปนาระบอบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญและประชาธิปไตยระบบรัฐสภาในปี 2475 แต่กองทัพยังมีบทบาทในการเมืองไทยสูง ล่าสุด เกิดรัฐประหารเมื่อวันที่ 22 พฤษภาคม 2557 และมีการปกครองแบบเผด็จการทหารนับแต่นั้น พบหลักฐานการอยู่อาศัยอย่างต่อเนื่องในอาณาเขตประเทศไทยปัจจุบันตั้งแต่ 20,000 ปีก่อนคริสตกาล ชาวไทเริ่มอพยพเข้าสู่บริเวณนี้ในคริสต์ศตวรรษที่ 11 แล้วเข้ามาตั้งแว่นแคว้นต่าง ๆ ที่สำคัญได้แก่ อาณาจักรสุโขทัย อาณาจักรล้านนาและอาณาจักรอยุธยา นักประวัติศาสตร์มักถือว่าอาณาจักรสุโขทัยเป็นจุดเริ่มต้นของประวัติศาสตร์ไทย ต่อมาอาณาจักรอยุธยาค่อย ๆ เรืองอำนาจมากขึ้นจนเป็นมหาอำนาจในภูมิภาคในปลายคริสต์ศตวรรษที่ 14 การติดต่อกับชาติตะวันตกเริ่มด้วยผู้แทนทางทูตชาวโปรตุเกสในปี 2054 อาณาจักรรุ่งเรืองอย่างมากในรัชกาลสมเด็จพระนารายณ์มหาราช (ครองราชย์ปี 2199–2231) แต่หลังจากนั้นค่อย ๆ เสื่อมอำนาจโดยมีสาเหตุส่วนหนึ่งจากการผลัดแผ่นดินที่มีการนองเลือดหลายรัชกาล จนสุดท้ายกรุงศรีอยุธยาถูกทำลายสิ้นเชิงในปี 2310 สมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรีทรงรวบรวมแผ่นดินที่แตกออกเป็นก๊กต่าง ๆ และสถาปนาอาณาจักรธนบุรีที่มีอายุ 15 ปี ความวุ่นวายในช่วงปลายอาณาจักรนำไปสู่การสำเร็จโทษพระองค์โดยพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช ปฐมราชวงศ์จักรีแห่งกรุงรัตนโกสินทร์ ช่วงต้นกรุงรัตนโกสินทร์ ประเทศเผชิญภัยคุกคามจากชาติใกล้เคียง แต่หลังรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวเป็นต้นมา ชาติตะวันตกเริ่มมีอิทธิพลในภูมิภาคเป็นอย่างมาก นำไปสู่การเข้าเป็นภาคีแห่งสนธิสัญญาไม่เป็นธรรมหลายฉบับ กระนั้น สยามไม่ตกเป็นอาณานิคมของตะวันตกชาติใด มีการปรับให้สยามทันสมัยและรวมอำนาจปกครองในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (ครองราชย์ปี 2411–53) สยามเข้าร่วมกับฝ่ายสัมพันธมิตรในสงครามโลกครั้งที่หนึ่งในปี 2460; ในปี 2475 เกิดการปฏิวัติเปลี่ยนแปลงการปกครองสู่ระบอบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญโดยไม่เสียเลือดเนื้อ คณะราษฎรมีบทบาทนำทางการเมือง และในพุทธทศวรรษ 2480 นายกรัฐมนตรี จอมพล แปลก พิบูลสงคราม ดำเนินนโยบายชาตินิยมเข้มข้น ระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง ไทยเข้ากับฝ่ายอักษะ แต่ฝ่ายสัมพันธมิตรส่วนใหญ่ไม่ยอมรับการประกาศสงคราม ในช่วงสงครามเย็น ประเทศไทยเป็นพันธมิตรกับสหรัฐซึ่งสนับสนุนรัฐบาลทหารมาก รัฐประหารที่มีจอมพล สฤษดิ์ ธนะรัชต์เป็นหัวหน้าคณะในปี 2500 ทำให้คณะราษฎรหมดอำนาจ รัฐบาลฟื้นฟูพระราชอำนาจและมีมาตรการต่อต้านคอมมิวนิสต์ในภูมิภาค ผลของเหตุการณ์ 14 ตุลา 2516 ทำให้เกิดประชาธิปไตยระบบรัฐสภาช่วงสั้น ๆ ประเทศไทยมีนายกรัฐมนตรีจากการเลือกตั้งครั้งแรกในปี 2531 หลังพุทธทศวรรษ 2540 มีวิกฤตการเมืองระหว่างฝ่ายที่สนับสนุนและต่อต้านอดีตนายกรัฐมนตรีทักษิณ ชินวัตรมาจนปัจจุบัน รวมทั้งเกิดรัฐประหารสองครั้ง โดยครั้งล่าสุดเกิดในปี 2557 รัฐธรรมนูญฉบับปัจจุบันเป็นฉบับที่ 20 ประกาศใช้เมื่อวันที่ 6 เมษายน 2560 หลังมีการลงประชามติรับร่างเมื่อหนึ่งปีก่อน ประเทศไทยเป็นสมาชิกสหประชาชาติ เอเปก อีกทั้งเป็นร่วมผู้ก่อตั้งอาเซียน ประเทศไทยเป็นพันธมิตรของสหรัฐตั้งแต่สนธิสัญญาซีโต้ในปี 2497 ถือเป็นประเทศอำนาจนำภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และประเทศอำนาจปานกลางในเวทีโลก ประเทศไทยเป็นประเทศที่มีรายได้ปานกลาง-สูงและประเทศอุตสาหกรรมใหม่ มีรายได้หลักจากภาคอุตสาหกรรมและบริการ การเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจทำให้มีการอพยพเข้าสู่เมืองในคริสต์ศตวรรษที่ 20 ตามประมาณการในปี 2560 จีดีพีของประเทศไทยมีมูลค่าราว 432,898 ล้านดอลลาร์สหรัฐ นับว่าเศรษฐกิจไทยเป็นเศรษฐกิจใหญ่สุดเป็นอันดับ 2 ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และใหญ่เป็นอันดับที่ 26 ของโลก.
ดู ศูนย์การประชุมแห่งชาติสิริกิติ์และประเทศไทย
นางสาวไทย
นางสาวไทย เป็นการประกวดนางงามรายการที่ 2 ของประเทศไทย ต่อจากนางสาวสยาม โดยในยุคแรกจัดขึ้นเป็นส่วนหนึ่งของกิจกรรมส่งเสริมงานฉลองรัฐธรรมนูญ ต่อมาจัดขึ้นเพื่อส่งผู้ชนะเลิศเป็นผู้แทนประเทศไทย ไปประกวดนางงามจักรวาล และในปัจจุบันจัดขึ้นเพื่อให้เป็นทูตวัฒนธรรมและการท่องเที่ยว.
ดู ศูนย์การประชุมแห่งชาติสิริกิติ์และนางสาวไทย
นางงามจักรวาล
การประกวดนางงามจักรวาล (Miss Universe) เป็นการประกวดความงามประจำปี เริ่มจัดขึ้นเมื่อ พ.ศ. 2495 โดยแปซิฟิกมิลส์ (Pacific Mills) บริษัทเสื้อผ้าจากแคลิฟอร์เนีย และหลังจากนั้นได้บริหารงานโดย เคย์เซอร์-รอธ (Kayser-Roth) และตามด้วย กัล์ฟแอนด์เวสเทิร์นอินดัสทรีซ์ (Gulf and Western Industries) จนกระทั่งปี พ.ศ.
ดู ศูนย์การประชุมแห่งชาติสิริกิติ์และนางงามจักรวาล
เขตคลองเตย
ตลาดคลองเตย เขตคลองเตย เป็น 1 ใน 50 เขตการปกครองของกรุงเทพมหานคร อยู่ในกลุ่มเขตเจ้าพระยา ซึ่งถือเป็นเขตเศรษฐกิจใหม่และการพัฒนาตามแนววงแหวนอุตสาหกรรม.
ดู ศูนย์การประชุมแห่งชาติสิริกิติ์และเขตคลองเตย
ดูเพิ่มเติม
ศูนย์ประชุมและศูนย์แสดงสินค้าในประเทศไทย
- ศูนย์การประชุมแห่งชาติสิริกิติ์
- ศูนย์ประชุมและแสดงสินค้านานาชาติเชียงใหม่
- ศูนย์วัฒนธรรมแห่งประเทศไทย
- ศูนย์แสดงสินค้าและการประชุม อิมแพ็ค เมืองทองธานี
- หอประชุมกองทัพเรือ
สถานที่ท่องเที่ยวในกรุงเทพมหานคร
- คลองชักพระ
- คลองบางกอกน้อย
- คลองบางกอกใหญ่
- คลองมอญ
- ซอยคาวบอย
- ซาฟารีเวิลด์
- ถนนข้าวสาร
- ถนนพัฒน์พงศ์
- ถนนรามบุตรี
- ถนนอุทยาน
- บางกอก ซี ไลฟ์ โอเชียนเวิลด์
- บางลำพู
- พระที่นั่งวิมานเมฆ
- พระพุทธมหาสุวรรณปฏิมากร
- พระราชวังดุสิต
- มัสยิดบางหลวง
- ลานพระราชวังดุสิต
- ล้ง 1919
- วงเวียนโอเดียน
- วงเวียนใหญ่
- วังสวนผักกาด
- วัดสระเกศราชวรมหาวิหาร
- วัดสุวรรณารามราชวรวิหาร
- ศาลท้าวมหาพรหม โรงแรมเอราวัณ
- ศูนย์การประชุมแห่งชาติสิริกิติ์
- สถานแสดงพันธุ์สัตว์น้ำจืดกรุงเทพมหานคร
- สยามนิรมิต
- อนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ
- อนุสาวรีย์ประชาธิปไตย
- อาคารใบหยก 2
- อาร์ซีเอ (สถานบันเทิง)
- อาสนวิหารอัสสัมชัญ
- เสาชิงช้า
- แขวงตลาดน้อย
- แดนเนรมิต
สิ่งก่อสร้างในกรุงเทพมหานคร
- กำแพงเมืองและป้อมปราการกรุงเทพมหานคร
- จัตุรัสจามจุรี
- ซาฟารีเวิลด์
- ซีคอนบางแค
- ดิโอลด์สยามพลาซ่า
- ตลาดธนบุรี
- ตลาดนัดจตุจักร
- ตลาดบางแค
- ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย
- ตึกหุ่นยนต์
- ทำเนียบรัฐบาลไทย
- ท่าวังหลังและท่าพรานนก
- ท่าสาทร
- ท่าอากาศยานดอนเมือง
- บางกอก ซี ไลฟ์ โอเชียนเวิลด์
- บ้านพิษณุโลก
- บ้านสาทร
- บ้านหวั่งหลี
- พระตำหนักจิตรลดารโหฐาน
- พระที่นั่งวิมานเมฆ
- พระที่นั่งอนันตสมาคม
- รายชื่อตลาดในกรุงเทพมหานคร
- ร้านเจ๊ไฝ
- วงเวียน 22 กรกฎาคม
- วงเวียนโอเดียน
- วงเวียนใหญ่
- วังปารุสกวัน
- วัน แบงค็อก
- ศาลเจ้าพ่อเสือ
- ศาลเจ้าเกียนอันเกง
- ศาลเจ้าเล่งบ๊วยเอี๊ยะ
- ศุลกสถาน
- ศูนย์การประชุมแห่งชาติสิริกิติ์
- สถานีรถไฟชุมทางบางซื่อ
- สถานีสามเสน
- สถานแสดงพันธุ์สัตว์น้ำจืดกรุงเทพมหานคร
- สวนสัตว์ดุสิต
- สำนักหอสมุดแห่งชาติ
- สุสานหลวง วัดราชบพิธสถิตมหาสีมารามราชวรวิหาร
- หอกลอง
- หอประชุมกองทัพเรือ
- ห้างไนติงเกล
- อนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ
- อนุสาวรีย์ประชาธิปไตย
- เซ็นทรัล ชิดลม
- เสาชิงช้า
- แฮปปี้แลนด์
- โรงพยาบาลเทียนฟ้ามูลนิธิ
- ไปรษณียาคาร
เขตคลองเตย
- กล้วยน้ำไท
- ถนนพระรามที่ 3
- ศูนย์การประชุมแห่งชาติสิริกิติ์
- สวนชูวิทย์
- สวนเบญจกิติ
- อุทยานเบญจสิริ
- เขตคลองเตย
- เอ็มโพเรียม
- แพตสเตเดียม
- โรงเรียนพระหฤทัยคอนแวนต์
หรือที่รู้จักกันในชื่อ ศูนย์ประชุมสิริกิติ์ศูนย์ประชุมแห่งชาติสิริกิติ์