เรากำลังดำเนินการเพื่อคืนค่าแอป Unionpedia บน Google Play Store
ขาออกขาเข้า
🌟เราได้ทำให้การออกแบบของเราง่ายขึ้นเพื่อการนำทางที่ดีขึ้น!
Instagram Facebook X LinkedIn

รายชื่อตลาดในกรุงเทพมหานคร

ดัชนี รายชื่อตลาดในกรุงเทพมหานคร

ต่อไปนี้คือ ตลาดในกรุงเทพมหานคร.

สารบัญ

  1. 49 ความสัมพันธ์: บางกอกน้อยพระบรมมหาราชวังพระโขนงกรุงเทพมหานครรถไฟวังเทเวศร์สะพานใหม่สำเพ็งสถานีขนส่งผู้โดยสารกรุงเทพ (ถนนบรมราชชนนี)หนองจอกหนองแขมธนบุรีถนนบรมราชชนนีถนนพระรามที่ 2ถนนพรานนกถนนพรานนก-พุทธมณฑล สาย 4ถนนพัฒน์พงศ์ถนนพุทธมณฑล สาย 1ถนนกัลปพฤกษ์ถนนกำแพงเพชรถนนราชพฤกษ์ถนนสุขุมวิทถนนประชาอุทิศ (ฝั่งธนบุรี)ท่าพระจันทร์คลองตันตลาดตลาดบางแคตลาดพลูตลาดธนบุรีตลาดประตูน้ำตลาดนัดจตุจักรตลาดนางเลิ้งตลาดน้ำตลิ่งชันตลาดโบ๊เบ๊ตลิ่งชันซีคอนสแควร์ปากคลองตลาดปิ่นเกล้าแม่น้ำเจ้าพระยาแยกบ้านเนินแยกทศกัณฑ์แฮปปี้แลนด์แขวงบางปะกอกเอเชียทีค เดอะ ริเวอร์ฟร้อนท์เขตบางพลัดเขตบางกะปิเขตมีนบุรีเขตคลองสานเขตคลองเตย

  2. ตลาดในกรุงเทพมหานคร
  3. รายชื่อเกี่ยวกับกรุงเทพมหานคร
  4. สิ่งก่อสร้างในกรุงเทพมหานคร

บางกอกน้อย

งกอกน้อย อาจหมายถึง.

ดู รายชื่อตลาดในกรุงเทพมหานครและบางกอกน้อย

พระบรมมหาราชวัง

ระบรมมหาราชวัง หรือพระราชวังพระนคร เป็นที่ประทับของพระมหากษัตริย์สมัยรัตนโกสินทร์ ตั้งแต่รัชสมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราชจนถึงรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ตั้งอยู่ที่แขวงพระบรมมหาราชวัง เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร ปัจจุบัน พระบรมมหาราชวังเป็นสถานที่ท่องเที่ยวที่ได้รับความนิยมมากเป็นอันดับที่ 16 ของโลก โดยมีผู้เข้าเยี่ยมชมในปี พ.ศ.

ดู รายชื่อตลาดในกรุงเทพมหานครและพระบรมมหาราชวัง

พระโขนง

ระโขนง สามารถหมายถึง.

ดู รายชื่อตลาดในกรุงเทพมหานครและพระโขนง

กรุงเทพมหานคร

กรุงเทพมหานคร เป็นเมืองหลวงและนครที่มีประชากรมากที่สุดของประเทศไทย เป็นศูนย์กลางการปกครอง การศึกษา การคมนาคมขนส่ง การเงินการธนาคาร การพาณิชย์ การสื่อสาร และความเจริญของประเทศ เป็นเมืองที่มีชื่อยาวที่สุดในโลก ตั้งอยู่บนสามเหลี่ยมปากแม่น้ำเจ้าพระยา มีแม่น้ำเจ้าพระยาไหลผ่านและแบ่งเมืองออกเป็น 2 ฝั่ง คือ ฝั่งพระนครและฝั่งธนบุรี กรุงเทพมหานครมีพื้นที่ทั้งหมด 1,568.737 ตร.กม.

ดู รายชื่อตลาดในกรุงเทพมหานครและกรุงเทพมหานคร

รถไฟ

ี-ซีรีส์ ของประเทศออสเตรเลีย รถไฟความเร็วสูง '''อีเซเอ''' ของประเทศเยอรมนี รถไฟ เป็นกลุ่มของยานพาหนะที่เคลื่อนที่ไปตามรางเพื่อการขนส่งสินค้าหรือผู้โดยสารจากที่หนึ่งไปยังอีกที่หนึ่ง รางส่วนใหญ่มักจะประกอบด้วยราง 2 เส้นขนานกัน แต่ยังหมายรวมถึงประเภทรางเดี่ยวหรือประเภทที่ใช้พลังแม่เหล็กด้วย รถไฟจะขับเคลื่อนด้วยหัวรถจักรหรือขับเคลื่อนด้วยเครื่องยนต์หลายๆตัวที่ติดอยู่ใต้ท้องรถ รถไฟสมัยใหม่จะใช้กำลังจากหัวรถจักรดีเซลหรือจากไฟฟ้าที่ส่งมาตามสายไฟที่อยู่เหนือตัวรถหรือตามรางสาม (Third Rail) เดิม รถไฟขับเคลื่อนโดยใช้หม้อต้มน้ำทำให้เกิดไอน้ำ ไอน้ำทำให้เกิดแรงดัน แรงดันจะทำการขับเคลื่อนกลไกทำให้ล้อรถไฟเคลื่อนที่ได้ การที่ใช้ฟืนเป็นแหล่งพลังงานในการต้มน้ำ และฟืนที่ทำให้เกิดเปลวไฟ ทำให้เรียกรถชนิดนี้ว่า รถจักรไอน้ำ รถไฟแบ่งได้หลายประเภท ได้แก่ หัวรถจักร, รถดีเซลราง, รถโดยสาร และ รถสินค้.

ดู รายชื่อตลาดในกรุงเทพมหานครและรถไฟ

วังเทเวศร์

วังเทเวศร์ หรือ วังพลตรีพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระจันทบุรีนฤนาถ เป็นวังที่ประทับของพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้ากิติยากรวรลักษณ์ กรมพระจันทบุรีนฤนาถ หม่อมเจ้าอัปสรสมาน กิติยากร และทายาทในราชสกุลกิติยากร ตั้งอยู่บริเวณถนนกรุงเกษม ปากคลองผดุงกรุงเกษม ริมแม่น้ำเจ้าพระยา แขวงวัดสามพระยา เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร ทางทิศใต้ติดกับวังเทวะเวสม์ ทางทิศตะวันออกติดกับวัดนรนาถสุนทริการามพระตำหนักพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระจันทบุรีนฤนาถ (พระตำหนักใหญ่) ภายในวังเทเวศร์ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว พระราชทานที่ดินบริเวณป้อมหักกำลังดัสกรซึ่งไม่ได้ใช้งานแล้ว สร้างพระตำหนักพระราชทาน รวมกับที่สวนอีก 2 แปลงที่ทรงซื้อไว้ และที่ดินฝ่ายเจ้าจอมมารดาเหม พระมารดาของพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าศรีเสาวภางค์ ซึ่งพระองค์เจ้าศรีเสาวภางค์ น้อมเกล้าฯ ถวายรวมเป็นอาณาบริเวณตั้งแต่ริมแม่น้ำเจ้าพระยามาจนถึงบริเวณถนนกรุงเกษม ตำหนักในวังเทเวศร์ ประกอบด้ว.

ดู รายชื่อตลาดในกรุงเทพมหานครและวังเทเวศร์

สะพานใหม่

ถนนพหลโยธินย่านสะพานใหม่ (มุมมองจากสะพานลอย) สะพานใหม่ เป็นย่านการค้าตั้งอยู่บริเวณส่วนใหญ่ในแขวงอนุสาวรีย์ เขตบางเขน และบางส่วนในแขวงคลองถนน เขตสายไหม คือบริเวณสองข้างทางของถนนพหลโยธิน ตั้งแต่ด้านทิศใต้คือวงเวียนอนุสาวรีย์พิทักษ์รัฐธรรมนูญ ไปจนถึงด้านทิศเหนือคือสะพานข้ามคลองสอง (คลองสองหรือคลองถนนคือคลองสายเดียวกัน) ระยะทางประมาณ 3 กิโลเมตร เหตุที่ย่านการค้านี้ชื่อ สะพานใหม่ เนื่องจากสะพานข้ามคลองสองนั้นมีชื่อเต็มว่า สะพานสุกรนาคเสนีย์ ซึ่งสร้างใหม่แทนสะพานของเดิม (ไม่ทราบปีที่สร้าง) ชาวบ้านในละแวกนั้นจึงเรียกกันว่า สะพานใหม่ และติดปากมาจนถึงปัจจุบัน สะพานใหม่มีตลาดสดที่สำคัญคือ ตลาดยิ่งเจริญ ก่อตั้งโดย นางสุวพีร์ ธรรมวัฒนะ มารดาของนายห้างทอง ธรรมวัฒนะ อดีตนักการเมือง เปิดให้บริการเมื่อวันที่ 11 สิงหาคม..

ดู รายชื่อตลาดในกรุงเทพมหานครและสะพานใหม่

สำเพ็ง

ตลาดสำเพ็งในปัจจุบัน แผนที่ของเขตสัมพันธวงศ์ (สำเพ็งปรากฏอยู่ในชื่อ Wanit 1 Road หรือ Sampheng Road ซึ่งเริ่มมาจากย่านตลาดน้อย ในขณะที่ส่วนที่เป็นย่านการค้าที่คึกคัก จะเริ่มต้นจากบริเวณถนนราชวงศ์ไปจนสิ้นสุดที่ฝั่งถนนจักรเพชร ในเขตพระนคร) สำเพ็ง หรือ สามเพ็ง (อักษรโรมัน: Sampheng) เป็นย่านการค้าแห่งหนึ่งในกรุงเทพมหานคร ตั้งอยู่ในแขวงจักรวรรดิ เขตสัมพันธวงศ์ อยู่ใกล้กับย่านเยาวราช, ถนนราชวงศ์ และต่อเนื่องไปถึงสะพานหัน, พาหุรัดและวังบูรพา ในพื้นที่แขวงวังบูรพาภิรมย์ เขตพระนคร ทั้งนี้สำเพ็งในปัจจุบัน รู้จักกันดีในชื่ออย่างเป็นทางการว่า ซอยวานิช 1 และในช่วงระหว่างสะพานหันถึงถนนจักรวรรดิเรียกว่า ตรอกหัวเม็ด สำเพ็งเริ่มต้นจากที่พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช องค์ปฐมกษัตริย์แห่งราชวงศ์จักรี ผู้ทรงสถาปนาสร้างกรุงรัตนโกสินทร์ขึ้นที่ฝั่งขวาของแม่น้ำเจ้าพระยา ให้เป็นราชธานีแห่งใหม่แทนที่กรุงธนบุรี ในปี.ศ 2325 โดยมีพระบรมมหาราชวังตั้งขึ้นในพื้นที่ ๆ แต่เดิมเป็นที่ตั้งของชุมชนชาวจีน และโปรดให้ย้ายชุมชนชาวจีนออกไปตั้งถิ่นฐานใหม่นอกประตูพระนครทางทิศตะวันออกเฉียงใต้ ขนานไปกับลำน้ำเจ้าพระยา ตั้งแต่คลองวัดสามปลื้ม (วัดจักรวรรดิราชาวาส) ไปจนถึงคลองสามเพ็ง หรือสำเพ็ง ที่มาของชื่อ "สำเพ็ง" นั้นไม่มีใครทราบว่ามีความหมายว่ากระไร หรือมาจากคำว่าอะไร ได้มีผู้สันนิษฐานไปต่าง ๆ นานา บ้างก็ว่ามาจากคำว่า "สามแพร่ง" หรือมาคำจีนแต้จิ๋วว่า "สามเผง" (อักษรจีน: 三聘; จีนกลางออกเสียง ซั้นผิ่ง) แปลตรงตัวได้ว่า "ศานติทั้งสาม" ซึ่งก็ไม่มีใครทราบความหมายหรือคำแปลที่แท้จริง หรือบ้างก็ว่ามาจากคำว่า "สามปลื้ม" ก็มี ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว กิจการค้าของชาวจีนที่ได้ตั้งถิ่นฐานอยู่ในย่านสำเพ็งเติบโตขึ้นเป็นลำดับ ชาวตะวันตกที่เข้ามาติดต่อการค้ากับสยามประเทศ เรียกขานย่านสำเพ็งว่า "ตลาดจีน" หรือ "Chinese Bazaar" ในบันทึกของมิชชันนารีที่ได้เข้ามาเยี่ยมดูย่านสำเพ็งในปี..

ดู รายชื่อตลาดในกรุงเทพมหานครและสำเพ็ง

สถานีขนส่งผู้โดยสารกรุงเทพ (ถนนบรมราชชนนี)

นีขนส่งผู้โดยสารกรุงเทพ (ถนนบรมราชชนนี) สถานีขนส่งผู้โดยสารกรุงเทพ (ถนนบรมราชชนนี) หรือ สายใต้ใหม่ (ตลิ่งชัน) เป็นสถานีขนส่ง สำหรับรถโดยสารทางไกล สายใต้ และสายตะวันตกบางส่วน เป็นสถานีขนส่งเอกชน สร้างและบริหารโดย บริษัท สิริโปรเจกต์ คอนสทรัคชั่น จำกัด โดยได้รับสัมปทานจาก บริษัท ขนส่ง จำกัด กระทรวงคมนาคม เป็นระยะเวลา 20 ปี ปัจจุบันก่อสร้างเรียบร้อยและเปิดให้บริการเดินรถสายใต้ทั้งหมด ตั้งแต่จังหวัดชุมพรลงไปเปิดเดินรถในวันที่ 1 พฤศจิกายน 2550 และมีกำหนดเริ่มการเดินรถสายตะวันตกในวันที่ 15 พฤศจิกายน 2550 ส่วนพิธีเปิดอย่างเป็นทางการ จะดำเนินการในภายหลัง เนื่องจากขั้นต้นยังเป็นการเดินรถทดลองระบบ นอกจากนี้สถานีขนส่งแห่งนี้ ยังเป็นสถานีขนส่งที่มีมาตรฐานความปลอดภัยในระดับสูง มีระบบการจัดการคล้ายท่าอากาศยาน กล่าาวคือ ผู้ที่ไม่มีตั๋วโดยสาร จะไม่สามารถเข้าสู่เขตชานชาลาได้ ตั้งอยู่ที่หัวมุมถนนบรมราชชนนี ตัดกับ ถนนพุทธมณฑลสาย 1 แขวงฉิมพลี เขตตลิ่งชัน ห่างจากสถานีเดิมไปทางตะวันตก (ออกเมือง) บนฝั่งซ้ายของถนนบรมราชชนนี เช่นเดียวกัน ประมาณ 5 กิโลเมตร อาคารผู้โดยสาร.

ดู รายชื่อตลาดในกรุงเทพมหานครและสถานีขนส่งผู้โดยสารกรุงเทพ (ถนนบรมราชชนนี)

หนองจอก

หนองจอก อาจหมายถึง.

ดู รายชื่อตลาดในกรุงเทพมหานครและหนองจอก

หนองแขม

หนองแขม อาจหมายถึง.

ดู รายชื่อตลาดในกรุงเทพมหานครและหนองแขม

ธนบุรี

นบุรี อาจหมายถึง.

ดู รายชื่อตลาดในกรุงเทพมหานครและธนบุรี

ถนนบรมราชชนนี

นนบรมราชชนนี (Thanon Borommaratchachonnani) เป็นเส้นทางคมนาคมในพื้นที่ฝั่งธนบุรี กรุงเทพมหานคร ระหว่างเขตบางกอกน้อย กรุงเทพมหานคร และอำเภอนครชัยศรี จังหวัดนครปฐม ระยะทางรวม 33.984 กิโลเมตร เฉพาะส่วนที่อยู่ในความรับผิดชอบของกรมทางหลวงมีฐานะเป็น ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 338 สายอรุณอมรินทร์–นครชัยศรี และมีระยะทาง 31.265 กิโลเมตร.

ดู รายชื่อตลาดในกรุงเทพมหานครและถนนบรมราชชนนี

ถนนพระรามที่ 2

นนพระรามที่ 2 (Thanon Rama II) หรือ ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 35 สายธนบุรี–ปากท่อ เป็นถนนที่ตัดผ่านกรุงเทพมหานคร จังหวัดสมุทรสาคร จังหวัดสมุทรสงคราม และจังหวัดราชบุรี เป็นเส้นทางหลักที่มุ่งสู่ภาคใต้ของประเทศไทย และยังเป็นหนึ่งในถนนพระรามทั้ง 7 สาย ซึ่งอยู่ในความรับผิดชอบของกรุงเทพมหานคร ยกเว้นถนนพระรามที่ 2 ที่อยู่ในความรับผิดชอบของกรมทางหลวง ถนนพระรามที่ 2 มีระยะทางรวม 84.041 กิโลเมตร.

ดู รายชื่อตลาดในกรุงเทพมหานครและถนนพระรามที่ 2

ถนนพรานนก

นนพรานนก (Thanon Phran Nok) เป็นถนนสายหนึ่งในพื้นที่แขวงบ้านช่างหล่อ เขตบางกอกน้อย กรุงเทพมหานคร เริ่มต้นจากถนนจรัญสนิทวงศ์ที่ทางแยกไฟฉาย ตรงไปทางทิศตะวันออก ไปสิ้นสุดที่ทางแยกพรานนกซึ่งเป็นจุดตัดกับถนนอิสรภาพ เดิมถนนเส้นนี้เป็นทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 3188 ในความดูแลของกรมทางหลวง ต่อมาโอนให้กรุงเทพมหานครเป็นผู้ดูแล ปัจจุบันถนนพรานนกเป็นถนนสายสำคัญที่เชื่อมต่อระหว่างถนนจรัญสนิทวงศ์กับถนนอิสรภาพ เป็นทางเชื่อมต่อระหว่างย่านที่พักอาศัยบริเวณถนนจรัญสนิทวงศ์ ทั้งยังเป็นถนนที่มีการจราจรคับคั่งตลอดทั้งวัน โดยเฉพาะชั่วโมงเร่งด่วนทั้งเช้าและเย็น.

ดู รายชื่อตลาดในกรุงเทพมหานครและถนนพรานนก

ถนนพรานนก-พุทธมณฑล สาย 4

นนพรานนก-พุทธมณฑล สาย 4 เป็นโครงการก่อสร้างถนนตัดใหม่ในพื้นที่กรุงเทพมหานคร (ฝั่งธนบุรี) และจังหวัดนครปฐม โดยต่อขยายถนนพรานนก จากสามแยกไฟฉาย ไปบรรจบถนนพุทธมณฑล สาย 4 ระยะทาง 16.4 กิโลเมตร ชาวบ้านเรียกกันว่า "ถนนพระเทพ" หรือ "ถนนจรัญ-กาญจนา".

ดู รายชื่อตลาดในกรุงเทพมหานครและถนนพรานนก-พุทธมณฑล สาย 4

ถนนพัฒน์พงศ์

นักเต้นย่านพัฒน์พงศ์ พัฒน์พงศ์ เป็นย่านบันเทิงยามราตรีของกรุงเทพมหานคร ตั้งอยู่บนถนนพัฒน์พงศ์ซึ่งเชื่อมระหว่างถนนสีลมกับถนนสุรวงศ์ แขวงสีลม เขตบางรัก จัดเป็นย่านโคมแดงที่เป็นที่นิยมในหมู่นักท่องเที่ยวต่างชาติ ประกอบไปด้วยคลับ บาร์ ที่มีการแสดงการเต้นอะโกโก้ และอาจมีการค้าประเวณี ตั้งอยู่บนถนนพัฒน์พงศ์ซอย 1 และพัฒน์พงศ์ซอย 2 และยังอยู่ใกล้เคียงกับถนนธนิยะ ที่เป็นย่านค้าบริการระดับสูง เน้นให้บริการเฉพาะนักท่องเที่ยวชาวญี่ปุ่น ไม่ให้บริการลูกค้าชาวไทย และซอยจารุวรรณ หรือรู้จักกันในชื่อ "พัฒน์พงศ์ซอย 3" หรือ "สีลม ซอย 4" ที่เป็นย่านให้บริการเฉพาะลูกค้าเกย์ นอกจากชื่อในด้านธุรกิจบริการแล้ว พัฒน์พงศ์ยังเป็นย่านที่มีแผงลอยขายสินค้าในเวลากลางคืน มีชื่อเสียงเรื่องสินค้าละเมิดลิขสิทธิ์ เช่น แผ่นซีดี ดีวีดี และสินค้าเลียนแ.

ดู รายชื่อตลาดในกรุงเทพมหานครและถนนพัฒน์พงศ์

ถนนพุทธมณฑล สาย 1

นนพุทธมณฑล สาย 1 (Thanon Phutthamonthon Sai 1) เป็นถนนสายหนึ่งในท้องที่เขตภาษีเจริญและเขตตลิ่งชัน กรุงเทพมหานคร มีจุดเริ่มต้นตั้งแต่ถนนเพชรเกษม ซ้อนทับแนวซอยเพชรเกษม 60/2 เดิม มุ่งตรงไปทางทิศเหนือ ตัดกับถนนบางแวกและถนนพรานนก-พุทธมณฑล สาย 4 ซ้อนทับและตัดผ่านแนวถนนพุทธมณฑล สาย 1 (สายเดิม) ซึ่งมีลักษณะคดเคี้ยว จากนั้นตัดกับถนนบรมราชชนนีและถนนสวนผัก ไปสิ้นสุดที่ทางรถไฟสายใต้ โครงการถนนพุทธมณฑล สาย 1 เกิดขึ้นพร้อมกับโครงการจัดตั้งพุทธมณฑลเพื่อฉลอง 25 พุทธศตวรรษ ทางราชการได้เวนคืนที่ดินโดยจ่ายเงินบางส่วนแก่เจ้าของที่ดิน แต่ทิ้งการดำเนินการไว้เป็นเวลานานจึงกลับมาดำเนินการต่อ ทำให้เกิดข้อพิพาทกับเอกชนเจ้าของที่ดิน เป็นปัญหายืดเยื้อทำให้ไม่อาจสร้างถนนได้เป็นเวลานานมากจนบางคนเรียกว่า "ถนนเจ็ดชั่วโคตร" ต่อมากรุงเทพมหานครได้ยินยอมจ่ายค่าเวนคืนที่ดินในอัตราที่เป็นที่พอใจของเจ้าของที่ดิน จึงดำเนินการก่อสร้างต่อได้ ปัจจุบันใช้สัญจรได้แล้ว.

ดู รายชื่อตลาดในกรุงเทพมหานครและถนนพุทธมณฑล สาย 1

ถนนกัลปพฤกษ์

นนกัลปพฤกษ์ (Thanon Kanlapaphruek) หรือ ทางหลวงชนบท กท.1001 เป็นเส้นทางคมนาคมในพื้นที่ฝั่งธนบุรี กรุงเทพมหานคร โดยเป็นถนนคอนกรีตขนาด 4 ช่องจราจร เชื่อมต่อระหว่างถนนราชพฤกษ์กับถนนกาญจนาภิเษก.

ดู รายชื่อตลาดในกรุงเทพมหานครและถนนกัลปพฤกษ์

ถนนกำแพงเพชร

นนกำแพงเพชร (Thanon Kamphaeng Phet) เป็นถนนที่สร้างขึ้นในเขตการรถไฟแห่งประเทศไทย บ้างขนานกับรางรถไฟ บ้างก็ไม่ขนานเป็นถนนโดด ตั้งชื่อว่าถนนกำแพงเพชร เพื่อระลึกถึง กรมพระกำแพงเพชรอัครโยธิน บิดาแห่งกิจการรถไฟ ในตอนแรก การรถไฟแห่งประเทศไทย มีความประสงค์ที่จะตั้งชื่อถนนชุดนี้ว่า "ถนนบุรฉัตร" ตามพระนามเดิมใน กรมพระกำแพงเพชรอัครโยธิน แต่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่ได้พระราชทานนามถนนในเขตที่ดินรถไฟชุดนี้ว่า "ถนนกำแพงเพชร".

ดู รายชื่อตลาดในกรุงเทพมหานครและถนนกำแพงเพชร

ถนนราชพฤกษ์

นนราชพฤกษ์ (Thanon Ratchaphruek) หรือ ทางหลวงชนบท น.3021 สายราชพฤกษ์ เป็นถนนที่ทอดยาวจากกรุงเทพมหานครสู่จังหวัดนนทบุรี เป็นเส้นทางคมนาคมสำคัญสายหนึ่ง โดยสามารถเดินทางจากถนนสาทรถึงอำเภอบางบัวทองได้โดยไม่ต้องผ่านทางแยกสัญญาณไฟจราจร (ไม่ติดไฟแดง) แม้แต่แห่งเดียว.

ดู รายชื่อตลาดในกรุงเทพมหานครและถนนราชพฤกษ์

ถนนสุขุมวิท

นนสุขุมวิท (Thanon Sukhumvit) ซึ่งมีระยะทางส่วนใหญ่เป็น ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 3 สายบางนา–หาดเล็ก เป็นหนึ่งในทางหลวงแผ่นดินสายประธานทั้งสี่ของประเทศไทย จุดเริ่มต้นเชื่อมต่อจากถนนเพลินจิต เขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร มีเส้นทางไปตามชายทะเลภาคตะวันออก และสิ้นสุดที่อำเภอคลองใหญ่ จังหวัดตราด ติดต่อกับชายแดนจังหวัดเกาะกง ประเทศกัมพูชา รวมระยะทางยาวทั้งสิ้นประมาณ 488 กิโลเมตร.

ดู รายชื่อตลาดในกรุงเทพมหานครและถนนสุขุมวิท

ถนนประชาอุทิศ (ฝั่งธนบุรี)

นนประชาอุทิศ (Thanon Pracha Uthit) เป็นถนนที่แยกจากถนนสุขสวัสดิ์ที่เขตราษฎร์บูรณะ กรุงเทพมหานคร ตัดผ่านทางพิเศษเฉลิมมหานครในท้องที่เขตราษฎร์บูรณะและถนนกาญจนาภิเษก (ด้านใต้) ในท้องที่เขตทุ่งครุ ตัดผ่านมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี แยกนาหลวง วัดทุ่งครุ ไปบรรจบกับถนนเลียบคลองสรรพสามิตที่อำเภอพระสมุทรเจดีย์ จังหวัดสมุทรปราการ.

ดู รายชื่อตลาดในกรุงเทพมหานครและถนนประชาอุทิศ (ฝั่งธนบุรี)

ท่าพระจันทร์

ท่าพระจันทร์ในยุคปัจจุบัน ท่าพระจันทร์ เป็นท่าเรือริมฝั่งแม่น้ำเจ้าพระยา ตั้งอยู่บริเวณสุดถนนพระจันทร์ ข้างมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ แขวงพระบรมมหาราชวัง เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร ให้บริการเฉพาะเรือข้ามฟากในเส้นทางท่าพระจันทร์-วังหลัง และท่าพระจันทร์-พระปิ่นเกล้า บริเวณท่าเรือแห่งนี้เคยเป็นที่ตั้งของป้อมพระจันทร์ ซึ่งเป็นป้อมแห่งหนึ่งที่พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราชโปรดเกล้าฯ ให้สร้างขึ้นตามแนวกำแพงพระนครด้านตะวันตก ต่อมาในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวโปรดเกล้าฯ ให้ใช้บริเวณพระราชวังบวรสถานมงคลเป็นท้องสนามหลวง ถนนหน้าพระธาตุ ป้อมต่าง ๆ รอบกำแพงพระราชวังบวรสถานมงคลถูกรื้อลงหมดรวมถึงป้อมพระจันทร์ด้วย ถนนที่ตัดตรงสู่บริเวณที่เคยเป็นที่ตั้งของป้อมพระจันทร์จึงมีชื่อว่า "ถนนพระจันทร์" และท่าน้ำในบริเวณที่เคยเป็นที่ตั้งของป้อมพระจันทร์จึงเรียกว่า "ท่าพระจันทร์" มาจนถึงปัจจุบัน ใช้เป็นท่าเรือโดยสารซึ่งมีบริษัทเอกชนเป็นผู้ดำเนินกิจการเดินเรือข้ามฟากที่ประมูลมาจากกรุงเทพมหานคร ปัจจุบัน บริเวณท่าพระจันทร์เป็นแหล่งการค้าที่คึกคักมาก โดยเฉพาะในช่วงเวลาเย็น โดยเป็นที่รู้จักกันดีของการเป็นตลาดพระเครื่องและวัตถุมงคลต่าง ๆ รวมถึงร้านค้า, ร้านอาหาร, ร้านหนังสือต่าง ๆ อีกด้ว.

ดู รายชื่อตลาดในกรุงเทพมหานครและท่าพระจันทร์

คลองตัน

ลองตัน อาจหมายถึง.

ดู รายชื่อตลาดในกรุงเทพมหานครและคลองตัน

ตลาด

ตลาดสดในสิงคโปร์ ตลาด เป็นการชุมนุมกันทางสังคม แลกเปลี่ยนสินค้ากัน ในภาษาทั่วไป ตลาดหมายความรวมถึงสถานที่ที่มนุษย์มาชุมนุมกันเพื่อค้าขาย ในทางเศรษฐศาสตร์ ตลาดหมายถึงการแลกเปลี่ยนซื้อขาย โดยไม่มีความหมายของสถานที่ทางกายภาพ การค้าขายของไทยสมัยก่อนนั้น เน้นทางน้ำเป็นหลัก เพราะการคมนาคมทางน้ำเป็นการคมนาคมหลักของคนไทย ซึ่งอาจจะเห็นได้จากการมีตลาดน้ำต่าง ๆ ในสมัยรัตนโกสินทร์ เป็นการเปิดโอกาสให้คนในชุมชนได้ดำเนินกิจกรรมการแลกเปลี่ยน ซื้อขายสินค้าและบริการตามความถนัดของแต่ละครอบครัว เป็นแหล่งรายได้ที่สุจริตของแต่ละครอบครัว เกิดการหมุนเวียนเศรษฐกิจภายในชุมชนรวมถึงจากภายนอกเข้าสู่ชุมชนด้วย และยังก่อให้เกิดความสัมพันธ์อันดีในระดับชุมชน รวมถึงการช่วยธำรงรักษาวัฒนธรรมประเพณีในชุมชน ในกรณีของชุมชนที่มีวัฒนธรรมความเป็นมา จากการที่กลุ่มคนในชุมชนมีการสร้างปฏิสัมพันธ์อันดีด้วยกัน คำว่า "ตลาด" สันนิษฐานว่ามาจากคำว่า "ยี่สาร" ซึ่งเพี้ยนมาจากคำว่า "บาซาร์" ในภาษาเปอร์เซีย ซึ่งแปลว่า "ตลาด" ตามชาวเปอร์เซียเริ่มเข้ามาในประเทศไทยสมัยพระเจ้าปราสาททอง.

ดู รายชื่อตลาดในกรุงเทพมหานครและตลาด

ตลาดบางแค

ตลาดบางแค หรือ ตลาดสดบางแค เป็นตลาดสดขนาดใหญ่ เก่าแก่และยาวนานแห่งหนึ่งของกรุงเทพมหานครและฝั่งธนบุรี จุดเริ่มต้นตั้งอยู่ที่ ซอยเพชรเกษม 39/1 (ชุมชนแสงหิรัญ) ในแขวงบางหว้า เขตภาษีเจริญ กรุงเทพมหานคร ข้ามคลองราชมนตรีเข้าสู่พื้นที่แขวงบางแค เขตบางแค กรุงเทพมหานคร และ พื้นที่บริเวณตลาดสดบางแคนี้ไปสิ้นสุดตรงทางแยกบางแค (ถนนบางแค) ในแขวงบางแค เขตบางแค กรุงเทพมหานคร ตลาดบางแค มีจุดกำเนิดจากการที่พื้นที่ตรงนี้เป็นชุมชนมาแต่ดั้งเดิม และเป็นเส้นทางสัญจรไปมาของผู้คนโดยเรือผ่านทางคลองภาษีเจริญ และคลองบางแค จึงมีการค้าขายกันเป็นวิถีชีวิต ต่อมาในยุคก่อนพุทธศักราช 2500 รัฐบาลโดย จอมพลแปลก พิบูลสงคราม นายกรัฐมนตรีมีนโยบายต้องการให้กรุงเทพมหานครมีความสวยสะอาด มีระเบียบวินัย หลวงพรหมโยธี นายกเทศมนตรีพระนคร ได้กวดขันให้แม่ค้าหาบเร่ตามสถานที่ต่าง ๆ ในกรุงเทพฯ เช่น ท้องสนามหลวง, ลานพระบรมรูปทรงม้า ย้ายมาขาย ณ ที่แห่งใหม่ เช่น สะพานเทเวศน์, ท่าเตียน, ถนนวรจักร, หน้าโรงไฟฟ้าสามเสน รวมถึง ณ ที่แห่งนี้ด้วย ซึ่งตลาดสดบางแคมีของขายมากมายอาทิ เช่น ผัก, ผลไม้, ขนมหวาน, ข้าวแกงต่าง ๆ ฯลฯ ในปี..

ดู รายชื่อตลาดในกรุงเทพมหานครและตลาดบางแค

ตลาดพลู

นนเทอดไท ถนนสายหลักของตลาดพลู สถานีรถไฟฟ้าบีทีเอส ตลาดพลู ตลาดพลู เป็นชุมชนและทางแยกตั้งอยู่บริเวณถนนเทอดไท แขวงตลาดพลู เขตธนบุรี ติดกับคลองบางหลวง หรือคลองบางกอกใหญ่ แต่เดิมนั้นเป็นพื้นที่ของชาวจีนที่มาตั้งถิ่นฐานมาตั้งแต่สมัยกรุงธนบุรี ต่อมาเมื่อย้ายราชธานีไปยังฝั่งพระนคร ชาวจีนบางส่วนที่ตลาดพลูจึงได้ย้ายไปสำเพ็ง และมีชาวมุสลิมจากภาคใต้ที่เข้ามาแทนที่ ได้ริเริ่มการทำสวนพลูที่นี่ ซึ่งทั้งชาวมุสลิมและชาวจีนต่างทำสวนพลูจนเป็นอาชีพที่แพร่หลาย จนเป็นตลาดซื้อขายพลู ที่เรียกว่าตลาดพลู จนบัดนี้ ในอดีต ตลาดพลูเป็นย่านที่มีความคึกคักมาก มีโรงภาพยนตร์ 2 โรง จนมีคำกล่าวว่า "เยาวราชมีอะไร ตลาดพลูก็มีอย่างนั้น" ตลาดพลู ขึ้นชื่ออย่างมากในเรื่องของเป็นแหล่งขายอาหารที่หลากหลาย โดยเฉพาะอาหารจีนที่เป็นอาหารริมทาง เช่น ข้าวหมูแดง, ไอศกรีมกะทิไข่แข็ง, ก๋วยเตี๋ยวและเกาเหลาเนื้อ, ขนมไทย, เย็นตาโฟ, หมี่กรอบ, ขนมเบื้องทั้งของไทยและญวน รวมถึง ขนมบดิน ขนมเค้กแบบดั้งเดิมของชาวมุสลิมด้านมัสยิดสวนพลู และที่มีชื่ออย่างมากคือ ขนมกุยช่าย ซึ่งเป็นอาหารกินเล่นหรือขนมของชาวแต้จิ๋ว.

ดู รายชื่อตลาดในกรุงเทพมหานครและตลาดพลู

ตลาดธนบุรี

ป้ายทางเข้าตลาดธนบุรี ตลาดธนบุรี หรือที่นิยมเรียกติดปากว่า สนามหลวง 2 ตั้งอยู่ ณ เลขที่ 195/1 หมู่ที่ 1 ถนนทวีวัฒนา แขวงทวีวัฒนา เขตทวีวัฒนา กรุงเทพมหานคร 10170.

ดู รายชื่อตลาดในกรุงเทพมหานครและตลาดธนบุรี

ตลาดประตูน้ำ

ประชาชนที่ซื้อของที่ประตูน้ำ ตลาดประตูน้ำ เป็นหนึ่งในตลาดหลักของกรุงเทพมหานคร และเป็นตลาดขายเสื้อผ้าที่ใหญ่ที่สุดในประเทศไท.

ดู รายชื่อตลาดในกรุงเทพมหานครและตลาดประตูน้ำ

ตลาดนัดจตุจักร

รรยากาศตลาดนัดจตุจักร บริเวณถนนหน้าโครงการ 11 - 13 คนหนาแน่นในช่วงเย็น บริเวณโครงการ 1 และ โครงการ 26 ตลาดนัดจตุจักร เป็นตลาดนัดในกรุงเทพมหานคร มีจำนวนแผงค้าทั้งหมดมากกว่า 8,000 แผงค้า แบ่งเป็น 27 โครงการ มีสินค้า 8 ประเภท ได้แก่ ผักและผลไม้ เสื้อผ้า สัตว์เลี้ยง ต้นไม้ อาหารปรุง อาหารสำเร็จรูป อาหารสด และเบ็ดเตล็.

ดู รายชื่อตลาดในกรุงเทพมหานครและตลาดนัดจตุจักร

ตลาดนางเลิ้ง

ตลาดนางเลิ้ง เป็นชุมชนและตลาดที่ตั้งอยู่บนถนนนครสวรรค์ เขตป้อมปราบศัตรูพ่าย เป็นตลาดบกแห่งแรกของประเทศไทย มีอายุยาวนานกว่า 100 ปี ตลาดนางเลิ้งก่อตั้งมาตั้งแต่สมัยรัชกาลที่ 5 เปิดขึ้นอย่างเป็นทางการเมื่อวันที่ 29 มีนาคม พ.ศ.

ดู รายชื่อตลาดในกรุงเทพมหานครและตลาดนางเลิ้ง

ตลาดน้ำตลิ่งชัน

ตลาดน้ำตลิ่งชัน เป็นตลาดน้ำริมคลองชักพระ แขวงคลองชักพระ เขตตลิ่งชัน กรุงเทพมหานคร ตลาดน้ำตลิ่งชัน ตั้งอยู่บริเวณหน้าสำนักงานเขตตลิ่งชัน เปิดดำเนินการในวันเสาร์-อาทิตย์ เวลา 07.00-17.00 น.

ดู รายชื่อตลาดในกรุงเทพมหานครและตลาดน้ำตลิ่งชัน

ตลาดโบ๊เบ๊

ทางเข้าตลาดโบ๊เบ๊สะพาน 4 ซึ่งอยู่ตรงข้ามกับมัสยิดมหานาค ตลาดโบ๊เบ๊ หรือที่นิยมเรียกกันสั้น ๆ ว่า โบ๊เบ๊ (Bo-Be Market, Bo-Be) เป็นตลาดแห่งหนึ่งในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ตั้งอยู่บนถนนกรุงเกษม แขวงคลองมหานาค เขตป้อมปราบศัตรูพ่าย ระหว่างแยกกษัตริย์ศึก (ยศเส) กับแยกสะพานขาว โดยเลียบไปกับคลองผดุงกรุงเกษมตัดกับคลองมหานาค เป็นตลาดที่เป็นที่รู้จักกันดีจากการเป็นตลาดขายส่งเสื้อผ้าราคาถูก ตลาดโบ๊เบ๊ เดิมเป็นชุมชนที่เกิดขึ้นราว..

ดู รายชื่อตลาดในกรุงเทพมหานครและตลาดโบ๊เบ๊

ตลิ่งชัน

ตลิ่งชัน สามารถหมายถึง.

ดู รายชื่อตลาดในกรุงเทพมหานครและตลิ่งชัน

ซีคอนสแควร์

ซีคอนสแควร์ (Seacon Square) เป็นศูนย์การค้า ดำเนินโครงการโดย บริษัท ซีคอน ดีเวลลอปเมนท์ จำกัด (มหาชน) ซึ่งเป็นการร่วมทุนระหว่าง กลุ่มซีคอน (ตระกูลซอโสตถิกุล) และสถาบันการเงิน 5 แห่ง ตั้งอยู่บนเนื้อที่ 77 ไร่ ริมถนนศรีนครินทร์ ระหว่าง แยกศรีนุช และ แยกศรีอุดม มีระยะห่างจากถนนเทพรัตน 2 กิโลเมตร และห่างจากทางหลวงพิเศษหมายเลข 7 (กรุงเทพ-ชลบุรี) 3 กิโลเมตร นอกจากนี้ยังใกล้กับสวนหลวง ร.9 และท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ เปิดให้บริการอย่างเป็นทางการเมื่อวันที่ 4 กันยายน..

ดู รายชื่อตลาดในกรุงเทพมหานครและซีคอนสแควร์

ปากคลองตลาด

ตลาดดอกไม้ ปากคลองตลาด (Pak Khlong Talat) เป็นตลาดสดขนาดใหญ่ บริเวณถนนจักรเพชร ยาวจนไปถึงถนนมหาราช ตั้งโอบล้อมวัดราชบูรณะ โรงเรียนราชินีและโรงเรียนสวนกุหลาบ ประกอบไปด้วยตลาดใหญ่ถึง 4 แห่งตั้งติด ๆ กัน ปัจจุบันเน้นขายสินค้าเกษตรกรรมที่เน้นการค้าส่งผัก ผลไม้และดอกไม้สด ปากคลองตลาดติดอันดับที่ 4 (จากการจัดอันดับ 1 ใน 10 ของตลาดดอกไม้ทั่วโลก) ยังเป็นตลาดกล้วยไม้ที่มีขนาดใหญ่เป็นอันดับ 3 ของโลกอีกด้ว.

ดู รายชื่อตลาดในกรุงเทพมหานครและปากคลองตลาด

ปิ่นเกล้า

ปิ่นเกล้า โดยทั่วไปเป็นชื่อเรียกพื้นที่บริเวณหนึ่งของฝั่งธนบุรี กรุงเทพมหานคร บริเวณถนนบรมราชชนนี, แยกบรมราชชนนี จนถึงสะพานสมเด็จพระปิ่นเกล้า นิยมเรียกชื่อสถานที่ ที่ตั้งอยู่บริเวณนั่นและตามด้วยคำว่า ปิ่นเกล้า เช่น พาต้า ปิ่นเกล้า, เซ็นทรัล ปิ่นเกล้.

ดู รายชื่อตลาดในกรุงเทพมหานครและปิ่นเกล้า

แม่น้ำเจ้าพระยา

แม่น้ำเจ้าพระยา เป็นแม่น้ำสายหลักสายหนึ่งของประเทศไทย เกิดจากการรวมตัวของแม่น้ำสายหลัก 2 สายจากภาคเหนือ คือแม่น้ำปิงและแม่น้ำน่าน ที่ตำบลปากน้ำโพ อำเภอเมืองนครสวรรค์ จังหวัดนครสวรรค์ จากนั้นไหลลงไปทางทิศใต้ ผ่านจังหวัดอุทัยธานี ชัยนาท สิงห์บุรี อ่างทอง พระนครศรีอยุธยา ปทุมธานี นนทบุรี และกรุงเทพมหานคร ก่อนออกสู่อ่าวไทยที่ปากน้ำ ซึ่งอยู่ระหว่างเขตตำบลท้ายบ้าน ตำบลบางปูใหม่ อำเภอเมืองสมุทรปราการ และตำบลแหลมฟ้าผ่า อำเภอพระสมุทรเจดีย์ จังหวัดสมุทรปราการ.

ดู รายชื่อตลาดในกรุงเทพมหานครและแม่น้ำเจ้าพระยา

แยกบ้านเนิน

แยกบ้านเนิน (Ban Noen Junction) เป็นสามแยกจุดบรรจบ ระหว่างถนนอิสรภาพ, ถนนรถไฟ (เขตบางกอกน้อย) และถนนสุทธาวาส ในพื้นที่เขตบางกอกน้อย กรุงเทพมหานคร ใกล้กับบริเวณตลาดศาลาน้ำร้อน (ใหม่) และสถานีรถไฟบางกอกน้อย "บ้านเนิน" เป็นชื่อเรียกย่านบริเวณดังกล่าว มาจากคำว่า "บ้านเนิน-ค่ายหลวง" โดยแต่เดิมตั้งแต่ยุคกรุงธนบุรีเป็นราชธานี ณ ที่แห่งนี้เป็นชุมชนของช่างฝีมือที่ผลิตเครื่องดนตรีไทยที่มีชื่อเสียงคือ ฆ้องวง ที่ไม่เหมือนกับฆ้องวงของที่อื่น เนื่องจากเป็นฆ้องลงหิน ใช้วิธีการตีขึ้นรูปและบุแบบเดียวกับขันลงหิน จึงทำให้ฆ้องวงที่ผลิตจากที่นี่มีคุณภาพดี ให้เสียงดังกังวาลและไพเราะ และในปัจจุบัน ใกล้กับทางแยก ยังเป็นที่ตั้งของชุมชนตรอกข้าวเม่า (ซอยอิสรภาพ 47) ชุมชนโบราณที่เคยเป็นแหล่งผลิตข้าวเม่าที่มีชื่อเสียง ปัจจุบันเป็นแหล่งผลิตกะละแมและข้าวเหนียวแดง ซึ่งเป็นขนมที่นิยมเตรียมสำหรับงานวันสงกรานต.

ดู รายชื่อตลาดในกรุงเทพมหานครและแยกบ้านเนิน

แยกทศกัณฑ์

แยกทศกัณฑ์ (Thotsakan Intersection) เป็นสี่แยกถนนบางแวกตัดกับถนนพุทธมณฑล สาย 2 ในพื้นที่เขตบางแค กรุงเทพมหานคร บริเวณใกล้เคียงมีตลาดตั้งอยู่ ทิศเหนือไปถนนบรมราชชนนี ทิศใต้ไปถนนเพชรเกษม ทิศตะวันออกไปถนนกาญจนาภิเษก ทิศตะวันตกไปถนนพุทธมณฑล สาย 3.

ดู รายชื่อตลาดในกรุงเทพมหานครและแยกทศกัณฑ์

แฮปปี้แลนด์

แฮปปี้แลนด์ เป็นสวนสนุกกลางแจ้งแห่งแรกของประเทศไทย ตั้งอยู่แขวงคลองจั่น เขตบางกะปิ กรุงเทพมหานคร เข้าทางด้านถนนนวมินทร์หรือถนนสุขาภิบาล 1 ในอดีต เลี้ยวทางธนาคารทหารไทย ผ่านตึกแถวด้านซ้ายมือเข้าไปราว ๆ 400 เมตร ก็จะเป็นบริเวณที่เคยเป็นสวนสนุกขวางอยู่เป็นแนวยาว เคยเป็นที่โชว์ตัวของพระเอกนางเอกจากหนังจีน มังกรหยก คือไป่เปียว กับ หมีเซี้ยะ มีเครื่องเล่นได้แก่ ชิงช้าสวรรค์ รถไฟเหาะ เรือหรรษา ปาเป้า ม้าหมุน ชิงช้า กระดานหก บ้านผีสิง เปิดดำเนินการระหว่าง..

ดู รายชื่อตลาดในกรุงเทพมหานครและแฮปปี้แลนด์

แขวงบางปะกอก

แขวงบางปะกอก เป็นท้องที่การปกครองระดับแขวงหนึ่งในสองแห่งของเขตราษฎร์บูรณะ กรุงเทพมหานคร สภาพพื้นที่โดยทั่วไปเป็นแหล่งที่อยู่อาศั.

ดู รายชื่อตลาดในกรุงเทพมหานครและแขวงบางปะกอก

เอเชียทีค เดอะ ริเวอร์ฟร้อนท์

อเชียทีค เดอะ ริเวอร์ฟร้อนท์ (Asiatique The Riverfront) เป็นศูนย์การค้าแนวราบริมแม่น้ำที่ใหญ่ที่สุดในเอเชีย ตั้งอยู่ริม แม่น้ำเจ้าพระยา ระหว่างซอยเจริญกรุง 72-76 บริหารงานโดย กองทุนรวมอสังหาริมทรัพย์ไทยรีเทล อินเวสเม้นต์ โดย บริษัท แอสเสท เวิรด์ รีเทล จำกัด ภายในโครงการประกอบด้วยร้านค้า ร้านอาหารริมน้ำ นอกจากนี้ยังเป็นที่ตั้งของโรงละครคาลิปโซ่ที่ย้ายมาจากโรงแรมเอเชีย และโรงละครโจหลุยส์ที่ย้ายมาจากสวนลุมไนท์บาซาร์อีกด้วย เอเชียทีค เดอะ ริเวอร์ฟร้อนท์ เดิมเคยเป็นที่ตั้งของท่าเรือ และบริษัทอีสต์เอเชียติก บริษัทเดินเรือสัญชาติเดนมาร์ก มาเปิดกิจการในสมัยรัชกาลที่ 5 โดยสร้างเป็นโกดัง โรงเลื่อย และนำเครื่องจักรขนาดใหญ่หลายตัวมาติดตั้งไว้ ในช่วง สงครามมหาเอเชียบูรพา กองทัพญี่ปุ่นได้เข้ามายึดท่าเรือและคลังสินค้าของบริษัท อีสต์เอเชียติก เพื่อใช้เป็นฐานกำลังและคลังแสง และยังปรากฏมาจนถึงปัจจุบัน กระทั่งในปี พ.ศ.

ดู รายชื่อตลาดในกรุงเทพมหานครและเอเชียทีค เดอะ ริเวอร์ฟร้อนท์

เขตบางพลัด

ตบางพลัด เป็น 1 ใน 50 เขตการปกครองของกรุงเทพมหานคร อยู่ในกลุ่มเขตกรุงธนเหนือ เดิมถือเป็นพื้นที่รอบนอก แต่ปัจจุบันมีความเจริญเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว สภาพทั่วไปเป็นแหล่งการค้าและแหล่งที่อยู่อาศัยหนาแน่นมาก แต่ก็มีแหล่งท่องเที่ยวเชิงประวัติศาสตร์และศิลปวัฒนธรรมตั้งอยู่ด้วยเช่นกัน.

ดู รายชื่อตลาดในกรุงเทพมหานครและเขตบางพลัด

เขตบางกะปิ

ตบางกะปิ เป็น 1 ใน 50 เขตการปกครองของกรุงเทพมหานคร อยู่ในกลุ่มเขตกรุงเทพตะวันออก ซึ่งถือเป็นเขตที่อยู่อาศัยรองรับการขยายตัวของเมือง ทางทิศตะวันออก (ตอนใต้).

ดู รายชื่อตลาดในกรุงเทพมหานครและเขตบางกะปิ

เขตมีนบุรี

ตมีนบุรี เป็น 1 ใน 50 เขตการปกครองของกรุงเทพมหานคร อยู่ในกลุ่มเขตกรุงเทพตะวันออก สภาพภูมิประเทศเป็นที่ราบลุ่ม มีคลองและลำรางไหลผ่านหลายสาย ในอดีตเป็นเรือกสวนไร่นา บ่อปลา นาบัว และไร่หญ้า แต่ปัจจุบันเริ่มลดน้อยลง เนื่องจากพื้นที่หลายแห่งถูกเปลี่ยนสภาพเป็นที่อยู่อาศัยหนาแน่น หมู่บ้าน อาคารพาณิชย์ สถานที่ประกอบการทั้งเล็กและขนาดใหญ.

ดู รายชื่อตลาดในกรุงเทพมหานครและเขตมีนบุรี

เขตคลองสาน

ตคลองสาน เป็น 1 ใน 50 เขตการปกครองของกรุงเทพมหานคร อยู่ในกลุ่มเขตกรุงธนบุรี ซึ่งถือเป็นเขตอนุรักษ์เมืองเก่า แหล่งท่องเที่ยวเชิงประวัติศาสตร์และศิลปวัฒนธรรมทางฝั่งธนบุรี.

ดู รายชื่อตลาดในกรุงเทพมหานครและเขตคลองสาน

เขตคลองเตย

ตลาดคลองเตย เขตคลองเตย เป็น 1 ใน 50 เขตการปกครองของกรุงเทพมหานคร อยู่ในกลุ่มเขตเจ้าพระยา ซึ่งถือเป็นเขตเศรษฐกิจใหม่และการพัฒนาตามแนววงแหวนอุตสาหกรรม.

ดู รายชื่อตลาดในกรุงเทพมหานครและเขตคลองเตย

ดูเพิ่มเติม

ตลาดในกรุงเทพมหานคร

รายชื่อเกี่ยวกับกรุงเทพมหานคร

สิ่งก่อสร้างในกรุงเทพมหานคร

หรือที่รู้จักกันในชื่อ ตลาดในกรุงเทพมหานคร