สารบัญ
12 ความสัมพันธ์: กรุงเทพมหานครรถอีแต๋นรถตุ๊ก ๆสงครามโลกครั้งที่สองในประเทศไทยจักรยานถนนพระรามที่ 3ถนนข้าวหลาม (กรุงเทพมหานคร)ถนนเทพรัตนประเทศญี่ปุ่นเทศบาลนครรังสิตเขตสัมพันธวงศ์เซียน
- เขตสัมพันธวงศ์
กรุงเทพมหานคร
กรุงเทพมหานคร เป็นเมืองหลวงและนครที่มีประชากรมากที่สุดของประเทศไทย เป็นศูนย์กลางการปกครอง การศึกษา การคมนาคมขนส่ง การเงินการธนาคาร การพาณิชย์ การสื่อสาร และความเจริญของประเทศ เป็นเมืองที่มีชื่อยาวที่สุดในโลก ตั้งอยู่บนสามเหลี่ยมปากแม่น้ำเจ้าพระยา มีแม่น้ำเจ้าพระยาไหลผ่านและแบ่งเมืองออกเป็น 2 ฝั่ง คือ ฝั่งพระนครและฝั่งธนบุรี กรุงเทพมหานครมีพื้นที่ทั้งหมด 1,568.737 ตร.กม.
รถอีแต๋น
รถอีแต๋น หรือในชื่อต่าง ๆ เช่น รถเกษตร, รถเกษตรกรรม, รถเกษตรกร, รถขนถ่ายการเกษตร, รถไทยแลนด์ เป็นต้น เป็นรถใช้งานเกษตรกรรมของไทย รถอีแต๋นเป็นรถที่ผลิตเองในประเทศไทย โดยใช้เครื่องยนต์ที่เป็นเครื่องยนต์อเนกประสงค์ ประเภทเครื่องยนต์ดีเซล 1 สูบ สามารถนำมาดัดแปลงเป็นเครื่องสูบน้ำ และเครื่องปั่นไฟ ได้ด้วย ส่วนประกอบอื่นๆของรถอีแต๋นก็นำมาจากอะไหล่รถยนต์มือสองทั่วไป และทำส่วนกะบะท้ายนิยมทำด้วยไม้เพื่อบรรทุกของ เช่น บรรทุกพืชผักในสวน.
รถตุ๊ก ๆ
รถตุ๊ก ๆ ในกรุงเทพฯ รถตุ๊ก ๆ หรือชื่อเรียกทางราชการว่า รถสามล้อเครื่อง เริ่มแรกเป็นการนำรถสามล้อเครื่อง กระบะบรรทุก จากประเทศญี่ปุ่น เข้ามาดัดแปลง เข้ามาในเมืองไทยครั้งแรกปี..
สงครามโลกครั้งที่สองในประเทศไทย
อาณาเขตของประเทศไทยระหว่างสงคราม สงครามโลกครั้งที่สองในประเทศไท.
ดู เซียงกงและสงครามโลกครั้งที่สองในประเทศไทย
จักรยาน
accessdate.
ถนนพระรามที่ 3
ถนนพระรามที่ 3 ช่วงวัดคลองภูมิ ถนนพระรามที่ 3 (Thanon Rama III) เป็นถนนเลียบแม่น้ำเจ้าพระยาในกรุงเทพมหานคร มีระยะทางเริ่มตั้งแต่สะพานกรุงเทพในพื้นที่แขวงบางคอแหลม เขตบางคอแหลม ไปทางทิศตะวันออกเฉียงใต้ ตัดกับถนนเจริญกรุง (แยกถนนตก) ข้ามคลองวัดจันทร์ในเข้าสู่พื้นที่แขวงบางโคล่ ไปทางทิศตะวันออก ตัดกับถนนเจริญราษฎร์ (แยกเจริญราษฎร์) ข้ามคลองบางมะนาว ตัดกับถนนรัชดาภิเษก (แยกพระรามที่ 3-รัชดา) เข้าสู่พื้นที่แขวงบางโพงพาง เขตยานนาวา ไปทางทิศตะวันออกเฉียงใต้ ตัดกับถนนสาธุประดิษฐ์ (แยกสาธุประดิษฐ์) โค้งไปทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือ ข้ามคลองใหม่เข้าสู่พื้นที่แขวงช่องนนทรี ไปทางทิศเหนือ ตัดกับถนนยานนาวา (แยกพระรามที่ 3-ยานนาวา) ถนนวงแหวนอุตสาหกรรม (แยกพระรามที่ 3-สะพานภูมิพล 1 และสะพานภูมิพล 2) ถนนนราธิวาสราชนครินทร์ (แยกพระรามที่ 3-นราธิวาส หรือแยกช่องนนทรี) และถนนนางลิ้นจี่ (แยกนางลิ้นจี่) ไปทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือ ตัดกับถนนเชื้อเพลิงและทางรถไฟเก่าสายช่องนนทรีเข้าสู่พื้นที่แขวงคลองเตย เขตคลองเตย และไปสิ้นสุดที่แยก ณ ระนอง (จุดตัดกับถนนสุนทรโกษาและถนน ณ ระนอง) ถนนพระรามที่ 3 ก่อนวิกฤติเศรษฐกิจ ปี 2540 รัฐบาลในสมัยนั้นได้วางแผนให้ถนนพระรามที่ 3 เป็นถนนธุรกิจแห่งใหม่ของกรุงเทพฯ แทนที่ถนนสีลม ซึ่งประสบปัญหาแออัดและการจราจรติดขัดมาก ในช่วงนั้นเจ้าของธุรกิจหลายๆที่ จึงมองว่าเป็นทำเลทองแห่งใหม่ บางธนาคารและบริษัทย้ายสำนักงานใหญ่มาอยู่ที่ถนนพระรามที่ 3 แห่งนี้ รัฐบาลได้วางนโยบายพร้อมปรับปรุงระบบสาธารณูปโภค พร้อมขยายถนนจาก 4 ช่องทางจราจรไปและกลับ เป็นถนน 8 ช่องจราจรไปและกลับ พร้อมกับถมคลองที่ขนานกับถนน ซึ่งก่อนหน้าที่จะใช้ชื่อว่าถนนพระรามที่ 3 ถนนพระรามที่ 3 ที่เห็นในปัจจุบันใช้ชื่อว่า ถนนรัชดาภิเษก ซึ่งเป็นชื่อถนนที่ตั้งขึ้นเพื่อเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช ในโอกาสพระราชพิธีรัชดาภิเษก เป็นชื่อถนนในโครงการตัดถนนใหม่ของถนนวงแหวนรอบใน นอกจากนี้ ถนนพระรามที่ 3 (ช่วงตั้งแต่แยกถนนสาธุประดิษฐ์ยาวไปถึงแยก นางลิ้นจี่) มีมาแต่เดิมแล้วโดยมีชื่อเป็นทางการว่าถนนนางลิ้นจี่ตอนปลาย หรือประชาชนจะนิยมเรียกว่า ถนนเลียบแม่น้ำเจ้าพระยา เมื่อมีโครงการทำถนนวงแหวนรอบใน จึงมีการตัดถนนเพิ่มเติม(แยกสาธุประดิษฐ์ยาวไปถึงแยกถนนตก) ใช้ชื่อว่าถนนรัชดาภิเษก เมื่อมีโครงการสร้างถนนเศรษฐกิจแห่งใหม่ของกรุงเทพฯ จึงถือโอกาสเปลี่ยนชื่อถนนใหม่เป็น ถนนพระรามที่ 3 ซึ่งถนนพระรามที่ 3 เป็นถนนที่ตั้งชื่อเพื่อเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว เหตุที่คณะรัฐมนตรีมีมติเห็นชอบให้ตั้งชื่อว่า ถนนพระรามที่ 3 เพราะพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงสนพระราชหฤทัยและทรงพระปรีชาสามารถในด้านการค้าตั้งแต่ยังดำรงพระอิสริยยศพระเจ้าลูกยาเธอ กรมหมื่นเจษฎาบดินทร์ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย ถนนเลียบแม่น้ำเจ้าพระยาในอดีตมีเรือกำปั่นบรรทุกสินค้าล่องในลำน้ำช่วงนี้มาจอดเป็นแถวตั้งแต่ถนนตกจนถึงหน้าพระบรมมหาราชวัง และแม้แต่ทุกวันนี้ก็ยังคงป็นที่จอดเรือสินค้าและเป็นที่ขนถ่ายสินค้า จึงตั้งชื่อถนนสายนี้ว่า "ถนนพระรามที่ 3" ซึ่งเป็นชื่อที่เหมาะสมเพราะวางแผนให้ถนนแห่งนี้เป็นถนนเศรษฐกิจการค้า หมวดหมู่:ถนนในเขตยานนาวา หมวดหมู่:ถนนในเขตบางคอแหลม หมวดหมู่:ถนนในเขตคลองเตย หมวดหมู่:สถานที่ที่ตั้งชื่อตามพระนามของพระบรมวงศานุวงศ์ไทย หมวดหมู่:ถนนในกรุงเทพมหานคร.
ถนนข้าวหลาม (กรุงเทพมหานคร)
นนข้าวหลาม (Thanon Khao Lam) เป็นถนนสายหนึ่งในพื้นที่แขวงตลาดน้อย เขตสัมพันธวงศ์ กรุงเทพมหานคร เป็นถนนสายสั้น ๆ มีจุดเริ่มต้นที่จุดตัดระหว่างถนนเจริญกรุง และถนนทรงวาด (วงเวียนข้าวหลาม) จากนั้นทอดไปข้ามสะพานข้ามคลองผดุงกรุงเกษมไปสิ้นสุดที่ถนนมหาพฤฒาราม ใกล้กับแยกไมตรีจิตต์ ในอดีต พื้นที่บริเวณถนนข้าวหลามนี้เคยเป็นที่ตั้งของโรงชำแหละหมู ที่ถูกส่งมาจากสถานีรถไฟหัวลำโพง จึงมักถูกเรียกว่า "ตรอกโรงหมู" (ปัจจุบัน คือ ซอยสุกร 1 และซอยสุกร 2 สามารถเข้าได้อีกทางจากถนนมิตรภาพไทย-จีน ข้างวัดไตรมิตรวิทยารามวรวิหาร) โดยบริเวณนี้ปัจจุบันเป็นแหล่งรวมของร้านอาหารที่หลากหลาย และมีชื่อเสียงโด่งดัง เช่น ข้าวหมูแดง, หมูสะเต๊ะ, โจ๊ก, หอยทอด, ปอเปี๊ยสด, เย็นตาโฟ, ก๋วยเตี๋ยว, บะหมี่และเกี๊ยว, ลูกชิ้นหมูปิ้ง, ไอศครีม เป็นต้น.
ดู เซียงกงและถนนข้าวหลาม (กรุงเทพมหานคร)
ถนนเทพรัตน
นนเทพรัตน (Thanon Debaratana) หรือ ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 34 สายบางนา–หนองไม้แดง เป็นทางหลวงแผ่นดินแนวตะวันตก–ตะวันออก แยกออกมาจากถนนสุขุมวิท ในเขตบางนา กรุงเทพมหานคร แล้วไปบรรจบถนนสุขุมวิทที่ทางแยกต่างระดับหนองไม้แดง ในท้องที่อำเภอเมืองชลบุรี จังหวัดชลบุรี.
ประเทศญี่ปุ่น
ประเทศญี่ปุ่น (ชื่ออย่างเป็นทางการ) เป็นรัฐเอกราชหมู่เกาะในเอเชียตะวันออก ตั้งอยู่ในมหาสมุทรแปซิฟิกนอกฝั่งตะวันออกของแผ่นดินใหญ่เอเชีย ทางตะวันตกติดกับคาบสมุทรเกาหลีและประเทศจีน โดยมีทะเลญี่ปุ่นกั้น ส่วนทางทิศเหนือติดกับประเทศรัสเซีย มีทะเลโอค็อตสค์เป็นเส้นแบ่งแดน ตัวอักษรคันจิของชื่อญี่ปุ่นแปลว่า "ถิ่นกำเนิดของดวงอาทิตย์" จึงทำให้มักได้ชื่อว่า "ดินแดนแห่งอาทิตย์อุทัย" ประเทศญี่ปุ่นเป็นกลุ่มเกาะกรวยภูเขาไฟสลับชั้นซึ่งมีเกาะประมาณ 6,852 เกาะ เกาะใหญ่สุดคือ เกาะฮนชู ฮกไกโด คีวชู และชิโกกุ ซึ่งคิดเป็นพื้นที่แผ่นดินประมาณร้อยละ 97 ของประเทศญี่ปุ่น และมักเรียกว่าเป็นหมู่เกาะเหย้า (home islands) ประเทศแบ่งเป็น 47 จังหวัดใน 8 ภูมิภาค โดยมีฮกไกโดเป็นจังหวัดเหนือสุด และโอกินาวะเป็นจังหวัดใต้สุด ประเทศญี่ปุ่นมีประชากร 127 ล้านคน เป็นประเทศที่มีประชากรมากที่สุดเป็นอันดับ 10 ของโลก ชาวญี่ปุ่นเป็นร้อยละ 98.5 ของประชากรทั้งหมดของประเทศญี่ปุ่น ประมาณ 9.1 ล้านคนอาศัยอยู่ในกรุงโตเกียว เมืองหลวงของประเทศ การวิจัยทางโบราณคดีระบุว่ามีมนุษย์อาศัยในญี่ปุ่นปัจจุบันครั้งแรกตั้งแต่ยุคหินเก่า การกล่าวถึงญี่ปุ่นเป็นลายลักษณ์อักษรครั้งแรกปรากฏในบันทึกของราชสำนักจีนตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 1 ญี่ปุ่นได้รับอิทธิพลจากจีนในหลายด้าน เช่นภาษา การปกครองและวัฒนธรรม แต่ขณะเดียวกันก็มีการปรับเปลี่ยนให้เป็นเอกลักษณ์ของตนเอง จึงทำให้ญี่ปุ่นมีวัฒนธรรมที่โดดเด่นมาจนปัจจุบัน อีกหลายศตวรรษต่อมา ญี่ปุ่นก็รับเอาเทคโนโลยีตะวันตกและนำมาพัฒนาประเทศจนกลายเป็นประเทศที่ก้าวหน้าและมีอิทธิพลมากที่สุดในเอเชียตะวันออก หลังจากแพ้สงครามโลกครั้งที่สอง ญี่ปุ่นก็มีการเปลี่ยนแปลงทางการปกครองโดยการใช้รัฐธรรมนูญใหม่ใน..
เทศบาลนครรังสิต
ทศบาลนครรังสิต หรือ นครรังสิต เป็นเทศบาลนครในเขตอำเภอธัญบุรี จังหวัดปทุมธานี โดยนครรังสิตเป็นเมืองปริมณฑลที่รองรับการขยายตัวของกรุงเทพมหานครในทางตอนเหนือ ในปัจจุบัน รังสิตกลายเป็นจุดศูนย์กลางในการเดินทางต่อไปยังบางจังหวัดในภาคเหนือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และภาคตะวันออก.
เขตสัมพันธวงศ์
ตสัมพันธวงศ์ เป็นเขตที่เล็กที่สุดของกรุงเทพมหานคร อยู่ในกลุ่มเขตกรุงเทพกลาง สภาพพื้นที่ประกอบไปด้วยแหล่งการค้าหนาแน่นและแหล่งท่องเที่ยวเชิงประวัติศาสตร์และศิลปวัฒนธรรม.
เซียน
แปดเซียน ในลัทธิเต๋า เซียน (仙) หมายถึงนักสิทธิ์ ผู้บรรลุถึงอมตภาพทางร่างกายและวิญญาณจนกลายเป็นเทพเจ้าต่าง.
ดูเพิ่มเติม
เขตสัมพันธวงศ์
- คลองถม
- ถนนทรงวาด
- ถนนผดุงด้าว
- ถนนราชวงศ์
- ถนนเยาวราช
- ถนนแปลงนาม
- ธนาคารไทยพาณิชย์ สาขาตลาดน้อย
- พระพุทธมหาสุวรรณปฏิมากร
- วงเวียนโอเดียน
- วัดกันมาตุยาราม
- วัดจักรวรรดิราชาวาสวรมหาวิหาร
- วัดชัยชนะสงคราม
- วัดบพิตรพิมุขวรวิหาร
- วัดบำเพ็ญจีนพรต
- วัดปทุมคงคาราชวรวิหาร
- วัดสัมพันธวงศารามวรวิหาร
- วัดไตรมิตรวิทยารามวรวิหาร
- ศาลเจ้าเล่งบ๊วยเอี๊ยะ
- สะพานพิทยเสถียร
- สะพานหัน
- สำเพ็ง
- เขตสัมพันธวงศ์
- เซียงกง
- เวิ้งนาครเขษม
- แขวงตลาดน้อย
- แยกวัดตึก
- แยกหมอมี
- แยกเฉลิมบุรี
- แยกเอส. เอ. บี.
- โรงพยาบาลเทียนฟ้ามูลนิธิ
- ไชนาทาวน์ (กรุงเทพมหานคร)
หรือที่รู้จักกันในชื่อ ซอยวานิช 2