โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ติดตั้ง
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

บ้านพิษณุโลก

ดัชนี บ้านพิษณุโลก

้านบรรทมสินธุ์ ถ่ายเมื่อ พ.ศ. 2489 บ้านพิษณุโลก เป็นบ้านพักประจำตำแหน่งนายกรัฐมนตรีไทยและเคยใช้เป็นที่ทำการของคณะที่ปรึกษานายกรัฐมนตรีสมัยพลเอกชาติชาย ชุณหะวัณ เป็นบ้านแบบสถาปัตยกรรมที่สวยงาม ออกแบบและสร้างโดย มาริโอ ตามานโญ สถาปนิกประจำราชสำนักสยามชาวอิตาลี (พ.ศ. 2443-2468) มีเนื้อที่ 25 ไร่ 3 งาน เดิมชื่อ “บ้านบรรทมสินธุ์”.

29 ความสัมพันธ์: ชวน หลีกภัยชายกลางชาวอิตาลีชาติชาย ชุณหะวัณบ้านพิบูลธรรมบ้านมนังคศิลาบ้านสี่เสาเทเวศร์บ้านผีสิงบ้านทรายทองพ.ศ. 2535พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวพระยาอนิรุทธเทวา (หม่อมหลวงฟื้น พึ่งบุญ)พอเจตน์ แก่นเพชรกองพันทหารราบที่ 3 กรมทหารราบที่ 1 มหาดเล็กรักษาพระองค์การ์ตูนล้อการเมืองมารีโอ ตามัญโญรุจน์ รณภพสงครามโลกครั้งที่สองจารุณี สุขสวัสดิ์ถนนพิษณุโลกทำเนียบรัฐบาลไทยทูตนายกรัฐมนตรีไทยแปลก พิบูลสงครามเกรียงศักดิ์ ชมะนันทน์เจ้าพระยารามราฆพ (หม่อมหลวงเฟื้อ พึ่งบุญ)เจ้าพระยาธรรมาธิกรณาธิบดีเจ้าพระยาธรรมาธิกรณาธิบดี (หม่อมราชวงศ์ปุ้ม มาลากุล)เปรม ติณสูลานนท์

ชวน หลีกภัย

วน หลีกภัย (28 กรกฎาคม พ.ศ. 2481 —) เป็นนายกรัฐมนตรีไทยคนที่ 20 ดำรงตำแหน่งสองสมัย ปัจจุบันเป็นประธานสภาที่ปรึกษาพรรคประชาธิปัต.

ใหม่!!: บ้านพิษณุโลกและชวน หลีกภัย · ดูเพิ่มเติม »

ชายกลาง

"ชายกลาง" เป็นซิงเกิลที่ขับร้องและประพันธ์คำร้องโดยอภิวัชร์ เอื้อถาวรสุข (แสตมป์) นักร้อง นักแต่งเพลง และสถาปนิกชาวไทย แต่งทำนองโดย สิงโต นำโชค และเรียบเรียงโดย พีระพล ลีละเศรษฐกุล (จ้อ Armchair) สังกัดค่ายเลิฟอีสในเครือของบีอีซี-เทโร มิวสิค ออกจำหน่ายในรูปแบบดิจิตอลดาวโหลดในวันที่ 20 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2555 เนื้อหาของเพลงนี้พูดถึง ผู้ชายหน้าตาธรรมดา แถมจนมักจะไปชอบผู้หญิงที่ดีกว่าตัวเองอยู่เสมอ และเขาก็มักจะมองข้ามการจีบของเราไปตามธรรมชาติ แต่ที่มันน่าเจ็บใจก็คือ เจ้าตัวก็ดันมาชอบบ่นกับเราว่า ทำไมไม่มีผูชายมาจีบฉันซักที อืมม เธอคงไม่นับเราเป็นผู้ชายซินะ จึงสถาปนา สถานะ ชายกลาง ขึ้นมาด้วยประการฉะนี้...

ใหม่!!: บ้านพิษณุโลกและชายกลาง · ดูเพิ่มเติม »

ชาวอิตาลี

วอิตาลี (italiani, Italians) เป็นกลุ่มชาติพันธุ์ (ethnic group) ที่มีวัฒนธรรม และ การสืบเชื้อสายร่วมกัน และพูดภาษาอิตาลีเป็นภาษาแม่ ภายในอิตาลีการเป็นชาวอิตาลีคือการถือสัญชาติอิตาลีไม่ว่าจะสืบเชื้อสายมาจากผู้ใดหรือมาจากประเทศใด ซึ่งแตกต่างจากผู้สืบเชื้อสายมาจากชาวอิตาลี และทางประวัติศาสตร์จากผู้มีเชื้อสายอิตาลีที่ไม่ได้อยู่ในดินแดนที่เป็นของอิตาลีบนคาบสมุทรอิตาลี เพราะการอพยพหลายครั้งออกจากอิตาลีที่เป็นชนพลัดถิ่น มีชาวอิตาลีสัญชาติอิตาลีที่อาศัยอยู่นอกอิตาลี 4 ล้านคน และมีมากกว่า 70 ล้านคนที่มีเชื้อสายเต็มหรือบางส่วน โดยมากแล้วอาศัยอยู่ในอเมริกาใต้ อเมริกาเหนือ และส่วนอื่นของยุโรป.

ใหม่!!: บ้านพิษณุโลกและชาวอิตาลี · ดูเพิ่มเติม »

ชาติชาย ชุณหะวัณ

ลเอก พลเรือเอก พลอากาศเอก ชาติชาย ชุณหะวัณ (5 เมษายน พ.ศ. 2463 — 6 พฤษภาคม พ.ศ. 2541) เป็นนายกรัฐมนตรีไทยคนที่ 17 และเคยดำรงตำแหน่งรองนายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรีในหลายกระทรวงคือ กระทรวงการต่างประเทศ กระทรวงอุตสาหกรรม และ กระทรวงกลาโหม พลเอกชาติชาย เป็นผู้ก่อตั้งพรรคการเมือง 2 พรรค และได้ดำรงตำแหน่งหัวหน้าพรรค คือ พรรคชาติไทย และ พรรคชาติพัฒน.

ใหม่!!: บ้านพิษณุโลกและชาติชาย ชุณหะวัณ · ดูเพิ่มเติม »

บ้านพิบูลธรรม

้านพิบูลธรรม บ้านพิบูลธรรมด้านหลัง บ้านพิบูลธรรมด้านข้างบันไดเวียนภายในบ้านพิบูลธรรม มุมหนึ่งในบ้านพิบูลธรรม อาคารด้านหลังบ้านพิบูลธรรมด้าน บ้านพิบูลธรรม เลขที่ 17 เชิงสะพานกษัตริย์ศึก ยศเส เดิม เขตปทุมวัน ปัจจุบันเป็นที่ตั้งของกระทรวงพลังงาน และหน่วยงานในสังกัด ได้แก่ สำนักงานรัฐมนตรี และสำนักงานปลัดกระทรวง ได้ตั้งอยู่ในพื้นที่ของกรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน.

ใหม่!!: บ้านพิษณุโลกและบ้านพิบูลธรรม · ดูเพิ่มเติม »

บ้านมนังคศิลา

้านมนังคศิลา บ้านมนังคศิลา ตั้งอยู่เลขที่ 514 ถนนหลานหลวง แขวงสี่แยกมหานาค เขตดุสิต กรุงเทพมหานคร เป็นบ้านที่พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว โปรดเกล้าฯ ให้สร้างพระราชทานแก่พระยาอุดมราชภักดี (โถ สุจริตกุล) อดีตอธิบดีกรมชาวที่ ผู้มีหน้าที่ดูแลพระราชฐานที่ประทับทั้งหมด และพระราชทานชื่อบ้านนี้ว่า "มนังคศิลา" อันหมายถึงที่ประทั.

ใหม่!!: บ้านพิษณุโลกและบ้านมนังคศิลา · ดูเพิ่มเติม »

บ้านสี่เสาเทเวศร์

้านสี่เสาเทเวศร์ บ้านสี่เสาเทเวศร์ ตั้งอยู่บนที่ดินของกองทัพบกไทย ถนนศรีอยุธยา เขตดุสิต กรุงเทพมหานคร ใกล้กับสี่แยกสี่เสาเทเวศร์ (จุดตัดระหว่างถนนศรีอยุธยากับถนนสามเสน) มีหอสมุดแห่งชาติ สโมสรกองทัพบก และตลาดเทเวศร์เป็นสถานที่ใกล้เคียง ในอดีตเป็นบ้านพักของจอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต์ อดีตผู้บัญชาการทหารบก ปัจจุบันพลเอกเปรม ติณสูลานนท์ ประธานองคมนตรี รัฐบุรุษ และอดีตนายกรัฐมนตรี ใช้เป็นบ้านพักมาตั้งแต่สมัยที่เป็นผู้บัญชาการทหารบก.

ใหม่!!: บ้านพิษณุโลกและบ้านสี่เสาเทเวศร์ · ดูเพิ่มเติม »

บ้านผีสิง

้านวินเชสเตอร์มีสตรี เชื่อว่าเป็นบ้านผีสิง บ้านผีสิง หมายถึงบ้านหรือที่อยู่อาศัยที่เชื่อว่าเป็นที่ที่มีสิ่งลึกลับเกิดขึ้นหรือปรากฏการณ์เหนือธรรมชาติเกิดขึ้น ซึ่งอาจหมายถึง ผี วิญญาณ หรือ สิ่งชั่วร้ายอย่างปีศาจ บ้านผีสิงมักจะเป็นที่อยู่อาศัยของวิญญาณคนตายที่อาจเคยอาศัยอยู่เดิมหรือคุ้นเคยกับสถานที่ เรื่องราวในบ้านที่เกิดขึ้นอาจจะพูดได้ว่ามีส่วนเกี่ยวข้องกับเหตุการณ์รุนแรงหรือโศกนาฏกรรม ภายในอาคารในอดีตที่ผ่านมาอย่างเช่น ฆาตกรรม การเสียชีวิตโดยอุบัติเหตุ หรือการฆ่าตัวตาย ทั้งในเรื่องไม่นานไปจนถึงในอดีตอันยาวนาน ในความเชื่อหลายวัฒนธรรมและศาสนา เชื่อว่าหลังความตายยังคงมีวิญญาณล่องลอยอยู่ ในบ้านผีสิงอาจจะมีเสียงลึกลับหรือการปรากฏตัวของผี หรือแม้กระทั่งการทำให้วัตถุ สิ่งของเคลื่อนที่ หลายตำนานเกี่ยวกับบ้านผีสิง มีปรากฏในวรรณกรรม ที่แสดงในเนื้อเรื่องของนิยายสยองขวัญหรือนิยายแนวกอธิก หรือนิยายปรากฏการณ์เหนือธรรมชาติ นักเขียนในยุคโรมันอย่าง เพลาตุส พลินิผู้ลูก และ ลูเซียน เขียนเรื่องราวเกี่ยวกับบ้านผีสิงไว้ เช่นเดียวกับวรรณกรรม อาหรับราตรี และนักเขียนรุ่นใหม่ตั้งแต่ เฮนรี เจมส์ ไปจนถึง สตีเฟน คิง ก็มีเรื่องราวที่เขียนเช่นนี้เช่นกัน ส่วนเรื่องเขียนเกี่ยวกับปราสาทและคฤหาสน์ผีสิง มีทั่วไปในวรรณกรรมกอธิก เช่นเรื่อง แดร็กคูลา โครงสร้างของนิยายแนวบ้านผีสิง เป็นได้ตั้งแต่ปราสาทผีสิงเก่า ๆ ไปจนถึงบ้านนอกเมืองแบบชาวไร่ โดยบ้านเก่า ๆ มักจะใช้ในการแต่งเป็นบ้านผีสิง ส่วนบ้านผีสิงในฉบับอเมริกันที่ใช้บ้านในสไตล์วิกตอเรียน (โดยเฉพาะอย่างยิ่ง แบบเซคันด์เอมไพร์) มีที่มาจากเหตุการณ์วิกฤตการณ์ ค.ศ. 1893.

ใหม่!!: บ้านพิษณุโลกและบ้านผีสิง · ดูเพิ่มเติม »

บ้านทรายทอง

้านทรายทอง และ พจมาน สว่างวงศ์ เป็นนวนิยายอมตะเรื่องหนึ่งของวงการวรรณกรรมไทย เขียนโดย ก.สุรางคนางค์ (กัณหา เคียงศิริ ศิลปินแห่งชาติ สาขาวรรณศิลป์ ปี 2529) นักประพันธ์ผู้มีชื่อเสียง ตีพิมพ์ครั้งแรกในนิตยสารรายปักษ์ชื่อ "ปิยมิตร" ประมาณปี พ.ศ. 2493 เคยเป็น ละครโทรทัศน์และ ภาพยนตร์ ได้รับความนิยมสูงตลอดมา สวลี ผกาพันธุ์ มีชื่อเสียงจากบทสาวน้อยถักผมเปีย พจมาน สว่างวงศ์ คนแรกในวงการแสดง จากละครเวทีของคณะอัศวินการละคร ของ เสด็จพระองค์ชายใหญ่ (ภาณุพันธุ์) ที่ ศาลาเฉลิมไท..

ใหม่!!: บ้านพิษณุโลกและบ้านทรายทอง · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2535

ทธศักราช 2535 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1992 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันพุธตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: บ้านพิษณุโลกและพ.ศ. 2535 · ดูเพิ่มเติม »

พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว

ระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาวชิราวุธฯ พระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว หรือ พระบาทสมเด็จพระรามาธิบดีศรีสินทรมหาวชิราวุธ พระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว (1 มกราคม พ.ศ. 2423 – 26 พฤศจิกายน พ.ศ. 2468) เป็นพระมหากษัตริย์ไทยรัชกาลที่ 6 ในราชวงศ์จักรี เสด็จพระราชสมภพเมื่อวันเสาร์ เดือนยี่ ขึ้น 2 ค่ำ ปีมะโรง ตรงกับวันที่ 1 มกราคม..

ใหม่!!: บ้านพิษณุโลกและพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว · ดูเพิ่มเติม »

พระยาอนิรุทธเทวา (หม่อมหลวงฟื้น พึ่งบุญ)

มหาเสวกเอก พลตรี พระยาอนิรุทธเทวา (หม่อมหลวงฟื้น พึ่งบุญ) อดีตผู้บัญชาการกรมมหรสพในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว.

ใหม่!!: บ้านพิษณุโลกและพระยาอนิรุทธเทวา (หม่อมหลวงฟื้น พึ่งบุญ) · ดูเพิ่มเติม »

พอเจตน์ แก่นเพชร

อเจตน์ แก่นเพชร นักแสดงชาวไทย เกิดเมื่อวันที่ 19 กรกฎาคม พ.ศ. 2491 http://www.thaifilm.com/forumDetail.asp?topicID.

ใหม่!!: บ้านพิษณุโลกและพอเจตน์ แก่นเพชร · ดูเพิ่มเติม »

กองพันทหารราบที่ 3 กรมทหารราบที่ 1 มหาดเล็กรักษาพระองค์

ทหารในสังกัดกองพันทหารราบที่ 3 กรมทหารราบที่ 1 มหาดเล็กรักษาพระองค์ แต่งกายแบบเต็มยศ พร้อมด้วยธงชัยเฉลิมพลประจำหน่วย กองพันทหารราบที่ 3 กรมทหารราบที่ 1 มหาดเล็กรักษาพระองค์ (คำย่อ: ร.1 พัน.3 รอ.) เป็นหน่วยที่ตั้งขึ้นในสมัยของพระบาทสมเด็จพระมงกุฏเกล้าเจ้าอยู่หัว กองพันนี้ได้ถือกำเนิดมาจากกองทหารรักษาวัง ซึ่งพระบาทสมเด็จพระมงกุฏเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงดำริว่า "การทหารวังนั้น มิใช่มีหน้าที่เฉพาะของทหาร แต่เป็นหน้าที่ของกรมวังนอก" ซึ่งเป็นกรมพลเรือนในเขตพระราชฐาน และกองพันนี้พระบาทสมเด็จพระมงกุฏเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงตั้งขึ้นด้วยพระองค์เอง และพระราชทานเครื่องแบบให้หน่วยนี้ โดยใช้สีบานเย็นเป็นหลัก เมื่อพระบาทสมเด็จพระมงกุฏเกล้าเจ้าอยู่หัวเสด็จสวรรคต หน่วยนี้ก็ลดขนาดลง จนเหลือเพียงระดับกองพัน 1 กองพันและรักษาประวัติความเป็นหน่วยในรัชกาลที่ 6 อยู่ เมื่อมาขึ้นตรงกับกรมทหารราบที่ 1 มหาดเล็กรักษาพระองค์แล้ว ก็มีนามหน่วยว่า กองพันทหารราบที่ 3 กรมทหารราบที่ 1 มหาดเล็กรักษาพระองค์ ในพระบาทสมเด็จพระมงกุฏเกล้าเจ้าอยู่หัว กองพันนี้ได้รับพระราชทานธงไชยเฉลิมพลครั้งแรกเมื่อวันที่ 11 พฤษภาคม..

ใหม่!!: บ้านพิษณุโลกและกองพันทหารราบที่ 3 กรมทหารราบที่ 1 มหาดเล็กรักษาพระองค์ · ดูเพิ่มเติม »

การ์ตูนล้อการเมือง

กรมรถไฟหลวง ฝีพระหัตถ์โดย รัชกาลที่ 6 ถือได้ว่าเป็นการ์ตูนล้อการเมืองภาพแรกๆ ของไทย การ์ตูนล้อการเมือง (Political Cartoon) หรือ การ์ตูนบรรณาธิการ (Editorial Cartoon) คือ ภาพการ์ตูนที่วาดและตีพิมพ์ลงสื่อสิ่งพิมพ์ต่างๆ เช่น หนังสือพิมพ์, นิตยสาร โดยมีเนื้อหาล้อเลียนหรือวิพากษ์วิจารณ์สภาพสังคม, เศรษฐกิจและการเมือง จุดประสงค์เพื่อความสนุกสนานและความขบขัน ในบางครั้งอาจสอดแทรกถึงวิธีการแก้ปัญหานั้นๆ จะมีคำบรรยายหรือไม่มีก็ได้ โดยนักวาดการ์ตูนล้อการเมืองนั้น ถือว่า เป็นคอลัมนิสต์หรือบรรณาธิการคนหนึ่งของหนังสือพิมพ์ฉบับนั้นๆ เรียกว่า นักเขียนการ์ตูน (Cartoonist).

ใหม่!!: บ้านพิษณุโลกและการ์ตูนล้อการเมือง · ดูเพิ่มเติม »

มารีโอ ตามัญโญ

มารีโอ ตามัญโญ (Mario Tamagno) (เกิด 19 มิถุนายน พ.ศ. 2420 - พ.ศ. 2484) เป็นสถาปนิกชาวอิตาลี เกิดที่เมืองตูริน ประเทศอิตาลี เข้ารับราชการในกระทรวงโยธาธิการแห่งประเทศสยามเมื่อปี พ.ศ. 2443 โดยมีสัญญาว่าจ้างเป็นเวลา 25 ปี นายมารีโอ ตามัญโญ มีผลงานออกแบบสถาปัตยกรรมในประเทศไทยที่สำคัญหลายแห่ง ในสมัยรัชกาลที่ 5 ทั้ง สะพานมัฆวานรังสรรค์, พระที่นั่งอนันตสมาคม, วังปารุสกวัน, ท้องพระโรงวังสวนกุหลาบ, สถานีรถไฟกรุงเทพ, บ้านพิษณุโลก (ชื่อเดิมคือ บ้านบรรทมสินธุ์), พระตำหนักเมขลารุจี ภายในพระราชวังพญาไท, ตึกไทยคู่ฟ้าทำเนียบรัฐบาล (ชื่อเดิมคือ ตึกไกรสร), ห้องสมุดนีลเซนเฮส์ เป็นต้น.

ใหม่!!: บ้านพิษณุโลกและมารีโอ ตามัญโญ · ดูเพิ่มเติม »

รุจน์ รณภพ

รุจน์ รณภพ (พ.ศ. 2474บางแหล่งก็ว่า พ.ศ. 2474 บางแหล่งก็ว่า พ.ศ. 2475 ส่วนวันที่นั้นบางแหล่งระบุว่า 17 กรกฎาคม บางแหล่งระบุว่า 13 กรกฎาคม — 27 ธันวาคม พ.ศ. 2552) มีชื่อจริงว่า สุรินทร์ เจริญปุระ อดีตนักแสดง นักเขียนบท ผู้กำกับภาพยนตร์ และผู้กำกับละครโทรทัศน์ เข้าเรียนที่โรงเรียนวิศวกรรมรถไฟ มักกะสัน เลขประจำตัว 1286 เมื่อปี..

ใหม่!!: บ้านพิษณุโลกและรุจน์ รณภพ · ดูเพิ่มเติม »

สงครามโลกครั้งที่สอง

งครามโลกครั้งที่สอง (World War II หรือ Second World Warคำว่าสงครามโลกครั้งที่สองในภาษาอังกฤษนั้น ในเอกสารประวัติศาสตร์อย่างเป็นทางการของสหราชอาณาจักรและชาติตะวันตกใช้คำว่า "Second World War" ส่วนในสหรัฐใช้คำว่า "World War II" (ย่อเป็น "WWII" หรือ "WW2") ซึ่งเอกสารประวัติศาสตร์อย่างเป็นทางการในประเทศส่วนใหญ่มักจะใช้ภาษาอังกฤษว่า "Second World War" (เช่น Zweiter Weltkrieg ในภาษาเยอรมัน; Segunda Guerra mundial ในภาษาสเปน; Seconde Guerre mondiale ในภาษาฝรั่งเศส) แต่ทั้งสองคำนี้โดยทั่วไปแล้วสามารถใช้แทนกันได้; แม้ในประวัติศาสตร์การทหารอย่างเป็นทางการ คำว่า "Second World War" ถูกสร้างขึ้นโดย แฟรงก์ บี. เคลล็อก รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศสหรัฐอเมริกา; ส่วนคำว่า "World War II" พบใช้เป็นครั้งแรกในนิตยสาร ไทมส์ เมื่อวันที่ 12 มิถุนายน ค.ศ. 1939 ซึ่งเป็นผู้ประดิษฐ์คำว่า "World War I" ขึ้นในอีกสามเดือนต่อมา; มักย่อเป็น WWII หรือ WW2) เป็นสงครามทั่วโลกกินเวลาตั้งแต่ปี 1939 ถึง 1945 ประเทศส่วนใหญ่ในโลกมีส่วนเกี่ยวข้อง รวมทั้งรัฐมหาอำนาจทั้งหมด แบ่งเป็นพันธมิตรทางทหารคู่สงครามสองฝ่าย คือ ฝ่ายสัมพันธมิตรและฝ่ายอักษะ เป็นสงครามที่กว้างขวางที่สุดในประวัติศาสตร์ มีทหารกว่า 100 ล้านนายจากกว่า 30 ประเทศเข้าร่วมโดยตรง สงครามนี้มีลักษณะเป็น "สงครามเบ็ดเสร็จ" คือ ประเทศผู้ร่วมสงครามหลักทุ่มขีดความสามารถทางเศรษฐกิจ อุตสาหกรรมและวิทยาศาสตร์ทั้งหมดเพื่อความพยายามของสงคราม โดยลบเส้นแบ่งระหว่างทรัพยากรของพลเรือนและทหาร ประเมินกันว่าสงครามมีมูลค่าราว 1 ล้านล้านดอลลาร์สหรัฐ ประเมินกันว่ามีผู้เสียชีวิตระหว่าง 50 ถึง 85 ล้านคน ด้วยประการทั้งปวง สงครามโลกครั้งที่สองจึงนับว่าเป็นสงครามขนาดใหญ่ที่สุด ใช้เงินทุนมากที่สุด และมีผู้เสียชีวิตสูงสุดในประวัติศาสตร์มนุษยชาติ จักรวรรดิญี่ปุ่นซึ่งมีเป้าหมายครอบงำทวีปเอเชียและแปซิฟิกและทำสงครามกับจีนมาตั้งแต่ปี 1937 แล้ว แต่โดยทั่วไปถือว่าสงครามโลกครั้งที่สองเริ่มตั้งแต่การบุกครองโปแลนด์ของเยอรมนีในวันที่ 1 กันยายน 1939 นำไปสู่การประกาศสงครามต่อเยอรมนีของประเทศฝรั่งเศสและสหราชอาณาจักร ตั้งแต่ปลายปี 1939 ถึงต้นปี 1941 ในการทัพและสนธิสัญญาต่าง ๆ ประเทศเยอรมนีพิชิตหรือควบคุมยุโรปภาคพื้นทวีปได้ส่วนใหญ่ และตั้งพันธมิตรอักษะกับอิตาลีและญี่ปุ่น ภายใต้สนธิสัญญาโมโลตอฟ–ริบเบนทรอพเมื่อเดือนสิงหาคม 1939 เยอรมนีและสหภาพโซเวียตแบ่งแลผนวกดินแดนประเทศเพื่อนบ้านยุโรปของตน ได้แก่ โปแลนด์ ฟินแลนด์ โรมาเนียและรัฐบอลติก สงครามดำเนินต่อส่วนใหญ่ระหว่างชาติฝ่ายอักษะยุโรปและแนวร่วมสหราชอาณาจักรและเครือจักรภพบริติช โดยมีการทัพอย่างการทัพแอฟริกาเหนือและแอฟริกาตะวันออก ยุทธการที่บริเตนซึ่งเป็นการสู้รบทางอากาศ การทัพทิ้งระเบิดเดอะบลิตซ์ การทัพบอลข่าน ตลอดจนยุทธการที่แอตแลนติกที่ยืดเยื้อ ในเดือนมิถุนายน 1941 ชาติอักษะยุโรปบุกครองสหภาพโซเวียต เปิดฉากเขตสงครามภาคพื้นดินที่ใหญ่ที่สุดในประวัติศาสตร์ ซึ่งทำให้กำลังทหารสำคัญของฝ่ายอักษะตกอยู่ในสงครามบั่นทอนกำลัง ในเดือนธันวาคม 1941 ญี่ปุ่นโจมตีสหรัฐและอาณานิคมยุโรปในมหาสมุทรแปซิฟิก และพิชิตมหาสมุทรแปซิฟิกตะวันตกส่วนมากได้อย่างรวดเร็ว การรุกของฝ่ายอักษะยุติลงในปี 1942 หลังญี่ปุ่นปราชัยในยุทธนาวีที่มิดเวย์ใกล้กับฮาวายที่สำคัญ และเยอรมนีปราชัยในแอฟริกาเหนือและจากนั้นที่สตาลินกราดในสหภาพโซเวียต ในปี 1943 จากความปราชัยของเยอรมนีติด ๆ กันที่เคิสก์ในยุโรปตะวันออก การบุกครองอิตาลีของฝ่ายสัมพันธมิตรซึ่งนำให้อิตาลียอมจำนน จนถึงชัยของฝ่ายสัมพันธมิตรในมหาสมุทรแปซิฟิก ฝ่ายอักษะเสียการริเริ่มและต้องล่าถอยทางยุทธศาสตร์ในทุกแนวรบ ในปี 1944 ฝ่ายสัมพันธมิตรบุกครองฝรั่งเศสในการยึดครองของเยอรมนี ขณะเดียวกันกับที่สหภาพโซเวียตยึดดินแดนที่เสียไปทั้งหมดคืนและบุกครองเยอรมนีและพันธมิตร ระหว่างปี 1944 และ 1945 ญี่ปุ่นปราชัยสำคัญในทวีปเอเชียในภาคกลางและภาคใต้ของจีนและพม่า ขณะที่ฝ่ายสัมพันธมิตรก่อความเสียหายต่อกองทัพเรือญี่ปุ่นและยึดหมู่เกาะแปซิฟิกตะวันตกที่สำคัญ สงครามในยุโรปยุติลงหลังกองทัพแดงยึดกรุงเบอร์ลินได้ และการยอมจำนนอย่างไม่มีเงื่อนไขของเยอรมนีเมื่อวันที่ 8 สิงหาคม 1945 แม้จะถูกโดดเดี่ยวและตกอยู่ในสภาพเสียเปรียบอย่างยิ่ง ญี่ปุ่นยังปฏิเสธที่จะยอมจำนน กระทั่งมีการทิ้งระเบิดนิวเคลียร์สองลูกถล่มญี่ปุ่น และการบุกครองแมนจูเรีย จึงได้นำไปสู่การยอมจำนนอย่างเป็นทางการของญี่ปุ่นเมื่อวันที่ 2 กันยายน 1945 สงครามยุติลงด้วยชัยชนะของฝ่ายสัมพันธมิตร ผลของสงครามได้เปลี่ยนแปลงการวางแนวทางการเมืองและโครงสร้างสังคมของโลก สหประชาชาติถูกสถาปนาขึ้น เพื่อส่งเสริมความร่วมมือระหว่างประเทศและเพื่อป้องกันความขัดแย้งในอนาคต สหรัฐอเมริกากับสหภาพโซเวียตก้าวเป็นอภิมหาอำนาจของโลกอันเป็นคู่ปรปักษ์กัน นำไปสู่ความขัดแย้งบนเวทีแห่งสงครามเย็น ซึ่งได้ดำเนินต่อมาอีก 46 ปีหลังสงคราม ขณะเดียวกัน การยอมรับหลักการการกำหนดการปกครองด้วยตนเอง เร่งให้เกิดการเคลื่อนไหวเพื่อเรียกร้องเอกราชในทวีปเอเชียและทวีปแอฟริกา พร้อม ๆ กับที่หลายประเทศได้มุ่งหน้าฟื้นฟูเศรษฐกิจซึ่งอุตสาหกรรมได้รับความเสียหายระหว่างสงคราม และบูรณาการทางการเมืองได้เกิดขึ้นทั่วโลกในความพยายามที่จะรักษาเสถียรภาพความสัมพันธ์หลังสงคราม.

ใหม่!!: บ้านพิษณุโลกและสงครามโลกครั้งที่สอง · ดูเพิ่มเติม »

จารุณี สุขสวัสดิ์

รุณี สุขสวัสดิ์ (ชื่อแคโรลีน เดส์แน็ช Caroline Desneiges.) นักแสดง ศิลปินและดาวค้างฟ้าตลอดกาล เจ้าของฉายา "ดาราทอง" "ราชินีจอเงิน" "ราชินีนักบู๊" หนึ่งในตำนานนางเอกหนังไทยขวัญใจมหาชน เกิดเมื่อวันที่ 12 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2505 มีบิดาเป็นชาวฝรั่งเศส ชื่อแฟร์น็อง เดส์แน็ช (Fernand Desneiges) และมารดาเป็นชาวไทย ชื่อระเบียบ สุขสวั.

ใหม่!!: บ้านพิษณุโลกและจารุณี สุขสวัสดิ์ · ดูเพิ่มเติม »

ถนนพิษณุโลก

นนพิษณุโลก (Thanon Phitsanulok) เป็นถนนสายหนึ่งในเขตดุสิต กรุงเทพมหานคร มีระยะทางตั้งแต่ถนนสามเสน ใต้ถนนศรีอยุธยา แขวงดุสิต ไปทางทิศตะวันออกเฉียงใต้ ตัดกับถนนนครราชสีมา (แยกวังแดง) วังปารุสกวัน และสวนมิสกวัน ตัดกับถนนราชดำเนินนอก (แยกสวนมิสกวัน) และถนนพระรามที่ 5 (แยกพาณิชยการ) เข้าสู่แขวงสวนจิตรลดา จากนั้นตัดกับถนนนครสวรรค์ที่แยกนางเลิ้ง (แยกสนามม้า) และเป็นเส้นแบ่งเขตการปกครองระหว่างแขวงสวนจิตรลดากับแขวงสี่แยกมหานาคไปจนสุดถนนที่ทางรถไฟสายนครราชสีมา (ทางรถไฟสายเหนือก็เรียก) ณ แยกยมราชซึ่งเป็นหัวถนนเพชรบุรี ถนนพิษณุโลกนี้มีนามเดิมว่า "ถนนคอเสื้อ" เป็นถนนที่พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวโปรดเกล้าฯ ให้สร้างขึ้น เป็นถนนในโครงการถนนอำเภอดุสิต ซึ่งทรงริเริ่มขึ้นพร้อมกับการสร้างพระราชวังดุสิตใน พ.ศ. 2441 ต่อมาได้เปลี่ยนชื่อเป็นถนนพิษณุโลกเนื่องจากผ่านวังปารุสกวัน ซึ่งเป็นที่ประทับในสมเด็จเจ้าฟ้าจักรพงษ์ภูวนารถ กรมหลวงพิษณุโลกประชานารถ ชื่อถนนคอเสื้อได้มาจากการเขียนลายรูปค้างคาวต่อ ๆ กันในที่แคบ จึงกลายเป็นลายกระจังหรือที่เรียกว่า "คอเสื้อ" หมายถึง ฮก (ความสุข) ซึ่งเป็นหนึ่งลักษณะมงคลของจีนสามประการ ("ฮก ลก ซิ่ว" - ความสุข ลาภยศ อายุยืนนาน).

ใหม่!!: บ้านพิษณุโลกและถนนพิษณุโลก · ดูเพิ่มเติม »

ทำเนียบรัฐบาลไทย

ทำเนียบรัฐบาล เป็นสถานที่ราชการสำคัญที่สุดแห่งหนึ่งของประเทศไทย เนื่องจากเป็นสถานที่ทำงานของรัฐบาลไทย นายกรัฐมนตรี รองนายกรัฐมนตรี รัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี ตลอดจนข้าราชการและเจ้าหน้าที่ ในสังกัดสำนักนายกรัฐมนตรี, สถานที่ประชุมคณะรัฐมนตรี, สถานที่ต้อนรับบุคคลสำคัญระดับผู้นำต่างประเทศ ซึ่งมาเยือนประเทศไทย และยังใช้เป็นสถานที่จัดรัฐพิธี เช่น งานสโมสรสันนิบาตเฉลิมพระเกียรติ เนื่องในวันเฉลิมพระชนมพรรษาฯ เป็นต้น ตั้งอยู่เลขที่ 1 ถนนพิษณุโลก แขวงดุสิต เขตดุสิต กรุงเทพมหานคร มีเนื้อที่ทั้งสิ้น 2 ไร่ 3 งาน 44 ตารางว.

ใหม่!!: บ้านพิษณุโลกและทำเนียบรัฐบาลไทย · ดูเพิ่มเติม »

ทูต

ทูต มีความหมายว่า ตัวแทน, ผู้รับเจรจาแทน อาจหมายถึง.

ใหม่!!: บ้านพิษณุโลกและทูต · ดูเพิ่มเติม »

นายกรัฐมนตรีไทย

นายกรัฐมนตรีไทย เป็นประธานแห่งคณะรัฐมนตรีไทย และทำหน้าที่หัวหน้ารัฐบาลของประเทศไทย โดยมีจุดกำเนิดมาจากการปฏิวัติสยาม พ.ศ. 2475 ในการเปลี่ยนแปลงการปกครองสู่ราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญและประชาธิปไตยระบบรัฐสภา โดยปกติแล้วนายกรัฐมนตรีในระบอบประชาธิปไตยจะมีที่มาจากสภาผู้แทนราษฎรไทย ซึ่งโดยหลักแล้วถือว่านายกรัฐมนตรีมีต้องมาจากการแต่งตั้งทางอ้อมโดยประชาชน แต่รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (ฉบับชั่วคราว) พุทธศักราช 2557 กำหนดให้พระมหากษัตริย์ทรงแต่งตั้งนายกรัฐมนตรีตามมติสภานิติบัญญัติแห่งชาติ (สภาที่พระมหากษัตริย์ทรงแต่งตั้ง) ซึ่งผลการลงมติเลือกนายกรัฐมนตรีปรากฏว่า พลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา หัวหน้าคณะรักษาความสงบแห่งชาติ ได้รับเลือกเป็นนายกรัฐมนตรี.

ใหม่!!: บ้านพิษณุโลกและนายกรัฐมนตรีไทย · ดูเพิ่มเติม »

แปลก พิบูลสงคราม

งครามอินโดจีน พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เมื่อครั้งผนวชทรงรับบาตรจากจอมพล ป. นายกรัฐมนตรีในขณะนั้น จอมพล จอมพลเรือ จอมพลอากาศ แปลก พิบูลสงคราม (14 กรกฎาคม พ.ศ. 2440 – 11 มิถุนายน พ.ศ. 2507) หรือที่เรียกกันทั่วไปว่า "จอมพล ป.พิบูลสงคราม" เป็นนายกรัฐมนตรีไทยที่ดำรงตำแหน่งนานที่สุด คือ 14 ปี 11 เดือน 18 วัน รวม 8 สมัย และเป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย มีนโยบายที่สำคัญคือ การมุ่งมั่นพัฒนาประเทศไทย ให้มีความเจริญรุ่งเรืองทัดเทียมนานาอารยประเทศ มีการปลุกระดมให้คนไทยรู้สึกรักชาติ โดยออกประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วย "รัฐนิยม" หลายอย่าง ซึ่งบางอย่างได้ประกาศเป็นกฎหมายในภายหลัง หลายอย่างกลายเป็นวัฒนธรรมของชาติ เช่น การรำวง, ก๋วยเตี๋ยวผัดไทย เป็นผู้เปลี่ยนชื่อ "ประเทศสยาม" เป็น "ประเทศไทย" และเป็นผู้เปลี่ยน "เพลงชาติไทย" มาเป็นเพลงที่ใช้กันอยู่ในปัจจุบัน คำขวัญที่รู้จักกันดีของนายกรัฐมนตรีผู้นี้คือ "เชื่อผู้นำชาติพ้นภัย" หรือ "ท่านผู้นำไปไหนฉันไปด้วย" และ "ไทยอยู่คู่ฟ้า" ในสายตานักวิชาการประวัติศาสตร์การเมืองไทยส่วนหนึ่งเห็นว่า จอมพล ป. พิบูลสงคราม เป็นเผด็จการทางทหารที่มีบทบาททางการเมืองสูง และให้ความสนใจกับความคิดที่ส่อไปในทางเชื้อชาตินิยม จอมพล ป. พิบูลสงคราม ถึงแก่อสัญกรรม เมื่อวันที่ 11 มิถุนายน พ.ศ. 2507 ในเวลาประมาณ 20.30 น. ณ บ้านพักส่วนตัว ชานกรุงโตเกียว สิริอายุได้ 67 ปี.

ใหม่!!: บ้านพิษณุโลกและแปลก พิบูลสงคราม · ดูเพิ่มเติม »

เกรียงศักดิ์ ชมะนันทน์

ลเอก พลเรือเอก พลอากาศเอก เกรียงศักดิ์ ชมะนันทน์ (17 ธันวาคม พ.ศ. 2460 - 23 ธันวาคม พ.ศ. 2546) อดีตนายกรัฐมนตรี รัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง ผู้บัญชาการทหารสูง.

ใหม่!!: บ้านพิษณุโลกและเกรียงศักดิ์ ชมะนันทน์ · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าพระยารามราฆพ (หม่อมหลวงเฟื้อ พึ่งบุญ)

ลเอก พลเรือเอก มหาเสวกเอก จางวางเอก นายพลเสือป่า เจ้าพระยารามราฆพ (5 ตุลาคม พ.ศ. 2433 - 21 ตุลาคม พ.ศ. 2510) อดีตองคมนตรี อดีตสมุหราชองครักษ์ อดีตสมุหพระราชมนเทียร อดีตประธานกรรมการพระราชสำนัก อดีตนายกเทศมนตรีเทศบาลนครกรุงเทพฯ และ อดีตนายกสมาคมฟุตบอลแห่งประเทศสยาม ในพระบรมราชูปถัม.

ใหม่!!: บ้านพิษณุโลกและเจ้าพระยารามราฆพ (หม่อมหลวงเฟื้อ พึ่งบุญ) · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าพระยาธรรมาธิกรณาธิบดี

้าพระยาธรรมาธิกรณาธิบดี สามารถหมายถึง.

ใหม่!!: บ้านพิษณุโลกและเจ้าพระยาธรรมาธิกรณาธิบดี · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าพระยาธรรมาธิกรณาธิบดี (หม่อมราชวงศ์ปุ้ม มาลากุล)

ล้อเจ้าพระยาธรรมาธิกรณาธิบดี ฝีพระหัตถ์ รัชกาลที่ 6 มหาเสวกเอก เจ้าพระยาธรรมาธิกรณาธิบดี มีนามเดิมว่า หม่อมราชวงศ์ปุ้ม มาลากุล อดีตเสนาบดีกระทรวงวัง (ปัจจุบันคือสำนักพระราชวัง เทียบเท่าตำแหน่งเลขาธิการสำนักพระราชวัง) ในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวและพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว.

ใหม่!!: บ้านพิษณุโลกและเจ้าพระยาธรรมาธิกรณาธิบดี (หม่อมราชวงศ์ปุ้ม มาลากุล) · ดูเพิ่มเติม »

เปรม ติณสูลานนท์

ลเอก พลเรือเอก พลอากาศเอก เปรม ติณสูลานนท์ ประธานองคมนตรี รัฐบุรุษ อดีตผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ในสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร และนายกรัฐมนตรีไทยคนที่ 16 ดำรงตำแหน่ง 3 สมัย ระหว่างปี..

ใหม่!!: บ้านพิษณุโลกและเปรม ติณสูลานนท์ · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

บ้านบรรทมสินธุ์

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »