สารบัญ
3 ความสัมพันธ์: พระธรรม (ศาสนาพุทธ)พระธรรมโกศาจารย์ (เงื่อม อินฺทปญฺโญ)ศาสนาพุทธ
- คำและวลีภาษาสันสกฤต
- หลักธรรมของศาสนาฮินดู
พระธรรม (ศาสนาพุทธ)
ระธรรมราชบัณฑิตยสถาน, พจนานุกรมศัพท์ศาสนาสากล อังกฤษ-ไทย ฉบับราชบัณฑิตยสถาน, พิมพ์ครั้งที่ 3, ราชบัณฑิตยสถาน, 2552, หน้า 454 หมายถึงธรรมะซึ่งพระพุทธเจ้าทรงค้นพบและนำออกเผยแผ่ หรือคำสอนของพระพุทธเจ้า เกี่ยวกับความจริงตามธรรมชาติของทุกข์และวิธีการดับทุกข์ ธรรมะของพระพุทธเจ้านั้นแต่เริ่มสืบทอดกันด้วยวิธีท่องจำแบบปากต่อปาก เรียกว่า "มุขปาฐะ" สมัยต่อมาจึงได้มีการบันทึกไว้เป็นลายลักษณ์อักษร คัมภีร์ที่บันทึกพระธรรมของพระพุทธเจ้านั้น เรียกว่า พระไตรปิฎก และยังมีคัมภีร์อื่นๆ ที่แต่งภายหลังเพื่อขยายความอีก ได้แก่ อรรถกถา ฎีกา อนุฎีกา ตามลำดับ ธรรมที่พระพุทธเจ้าทรงค้นพบนั้น เป็นสิ่งที่มีอยู่แต่เดิมแล้ว ไม่ได้เกิดขึ้นพร้อมพระพุทธองค์ แต่ทรงเป็นผู้ค้นพบแล้วนำมาประกาศ อาจพอกล่าวได้ว่าการเรียนรู้พระธรรม ก็คือการเรียนรู้ธรรมดาโลก และเรียนรู้สิ่งที่เป็นปกติที่มีบ่อเกิดที่มาว่ามาอย่างไร เป็นไปได้อย่างไร.
พระธรรมโกศาจารย์ (เงื่อม อินฺทปญฺโญ)
ระธรรมโกศาจารย์ (เงื่อม อินทปญฺโญ) หรือรู้จักในนาม พุทธทาสภิกขุ (27 พฤษภาคม พ.ศ. 2449 — 8 กรกฎาคม พ.ศ. 2536) เป็นชาวอำเภอไชยา จังหวัดสุราษฎร์ธานี เกิดเมื่อปี พ.ศ.
ดู ธรรมและพระธรรมโกศาจารย์ (เงื่อม อินฺทปญฺโญ)
ศาสนาพุทธ
ระพุทธศาสนา หรือ ศาสนาพุทธ (buddhasāsana พุทฺธสาสนา, buddhaśāsana พุทธศาสนา) เป็นศาสนาที่มีพระพุทธเจ้าเป็นศาสดา มีพระธรรมที่พระองค์ตรัสรู้ชอบด้วยพระองค์เอง และตรัสสอนไว้เป็นหลักคำสอนสำคัญ มีพระสงฆ์ (ภิกษุ ภิกษุณี) สาวกผู้ตัดสินใจออกบวชเพื่อศึกษาปฏิบัติตนตามคำสั่งสอน ธรรม-วินัย ของพระบรมศาสดา เพื่อบรรลุสู่จุดหมายคือพระนิพพาน และสร้างสังฆะ เป็นชุมชนเพื่อสืบทอดคำสอนของพระบรมศาสดา รวมเรียกว่า พระรัตนตรัย นอกจากนี้ในพระพุทธศาสนา ยังประกอบคำสอนสำหรับการดำรงชีวิตที่ดีงาม สำหรับผู้ที่ยังไม่ออกบวช (คฤหัสถ์ - อุบาสก และอุบาสิกา) ซึ่งหากรวมประเภทบุคคลที่ที่นับถือและศึกษาปฏิบัติตนตามคำสั่งสอนของพระบรมศาสดา แล้วจะจำแนกได้เป็น 4 ประเภท คือ ภิกษุ ภิกษุณี อุบาสก อุบาสิกา หรือที่เรียกว่า พุทธบริษัท 4 ศาสนาพุทธเป็นศาสนาอเทวนิยม ปฏิเสธการมีอยู่ของพระเป็นเจ้าหรือพระผู้สร้าง และเชื่อในศักยภาพของมนุษย์ ว่าทุกคนสามารถพัฒนาจิตใจ ไปสู่ความเป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ได้ ด้วยความเพียรของตน กล่าวคือ ศาสนาพุทธ สอนให้มนุษย์บันดาลชีวิตของตนเอง ด้วยผลแห่งการกระทำของตน ตาม กฎแห่งกรรม มิได้มาจากการอ้อนวอนขอจากพระเป็นเจ้าและสิ่งศักดิ์สิทธิ์นอกกายพระไตรปิฎก เล่มที่ ๒๕ พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๑๗ ขุททกนิกาย ขุททกปาฐะ-ธรรมบท-อุทาน-อิติวุตตกะ-สุตตนิบาต คาถาธรรมบท อัตตวรรคที่ ๑.
ดูเพิ่มเติม
คำและวลีภาษาสันสกฤต
- กรุณา
- กาม
- ขันติ
- ขันธ์
- คุรุ
- ฌาน
- ญาณ
- ดาวดึงส์
- ตบะ
- ทาน
- ทุกข์
- ธรรม
- ธรรมกาย
- ปฏิจจสมุปบาท
- ผัสสะ
- พระบรมสารีริกธาตุ
- พระศรีอริยเมตไตรย
- พระสงฆ์
- ภิกษุ
- มณฑล (แบบจำลองทางรัฐศาสตร์)
- มานะ
- มุทรา
- มุทิตา
- ราคะ
- รูป (ศาสนาพุทธ)
- วิญญาณ (ศาสนาพุทธ)
- วิริยะ
- วิหาร
- สงกรานต์
- สนธิ (ไวยากรณ์)
- สังสารวัฏ
- สัญญา (ศาสนาพุทธ)
- สิกขมานา
- อวิชชา
- อหิงสา
- อายตนะ
- อินทรีย์ 5
- อุปาทาน
- อุเบกขา
- เมตตา
- เวทนา
- โทสะ
- โมหะ
หลักธรรมของศาสนาฮินดู
- กรรม
- กรุณา
- กัป
- กัลกิ
- กาม
- ความพอประมาณ
- จักระ
- ญาณ
- ตบะ
- ตรีเทวี
- ตาที่สาม
- ทศาวตาร
- ทาน
- ทุกข์
- ธรรม
- ธาตุ (ศาสนาพุทธ)
- นิพพาน
- ปรพรหมัน
- พรหมัน
- พระหริหระ
- ภควา
- ภาวนา
- มณฑล
- มนตร์
- มีมางสา
- มุทรา
- ยุค
- รูป (ศาสนาพุทธ)
- ศิวลึงค์
- สมาธิ
- สังสารวัฏ
- สันโดษ
- สางขยะ
- สุญตา
- อนิจจัง
- อวตาร
- อหิงสา
- อาชญา
- อายุรเวท
- อาศรม 4
- อุปาทาน
- เมตตา
- โทสะ
- โยคะ
- โอม
หรือที่รู้จักกันในชื่อ หลักธรรมพระพุทธศาสนาพระธรรมเทศนาธรรมะ