สารบัญ
1 ความสัมพันธ์: ศาสนาฮินดู
- หลักธรรมของศาสนาฮินดู
ศาสนาฮินดู
ัญลักษณ์ “โอม” สัญลักษณ์ของศาสนาฮินดู หมายถึงพระตรีมูรติ เทพเจ้าผู้เป็นใหญ่ทั้ง 3 ศาสนาฮินดู (Hinduism) หรือ สนาตนธรรม เป็นศาสนาแบบพหุเทวนิยมที่พัฒนาการต่อมาจากศาสนาพราหมณ์ จึงมักเรียกรวมกันว่าศาสนาพราหมณ์-ฮินดู ไม่ปรากฏแน่ชัดว่าใครเป็นศาสดา มีพระเวทเป็นคัมภีร์หลัก มีศาสนิกชนมากเป็นอันดับที่ 3 ของโลก มีจำนวนประมาณ 900 ล้านคน ศาสนานี้นับถือเทพเจ้าหลายองค์ เรียกว่า "พหุเทวนิยม" เทพเจ้าแต่ละองค์ในแต่ละยุคสมัย มีบทบาท และตำนานต่างกันไป ในแต่ละท้องถิ่นยังมีความเชื่อเกี่ยวกับเทพเจ้าองค์หนึ่งๆ แตกต่างกันไปด้วย โดยทั่วไปถือว่าชาวฮินดูเชื่อว่ามีเทพเจ้าสูงสุด ที่ได้อวตารแยกร่างออกมาเป็น 3 องค์ เรียกว่า "ตรีมูรติ" คือ.
ดูเพิ่มเติม
หลักธรรมของศาสนาฮินดู
- กรรม
- กรุณา
- กัป
- กัลกิ
- กาม
- ความพอประมาณ
- จักระ
- ญาณ
- ตบะ
- ตรีเทวี
- ตาที่สาม
- ทศาวตาร
- ทาน
- ทุกข์
- ธรรม
- ธาตุ (ศาสนาพุทธ)
- นิพพาน
- ปรพรหมัน
- พรหมัน
- พระหริหระ
- ภควา
- ภาวนา
- มณฑล
- มนตร์
- มีมางสา
- มุทรา
- ยุค
- รูป (ศาสนาพุทธ)
- ศิวลึงค์
- สมาธิ
- สังสารวัฏ
- สันโดษ
- สางขยะ
- สุญตา
- อนิจจัง
- อวตาร
- อหิงสา
- อาชญา
- อายุรเวท
- อาศรม 4
- อุปาทาน
- เมตตา
- โทสะ
- โยคะ
- โอม