โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ดาวน์โหลด
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

อาชญา

ดัชนี อาชญา

อาชญาจักระ มีสัญลักษณ์เป็นดอกบัวสีม่วง มีกลีบ 2 กลีบ อาชญา (आज्ञा) เป็นจักระที่หกตามความเชื่อของศาสนาฮินดูลัทธิตันตระและกุณฑาลินีโยคะ เชื่อว่าตั้งอยู่ภายในศีรษะหลังหว่างคิ้ว ซึ่งถือว่าเป็นตำแหน่งตาที่สาม ในศาสนาฮินดูถือว่าอาชญาจักระเป็นจักระแห่งจิต คือดวงตาแห่งพุทธิปัญญา มนุษย์มองเห็นสิ่งต่าง ๆ ได้ในความฝันก็โดยอาศัยอาชญาจักระนี้ และพลังงานทางจิตวิญญาณจากสิ่งแวดล้อมจะเข้ามาในร่างกายผ่านจักระนี้ด้วย อาชญาจักระยังเป็นจุดบรรจบของนาฑิทั้งสามก่อนจะไหลขึ้นสู่สหัสราระซึ่งเป็นจักระสูงสุด ผู้ปฏิบัติโดยเพ่งที่จักระนี้จะสามารถพ้นจากทวิภาวะได้ นอกจากศาสนาฮินดูแล้ว ศาสนาพุทธแบบทิเบตและลัทธิอนุตตรธรรมก็ให้ความสำคัญกับอาชญาจักระด้วย ลัทธิอนุตตรธรรมเรียกอาชญาจักระว่าจุดญาณทวาร.

6 ความสัมพันธ์: ลัทธิอนุตตรธรรมศาสนาพุทธแบบทิเบตศาสนาฮินดูจักระตาที่สามประชาน

ลัทธิอนุตตรธรรม

อักษร ''หมู่'' หมายถึง "พระแม่องค์ธรรม" พระเป็นเจ้าตามความเชื่อของลัทธิบัวขาว ลัทธิเซียนเทียนเต้า และลัทธิอื่น ๆ ที่แตกแขนงมาภายหลัง รวมทั้งลัทธิอนุตตรธรรม ลัทธิอนุตตรธรรม (一貫道 Yīguàn Dào อีก้วนเต้า) ในประเทศไทยเรียกว่า วิถีอนุตตรธรรม เป็นศาสนาที่หวัง เจฺว๋อี ก่อตั้งขึ้นในประเทศจีนสมัยราชวงศ์ชิงเมื่อปี..

ใหม่!!: อาชญาและลัทธิอนุตตรธรรม · ดูเพิ่มเติม »

ศาสนาพุทธแบบทิเบต

ระพุทธศาสนาแบบทิเบตราชบัณฑิตยสถาน, พจนานุกรมศัพท์ศาสนาสากล อังกฤษ-ไทย ฉบับราชบัณฑิตยสถาน, พิมพ์ครั้งที่ 3, ราชบัณฑิตยสถาน, 2552, หน้า 587-8 (Tibetan Buddhism) คือพุทธศาสนาแบบหนึ่งซึ่งถือปฏิบัติในทิเบต และปัจจุบันได้แพร่หลายไปในหลายประเทศ ดินแดนทิเบตในอดีตมีความรุ่งเรืองทางพุทธศาสนามาก พุทธศาสนาแบบทิเบตมีเอกลักษณ์เฉพาะคือเป็นการผสมผสานระหว่างพุทธศาสนานิกายมหายานทั้งจากอินเดียและจีน ได้รับอิทธิพลจากพุทธศานานิกายตันตระของอินเดีย จนเกิดเป็นนิกายวัชรยานขึ้น ประชาชนใฝ่ธรรมะ เมื่อมีงานบุญ ประชาชนจะเดินทางไปแสวงบุญแม้จะไกลสักเพียงใด ซึ่งปัจจุบันก็มีให้เห็นอยู่มากมาย แต่เมื่อตกอยู่ในการปกครองของจีนวัดนับพันแห่งทั่วนครลาซา เหลือไม่ถึงหนึ่งร้อยแห่งในปัจจุบัน จนแทบไม่เหลือความเจริญรุ่งเรืองในอดีต.

ใหม่!!: อาชญาและศาสนาพุทธแบบทิเบต · ดูเพิ่มเติม »

ศาสนาฮินดู

ัญลักษณ์ “โอม” สัญลักษณ์ของศาสนาฮินดู หมายถึงพระตรีมูรติ เทพเจ้าผู้เป็นใหญ่ทั้ง 3 ศาสนาฮินดู (Hinduism) หรือ สนาตนธรรม เป็นศาสนาแบบพหุเทวนิยมที่พัฒนาการต่อมาจากศาสนาพราหมณ์ จึงมักเรียกรวมกันว่าศาสนาพราหมณ์-ฮินดู ไม่ปรากฏแน่ชัดว่าใครเป็นศาสดา มีพระเวทเป็นคัมภีร์หลัก มีศาสนิกชนมากเป็นอันดับที่ 3 ของโลก มีจำนวนประมาณ 900 ล้านคน ศาสนานี้นับถือเทพเจ้าหลายองค์ เรียกว่า "พหุเทวนิยม" เทพเจ้าแต่ละองค์ในแต่ละยุคสมัย มีบทบาท และตำนานต่างกันไป ในแต่ละท้องถิ่นยังมีความเชื่อเกี่ยวกับเทพเจ้าองค์หนึ่งๆ แตกต่างกันไปด้วย โดยทั่วไปถือว่าชาวฮินดูเชื่อว่ามีเทพเจ้าสูงสุด ที่ได้อวตารแยกร่างออกมาเป็น 3 องค์ เรียกว่า "ตรีมูรติ" คือ.

ใหม่!!: อาชญาและศาสนาฮินดู · ดูเพิ่มเติม »

จักระ

ักระ (Chakra, Cakra, Cakka) เป็นศูนย์รวมกายทิพย์ (subtle body) ที่เชื่อว่ามีพลังทางจิตในประเพณีลึกลับของศาสนาแบบอินเดีย, Encyclopaedia Britannica ความคิดมักพบในประเพณีแบบตันตระของศาสนาฮินดู ศาสนาพุทธ และศาสนาเชน จักระถูกมองว่าเป็นจุดรวมพลังงาน การทำงานของร่างกาย หรือจุดต่อทางจิตของกายทิพย์ ทฤษฎีจักระเป็นส่วนหนึ่งของระบบกุณฑลินี (Kundalini) ทฤษฎีเหล่านี้ต่างกันไปตามแต่ละศาสนา เอกสารของศาสนาพุทธกล่าวถึงจักระทั้ง 4 ส่วนศาสนาฮินดูกล่าวถึงจักระทั้ง 7 โดยเชื่อว่าจักระเป็นส่วนหนึ่งของกายทิพย์ ไม่ใช่ร่างกาย และเชื่อมต่อโดยช่องทางพลังงานเรียกว่านาดิ (Nadi) ส่วนนึงในโยคะแบบกุณฑลินีมีการฝึกรวบรวมพลังงานผ่านจักร.

ใหม่!!: อาชญาและจักระ · ดูเพิ่มเติม »

ตาที่สาม

ตามความเชื่อในรหัสยลัทธิและคุยหลัทธิ ตาที่สาม ไม่ใช่ตาเนื้อ แต่เป็นตาภายในที่ทำให้เห็นสิ่งเหนือปกติวิสัย แสดงถึงการรับรู้ระดับสูงในทางจิตวิญญาณ และเป็นสัญลักษณ์ของการรู้แจ้ง รวมถึงการหยั่งรู้พิเศษ เช่น การเห็นนิมิต ตาทิพย์ รู้เหตุการณ์ต่าง ๆ ล่วงหน้า เป็นต้นLeadbeater, C.W. The Chakras Wheaton, Illinois, USA:1927 Theosophical Publishing House Page 79.

ใหม่!!: อาชญาและตาที่สาม · ดูเพิ่มเติม »

ประชาน

ประชาน หรือ ปริชาน หรือ การรับรู้ (Cognition) เป็น "การกระทำหรือกระบวนการทางใจเพื่อให้ได้ความรู้ความเข้าใจผ่านความคิด ประสบการณ์ และประสาทสัมผัส" ซึ่งรวมกระบวนการต่าง ๆ รวมทั้ง.

ใหม่!!: อาชญาและประชาน · ดูเพิ่มเติม »

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »