สารบัญ
20 ความสัมพันธ์: ชาวเยอรมันชีวเคมีฟีโรโมนพ.ศ. 2446พ.ศ. 2538พรรคนาซีมหาวิทยาลัยเกิททิงเงินมิวนิกรังไข่รางวัลโนเบลสาขาเคมีสมาคมมักซ์พลังค์จักรวรรดิเยอรมันประเทศเยอรมนีโครงการกูเทนแบร์กไหม (แมลง)เบรเมอร์ฮาเฟินเลโอโปลด์ รูซิคกาเคมีอินทรีย์18 มกราคม24 มีนาคม
- ชาวเยอรมันผู้ได้รับรางวัลโนเบล
- ผู้ได้รับพัวร์เลอเมรีท (ชั้นพลเรือน)
- ผู้ได้รับรางวัลโนเบลสาขาเคมี
- ศิษย์เก่าจากมหาวิทยาลัยมาร์บวร์ค
- ศิษย์เก่าจากมหาวิทยาลัยเกิททิงเงิน
- สมาชิกพรรคนาซี
ชาวเยอรมัน
วเยอรมัน (die Deutschen) ชื่อ กลุ่มคนเผ่าพันธุ์ โปรโต-เจอรมานิก ซึ่งมีถิ่นกำเนิดบริเวณจัตแลนด์และบริเวณอเลมันเนียซึ่งก็คือประเทศเยอรมนีในปัจจุบัน ซึ่งสมัยก่อนชนชาติพวกนี้ถูกเรียกว่าชาวติวตันและชาวก๊อธปัจจุบันมีประชากรโดยรวม160ล้านคน ชาวเยอรมันจัดว่าเป็นเผ่าพันธุ์เดียวกันกับพวกชาวสแกนดิเนเวีย ชาวอังกฤษและชาวดัตช์ซึ่งจัดว่าเป็นพวกตระกูลเจอร์มานิก.
ดู อดอล์ฟ บูเทนันต์และชาวเยอรมัน
ชีวเคมี
ชีวเคมี (biochemistry) หรือเรียกว่า เคมีเป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต เป็นวิชาที่ศึกษากระบวนการเคมีในสิ่งมีชีวิต ตลอดจนการควบคุมในระดับต่าง ๆ อย่างเช่นที่เกี่ยวกับการแปรรูปสารอาหารไปเป็นพลังงาน, การสร้างและเปลี่ยนแปลงสารชีวโมเลกุลภายในเซลล์ที่เรียกว่า กระบวนการ เมแทบอลิซึม การทำงานของเอนไซม์และโคเอนไซม์, ระบบของพลังงานในสิ่งมีชีวิต, การสลายและการสังเคราะห์สารชีวโมเลกุลต่าง ๆ ชื่อนี้มาจากภาษาเยอรมันว่า บิโอเคมี (Biochemie) ซึ่งแรกตั้งโดย ฮอปเปอ-ซีเลอร์ (Hoppe-Sieler) ในปี พ.ศ.
ฟีโรโมน
ฟีโรโมน (pheromone) เป็นสารเคมีที่หลั่งหรือขับออกมาแล้วกระตุ้นการตอบสนองทางสังคมในสปีชีส์เดียวกัน ฟีโรโมนเป็นสารเคมีซึ่งสามารถออกฤทธิ์นอกร่างกายของสิ่งมีชีวิตที่หลั่งออกมาแล้วมีผลต่อพฤติกรรมของสิ่งมีชีวิตที่รับเข้าไป ฟีโรโมนมีหลายชนิด เช่น ฟีโรโมนเตือนภัย ฟีโรโมนรอยอาหาร ฟีโรโมนเพศ เป็นต้น สิ่งมีชีวิตตั้งแต่โปรแคริโอตเซลล์เดียวไปจนถึงยูแคริโอตหลายเซลล์ที่ซับซ้อนมีฟีโรโมน มีบันทึกการใช้ฟีโรโมนในแมลงมากเป็นพิเศษ อนึ่ง สัตว์มีกระดูกสันหลังและพืชบางชนิดสื่อสารกันโดยฟีโรโมน.
พ.ศ. 2446
ทธศักราช 2446 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1903 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดี ตามปฏิทินเกรกอเรียน.
ดู อดอล์ฟ บูเทนันต์และพ.ศ. 2446
พ.ศ. 2538
ทธศักราช 2538 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1995 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.
ดู อดอล์ฟ บูเทนันต์และพ.ศ. 2538
พรรคนาซี
รรคกรรมกรชาติสังคมนิยมเยอรมัน (Nationalsozialistische Deutsche Arbeiterpartei, ย่อ: NSDAP) หรือ พรรคนาซี เดิมมีผู้เข้าร่วมเพียง 7 คน เป็นพรรคการเมืองที่ปกครองประเทศเยอรมนีช่วงไรช์ที่สาม ตั้งแต..
ดู อดอล์ฟ บูเทนันต์และพรรคนาซี
มหาวิทยาลัยเกิททิงเงิน
มหาวิทยาลัยเกิททิงเงิน (University of Göttingen) หรือชื่ออย่างเป็นทางการคือ มหาวิทยาลัยเกออร์ก-เอากุสต์แห่งเกิททิงเงิน (Georg-August-Universität Göttingen) เป็นมหาวิทยาลัยในเมืองเกิททิงเงิน รัฐนีเดอร์ซัคเซิน ประเทศเยอรมนี ก่อตั้งในปี..
ดู อดอล์ฟ บูเทนันต์และมหาวิทยาลัยเกิททิงเงิน
มิวนิก
มิวนิก (Munich) หรือในภาษาเยอรมันว่า มึนเชิน (München) เป็นเมืองที่อยู่ทางใต้ของประเทศเยอรมนี และเป็นเมืองหลวงของรัฐบาวาเรีย ถือเป็นเมืองที่ใหญ่เป็นอันดับสามของประเทศรองจากเบอร์ลินและฮัมบวร์ค และเป็นหนึ่งในเมืองมั่งคั่งที่สุดของยุโรปตัวเมืองมีประชากร 1.3 ล้านคน และ 2.7 ล้านคนในเขตเมือง ตัวเมืองตั้งอยู่บนแม่น้ำอีซาร์ เหนือเทือกเขาแอลป์ มิวนิกเป็นเมืองที่มีเศรษฐกิจเข้มแข็งที่สุดในประเทศเยอรมนี โครงการริเริ่ม “Neue Soziale Marktwirtschaft (INSM)” (เศรษฐกิจตลาดสังคมใหม่) และนิตยสาร “Wirtschafts Woche” (ธุรกิจรายสัปดาห์) ให้คะแนนมิวนิกสูงที่สุดในการสำรวจเปรียบเทียบ ในเดือนมิถุนายน พ.ศ.
รังไข่
รังไข่ มี 2 อัน อยู่คนละข้างของมดลูก มีขนาดประมาณเท่านิ้วหัวแม่มือ หนักประมาณ 2-3 กรัม.
รางวัลโนเบลสาขาเคมี
หรียญรางวัลโนเบล รางวัลโนเบลสาขาเคมี (Nobelpriset i kemi, Nobel Prize in Chemistry) เป็นรางวัลมอบโดยราชบัณฑิตยสถานด้านวิทยาศาสตร์แห่งสวีเดนเป็นประจำทุกปีแก่นักวิทยาศาสตร์ในสาขาต่างๆ ของเคมี รางวัลนี้เป็นหนึ่งในห้ารางวัลโนเบลซึ่งก่อตั้งจากความประสงค์ของอัลเฟรด โนเบลใน..
ดู อดอล์ฟ บูเทนันต์และรางวัลโนเบลสาขาเคมี
สมาคมมักซ์พลังค์
มาคมมักซ์พลังค์ (Max Planck Society) หรือชื่อเต็มคือ สมาคมมักซ์พลังค์เพื่อความก้าวหน้าแห่งศาสตร์ (Max-Planck-Gesellschaft zur Förderung der Wissenschaften e.
ดู อดอล์ฟ บูเทนันต์และสมาคมมักซ์พลังค์
จักรวรรดิเยอรมัน
ักรวรรดิเยอรมัน (Deutsches Kaiserreich) เป็นชื่ออย่างไม่เป็นทางการที่ใช้เรียกแผ่นดินของชาวเยอรมัน ตั้งแต่ที่พระเจ้าวิลเฮล์มที่ 1 แห่งปรัสเซีย ได้สถาปนาพระองค์ขึ้นเป็นจักรพรรดิเยอรมันใน..
ดู อดอล์ฟ บูเทนันต์และจักรวรรดิเยอรมัน
ประเทศเยอรมนี
ประเทศเยอรมนี (Germany; Deutschland ดอยฺชลันฺท) หรือชื่ออย่างเป็นทางการคือ สหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมนี (Federal Republic of Germany; Bundesrepublik Deutschland) เป็นสหพันธ์สาธารณรัฐแบบรัฐสภาในยุโรปกลาง มีรัฐองค์ประกอบ 16 รัฐ มีพื้นที่ 357,021 ตารางกิโลเมตร และมีภูมิอากาศตามฤดูกาลแบบอบอุ่นเป็นส่วนใหญ่ มีประชากรประมาณ 82 ล้านคน ซึ่งเป็นประเทศที่มีประชากรมากที่สุดในสหภาพยุโรป ประเทศเยอรมนีเป็นจุดหมายการเข้าเมืองยอดนิยมอันดับสองในโลกรองจากสหรัฐ เมืองหลวงและมหานครใหญ่สุดของประเทศคือ กรุงเบอร์ลิน ขณะที่เขตเมืองขยายใหญ่สุด คือ รูร์ โดยมีศูนย์กลางหลักดอร์ทมุนด์และเอสเซิน นครหลักอื่นของประเทศ ได้แก่ ฮัมบวร์ค มิวนิก โคโลญ แฟรงก์เฟิร์ต ชตุทท์การ์ท ดึสเซิลดอร์ฟ ไลพ์ซิจ เบรเมิน เดรสเดิน ฮันโนเฟอร์และเนือร์นแบร์ก ประเทศนี้มีระบอบการปกครองแบบประชาธิปไตยเชิงเสรีภาพและรัฐสวัสดิการ พรมแดนทางทิศเหนือติดทะเลเหนือ เดนมาร์ก และทะเลบอลติก ทิศตะวันออกติดโปแลนด์และเช็กเกีย ทิศใต้ติดออสเตรีย และสวิตเซอร์แลนด์ ทิศตะวันตกติดฝรั่งเศส ลักเซมเบิร์ก เบลเยียม และเนเธอร์แลนด์ มีเมืองหลวงและเมืองใหญ่ของประเทศคือเบอร์ลิน เยอรมนีมีประชากรประมาณ 80 ล้านคนและเป็นประเทศที่มีความหนาแน่นประชากรสูงสุดแห่งหนึ่ง อีกทั้งยังเป็นประเทศที่มีคนย้ายถิ่นมากที่สุดเป็นอันดับสามของโลก หลังจากที่สหรัฐอเมริกาเยอรมนีเป็นปลายทางการย้ายถิ่นที่สองได้รับความนิยมมากที่สุดในโลก เยอรมนีเป็นหนึ่งในสมาชิกผู้ก่อตั้งสหภาพยุโรปและยังก่อตั้งสหภาพการเงินกับสมาชิกในสหภาพยุโรปอีก 17 ประเทศ โดยใช้ชื่อว่ายูโรโซน เยอรมนีเป็นสมาชิกของกลุ่ม UNO, OECD, NATO, G7 และ G20 เยอรมนีเป็นประเทศที่มีอิทธิพลต่อประเทศอื่นๆในยุโรปและเป็นประเทศที่มีความสามารถที่จะแข่งขันในระดับโลก หากวัดจากผลผลิตมวลรวมภายในประเทศแบบปกติแล้ว เยอรมนีเป็นเศรษฐกิจที่ใหญ่ที่สุดในยุโรปและใหญ่เป็นอันดับสี่ของโลก ในปี 2012 เป็นประเทศที่มีการนำเข้าส่งออกมากที่สุดเป็นอันดับสาม ดัชนีการพัฒนามนุษย์ถือว่าสูงมาก.
ดู อดอล์ฟ บูเทนันต์และประเทศเยอรมนี
โครงการกูเทนแบร์ก
รงการกูเทนแบร์ก (Project Gutenberg หรือเรียกชื่อย่อว่า PG) เป็นโครงการอาสาสมัครเพื่อการแปรงานทางวัฒนธรรมเช่นงานวรรณกรรมเป็นดิจิทัลเพื่อการเก็บรักษาและเผยแพร่แก่สาธารณชน โครงการกูเทนแบร์กก่อตั้งขึ้นเมื่อปี ค.ศ.
ดู อดอล์ฟ บูเทนันต์และโครงการกูเทนแบร์ก
ไหม (แมลง)
หม เป็นผีเสื้อกลางคืนชนิด Bombyx mori อยู่ในวงศ์ Bombycidae ตัวอ่อนเรียกว่า ตัวไหม หรือ หนอนไหม มีความสำคัญทางเศรษฐกิจในการปลูกหม่อนเลี้ยงไหม เนื่องจากมันสามารถให้เส้นใยเป็นเส้นไหม ผีเสื้อไหมไม่ปรากฏในป่าตามธรรมชาติ การสืบพันธุ์และดำรงชีวิตขึ้นอยู่กับการดูแลของมนุษย์เท่านั้น อาหารที่มันชอบก็คือใบหม่อนขาว (Morus alba) แต่อาจกินใบของพืชชนิดอื่นได้ด้วย เช่น Osage Orange หรือ Tree of Heaven เดิมเป็นสัตว์พื้นเมืองของจีน.
ดู อดอล์ฟ บูเทนันต์และไหม (แมลง)
เบรเมอร์ฮาเฟิน
รเมอร์ฮาเฟิน (Bremerhaven) เป็นเมืองท่าเรือของรัฐเบรเมิน ประเทศเยอรมนี.
ดู อดอล์ฟ บูเทนันต์และเบรเมอร์ฮาเฟิน
เลโอโปลด์ รูซิคกา
ลโอโปลด์ รูซิคกา (Leopold Ružička; 13 กันยายน ค.ศ. 1887 – 26 กันยายน ค.ศ. 1976) เป็นนักชีวเคมีชาวโครเอเชีย/สวิส เกิดที่เมืองวูคอวาร์ในจักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการี (ปัจจุบันอยู่ในประเทศโครเอเชีย) มีชื่อเกิดว่าลาโวสลาฟ สเตปัน รูซิคกา (Lavoslav Stjepan Ružička) เป็นบุตรของสเตปัน รูซิคกาและลูบิกา เซเวอร์ เรียนระดับมัธยมศึกษาที่โรงเรียนในเมืองโอซีเยกโดยเขาตั้งใจจะเป็นพระ แต่ต่อมาเปลี่ยนมาเรียนวิชาเคมี รูซิคกาเรียนต่อที่สถาบันเทคโนโลยีคาร์ลสรูเออ หลังเรียนจบ รูซิคกาทำงานเป็นผู้ช่วยแฮร์มันน์ สเตาดิงเงอร์ อาจารย์ของเขาที่เมืองซูริก รูซิคกาศึกษาสารธรรมชาติหลายชนิดและสนใจในด้านอุตสาหกรรมน้ำหอม ในปี..
ดู อดอล์ฟ บูเทนันต์และเลโอโปลด์ รูซิคกา
เคมีอินทรีย์
มีอินทรีย์ (Organic chemistry) เป็นสาขาย่อยในวิชาเคมี ที่ว่าด้วยการศึกษาโครงสร้าง คุณสมบัติ องค์ประกอบ ปฏิกิริยา และการเตรียม (ด้วยการสังเคราะห์หรือด้วยวิธีการอื่น) สารประกอบที่มีธาตุคาร์บอนเป็นหลัก ไฮโดรคาร์บอนและอนุพันธ์ของพวกมันอย่างเป็นวิทยาศาสตร์ สารประกอบเหล่านี้อาจมีธาตุอื่นอีกจำนวนหนึ่งด้วยก็ได้ เช่น ไฮโดรเจน ไนโตรเจน ออกซิเจน แฮโลเจน เช่นเดียวกับฟอสฟอรัส ซิลิกอนและซัลเฟอร์ สารประกอบอินทรีย์เป็นพื้นฐานกระบวนการของสิ่งมีชีวิตบนโลกแทบทั้งสิ้น (โดยมีข้อยกเว้นเล็กน้อยมาก) สารประกอบเหล่านี้มีโครงสร้างหลากหลายมาก ลักษณะการนำไปใช้ของสารประกอบอินทรีย์ก็มีมากมาย โดยเป็นได้ทั้งพื้นฐานของ หรือเป็นองค์ประกอบสำคัญของผลิตภัณฑ์ต่าง ๆ เช่น พลาสติก ยา สารที่ได้จากน้ำมันปิโตรเคมี อาหาร วัตถุระเบิด และสี.
ดู อดอล์ฟ บูเทนันต์และเคมีอินทรีย์
18 มกราคม
วันที่ 18 มกราคม เป็นวันที่ 18 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 347 วันในปีนั้น (348 วันในปีอธิกสุรทิน).
ดู อดอล์ฟ บูเทนันต์และ18 มกราคม
24 มีนาคม
วันที่ 24 มีนาคม เป็นวันที่ 83 ของปี (วันที่ 84 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 282 วันในปีนั้น.
ดู อดอล์ฟ บูเทนันต์และ24 มีนาคม
ดูเพิ่มเติม
ชาวเยอรมันผู้ได้รับรางวัลโนเบล
- วิลลี บรันท์
- ว็อล์ฟกัง เพาล์
- ออตโต สเติร์น
- อัลเบิร์ต ไอน์สไตน์
- ฮันส์ ฟิชเชอร์
- ฮันส์ เบเทอ
- แฮร์ทา มึลเลอร์
ผู้ได้รับพัวร์เลอเมรีท (ชั้นพลเรือน)
- กามีย์ แซ็ง-ซ็องส์
- กุสทัฟ เคียร์ชฮ็อฟ
- คาร์ล ฟรีดริช เกาส์
- คาร์ล ออร์ฟ
- จอห์น เอเวอเรตต์ มิเล
- จอห์น เฮอร์เชล
- จูเซปเป แวร์ดี
- ชาลส์ ดาร์วิน
- ฌ็อง-บาติสต์ บีโย
- ฌ็อง-โอกุสต์-ดอมีนิก แอ็งกร์
- นอร์มัน ฟอสเตอร์
- ฟรีดริช เวอเลอร์
- ริชาร์ด โอเวน
- ลีเซอ ไมท์เนอร์
- วอลแตร์
- วิลเลียม ทอมสัน บารอนเคลวินที่ 1
- วิลเลียม สโตกส์ (แพทย์)
- ว็อล์ฟกัง เพาล์
- สรวปัลลี ราธากฤษณัน
- อาร์เทอร์ คอมป์ตัน
- อุมแบร์โต เอโก
- ฮันส์ เบเทอ
- เยินส์ ยาคอบ แบร์ซีเลียส
- เอมิล นอลเดอ
- เออร์วิน พานอฟสกี
- แฮร์มัน ฟ็อน เฮ็ล์มฮ็อลทซ์
- แฮ็นดริก โลเรินตส์
- โฌแซ็ฟ หลุยส์ แก-ลูว์ซัก
- โรเบิร์ต บราวน์ (นักพฤกษศาสตร์)
- โรแบร์ท บุนเซิน
- ไมเคิล ฟาราเดย์
ผู้ได้รับรางวัลโนเบลสาขาเคมี
- คริสเตียน บี. แอนฟินเซน
- จอห์น เคนดรูว์
- จอห์น โฮเวิร์ด นอร์ทรอป
- จูลีโย นัตตา
- มารี กูว์รี
- วิกตอร์ กรีญาร์
- สวานเต อาร์เรเนียส
- อาร์เชอร์ มาร์ติน
- อาร์เธอร์ ฮาร์เดน
- อีแรน ฌอลีโย-กูว์รี
- ฮันส์ ฟิชเชอร์
- เทออดอร์ สเวดแบร์ย
- เฟรเดอริก ซอดดี
- เมลวิน แคลวิน
- เวนเดล เมเรดิธ สแตนลีย์
- เออร์วิง แลงมิวร์
- เออร์เนสต์ รัทเทอร์ฟอร์ด
- แดน เชชท์มัน
- โดโรธี ฮอดจ์กิน
- ไลนัส พอลิง
ศิษย์เก่าจากมหาวิทยาลัยมาร์บวร์ค
ศิษย์เก่าจากมหาวิทยาลัยเกิททิงเงิน
- คาร์ล ฟรีดริช เกาส์
- ปริญญา เทวานฤมิตรกุล
- วรเจตน์ ภาคีรัตน์
- อีลี เมตช์นิคอฟ
- เจ. พี. มอร์แกน
- เจ้าชายเฟรเดอริก ดยุกแห่งยอร์กและออลบานี
- เอดิท ชไตน์
- เออร์วิง แลงมิวร์
- โทมัส ยัง
- โรแบร์ท บุนเซิน
สมาชิกพรรคนาซี
หรือที่รู้จักกันในชื่อ Adolf Butenandt