สารบัญ
9 ความสัมพันธ์: ชาวเยอรมันพ.ศ. 2435พ.ศ. 2511อัลเบร็ชท์ ดือเรอร์ประวัติศาสตร์ศิลป์วิทยาประติมานวิทยานักเขียน14 มีนาคม30 มีนาคม
- ผู้ได้รับพัวร์เลอเมรีท (ชั้นพลเรือน)
- ศิษย์เก่าจากมหาวิทยาลัยลูทวิช-มัคซีมีลีอานแห่งมิวนิก
- ศิษย์เก่าจากมหาวิทยาลัยไฟรบวร์ค
ชาวเยอรมัน
วเยอรมัน (die Deutschen) ชื่อ กลุ่มคนเผ่าพันธุ์ โปรโต-เจอรมานิก ซึ่งมีถิ่นกำเนิดบริเวณจัตแลนด์และบริเวณอเลมันเนียซึ่งก็คือประเทศเยอรมนีในปัจจุบัน ซึ่งสมัยก่อนชนชาติพวกนี้ถูกเรียกว่าชาวติวตันและชาวก๊อธปัจจุบันมีประชากรโดยรวม160ล้านคน ชาวเยอรมันจัดว่าเป็นเผ่าพันธุ์เดียวกันกับพวกชาวสแกนดิเนเวีย ชาวอังกฤษและชาวดัตช์ซึ่งจัดว่าเป็นพวกตระกูลเจอร์มานิก.
ดู เออร์วิน พานอฟสกีและชาวเยอรมัน
พ.ศ. 2435
ทธศักราช 2435 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1892 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันศุกร์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.
ดู เออร์วิน พานอฟสกีและพ.ศ. 2435
พ.ศ. 2511
ทธศักราช 2511 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1968 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.
ดู เออร์วิน พานอฟสกีและพ.ศ. 2511
อัลเบร็ชท์ ดือเรอร์
หมือนตนเอง” ค.ศ. 1500 เมื่ออายุยี่สิบแปดปี อัลเบร็ชท์ ดือเรอร์ (Albrecht Dürer; 21 พฤษภาคม พ.ศ. 2014 - 6 เมษายน พ.ศ. 2071)Mueller, Peter O. (1993) Substantiv-Derivation in Den Schriften Albrecht Durers, Walter de Gruyter.
ดู เออร์วิน พานอฟสกีและอัลเบร็ชท์ ดือเรอร์
ประวัติศาสตร์ศิลป์วิทยา
วีนัสเดอมิโลที่พิพิธภัณฑ์ลูฟร์ ประวัติศาสตร์ศิลป์วิทยา (Art history) ตามที่เข้าใจกันในประวัติศาสตร์หมายถึงสาขาวิชาทางด้านงานศิลปะที่เกี่ยวกับประวัติความเป็นมาทางประวัติศาสตร์และบริบทของลักษณะ (stylistic contexts) เช่น ประเภทของศิลปะ (genre), ลักษณะการออกแบบ (design), รูปทรง (format) และ การออกมาเป็นรูปร่าง (look) ซึ่งรวมทั้งศิลปะสาขาหลักที่ได้แก่จิตรกรรม ประติมากรรม และ สถาปัตยกรรม และรวมทั้งสาขาย่อยเช่นเซรามิค เฟอร์นิเจอร์ และศิลปะการตกแต่งอื่นๆ หลักของสาขาวิชานี้มาจากงานชิ้นสำคัญๆ ที่สร้างโดยศิลปินตะวันตก และกฎว่าด้วยศิลปะตะวันตกก็ยังเป็นแกนสำคัญในการเลือกสรรงานที่ได้รับการบรรยายในตำราประวัติศาสตร์ศิลป์วิทยามาจนกระทั่งคริสต์ศตวรรษที่ 20 เมื่อมีการพยายามที่จะวางความหมายของสาขาวิชานี้ใหม่ให้กว้างขึ้น เพื่อรวมศิลปะที่ไม่ใช่ศิลปะตะวันตก, ศิลปะที่สร้างโดยศิลปินสตรี และศิลปะพื้นบ้านเข้าด้วย คำว่า “ประวัติศาสตร์ศิลป์วิทยา” (หรือบางครั้งก็เรียกว่า “ประวัติศาสตร์ศิลป์”) ครอบคลุมวิธีการศึกษาจักษุศิลป์หลายวิธี ที่โดยทั่วไปหมายถึงงานศิลปะ และ งานสถาปัตยกรรม สาขาของการศึกษาต่างๆ บางครั้งก็คาบกันเช่นที่นักประวัติศาสตร์ศิลป์เอิร์นสท กอมบริค ตั้งข้อสังเกตไว้ว่า “สาขาวิชาประวัติศาสตร์ศิลป์ก็คล้ายกับบริเวณกอลของจูเลียส ซีซาร์ที่แบ่งออกเป็นสามส่วน อาศัยอยู่โดยชนสามเผ่าพันธุ์ที่ไม่จำเป็นต้องเป็นปฏิปักษ์ต่อกัน: (1) ผู้ที่เป็นคอศิลป์ (connoisseurs), (2) ผู้ที่เป็นนักวิพากษ์ศิลป์ และ (3) ผู้ที่เป็นนักวิชาการจากสถาบันผู้เป็นผู้เชี่ยวชาญทางด้านประวัติศาสตร์ศิลป์” ในฐานะที่เป็นศาสตร์สาขาหนึ่งประวัติศาสตร์ศิลป์ต่างจากการวิพากษ์ศิลปะที่จะเน้นการสร้างพื้นฐานของคุณค่าของศิลปะโดยการเปรียบเทียบกับงานชิ้นอื่นที่เปรียบเทียบกันได้ทางด้านลักษณะ หรือการหันหลังให้แก่ลักษณะ หรือขบวนการศิลปะทั้งหมดที่พิจารณา และต่างจาก “ทฤษฎีศิลป์” (art theory) หรือ “ปรัชญาศิลป์” (philosophy of art) ที่คำนึงถึงธรรมชาติพื้นฐานของศิลปะ สาขาย่อยสาขาหนึ่งของการศึกษาประวัติศาสตร์ศิลป์คือวิชาสุนทรียศาสตร์ (aesthetics) ซึ่งเป็นการศึกษาถึงสุนทรียปรัชญา (Sublime) และการระบุหัวใจของสิ่งที่ได้ชื่อว่าเป็นสิ่งที่มีความเป็นสุนทรีย์ แต่ตามทฤษฎีแล้วประวัติศาสตร์ศิลป์ไม่ใช่สิ่งที่กล่าวมาเพราะนักประวัติศาสตร์ศิลป์ใช้การวิจัยโดยวิธีประวัติศาสตร์ (historical method) ในการตอบคำถาม “ศิลปินสร้างงานขึ้นมาได้อย่างไร”, “ใครเป็นผู้อุปถัมภ์”, “ใครเป็นครู”, “ใครคือผู้ชมงาน”, “ใครเป็นผู้ได้รับอิทธิพลจากลักษณะงาน”, “ประวัติศาสตร์ตอนใดที่มีอิทธิพลต่องาน” และ “งานที่สร้างมีผลทางเหตุการณ์ทางศิลปะ การเมือง และ สังคมอย่างใด” แต่กระนั้นประวัติศาสตร์ศิลป์วิทยาก็มิได้หมายความว่าเป็นการศึกษาที่เกี่ยวกับการติดตามประวัติของงานเท่านั้น อันที่จริงแล้วนักประวัติศาสตร์ศิลป์มักจะวางพื้นฐานมาตรการการศึกษาโดยการวิเคราะห์งานแต่ละชิ้น และพยายามตอบปัญหาต่างๆ เช่น “อะไรคือสิ่งสำคัญของลักษณะของสิ่งที่ศึกษา”, “ความหมายใดที่งานชิ้นนี้พยายามสื่อ”, “งานชิ้นนี้มีผลต่อการดูอย่างใด”, “ศิลปินบรรลุจุดประสงค์ที่ต้องการหรือไม่”, “งานที่ศึกษาประกอบด้วยสัญลักษณ์อะไรบ้าง” และ “งานที่ศึกษาเป็นงานที่ออกนอกประเด็นหรือไม่”.
ดู เออร์วิน พานอฟสกีและประวัติศาสตร์ศิลป์วิทยา
ประติมานวิทยา
ประติมานวิทยา (Iconography) เป็นสาขาหนึ่งของประวัติศาสตร์ศิลป์ที่เป็นการศึกษาประวัติ, คำบรรยาย และ การตีความหมายของเนื้อหาของภาพ คำว่า “Iconography” แปลตรงตัวว่า “การเขียนรูปลักษณ์” (image writing) ที่มีรากมาจากภาษากรีกโบราณ “εἰκών” ที่แปลว่า “รูปลักษณ์” และคำว่า “γράφειν” ที่แปลว่า “เขียน” ความหมายรองลงมาคืองานประติมา (Icon) ในไบแซนไทน์และออร์โธด็อกซ์ของประเพณีนิยมคริสเตียน ในด้านประวัติศาสตร์ศิลป์ประติมานวิทยาก็ยังอาจจะหมายถึงกรรมวิธีการแสดงหัวเรื่องในรูปแบบของการใช้รูปสัญลักษณ์ต่างๆ ในเนื้อหาของภาพที่ออกมาให้ผู้ชมได้เห็น นอกจากนั้นประติมานวิทยาก็ยังใช้ในด้านสาขาวิชาอื่นนอกไปจากประวัติศาสตร์ศิลป์เช่นในวิชาสัญญาณศาสตร์ และ media studies, และในการใช้โดยทั่วไปที่หมายถึงลักษณะรูปลักษณ์ที่ใช้กันเป็นสามัญของหัวเรื่องหรือความหมายในทำนองเดียวกัน.
ดู เออร์วิน พานอฟสกีและประติมานวิทยา
นักเขียน
นักเขียน คือผู้ที่สร้างงานเขียน อย่างไรก็ตามคำนี้มักใช้เฉพาะกับผู้ที่เขียนงานสร้างสรรค์หรือเป็นอาชีพ หรือผู้ที่ได้สร้างงานเขียนในลักษณะอื่น ๆ นักเขียนที่มีความชำนาญจะแสดงความสามารถในการใช้ภาษาเพื่อที่จะนำเสนอแนวคิดและภาพพจน์ ไม่ว่าจะเป็นการเขียนบันเทิงคดีหรือสารคดี นักเขียนอาจสร้างผลงานในรูปแบบต่าง ๆ เช่น บทกวี ร้อยกรอง ร้อยแก้ว เรื่องสั้น นวนิยาย บทละคร สารคดี นักเขียนที่ทำงานเฉพาะมักได้รับการเรียกแตกต่างกัน เช่น กวี นักเขียนเรื่องสั้น นักเขียนนวนิยาย นักเขียนบทละคร นักหนังสือพิมพ์ นักเขียนสารคดี นักเขียนอื่น ๆ เป็นต้น.
ดู เออร์วิน พานอฟสกีและนักเขียน
14 มีนาคม
วันที่ 14 มีนาคม เป็นวันที่ 73 ของปี (วันที่ 74 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 292 วันในปีนั้น.
ดู เออร์วิน พานอฟสกีและ14 มีนาคม
30 มีนาคม
วันที่ 30 มีนาคม เป็นวันที่ 89 ของปี (วันที่ 90 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 276 วันในปีนั้น.
ดู เออร์วิน พานอฟสกีและ30 มีนาคม
ดูเพิ่มเติม
ผู้ได้รับพัวร์เลอเมรีท (ชั้นพลเรือน)
- กามีย์ แซ็ง-ซ็องส์
- กุสทัฟ เคียร์ชฮ็อฟ
- คาร์ล ฟรีดริช เกาส์
- คาร์ล ออร์ฟ
- จอห์น เอเวอเรตต์ มิเล
- จอห์น เฮอร์เชล
- จูเซปเป แวร์ดี
- ชาลส์ ดาร์วิน
- ฌ็อง-บาติสต์ บีโย
- ฌ็อง-โอกุสต์-ดอมีนิก แอ็งกร์
- นอร์มัน ฟอสเตอร์
- ฟรีดริช เวอเลอร์
- ริชาร์ด โอเวน
- ลีเซอ ไมท์เนอร์
- วอลแตร์
- วิลเลียม ทอมสัน บารอนเคลวินที่ 1
- วิลเลียม สโตกส์ (แพทย์)
- ว็อล์ฟกัง เพาล์
- สรวปัลลี ราธากฤษณัน
- อาร์เทอร์ คอมป์ตัน
- อุมแบร์โต เอโก
- ฮันส์ เบเทอ
- เยินส์ ยาคอบ แบร์ซีเลียส
- เอมิล นอลเดอ
- เออร์วิน พานอฟสกี
- แฮร์มัน ฟ็อน เฮ็ล์มฮ็อลทซ์
- แฮ็นดริก โลเรินตส์
- โฌแซ็ฟ หลุยส์ แก-ลูว์ซัก
- โรเบิร์ต บราวน์ (นักพฤกษศาสตร์)
- โรแบร์ท บุนเซิน
- ไมเคิล ฟาราเดย์
ศิษย์เก่าจากมหาวิทยาลัยลูทวิช-มัคซีมีลีอานแห่งมิวนิก
- ธีโอดอร์ โมเรล
- พัททริค ซึสคินท์
- มูฮัมมัด อิกบาล
- สมเด็จพระสันตะปาปาเบเนดิกต์ที่ 16
- ฮยัลมาร์ ชัคท์
- ฮันส์ ฟรังค์
- ฮันส์ เบเทอ
- เกลี เราบัล
- เออร์วิน พานอฟสกี
- โยเซ็ฟ เม็งเงอเลอ
ศิษย์เก่าจากมหาวิทยาลัยไฟรบวร์ค
- ฟิลิป โชวอลเตอร์ เฮนช์
- วรรัตน์ สุวรรณรัตน์
- เอดิท ชไตน์
- เออร์วิน พานอฟสกี
หรือที่รู้จักกันในชื่อ Erwin Panofsky