สารบัญ
12 ความสัมพันธ์: พ.ศ. 2396พ.ศ. 2471รังสีแม่เหล็กไฟฟ้ารางวัลโนเบลรางวัลโนเบลสาขาฟิสิกส์อัลเบิร์ต ไอน์สไตน์อาร์เนมปรากฏการณ์เซมันปีเตอร์ เซมันนักฟิสิกส์18 กรกฎาคม4 กุมภาพันธ์
- ชาวดัตช์ผู้ได้รับรางวัลโนเบล
- บุคคลจากอาร์เนม
- ผู้ได้รับพัวร์เลอเมรีท (ชั้นพลเรือน)
- ผู้ได้รับรางวัลโนเบลสาขาฟิสิกส์
- ศิษย์เก่าจากมหาวิทยาลัยไลเดิน
พ.ศ. 2396
ทธศักราช 2396 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1853.
ดู แฮ็นดริก โลเรินตส์และพ.ศ. 2396
พ.ศ. 2471
ทธศักราช 2471 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1928 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.
ดู แฮ็นดริก โลเรินตส์และพ.ศ. 2471
รังสีแม่เหล็กไฟฟ้า
ในวิชาฟิสิกส์ รังสีแม่เหล็กไฟฟ้า (electromagnetic radiation) หมายถึงคลื่น (หรือควอนตัมโฟตอน) ของสนามแม่เหล็กไฟฟ้าที่แผ่ผ่านปริภูมิโดยพาพลังงานจากการแผ่รังสีแม่เหล็กไฟฟ้า โดยคลาสสิก รังสีแม่เหล็กไฟฟ้าประกอบด้วยคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าซึ่งเป็นการสั่นประสานของสนามไฟฟ้าและแม่เหล็กซึ่งแผ่ผ่านสุญญากาศด้วยความเร็วแสง การสั่นองสนามทั้งสองนี้ตั้งฉากกันและตั้งฉากกับทิศทางของการแผ่พลังงานและคลื่น ทำให้เกิดคลื่นตามขวาง แนวคลื่นของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าเปล่งจากแหล่งกำเนิดจุด (เช่น หลอดไฟ) เป็นทรงกลม ตำแหน่งของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าในสเปกตรัมแม่เหล็กไฟฟ้าสามารถจำแนกลักษณะได้โดยความถี่ของการสั่นหรือความยาวคลื่น สเปกตรัมแม่เหล็กไฟฟ้ามีคลื่นวิทยุ ไมโครเวฟ รังสีอินฟราเรด แสงที่มองเห็นได้ รังสีอัลตราไวโอเลต รังสีเอกซ์และรังสีแกมมา โดยเรียงความถี่จากน้อยไปมากและความยาวคลื่นจากมากไปน้อย คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าเกิดเมื่ออนุภาคมีประจุถูกเร่ง แล้วคลื่นเหล่านี้จะสามารถมีอันตรกิริยากับอนุภาคมีประจุอื่น คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าพาพลังงาน โมเมนตัมและโมเมนตัมเชิงมุมจากอนุภาคแหล่งกำเนิดและสามารถส่งผ่านคุณสมบัติเหล่านี้แก่สสารซึ่งไปทำอันตรกิริยาด้วย ควอนตัมของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าเรียก โฟตอน ซึ่งมีมวลนิ่งเป็นศูนย์ แต่พลังงานหรือมวลรวม (โดยสัมพัทธ์) สมมูลไม่เป็นศูนย์ ฉะนั้นจึงยังได้รับผลจากความโน้มถ่วง รังสีแม่เหล็กไฟฟ้าสัมพันธ์กับคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าเหล่านั้นซึ่งสามารถแผ่ตนเองได้โดยปราศจากอิทธิพลต่อเนื่องของประจุเคลื่อนที่ที่ผลิตมัน เพราะรังสีนั้นมีระยะห่างเพียงพอจากประจุเหล่านั้นแล้ว ฉะนั้น บางทีจึงเรียกรังสีแม่เหล็กไฟฟ้าว่าสนามไกล ในภาษานี้สนามใกล้หมายถึงสนามแม่เหล็กไฟฟ้าใกล้ประจุและกระแสที่ผลิตมันโดยตรง โดยเจาะจงคือ ปรากฏการณ์การเหนี่ยวนำแม่เหล็กไฟฟ้าและการเหนี่ยวนำไฟฟ้าสถิต ในทฤษฎีควอนตัมแม่เหล็กไฟฟ้า รังสีแม่เหล็กไฟฟ้าประกอบด้วยโฟตอน อนุภาคมูลฐานซึ่งทำให้เกิดอันตรกิริยาแม่เหล็กไฟฟ้าทั้งสิ้น ฤทธิ์ควอนตัมทำให้เกิดแหล่งรังสีแม่เหล็กไฟฟ้าเพิ่ม เช่น การส่งผ่านอิเล็กตรอนไประดับพลังงานต่ำกว่าในอะตอมและการแผ่รังสีวัตถุดำ โฟตอนความถี่สูงขึ้นจะมีพลังงานมากขึ้น ความสัมพันธ์นี้เป็นไปตามสมการของพลังค์ E.
ดู แฮ็นดริก โลเรินตส์และรังสีแม่เหล็กไฟฟ้า
รางวัลโนเบล
หรียญรางวัลโนเบล รางวัลโนเบล (Nobelpriset; Nobel Prize) เป็นรางวัลประจำปีระดับนานาชาติ ซึ่งจัดโดยคณะกรรมการสแกนดิเนเวีย พิจารณาผลงานวิจัยหรือความอัจฉริยะและความเชี่ยวชาญที่โดดเด่น หรือสร้างคุณประโยชน์ให้กับมนุษยชาติ ทั้งในด้านวิทยาศาสตร์และวัฒนธรรม ตามเจตจำนงของอัลเฟรด โนเบล นักเคมีชาวสวีเดน ผู้ประดิษฐ์ไดนาไมท์ โดยก่อตั้งขึ้นครั้งแรกในปี..
ดู แฮ็นดริก โลเรินตส์และรางวัลโนเบล
รางวัลโนเบลสาขาฟิสิกส์
หรียญรางวัลโนเบล รางวัลโนเบลสาขาฟิสิกส์ (Nobelpriset i fysik, Nobel Prize in Physics) เป็นรางวัลโนเบลหนึ่งใน 5 สาขา ริเริ่มโดยอัลเฟรด โนเบล ตั้งแต่ปี ค.ศ.
ดู แฮ็นดริก โลเรินตส์และรางวัลโนเบลสาขาฟิสิกส์
อัลเบิร์ต ไอน์สไตน์
แอลเบิร์ต ไอน์สไตน์ (Albert Einstein, อัลแบร์ท ไอน์ชไตน์; 14 มีนาคม พ.ศ. 2422 – 18 เมษายน พ.ศ. 2498) เป็นนักฟิสิกส์ทฤษฎี ในวันที่ 15 กุมภาพันธ์ 2428 ชาวเยอรมันเชื้อสายยิว (ตามลำดับ) ซึ่งเป็นที่ยอมรับกันอย่างกว้างขวางว่าเป็นนักวิทยาศาสตร์ที่ยิ่งใหญ่ที่สุดในคริสต์ศตวรรษที่ 20 เขาเป็นผู้เสนอทฤษฎีสัมพัทธภาพ และมีส่วนร่วมในการพัฒนากลศาสตร์ควอนตัม สถิติกลศาสตร์ และจักรวาลวิทยา เขาได้รับรางวัลโนเบลสาขาฟิสิกส์ใน..
ดู แฮ็นดริก โลเรินตส์และอัลเบิร์ต ไอน์สไตน์
อาร์เนม
อาร์เนม (Arnhem) เป็นเมืองและเทศบาลทางตะวันออกของประเทศเนเธอร์แลนด์ เป็นเมืองหลวงของจังหวัดเกลเดอร์ลันด์ มีประชากรเกือบถึง 150,000 คน (ข้อมูล 1 มกราคม ค.ศ.
ดู แฮ็นดริก โลเรินตส์และอาร์เนม
ปรากฏการณ์เซมัน
Zeeman splitting of the 5s level of Rb-87, including fine structure and hyperfine structure splitting. Here F.
ดู แฮ็นดริก โลเรินตส์และปรากฏการณ์เซมัน
ปีเตอร์ เซมัน
ปีเตอร์ เซมัน (Pieter Zeeman; 25 พฤษภาคม ค.ศ. 1865 – 9 ตุลาคม ค.ศ. 1943) เป็นนักฟิสิกส์ชาวดัตช์ที่ได้รับรางวัลโนเบลสาขาฟิสิกส์ในปี..
ดู แฮ็นดริก โลเรินตส์และปีเตอร์ เซมัน
นักฟิสิกส์
นักฟิสิกส์ คือนักวิทยาศาสตร์ผู้ศึกษาหรือปฏิบัติงานด้านฟิสิกส์ นักฟิสิกส์ศึกษาปรากฏการณ์ทางกายภาพอย่างกว้างขวางในทุกขนาด ตั้งแต่อนุภาคระดับต่ำกว่าอะตอม (sub atomic particles) ซึ่งเป็นส่วนประกอบของสสาร (ฟิสิกส์ของอนุภาค) ไปจนถึงพฤติกรรมของวัตถุในเอกภพโดยรวม (จักรวาลวิทยา หรือ Cosmology) วิชาฟิสิกส์มีมากมายหลายสาขา แต่ละสาขามีผู้เชี่ยวชาญเฉพาะในสาขานั้น.
ดู แฮ็นดริก โลเรินตส์และนักฟิสิกส์
18 กรกฎาคม
วันที่ 18 กรกฎาคม เป็นวันที่ 199 ของปี (วันที่ 200 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 166 วันในปีนั้น.
ดู แฮ็นดริก โลเรินตส์และ18 กรกฎาคม
4 กุมภาพันธ์
วันที่ 4 กุมภาพันธ์ เป็นวันที่ 35 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 330 วันในปีนั้น (331 วันในปีอธิกสุรทิน).
ดู แฮ็นดริก โลเรินตส์และ4 กุมภาพันธ์
ดูเพิ่มเติม
ชาวดัตช์ผู้ได้รับรางวัลโนเบล
- คริสตียาน ไอก์มัน
- ปีเตอร์ เซมัน
- วิลเลิม ไอนต์โฮเฟิน
- แฮ็นดริก โลเรินตส์
- ไฮเกอ กาเมอร์ลิง โอนเนิส
บุคคลจากอาร์เนม
- ออดรีย์ เฮปเบิร์น
- แฮ็นดริก โลเรินตส์
ผู้ได้รับพัวร์เลอเมรีท (ชั้นพลเรือน)
- กามีย์ แซ็ง-ซ็องส์
- กุสทัฟ เคียร์ชฮ็อฟ
- คาร์ล ฟรีดริช เกาส์
- คาร์ล ออร์ฟ
- จอห์น เอเวอเรตต์ มิเล
- จอห์น เฮอร์เชล
- จูเซปเป แวร์ดี
- ชาลส์ ดาร์วิน
- ฌ็อง-บาติสต์ บีโย
- ฌ็อง-โอกุสต์-ดอมีนิก แอ็งกร์
- นอร์มัน ฟอสเตอร์
- ฟรีดริช เวอเลอร์
- ริชาร์ด โอเวน
- ลีเซอ ไมท์เนอร์
- วอลแตร์
- วิลเลียม ทอมสัน บารอนเคลวินที่ 1
- วิลเลียม สโตกส์ (แพทย์)
- ว็อล์ฟกัง เพาล์
- สรวปัลลี ราธากฤษณัน
- อาร์เทอร์ คอมป์ตัน
- อุมแบร์โต เอโก
- ฮันส์ เบเทอ
- เยินส์ ยาคอบ แบร์ซีเลียส
- เอมิล นอลเดอ
- เออร์วิน พานอฟสกี
- แฮร์มัน ฟ็อน เฮ็ล์มฮ็อลทซ์
- แฮ็นดริก โลเรินตส์
- โฌแซ็ฟ หลุยส์ แก-ลูว์ซัก
- โรเบิร์ต บราวน์ (นักพฤกษศาสตร์)
- โรแบร์ท บุนเซิน
- ไมเคิล ฟาราเดย์
ผู้ได้รับรางวัลโนเบลสาขาฟิสิกส์
- กาเบรียล ลิพพ์มานน์
- กูลเยลโม มาร์โกนี
- จอร์จ สมูท
- จอห์น ครอมเวล เมเทอร์
- ฌ็อง แปแร็ง
- ดักลาส โอเชอร์ออฟ
- ปีเตอร์ ฮิกส์
- ปีเตอร์ เซมัน
- ปีแยร์ กูว์รี
- พอล ดิแรก
- ฟร็องซัว อ็องแกลร์
- มารี กูว์รี
- ริชาร์ด ไฟน์แมน
- วิลเลียม ชอกลีย์
- ว็อล์ฟกัง เพาลี
- ว็อล์ฟกัง เพาล์
- สุพรหมัณยัน จันทรเศขร
- หลุยส์ เดอ บรอย
- ออตโต สเติร์น
- อัลเบิร์ต ไอน์สไตน์
- อาร์เทอร์ คอมป์ตัน
- อาร์เธอร์ แมคโดนัลด์
- อาร์โน อัลลัน เพนเซียส
- อาลแบร์ แฟร์
- อาเธอร์ ลีโอนาร์ด ชอว์โลว์
- อิซิโดร์ ไอแซก ราบี
- อ็องตวน อ็องรี แบ็กแรล
- ฮันส์ เบเทอ
- เจ. เจ. ทอมสัน
- เดนนิส กาบอร์
- เอนรีโก แฟร์มี
- แจ็ก คิลบี
- แฮ็นดริก โลเรินตส์
- โรเบิร์ต วูดโรว์ วิลสัน
- ไฮเกอ กาเมอร์ลิง โอนเนิส
ศิษย์เก่าจากมหาวิทยาลัยไลเดิน
- คริสตียาน เฮยเคินส์
- จอห์น ควินซี แอดัมส์
- จอห์น สจวต เอิร์ลที่ 3 แห่งบิวต์
- ปีเตอร์ ฟัน โฟลเลินโฮเฟิน
- ปีเตอร์ เซมัน
- มาร์ก รึตเตอ
- ยัน อิงเงินฮุส
- สมเด็จพระราชาธิบดีวิลเลิม-อเล็กซานเดอร์แห่งเนเธอร์แลนด์
- สมเด็จพระราชินีนาถยูเลียนาแห่งเนเธอร์แลนด์
- สมเด็จพระราชินีนาถเบียทริกซ์แห่งเนเธอร์แลนด์
- ฮือโค เดอ ฟรีส
- เจอราร์ด ปีเตอร์ ไคเปอร์
- เจ้าหญิงมาร์ครีตแห่งเนเธอร์แลนด์
- เรอเน เดการ์ต
- แร็มบรันต์
- แฮ็นดริก โลเรินตส์
หรือที่รู้จักกันในชื่อ เฮนดริก ลอเรนท์ซ