สารบัญ
67 ความสัมพันธ์: บรรหาร ศิลปอาชาชวลิต ยงใจยุทธชาติชาย ชุณหะวัณบุญเอื้อ ประเสริฐสุวรรณพ.ศ. 2487พ.ศ. 2536พ.ศ. 2537พรรคพลังประชาชนพรรคกิจสังคมพรรคกิจประชาคมพรรคก้าวหน้าพรรคมัชฌิมาธิปไตยพรรครวมไทยพรรคความหวังใหม่พรรคประชาชนพรรคประชาชน (พ.ศ. 2531)พรรคประชาราชพรรคประชาธิปัตย์พรรคไทยรักไทยพรรคเพื่อไทยพรรคเอกภาพพิชัย รัตตกุลพินิจ จารุสมบัติกระทรวงการคลัง (ประเทศไทย)กระทรวงมหาดไทย (ประเทศไทย)กระทรวงอุตสาหกรรม (ประเทศไทย)กระทรวงคมนาคม (ประเทศไทย)กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ (ประเทศไทย)กลุ่มวาดะห์กองอาสารักษาดินแดนการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2557มหาวิทยาลัยฟาฏอนีมหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลามหาวิทยาลัยทักษิณรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทยของไทยรัฐมนตรีว่าการกระทรวงคมนาคมของไทยรัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ของไทยรัฐสภารายนามรองนายกรัฐมนตรีไทยรายนามประธานสภาผู้แทนราษฎรไทยวิชิต สุรพงษ์ชัยวีระกานต์ มุสิกพงศ์ศาสนาอิสลามสภาผู้แทนราษฎรสมศักดิ์ เทพสุทินสุริยะ จึงรุ่งเรืองกิจสุวัจน์ ลิปตพัลลภสุดารัตน์ เกยุราพันธุ์สุเทพ เทือกสุบรรณอิสลามวิทยาลัยแห่งประเทศไทย... ขยายดัชนี (17 มากกว่า) »
- ชาวไทยเชื้อสายมลายู
- บุคคลจากจังหวัดยะลา
- ประธานรัฐสภาไทย
- มุสลิมชาวไทย
- รัฐมนตรีว่าการกระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคมไทย
- รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทยไทย
บรรหาร ศิลปอาชา
รรหาร ศิลปอาชา (19 สิงหาคม พ.ศ. 2475 – 23 เมษายน พ.ศ. 2559) เป็นนักการเมืองชาวไทย ดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีไทยคนที่ 21 ประธานกรรมการมูลนิธิบรรหาร-แจ่มใส ศิลปอาชา ประธานที่ปรึกษาพรรคชาติไทยพัฒนา อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดสุพรรณบุรี 11 สมัย อดีตนายกสภามหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา อดีตนายกสภาสถาบันการพลศึกษา อดีตกรรมการผู้จัดการ บริษัท สหศรีชัยก่อสร้าง จำกัด และอดีตหัวหน้าพรรคชาติไทย ทั้งเป็นพี่ชายของชุมพล ศิลปอาชา อดีตรองนายกรัฐมนตรี.
ดู วันมูหะมัดนอร์ มะทาและบรรหาร ศิลปอาชา
ชวลิต ยงใจยุทธ
ลเอก พลเรือเอก พลอากาศเอก ชวลิต ยงใจยุทธ (15 พฤษภาคม พ.ศ. 2475 —) เป็นนายกรัฐมนตรีของประเทศไทย คนที่ 22 อดีตรองนายกรัฐมนตรี อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงแรงงานและสวัสดิการสังคม อดีตผู้บัญชาการทหารบกและอดีดรักษาการผู้บัญชาการทหารสูงสุด เป็นเจ้าของสมญา "ขงเบ้งแห่งกองทัพบก" เคยได้รับการแต่งตั้งให้เป็น สมาชิกวุฒิสภา ขณะดำรงตำแหน่งทางทหาร เป็นผู้ก่อตั้ง และหัวหน้า พรรคความหวังใหม่ คนแรก และเป็นอดีต..หลายสมัย มีคะแนนเสียงหนาแน่นในจังหวัดนครพนม สื่อมวลชนและประชาชนทั่วไป เรียก พล.อ.ชวลิต ว่า "บิ๊กจิ๋ว" และในพื้นที่ภาคอีสาน เรียก พล.อ.ชวลิต ว่า "พ่อใหญ่จิ๋ว" นอกจากนี้แล้วยังมีอีกฉายาหนึ่งว่า "จิ๋วหวานเจี๊ยบ" จากการมีบุคลิกพูดจาอ่อนนิ่ม นุ่มนวล.
ดู วันมูหะมัดนอร์ มะทาและชวลิต ยงใจยุทธ
ชาติชาย ชุณหะวัณ
ลเอก พลเรือเอก พลอากาศเอก ชาติชาย ชุณหะวัณ (5 เมษายน พ.ศ. 2463 — 6 พฤษภาคม พ.ศ. 2541) เป็นนายกรัฐมนตรีไทยคนที่ 17 และเคยดำรงตำแหน่งรองนายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรีในหลายกระทรวงคือ กระทรวงการต่างประเทศ กระทรวงอุตสาหกรรม และ กระทรวงกลาโหม พลเอกชาติชาย เป็นผู้ก่อตั้งพรรคการเมือง 2 พรรค และได้ดำรงตำแหน่งหัวหน้าพรรค คือ พรรคชาติไทย และ พรรคชาติพัฒน.
ดู วันมูหะมัดนอร์ มะทาและชาติชาย ชุณหะวัณ
บุญเอื้อ ประเสริฐสุวรรณ
ลตรี บุญเอื้อ ประเสริฐสุวรรณ (ชื่อเดิม: กิมกุ่ย) (13 เมษายน พ.ศ. 2462 - 13 ตุลาคม พ.ศ. 2559) อดีตประธานรัฐสภา ประธานสภาผู้แทนราษฎร อดีตรองนายกรัฐมนตรี และสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดสุพรรณบุรี.
ดู วันมูหะมัดนอร์ มะทาและบุญเอื้อ ประเสริฐสุวรรณ
พ.ศ. 2487
ทธศักราช 2487 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1944 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.
ดู วันมูหะมัดนอร์ มะทาและพ.ศ. 2487
พ.ศ. 2536
ทธศักราช 2536 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1993 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันศุกร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.
ดู วันมูหะมัดนอร์ มะทาและพ.ศ. 2536
พ.ศ. 2537
ทธศักราช 2537 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1994 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.
ดู วันมูหะมัดนอร์ มะทาและพ.ศ. 2537
พรรคพลังประชาชน
อาจหมายถึง.
ดู วันมูหะมัดนอร์ มะทาและพรรคพลังประชาชน
พรรคกิจสังคม
รรคกิจสังคม (Social Action Party) ก่อตั้งขึ้นในวันที่ 4 พฤศจิกายน พ.ศ. 2517 โดย หม่อมราชวงศ์คึกฤทธิ์ ปราโมช โดยให้ชื่อว่า "กิจสังคม" โดยแปลตรงตัวจากภาษาอังกฤษ โดยนำชื่อพรรคมาจากพรรคการเมืองนี้ในประเทศอังกฤษ พรรคมีสมาชิกที่ได้แจ้งต่อนายทะเบียนพรรคการเมืองไว้ จำนวน 27,413 คน และมีสาขาพรรคจำนวน 4 สาขา หม่อมราชวงศ์คึกฤทธิ์ ปราโมช ผู้ก่อตั้งพรรค และหัวหน้าพรรคคนแรกให้เหตุผลว.
ดู วันมูหะมัดนอร์ มะทาและพรรคกิจสังคม
พรรคกิจประชาคม
รรคกิจประชาคม หรือชื่อเดิม พรรคประชาราษฎร์ พรรคการเมืองที่จดทะเบียนลำดับที่ 10/2525 จดทะเบียนก่อตั้งเมื่อ 23 สิงหาคม พ.ศ.
ดู วันมูหะมัดนอร์ มะทาและพรรคกิจประชาคม
พรรคก้าวหน้า
รรคก้าวหน้า สามารถหมายถึง.
ดู วันมูหะมัดนอร์ มะทาและพรรคก้าวหน้า
พรรคมัชฌิมาธิปไตย
รรคมัชฌิมาธิปไตย (Neutral Democratic Party; ชื่อเดิม: พรรคมัชฌิมา) เป็นพรรคการเมืองที่ก่อตั้งโดยกลุ่มมัชฌิมา ซึ่งนำโดยนางอนงค์วรรณ เทพสุทิน (ภรรยานายสมศักดิ์ เทพสุทิน) และกลุ่มนายประชัย เลี่ยวไพรัตน์ อดีตเลขาธิการพรรคประชาราช มีนโยบายรวม 42 ข้อ โดยนโยบายหลัก ๆ ได้แก่ ขุดบ่อน้ำทั้งประเทศ 9 ล้านบ่อ, ลดค่าโดยสารรถไฟฟ้าตลอดสาย เหลือเพียง 15 บาทเป็นระยะเวลา 10 ปี, ประกันราคาพืชผลทางการเกษตรในราคาที่สูง, เรียนฟรีจนถึงปริญญาตรี เพื่อสำหรับการเลือกตั้งในปลายปี พ.ศ.
ดู วันมูหะมัดนอร์ มะทาและพรรคมัชฌิมาธิปไตย
พรรครวมไทย
อาจหมายถึง.
ดู วันมูหะมัดนอร์ มะทาและพรรครวมไทย
พรรคความหวังใหม่
ัญลักษณ์พรรคความหวังใหม่แบบเดิม พรรคความหวังใหม่ (New Aspiration Party; ย่อว่า ควม.) เป็นพรรคการเมืองหนึ่งในประเทศไทย เคยมีบทบาททางการเมืองระดับประเทศระหว่างปี..
ดู วันมูหะมัดนอร์ มะทาและพรรคความหวังใหม่
พรรคประชาชน
รรคประชาชน เป็นชื่อของพรรคการเมืองที่พบในหลายประเทศ ส่วนใหญ่มีแนวนโยบายแบบฝ่ายซ้าย แต่ก็มีพรรคประชาชนที่มีนโยบายแบบฝ่ายขวาหรือนิยมศาสนาด้วยในยุโรป ต่อไปนี้เป็นรายชื่อพรรคประชาชนของประเทศต่าง.
ดู วันมูหะมัดนอร์ มะทาและพรรคประชาชน
พรรคประชาชน (พ.ศ. 2531)
รรคประชาชน (ชื่อเดิม พรรครักไทย) พรรคการเมืองไทยที่จดทะเบียนก่อตั้งเมื่อ พ.ศ. 2526 ต่อมาในปี พ.ศ. 2530 พรรครักไทยได้เปลี่ยนแปลงชื่อพรรคเป็น พรรคประชาชน และในปี พ.ศ.
ดู วันมูหะมัดนอร์ มะทาและพรรคประชาชน (พ.ศ. 2531)
พรรคประชาราช
รรคประชาราช (Royal People Party, ย่อว่า: ปชร.) เป็นพรรคการเมืองที่ก่อตั้งโดยนายเสนาะ เทียนทอง เพื่อที่จะดำเนินงานทางการเมืองหลังลาออกมาจากพรรคไทยรักไทย ได้รับอนุมัติจากคณะกรรมการการเลือกตั้งให้ตั้งเป็นพรรคเมื่อวันที่ 10 มกราคม..
ดู วันมูหะมัดนอร์ มะทาและพรรคประชาราช
พรรคประชาธิปัตย์
รรคประชาธิปัตย์ (Democrat Party - DP, ย่อ: ปชป.) ก่อตั้งเมื่อวันที่ 5 เมษายน พ.ศ. 2489 เป็นพรรคการเมืองจดทะเบียนที่เก่าแก่ที่สุดของไทยที่ยังดำเนินการอยู่ พรรคมีสมาชิกที่ได้แจ้งต่อนายทะเบียนพรรคการเมืองไว้ จำนวน 2,895,933 คน นับเป็นพรรคการเมืองที่มีสมาชิกมากที่สุดในประเทศไทย และมีสาขาพรรคจำนวน 175.
ดู วันมูหะมัดนอร์ มะทาและพรรคประชาธิปัตย์
พรรคไทยรักไทย
รรคไทยรักไทย จดทะเบียนก่อตั้งเมื่อวันที่ 14 กรกฎาคม พ.ศ. 2541 เป็นพรรคการเมืองแรกที่ก่อตั้งขึ้นภายใต้ รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540 โดยมีผู้ร่วมก่อตั้ง 23 คน นำโดย ดร.ทักษิณ ชินวัตร ปัจจุบันพรรคไทยรักไทย ถูกยุบตามคำวินิจฉัยใน คดียุบพรรค มีหัวหน้าพรรคคนสุดท้ายคือ จาตุรนต์ ฉายแสง พรรคไทยรักไทยมีสมาชิกพรรคที่แจ้งต่อนายทะเบียนพรรคการเมือง ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ.
ดู วันมูหะมัดนอร์ มะทาและพรรคไทยรักไทย
พรรคเพื่อไทย
รรคเพื่อไทย (ย่อว่า: พท. Pheu Thai Party) จดทะเบียนจัดตั้ง เมื่อวันที่ 20 กันยายน พ.ศ. 2550 โดยมี นายบัณจงศักดิ์ วงศ์รัตนวรรณ เป็นหัวหน้าพรรคคนแรก และ นายโอฬาร กิจเลิศไพโรจน์ เป็นเลขาธิการพรรคคนแรก สำนักงานใหญ่ของพรรค ตั้งอยู่ที่ 1770 อาคารไอเอฟซีที ถนนเพชรบุรีตัดใหม่ แขวงบางกะปิ เขตห้วยขวาง กรุงเทพมหานคร รหัสไปรษณีย์ 10310 ซึ่งเป็นที่ทำการเดิมของพรรคไทยรักไทย และพรรคพลังประชาชน (ย้ายมาจากอาคารนวสร ถนนพระรามที่ 3 แขวงบางคอแหลม เขตบางคอแหลม กรุงเทพมหานคร และ 626 อาคาร บีบีดี บิลดิง ซอยจินดาถวิล ถนนพระรามที่ 4 แขวงมหาพฤฒาราม เขตบางรัก กรุงเทพมหานคร 10500) และสำนักงานสาขาพรรคแห่งแรก ตั้งอยู่ที่จังหวัดพิจิตร ซึ่งเป็นสาขาพรรคพลังประชาชนเดิม.
ดู วันมูหะมัดนอร์ มะทาและพรรคเพื่อไทย
พรรคเอกภาพ
รรคเอกภาพ (Solidarity Party) เป็นพรรคการเมืองของประเทศไทย ก่อตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 10 มีนาคม พ.ศ. 2526ราชกิจจานุเบกษา เล่ม 119 ตอนที่ 22ง วันที่ 14 มีนาคม 2545 ในนาม พรรคประชาไทย โดยมีนายทวี ไกรคุปต์ เป็นหัวหน้าพรรค ต่อมาในวันที่ 27 พฤษภาคม พ.ศ.
ดู วันมูหะมัดนอร์ มะทาและพรรคเอกภาพ
พิชัย รัตตกุล
ัย รัตตกุล (16 กันยายน พ.ศ. 2469 —) เป็น อดีตหัวหน้าพรรคประชาธิปัตย์ คนที่ 4 ระหว่างปี..
ดู วันมูหะมัดนอร์ มะทาและพิชัย รัตตกุล
พินิจ จารุสมบัติ
นายพินิจ จารุสมบัติ กรรมการสภามหาวิทยาลัยผู้ทรงคุณวุฒิของมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ อดีตรองนายกรัฐมนตรี อดีตหัวหน้าพรรคเสรีธรรม เคยร่วมต่อสู้กับพรรคคอมมิวนิสต์แห่งประเทศไทย ช่วงหลังเหตุการณ์ 6 ตุลาคม พ.ศ.
ดู วันมูหะมัดนอร์ มะทาและพินิจ จารุสมบัติ
กระทรวงการคลัง (ประเทศไทย)
กระทรวงการคลัง (Ministry of Finance) เป็นหน่วยงานราชการไทยประเภทกระทรวง ทำหน้าที่เกี่ยวกับการเงินของแผ่นดิน การภาษีอากร การรัษฎากร กิจการเกี่ยวกับที่ดินราชพัสดุ กิจการอันกฎหมายบัญญัติให้เป็นการผูกขาดของรัฐ กิจการหารายได้ซึ่งรัฐมีอำนาจดำเนินการได้แต่เพียงผู้ เดียวตามกฎหมายและไม่อยู่ในอำนาจหน้าที่ของกระทรวง ทบวง กรมอื่น และกิจการซึ่งจะเป็นสัญญาผูกพันต่อเมื่อรัฐบาลได้ให้อำนาจหรือสัตยาบัน รวมทั้งการค้ำประกันหนี้ของส่วนราชการและองค์การรัฐ สถาบันการเงินและรัฐวิสาหก.
ดู วันมูหะมัดนอร์ มะทาและกระทรวงการคลัง (ประเทศไทย)
กระทรวงมหาดไทย (ประเทศไทย)
กระทรวงมหาดไทย มีอำนาจหน้าที่เกี่ยวกับการบำบัดทุกข์บำรุงสุข การรักษาความสงบเรียบร้อยของประชาชน การอำนวยความเป็นธรรมของสังคม การส่งเสริมและพัฒนาการเมืองการปกครอง การพัฒนาการบริหารราชการส่วนภูมิภาค การปกครองท้องที่ การส่งเสริมการปกครองท้องถิ่นและพัฒนาชุมชน การทะเบียนราษฎร ความมั่นคงภายใน กิจการสาธารณภัย และการพัฒนาเมืองและราชการอื่นตามที่มีกฎหมายกำหนดให้เป็นอำนาจหน้าที่ของกระทรวงมหาดไทยหรือส่วนราชการที่สังกัดกระทรวงมหาดไท.
ดู วันมูหะมัดนอร์ มะทาและกระทรวงมหาดไทย (ประเทศไทย)
กระทรวงอุตสาหกรรม (ประเทศไทย)
กระทรวงอุตสาหกรรม (Ministry of Industry) เป็นส่วนราชการของรัฐบาลไทย ประเภทกระทรวง มีอำนาจหน้าที่เกี่ยวกับการส่งเสริมและพัฒนาอุตสาหกรรม การพัฒนาผู้ประกอบการ และราชการอื่นตามที่มีกฎหมายกำหนดให้เป็นอำนาจหน้าที่ของกระทรวงอุตสาหกรรม หรือส่วนราชการที่สังกัดกระทรวงอุตสาหกรรม.
ดู วันมูหะมัดนอร์ มะทาและกระทรวงอุตสาหกรรม (ประเทศไทย)
กระทรวงคมนาคม (ประเทศไทย)
กระทรวงคมนาคม (Ministry of Transport) เป็นหน่วยงานราชการไทยประเภทกระทรวง มีหน้าที่ยกระดับการให้บริการประชาชน ของระบบโครงสร้างพื้นฐาน และบริการคมนาคมขนส่ง ให้มีความคุ้มค่าและทั่วถึง ทำให้ระบบคมนาคมขนส่ง มีความปลอดภัย มีผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมน้อย และส่งเสริมคุณภาพชีวิต ผสานและเชื่อมโยง โครงข่ายระบบขนส่งมวลชน ระบบขนส่งสาธารณะ ทั้งคนและสินค้า และขยายโอกาสการเดินทางสัญจร อย่างเสมอภาคโดยทั่วถึงกัน.
ดู วันมูหะมัดนอร์ มะทาและกระทรวงคมนาคม (ประเทศไทย)
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ (ประเทศไทย)
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ (Ministry of Agriculture and Cooperatives) เป็นหน่วยงานราชการไทยประเภทกระทรวง ได้รับการสถาปนาเมื่อวันที่ 1 เมษายน พ.ศ.
ดู วันมูหะมัดนอร์ มะทาและกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ (ประเทศไทย)
กลุ่มวาดะห์
กลุ่มวาดะห์ หรือ "กลุ่มเอกภาพ" เป็นชื่อกลุ่มนักการเมืองที่เคยทรงอิทธิพลอย่างสูงในพื้นที่ 3 จังหวัดชายแดนภาคใต้ ก่อตั้งโดย นายเด่น โต๊ะมีนา และ นายวันมูหะมัดนอร์ มะท..
ดู วันมูหะมัดนอร์ มะทาและกลุ่มวาดะห์
กองอาสารักษาดินแดน
กองอาสารักษาดินแดน (คำย่อ: อส., Volunteer Defense Corps; VDC) เป็นกองกำลังกึ่งทหาร ทำหน้าที่รักษาความสงบร่วมกับพนักงานฝ่ายปกครองหรือตำรวจ ปราบปรามผู้กระทำผิดกฎหมาย การเทิดทูนและพิทักษ์รักษาไว้ซึ่งสถาบันพระมหากษัตริย์ การจัดระเบียบสังคม การบริการประชาชน การส่งเสริมการท่องเที่ยว รวมถึงรักษาความปลอดภัยในสถานที่สำคัญ และการคมนาคม และเป็นกำลังสำรองส่วนหนึ่งที่พร้อมจะเพิ่มเติมและสนับสนุนกำลังทหารได้เมื่อมีการร้องขอทั้งในยามปกติและยามศึกสงคราม กองอาสารักษาดินแดนสังกัดกรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย มีรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทยเป็นผู้บัญชาการโดยตำแหน่งhttp://asa.dopa.go.th/line1.pdf และประธานกรรมการ.
ดู วันมูหะมัดนอร์ มะทาและกองอาสารักษาดินแดน
การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2557
การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป..
ดู วันมูหะมัดนอร์ มะทาและการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2557
มหาวิทยาลัยฟาฏอนี
มหาวิทยาลัยฟาฏอนี เป็นสถาบันอุดมศึกษาเอกชนอิสลามแห่งแรกในประเทศไทย จัดตั้งขึ้นโดยนักวิชาการอิสลามและผู้ทรงคุณวุฒิด้านอิสลามศึกษาในภูมิภาค ซึ่งมีเจตนารมณ์ในการส่งเสริมและพัฒนาด้านอิสลามศึกษาและศาสตร์อื่นๆ สอนตามแนวทางกิตาบุ้ลลอฮฺและซุนนะห์ มหาวิทยาลัยฟาฏอนี จัดตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 3 เมษายน พ.ศ.
ดู วันมูหะมัดนอร์ มะทาและมหาวิทยาลัยฟาฏอนี
มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา
มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา (Songkhla Rajabhat University) เป็นสถาบันอุดมศึกษาที่เก่าแก่ที่สุดแห่งหนึ่งของภาคใต้ พัฒนามาจากโรงเรียนฝึกหัดครูมณฑล วิทยาลัยครูสงขลา, สถาบันราชภัฏสงขลา และ มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา ดังเช่นปัจจุบัน.
ดู วันมูหะมัดนอร์ มะทาและมหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา
มหาวิทยาลัยทักษิณ
"มหาวิทยาลัยทักษิณ" เป็นสถาบันอุดมศึกษาในกำกับของรัฐ ตั้งอยู่ในจังหวัดสงขลา เดิมเป็นวิทยาเขตหนึ่งของ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ต่อมาได้รับการยกวิทยฐานะเป็นมหาวิทยาลัยเอกเทศ มีชื่อว่า "มหาวิทยาลัยทักษิณ" พระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยทักษิณได้ผ่านกระบวนการตามกฎหมายครบทุกขั้นตอน และได้ประกาศในราชกิจจานุเบกษา เมื่อวันพฤหัสบดีที่ 31 ตุลาคม พ.ศ.
ดู วันมูหะมัดนอร์ มะทาและมหาวิทยาลัยทักษิณ
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทยของไทย
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย เป็นตำแหน่งหัวหน้าส่วนราชการของ กระทรวงมหาดไทย โดยตำแหน่งนี้มีขึ้นตั้งแต่ปี พ.ศ.
ดู วันมูหะมัดนอร์ มะทาและรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทยของไทย
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงคมนาคมของไทย
รายพระนาม รายนาม เสนาบดีและรัฐมนตรีว่าการกระทรวงคมนาคม.
ดู วันมูหะมัดนอร์ มะทาและรัฐมนตรีว่าการกระทรวงคมนาคมของไทย
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ของไทย
รายพระนาม รายนาม เสนาบดี และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ.
ดู วันมูหะมัดนอร์ มะทาและรัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ของไทย
รัฐสภา
ผู้แทนราษฎรของออสเตรเลีย รัฐสภา เป็นสภานิติบัญญัติชนิดหนึ่ง รัฐสภาจะทำหน้าที่ออกกฎหมาย อภิปราย หารือกันระหว่างสมาชิกรัฐสภา ถกเถียงประเด็นทางการเมืองหรือกิจกรรมทางการเมืองอื่นๆ โดยรัฐสภาจะมีเฉพาะประเทศที่ใช้ใช้ระบอบการปกครองในระบอบประชาธิปไตย ซึ่งสหราชอาณาจักรเป็นประเทศแรกในโลกที่มีระบบรัฐสภาและเป็นต้นแบบระบอบประชาธิปไตยในสมัยปัจจุบันด้วย เช่น ฝรั่งเศส สเปน สหรัฐอเมริกา ญี่ปุ่น เป็นต้น.
ดู วันมูหะมัดนอร์ มะทาและรัฐสภา
รายนามรองนายกรัฐมนตรีไทย
รองนายกรัฐมนตรี หมวดหมู่:รายนามบุคคล.
ดู วันมูหะมัดนอร์ มะทาและรายนามรองนายกรัฐมนตรีไทย
รายนามประธานสภาผู้แทนราษฎรไทย
ทความนี้รวบรวมรายนามประธานสภาผู้แทนราษฎรไทยตั้งแต่อดีตถึงปัจจุบัน โดยลำดับประธานสภาในบทความนี้ระบุเฉพาะประธานสภาผู้แทนราษฎรที่มาจากการเลือกตั้งและแต่งตั้ง ไม่นับประธานสภาร่างรัฐธรรมนูญ สภานิติบัญญัติแห่งชาติ สภาปฏิรูปการปกครองแผ่นดิน ที่มาจากการแต่งตั้ง หลังการเกิดรัฐประหาร.
ดู วันมูหะมัดนอร์ มะทาและรายนามประธานสภาผู้แทนราษฎรไทย
วิชิต สุรพงษ์ชัย
วิชิต สุรพงษ์ชัย เป็นอดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงคมนาคม ในรัฐบาลนายชวน หลีกภัย และอดีตประธานกรรมการบริหารธนาคารรัตนสิน ธนาคารกรุงเทพ ปัจจุบันเป็นประธานกรรมการบริหารธนาคารไทยพาณ.
ดู วันมูหะมัดนอร์ มะทาและวิชิต สุรพงษ์ชัย
วีระกานต์ มุสิกพงศ์
วีระกานต์ มุสิกพงศ์ หรือชื่อเดิม วีระ มุสิกพงศ์ อดีตประธานแนวร่วมประชาธิปไตยต่อต้านเผด็จการแห่งชาติ แดงทั้งแผ่นดิน (นปช.) อดีตรัฐมนตรีหลายกระทรวง อดีตโฆษกประจำสำนักนายกรัฐมนตรีในรัฐบาลหม่อมราชวงศ์เสนีย์ ปราโมช และอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร ระบบบัญชีรายชื่อ อดีตกรรมการบริหารพรรคไทยรักไทย มีฉายาว่า ไข่มุกดำ เป็นผู้นำเคลื่อนไหวต่อต้านเผด็จการทหาร เมื่อปี พ.ศ.
ดู วันมูหะมัดนอร์ มะทาและวีระกานต์ มุสิกพงศ์
ศาสนาอิสลาม
นาอิสลาม (Islam) เป็นศาสนาเอกเทวนิยมและศาสนาอับราฮัม บัญญัติไว้ในคัมภีร์อัลกุรอาน คัมภีร์ศักดิ์สิทธิ์ของอิสลามซึ่งสาวกถือว่าเป็นพระวจนะคำต่อคำของพระเป็นเจ้า (อัลลอฮฺ) และสำหรับสาวกส่วนใหญ่ เป็นคำสอนและตัวอย่างเชิงบรรทัดฐาน (เรียกว่า สุนัต และประกอบด้วยหะดีษ) ของมุฮัมมัด (ประมาณ 570–8 มิถุนายน 632)เป็นศาสดา (นบี) องค์สุดท้ายของพระเป็นเจ้า สาวกของศาสนาอิสลาม เรียกว่า มุสลิม มุสลิมเชื่อว่า พระเจ้าเป็นหนึ่งและหาที่เปรียบไม่ได้ และจุดประสงค์ของการดำรงอยู่ คือ เพื่อรักและรับใช้พระเป็นเจ้า มุสลิมยังเชื่อว่า ศาสนาอิสลามเป็นบรรพศรัทธาฉบับสมบูรณ์และเป็นสากลที่สุดซึ่งได้ประจักษ์มาหลายครั้งก่อนหน้านั้น ผ่านศาสดาซึ่งรวมอาดัม โนอาห์ อับราฮัม โมเสส และพระเยซู พวกเขายึดมั่นว่า สารและวิวรณ์ถูกแปลผิดหรือเปลี่ยนแปลงบางส่วนตามกาลดู.
ดู วันมูหะมัดนอร์ มะทาและศาสนาอิสลาม
สภาผู้แทนราษฎร
ผู้แทนราษฎร เป็นหน่วยหนึ่งในกระบวนการนิติบัญญัติ โดยทั่วไปมักเป็นสภาล่างในระบบสภาคู.
ดู วันมูหะมัดนอร์ มะทาและสภาผู้แทนราษฎร
สมศักดิ์ เทพสุทิน
นายสมศักดิ์ เทพสุทิน แกนนำกลุ่มสามมิตร หรือ กลุ่มวังน้ำยม และ กลุ่มมัชฌิมาเดิม กลุ่มอดีต..
ดู วันมูหะมัดนอร์ มะทาและสมศักดิ์ เทพสุทิน
สุริยะ จึงรุ่งเรืองกิจ
ริยะ จึงรุ่งเรืองกิจ (10 ธันวาคม พ.ศ. 2497-) อดีตรองนายกรัฐมนตรี รัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรม ในสมัยรัฐบาลของทักษิณ ชินวัตรและเลขาธิการพรรคไทยรักไท.
ดู วันมูหะมัดนอร์ มะทาและสุริยะ จึงรุ่งเรืองกิจ
สุวัจน์ ลิปตพัลลภ
วัจน์ ลิปตพัลลภ นายกสภามหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา อดีตรองนายกรัฐมนตรี ในรัฐบาลของดร.ทักษิณ ชินวัตร อดีตรัฐมนตรีว่าการทบวงมหาวิทยาลัย และอดีตรัฐมนตรีว่าการหลายกระทรวง เป็นหนึ่งในแกนนำพรรครวมชาติพัฒนา (ปัจจุบันคือ พรรคชาติพัฒนาเพื่อแผ่นดิน) แต่ไม่ได้ลงสมัครรับเลือกตั้งทั่วไป 23 ธันวาคม พ.ศ.
ดู วันมูหะมัดนอร์ มะทาและสุวัจน์ ลิปตพัลลภ
สุดารัตน์ เกยุราพันธุ์
ร.คุณหญิง สุดารัตน์ เกยุราพันธุ์ (1 พฤษภาคม 2504 -) เป็นนักการเมือง เคยร่วมประท้วงในเหตุการณ์พฤษภาทมิฬ อดีตรัฐมนตรีเคยดำรงตำแหน่งที่สำคัญในรัฐบาล พันตำรวจโท ทักษิณ ชินวัตร ปัจจุบันเป็นประธานมูลนิธิไทยพึ่งไท.
ดู วันมูหะมัดนอร์ มะทาและสุดารัตน์ เกยุราพันธุ์
สุเทพ เทือกสุบรรณ
ทพ เทือกสุบรรณ เป็นประธานมูลนิธิมวลมหาประชาชนเพื่อการปฏิรูปประเทศไทย และ ผู้ก่อตั้งวิทยาลัยอาชีวศึกษาภาวนาโพธิคุณ เป็นอดีตรองนายกรัฐมนตรีในรัฐบาลอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ อดีตเลขาธิการพรรคประชาธิปัตย์ และสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดสุราษฎร์ธานีหลายสมัย เคยดำรงตำแหน่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงคมนาคม และรัฐมนตรีช่วยว่าการหลายกระทรวง จนถึงปี 2554 เป็นเลขาธิการพรรคประชาธิปัตย์ เขาลาออกจากตำแหน่งในเดือนพฤศจิกายน 2556 เป็นเลขาธิการ กปปส.
ดู วันมูหะมัดนอร์ มะทาและสุเทพ เทือกสุบรรณ
อิสลามวิทยาลัยแห่งประเทศไทย
อิสลามวิทยาลัยแห่งประเทศไทย เป็นโรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดใหญ่พิเศษแบบสหศึกษารับนักเรียนทั้งชายและหญิง ก่อตั้งขึ้นตามพระราชกฤษฎีกา ว่าด้วยการศาสนูปถัมป์ ฝ่ายอิสลาม พุทธศักราช 2488 รับนักเรียนชายอยู่ประจำ ที่เป็นชายมุสลิม และรับนักเรียนชายต่างศาสนิก ไปกลับรวมทั้งรับนักเรียนหญิง ไปกลับ ตั้งแต่ ม.1-ม.6 เริ่มดำเนินการเรียนการสอนครั้งแรกในปี 2493 เดิมตั้งอยู่บริเวณโรงปูนบางซื่อ ต่อมาได้ย้ายมาตั้งอยู่ในสถานที่ปัจจุบันคือ บ้านเลขที่ 23 ถนนประชาอุทิศ แขวงทุ่งครุ เขตทุ่งครุ กรุงเทพมหานคร จัดการเรียนการสอนระดับชั้นมัธยมศึกษา ตั้งแต่ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ถึงปีที่ 6 สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา มัธยมศึกษา เขต 1 เปิดสอนในชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น และมัธยมศึกษาตอนปล.
ดู วันมูหะมัดนอร์ มะทาและอิสลามวิทยาลัยแห่งประเทศไทย
จังหวัดยะลา
ลา เป็นจังหวัดในภาคใต้ของประเทศไทย มีอาณาเขตติดต่อกับประเทศมาเลเซี.
ดู วันมูหะมัดนอร์ มะทาและจังหวัดยะลา
จังหวัดนราธิวาส
นราธิวาส เป็นจังหวัดหนึ่งในภาคใต้ของประเทศไทย เป็นจังหวัดชายแดนใต้สุดของประเทศไทย มีอาณาเขตติดต่อกับประเทศมาเลเซีย ตั้งอยู่บนชายฝั่งทะเลตะวันออกของแหลมมลายู ห่างจากกรุงเทพฯ ทางรถยนต์ประมาณ 1,149 กิโลเมตร โดยมีเนื้อที่ประมาณ 4,475.43 ตารางกิโลเมตร หรือ 2,797,143.75 ไร่ ทิศเหนือติดต่อกับจังหวัดปัตตานีในเขตอำเภอสายบุรี อำเภอไม้แก่น และอ่าวไทย ทิศตะวันออกติดต่อกับอ่าวไทยและรัฐกลันตัน ประเทศมาเลเซีย ทิศใต้ติดต่อกับรัฐกลันตัน ประเทศมาเลเซีย ทิศตะวันตกติดต่อกับจังหวัดยะลาในเขตอำเภอบันนังสตา พื้นที่ส่วนใหญ่เป็นป่าไม้และภูเขา 2 ใน 3 ของพื้นที่ทั้งหมด มีป่าพรุประมาณ 361,860 ไร่ ทางแถบทิศตะวันตกเฉียงใต้จรดทิวเขาสันกาลาคีรีซึ่งเป็นแนวกั้นพรมแดนไทย-มาเลเซีย ลักษณะพื้นที่จะมีความลาดเอียงจากทิศตะวันตกไปสู่ทิศตะวันออก พื้นที่ราบส่วนใหญ่อยู่บริเวณติดกับอ่าวไทยและที่ราบลุ่มบริเวณแม่น้ำ 4 สาย คือ แม่น้ำบางนรา แม่น้ำสายบุรี แม่น้ำตากใบ และแม่น้ำโก-ลก มีประชากรจำนวน 796,239 คน แยกเป็นชาย 393,837 คน หญิง 402,402 คน โดยจังหวัดนราธิวาสมีศูนย์กลางทางเศรษฐกิจ การค้า การลงทุน และการอุตสาหกรรมอยู่ที่อำเภอสุไหงโก-ลก ซึ่งเป็นอำเภอที่มีขนาดใหญ่และมีความเจริญกว่าตัวจังหวัดมาก.
ดู วันมูหะมัดนอร์ มะทาและจังหวัดนราธิวาส
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เป็นมหาวิทยาลัยและสถาบันอุดมศึกษาแห่งแรกของประเทศไทย ตั้งอยู่ในเขตปทุมวัน กรุงเทพมหานครราชกิจจานุเบกษ.
ดู วันมูหะมัดนอร์ มะทาและจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ทักษิณ ชินวัตร
ทักษิณ ชินวัตร (เกิด 26 กรกฎาคม 2492) เป็นนายกรัฐมนตรีไทยคนที่ 23 ดำรงตำแหน่งระหว่างปี 2544 ถึง 2549 และเป็นพี่ชายของยิ่งลักษณ์ ชินวัตร นายกรัฐมนตรีไทยคนที่ 28 เคยเป็นนักธุรกิจโทรคมนาคมและการสื่อสาร ผู้ก่อตั้งกลุ่มบริษัท ชิน คอร์ปอเรชั่น จำกัด (มหาชน) บริษัทโทรคมนาคมและการสื่อสารขนาดใหญ่ที่สุดในประเทศไทย อดีตข้าราชการตำรวจ (ชั้นยศสูงสุดที่ พันตำรวจโท) อดีตเจ้าของและประธานสโมสรฟุตบอลแมนเชสเตอร์ซิตี อดีตที่ปรึกษาทางเศรษฐกิจของรัฐบาลกัมพูชา และ ศาสตราจารย์อาคันตุกะแห่งมหาวิทยาลัยทากุโชกุ มีสัญชาติไทยโดยการเกิด ปัจจุบันถือสัญชาติมอนเตเนโกร ปี 2537 ทักษิณเข้าสู่วงการเมืองสังกัดพรรคพลังธรรม โดยการชักนำของพลตรี จำลอง ศรีเมือง ต่อมาก่อตั้งพรรคไทยรักไทย ในปี 2541 หลังการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรเป็นการทั่วไป พ.ศ.
ดู วันมูหะมัดนอร์ มะทาและทักษิณ ชินวัตร
คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
ณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ เป็นคณะลำดับที่ 2 ต่อจากคณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ เปิดรับนักศึกษารุ่นแรกเมื่อ..
ดู วันมูหะมัดนอร์ มะทาและคณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยทักษิณ
ณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยทักษิณ วิทยาเขตสงขลา ตั้งที่ 140 หมู่ที่ 4 ตำบลเขารูปช้าง อำเภอเมือง จังหวัดสงขล.
ดู วันมูหะมัดนอร์ มะทาและคณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยทักษิณ
คดียุบพรรคการเมือง พ.ศ. 2549
ียุบพรรคการเมืองเนื่องจากการเลือกตั้ง 2 เมษายน..
ดู วันมูหะมัดนอร์ มะทาและคดียุบพรรคการเมือง พ.ศ. 2549
ซูการ์โน มะทา
ซูการ์โน มะทา อดีตรองเลขาธิการนายกรัฐมนตรีฝ่ายการเมือง อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จังหวัดยะลา สังกัดพรรคเพื่อไทย และเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรเพียงหนึ่งเดียวของพรรคพลังประชาชนในพื้นที่ภาคใต้ (การเลือกตั้ง พ.ศ.
ดู วันมูหะมัดนอร์ มะทาและซูการ์โน มะทา
ปุระชัย เปี่ยมสมบูรณ์
ตราจารย์ ร้อยตำรวจเอก ปุระชัย เปี่ยมสมบูรณ์ (เกิด 1 สิงหาคม พ.ศ. 2493) สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร แบบบัญชีรายชื่อ สังกัดพรรครักษ์สันติ อดีตสมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ ผู้เชี่ยวชาญด้านอาชญาวิทยา และเป็นประธานคณะกรรมการข้าราชการตำรวจ (ก.ตร.) อดีตอธิการบดี สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ เป็นผู้ก่อตั้งมหาวิทยาลัยชินวัตร ชีวิตส่วนตัวสมรสกับ ผู้ช่วยศาสตราจารย์สมศรี เปี่ยมสมบูรณ์ มีบุตร-ธิดารวม 3 คน.
ดู วันมูหะมัดนอร์ มะทาและปุระชัย เปี่ยมสมบูรณ์
นายกรัฐมนตรี
นายกรัฐมนตรี เป็นตำแหน่งผู้นำของรัฐบาล เป็นตำแหน่งสูงสุด โดยมีพระมหากษัตริย์หรือประธานาธิบดีเป็นประมุขแห่งรัฐ บางประเทศยังต้องเลือกประธานาธิบดีแล้วแต่งตั้งนายกรัฐมนตรีหรือบางประเทศอาจจะให้กษัตริย์เป็นผู้แต่งตั้งก็ได้ แต่ในระบบสาธารณรัฐแบบประธานาธิบดีจะไม่มีนายกรัฐมนตรี เช่น สหรัฐอเมริกา บราซิล เป็นต้น รองนายกรัฐมนตรี เป็นผู้ที่จะปฏิบัติหน้าที่แทนนายกรัฐมนตรี ในขณะที่นายกรัฐมนตรีมีเหตุทำให้ไม่สามารถปฏิบัติหน้าที่ได้ หรือมีหน้าที่อื่นให้ปฏิบัติ เช่น เดินทางไปประชุมที่ต่างประเทศ ลาราชการ พ้นจากตำแหน่ง เป็นต้น.
ดู วันมูหะมัดนอร์ มะทาและนายกรัฐมนตรี
โภคิน พลกุล
รองศาสตราจารย์ ดร.
ดู วันมูหะมัดนอร์ มะทาและโภคิน พลกุล
โรงเรียนคณะราษฎรบำรุง จังหวัดยะลา
รงเรียนคณะราษฎรบำรุง จังหวัดยะลา เป็นโรงเรียนประจำจังหวัดยะลา ประเภทสหศึกษา เปิดสอนระดับมัธยมศึกษาปีที่ 1 ถึง มัธยมศึกษาปีที่ 6 สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ.) กระทรวงการศึกษาธิการ.
ดู วันมูหะมัดนอร์ มะทาและโรงเรียนคณะราษฎรบำรุง จังหวัดยะลา
เด่น โต๊ะมีนา
น โต๊ะมีนา นักการเมือง ชาวปัตตานี อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงสาธารณสุข รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงมหาดไทย เลขาธิการคณะกรรมการกลางอิสลามแห่งประเทศไทย สมาชิกวุฒิสภา จังหวัดปัตตานี และสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร หลายสมั.
ดู วันมูหะมัดนอร์ มะทาและเด่น โต๊ะมีนา
เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติยศยิ่งมงกุฎไทย
รื่องราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติยศยิ่งมงกุฎไทย (The Most Noble Order of the Crown of Thailand) เป็นตระกูลเครื่องราชอิสริยาภรณ์ หนึ่งใน 8 ตระกูลที่สำหรับพระราชทานแด่พระบรมวงศานุวงศ์ ข้าราชการ และผู้กระทำคุณความดี ทั้งบุรุษและสตรี โดยเครื่องราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติยศยิ่งมงกุฎไทยนี้สำหรับพระราชทานแก่ผู้กระทำความดีความชอบเป็นประโยชน์แก่ราชการหรือสาธารณชน โดยการพิจารณาเสนอขอพระราชทานของรัฐบาล เพื่อเป็นบำเหน็จความชอบและเครื่องหมายเชิดชูเกียรติยศอย่างสูง แก่ผู้ได้รับพระราชทาน พระราชทานทั้งบุรุษและสตรี หากทรงพระกรุณาโปรดเกล้า ฯ แล้ว ให้ประกาศรายนามในราชกิจจานุเบกษา ปรกติแล้วจะประกาศในวันเฉลิมพระชนมพรรษา 5 ธันวาคม ของทุกปี แยกเป็น 2 ฉบับ คือชั้นต่ำกว่าสายสะพาย และชั้นสายสะพาย เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติยศยิ่งมงกุฎไทยนี้ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงพระกรุณาให้สร้างขึ้น เมื่อ..
ดู วันมูหะมัดนอร์ มะทาและเครื่องราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติยศยิ่งมงกุฎไทย
เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นที่สรรเสริญยิ่งดิเรกคุณาภรณ์
รื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นที่สรรเสริญยิ่งดิเรกคุณาภรณ์ (The Most Admirable Order of the Direkgunabhorn) เป็นเครื่องราชอิสริยาภรณ์ที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดชทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้สร้างขึ้นเมื่อวันที่ 22 กรกฎาคม พ.ศ.
ดู วันมูหะมัดนอร์ มะทาและเครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นที่สรรเสริญยิ่งดิเรกคุณาภรณ์
เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นที่เชิดชูยิ่งช้างเผือก
รื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นที่เชิดชูยิ่งช้างเผือก (The Most Exalted Order of the White Elephant) เป็นตระกูลเครื่องราชอิสริยาภรณ์ หนึ่งใน 8 ตระกูลที่สำหรับพระราชทานแด่พระบรมวงศานุวงศ์ ข้าราชการ และผู้กระทำคุณความดี ทั้งบุรุษและสตรี โดยเครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นที่เชิดชูยิ่งช้างเผือกนี้สำหรับพระราชทานแก่ผู้กระทำความดีความชอบเป็นประโยชน์แก่ราชการหรือสาธารณชน โดยการพิจารณาเสนอขอพระราชทานของรัฐบาล เพื่อเป็นบำเหน็จความชอบและเครื่องหมายเชิดชูเกียรติยศอย่างสูงแก่ผู้ได้รับพระราชทาน พระราชทานทั้งบุรุษและสตรี หากทรงพระกรุณาโปรดเกล้า ฯ แล้ว ให้ประกาศรายนามในราชกิจจานุเบกษา ปรกติแล้วจะประกาศในวันเฉลิมพระชนมพรรษา 5 ธันวาคม ของทุกปี แยกเป็น 2 ฉบับ คือชั้นต่ำกว่าสายสะพาย และชั้นสายสะพาย เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นที่เชิดชูยิ่งช้างเผือกนี้ พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงพระกรุณาให้สร้างขึ้นเมื่อ..
ดู วันมูหะมัดนอร์ มะทาและเครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นที่เชิดชูยิ่งช้างเผือก
11 พฤษภาคม
วันที่ 11 พฤษภาคม เป็นวันที่ 131 ของปี (วันที่ 132 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 234 วันในปีนั้น.
ดู วันมูหะมัดนอร์ มะทาและ11 พฤษภาคม
ดูเพิ่มเติม
ชาวไทยเชื้อสายมลายู
- กังสดาล พิพิธภักดี
- ซารีฟ สายนุ้ย
- ท้าวเทพกระษัตรีและท้าวศรีสุนทร
- นูรูล ศรียานเก็ม
- พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว
- วันมูหะมัดนอร์ มะทา
- วันอับดุลกาเดร์ เจ๊ะมัน
- วินัย ไกรบุตร
- สมปอง สอเหลบ
- สมเด็จพระศรีสุลาลัย
- สุรินทร์ พิศสุวรรณ
- สุริยา สิงห์มุ้ย
- หม่อมราชวงศ์สุขุมพันธุ์ บริพัตร
- อดิศร พรหมรักษ์
- อดุล หละโสะ
- อัมรินทร์ เยาดำ
- เจนนี่ ปาหนัน
- เด่นเก้าแสน เก้าวิชิต
- เอเลียส ดอเลาะ
- ไชยรัตน์ หมัดศิริ
- ไทยเชื้อสายมลายู
บุคคลจากจังหวัดยะลา
- ฐิติภูมิ เตชะอภัยคุณ
- ณัฐนนท์ กัจฉปานันท์
- ประพัฒน์ ปัญญาชาติรักษ์
- วันมูหะมัดนอร์ มะทา
ประธานรัฐสภาไทย
- ชวน หลีกภัย
- ชัย ชิดชอบ
- ทวี บุณยเกตุ
- บุญเอื้อ ประเสริฐสุวรรณ
- ประธานรัฐสภาไทย
- พรเพชร วิชิตชลชัย
- พิชัย รัตตกุล
- มารุต บุนนาค
- มีชัย ฤชุพันธุ์
- วันมูหะมัดนอร์ มะทา
- สมศักดิ์ เกียรติสุรนนท์
- หม่อมราชวงศ์คึกฤทธิ์ ปราโมช
- เจ้าพระยาธรรมศักดิ์มนตรี (สนั่น เทพหัสดิน ณ อยุธยา)
มุสลิมชาวไทย
- กังสดาล พิพิธภักดี
- ซารีฟ สายนุ้ย
- ณัฐวุฒิ หมัดยะลาน
- ดำรง พุฒตาล
- นูรูล ศรียานเก็ม
- บ่าววี
- มูฮัมหมัด อุสมานมูซา
- รถถัง จิตรเมืองนนท์
- ลาบานูน
- วรวีร์ มะกูดี
- วันมูหะมัดนอร์ มะทา
- วันอับดุลกาเดร์ เจ๊ะมัน
- วินัย ดะห์ลัน
- สด จิตรลดา
- สนธิ บุญยรัตกลิน
- สมชาย นีละไพจิตร
- สมปอง สอเหลบ
- สามารถเล็ก ก่อเกียรติยิม
- สาวิกา ไชยเดช
- สุทธิดา เกษมสันต์ ณ อยุธยา
- สุรินทร์ พิศสุวรรณ
- หะยีสุหลง
- อดิศักดิ์ กานู
- อดุล หละโสะ
- อนุวรรตน์ ทับวัง
- อังคณา นีละไพจิตร
- อับดุลฮาฟิส บือราเฮง
- อัมมาร สยามวาลา
- อัมรินทร์ เยาดำ
- เจ้าพระยาบวรราชนายก (เฉกอะหมัด)
- เด่นเก้าแสน เก้าวิชิต
- เย็น แก้วมะณี
- เล็ก นานา
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคมไทย
- ควง อภัยวงศ์
- จรูญ รัตนกุล เสรีเริงฤทธิ์
- จารุพงศ์ เรืองสุวรรณ
- ชัชชาติ สิทธิพันธุ์
- ทวิช กลิ่นประทุม
- ทวี จุลละทรัพย์
- นุกูล ประจวบเหมาะ
- บรรหาร ศิลปอาชา
- ประจิน จั่นตอง
- พระยาเทพหัสดิน (ผาด เทพหัสดิน ณ อยุธยา)
- พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระกำแพงเพชรอัครโยธิน
- ฟื้น รณนภากาศ ฤทธาคนี
- วันมูหะมัดนอร์ มะทา
- ศักดิ์สยาม ชิดชอบ
- สมัคร สุนทรเวช
- สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้ากรมพระยานริศรานุวัดติวงศ์
- สันติ พร้อมพัฒน์
- สุกำพล สุวรรณทัต
- สุริยะ จึงรุ่งเรืองกิจ
- สุวัจน์ ลิปตพัลลภ
- สุเทพ เทือกสุบรรณ
- อาคม เติมพิทยาไพสิฐ
- เภา เพียรเลิศ บริภัณฑ์ยุทธกิจ
- เลอศักดิ์ สมบัติศิริ
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทยไทย
- คงศักดิ์ วันทนา
- ควง อภัยวงศ์
- จารุพงศ์ เรืองสุวรรณ
- ชวรัตน์ ชาญวีรกูล
- ชวลิต ยงใจยุทธ
- ชิดชัย วรรณสถิตย์
- ถวัลย์ ธำรงนาวาสวัสดิ์
- ทวี บุณยเกตุ
- บรรหาร ศิลปอาชา
- บัญญัติ บรรทัดฐาน
- ประภาส จารุเสถียร
- ประมาณ อดิเรกสาร
- ปรีดี พนมยงค์
- พระยาพหลพลพยุหเสนา (พจน์ พหลโยธิน)
- ยงยุทธ วิชัยดิษฐ
- วันมูหะมัดนอร์ มะทา
- สนั่น ขจรประศาสน์
- สมัคร สุนทรเวช
- สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาดำรงราชานุภาพ
- สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าบริพัตรสุขุมพันธุ์ กรมพระนครสวรรค์วรพินิต
- สุรยุทธ์ จุลานนท์
- หม่อมราชวงศ์คึกฤทธิ์ ปราโมช
- หม่อมราชวงศ์เสนีย์ ปราโมช
- อนุพงษ์ เผ่าจินดา
- อิสระพงศ์ หนุนภักดี
- เกรียงศักดิ์ ชมะนันทน์
- เจ้าพระยายมราช (ปั้น สุขุม)
- เฉลิม อยู่บำรุง
- เผ่า ศรียานนท์
- เภา สารสิน
- เสนาะ เทียนทอง
- แปลก พิบูลสงคราม
- โกวิท วัฒนะ
หรือที่รู้จักกันในชื่อ วันมูหะมัดนอร์