โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ดาวน์โหลด
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

ปรีดี พนมยงค์

ดัชนี ปรีดี พนมยงค์

ตราจารย์ ดร.ปรีดี พนมยงค์ หรือ อำมาตย์ตรี หลวงประดิษฐ์มนูธรรม (11 พฤษภาคม พ.ศ. 2443 – 2 พฤษภาคม พ.ศ. 2526) เป็นรัฐบุรุษอาวุโส ผู้นำคณะราษฎรสายพลเรือน ผู้ก่อการเปลี่ยนแปลงการปกครองของสยามจากระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์มาเป็นระบอบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญ เมื่อวันที่ 24 มิถุนายน..

181 ความสัมพันธ์: ชาร์ล เดอ โกลชาติชาย ชุณหะวัณฟรีดริช เองเงิลส์พรรคสหชีพพรรคประชาธิปัตย์พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชพระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล พระอัฐมรามาธิบดินทรพระบาทสมเด็จพระนโรดม สีหนุพระยาชัยวิชิตวิศิษฏ์ธรรมธาดา (ขำ ณ ป้อมเพชร์)พระยาพหลพลพยุหเสนาพระยาพหลพลพยุหเสนา (พจน์ พหลโยธิน)พระยาศรีวิสารวาจา (เทียนเลี้ยง ฮุนตระกูล)พระยาศรีเสนา (ศรีเสนา สมบัติศิริ)พระยาไชยยศสมบัติ (เสริม กฤษณามระ)พระราชบัญญัติธรรมนูญการปกครองแผ่นดินสยามชั่วคราว พุทธศักราช 2475พระธรรมโกศาจารย์ (เงื่อม อินฺทปญฺโญ)พระที่นั่งอนันตสมาคมพระเจ้าช้างเผือก (ภาพยนตร์)พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าออศคาร์นุทิศ กรมหมื่นอนุวัตน์จาตุรนต์พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอาทิตย์ทิพอาภาพระเจ้าวิตโตรีโอ เอมานูเอเลที่ 3 แห่งอิตาลีพูนศุข พนมยงค์กบฏ ร.ศ. 130กบฏวังหลวงกฎหมายปกครองกระทรวงการคลัง (ประเทศไทย)กระทรวงยุติธรรม (ประเทศไทย)กองทัพจักรวรรดิญี่ปุ่นกองทัพไทยการสวรรคตของพระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดลการปฏิวัติสยาม พ.ศ. 2475การประกาศสงครามการโจมตีเพิร์ลฮาร์เบอร์การเลือกตั้งก๊กมินตั๋งฝ่ายสัมพันธมิตรในสงครามโลกครั้งที่สองมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์มหาวิทยาลัยปารีสระบบเจ้าขุนมูลนายรัฐบุรุษรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลังของไทยรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศของไทยรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทยของไทยรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรสยามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2489รัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2490ราชการส่วนท้องถิ่น (ประเทศไทย)...ราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญรายพระนามและรายนามบุคคลสำคัญของโลกชาวไทยโดยยูเนสโกรายนามนายกรัฐมนตรีไทยลัทธิฟาสซิสต์ลัทธิคอมมิวนิสต์ลานพระราชวังดุสิตวลาดีมีร์ เลนินวันสันติภาพไทยวันปรีดี พนมยงค์วิจิตร ลุลิตานนท์วิทยาลัยนานาชาติปรีดี พนมยงค์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์วงไพบูลย์ร่วมแห่งมหาเอเชียบูรพาศาลาเฉลิมกรุงศาลปกครองศาสนาพุทธศุขปรีดา พนมยงค์สภาผู้แทนราษฎรไทยสภานิติบัญญัติสมบูรณาญาสิทธิราชย์สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรสมเถา สุจริตกุลสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้ารังสิตประยูรศักดิ์ กรมพระยาชัยนาทนเรนทรสมเด็จพระเจ้ากุสตาฟที่ 6 อดอล์ฟแห่งสวีเดนสมเด็จพระเจ้าจอร์จที่ 6 แห่งสหราชอาณาจักรสฤษดิ์ ธนะรัชต์สหรัฐสหประชาชาติสะพานปรีดี-ธำรงสัญญา ธรรมศักดิ์สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา (ประเทศไทย)สิทธิสิทธิสภาพนอกอาณาเขตสุรพล นิติไกรพจน์สถาบันปรีดี พนมยงค์สงครามแปซิฟิกสงครามโลกครั้งที่สองสนามเสือป่าหลวงกาจสงคราม (กาจ กาจสงคราม)หลวงสิริราชไมตรี (จรูญ สิงหเสนี)หลวงทัศนัยนิยมศึก (ทัศนัย มิตรภักดี)หลวงคหกรรมบดี (ชม จารุรัตน์)หลัก 6 ประการของคณะราษฎรหนังสือเดินทางไทยออนซ์ (หน่วยมวล)อาณาจักรอยุธยาอำเภอพระนครศรีอยุธยาอำเภอวังน้อยอินโดจีนของฝรั่งเศสอธิการบดีอดอล์ฟ ฮิตเลอร์องค์การการศึกษา วิทยาศาสตร์ และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติผิน ชุณหะวัณผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ (ประเทศไทย)จักรพรรดิโชวะจังหวัดพระนครศรีอยุธยาจิตติ ติงศภัทิย์ธนาคารแห่งประเทศไทยธนาคารเอเชียถวัลย์ ธำรงนาวาสวัสดิ์ถนอม กิตติขจรถนนประดิษฐ์มนูธรรมถนนปรีดี พนมยงค์ทองคำทัณฑนิคมทำเนียบท่าช้างทูตดอลลาร์สหรัฐดิเรก ชัยนามดุษฎี พนมยงค์คลองรังสิตควง อภัยวงศ์คาร์ล มากซ์คณะกรรมการกฤษฎีกา (ประเทศไทย)คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 9คณะราษฎรคณะนิติศาสตร์ปรีดี พนมยงค์ มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ตั้ว ลพานุกรมซุน ยัตเซ็นปฐมจุลจอมเกล้าประชาธิปไตยประภาส จารุเสถียรประมวลรัษฎากรประยูร ภมรมนตรีประเทศฝรั่งเศสประเทศสวิตเซอร์แลนด์ประเทศสิงคโปร์ประเทศจีนประเทศไทยปลาปล้องทองปรีดีปอนด์สเตอร์ลิงปารีสปาล พนมยงค์นายกรัฐมนตรีไทยแอนโทนี อีเดนแปลก พิบูลสงครามแนบ พหลโยธินโมฆะโรงเรียนมัธยมวัดเบญจมบพิตรโรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัยโรงเรียนอยุธยาวิทยาลัยโฮจิมินห์โจว เอินไหลโจเซฟ สตาลินไสว สุทธิพิทักษ์เบนิโต มุสโสลินีเภา เพียรเลิศ บริภัณฑ์ยุทธกิจเสรีภาพเสรีไทยเหมา เจ๋อตงเหรียญพิทักษ์รัฐธรรมนูญเหรียญดุษฎีมาลาเอเชียตะวันออกเฉียงใต้เผด็จการทหารเผ่า ศรียานนท์เจ้าพระยาพิชเยนทรโยธิน (อุ่ม อินทรโยธิน)เจ้าพระยายมราช (ปั้น สุขุม)เจ้าพระยาศรีธรรมาธิเบศ (จิตร ณ สงขลา)เจ้าสุภานุวงศ์เทศบาลเดือน บุนนาคเครื่องราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติยศยิ่งมงกุฎไทยเครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นที่เชิดชูยิ่งช้างเผือกเครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นโบราณมงคลนพรัตนราชวราภรณ์เครื่องราชอิสริยาภรณ์อาทิตย์อุทัยเครื่องราชอิสริยาภรณ์จุลจอมเกล้าเครื่องราชอิสริยาภรณ์เลโอโปลด์ (เบลเยียม)เครื่องอิสริยาภรณ์เลฌียงดอเนอร์เค้าโครงการเศรษฐกิจ พ.ศ. 2475เติ้ง เสี่ยวผิงเนติบัณฑิตยสภา ในพระบรมราชูปถัมภ์ ขยายดัชนี (131 มากกว่า) »

ชาร์ล เดอ โกล

ร์ล อ็องเดร โฌแซ็ฟ มารี เดอ โกล (Charles André Joseph Marie de Gaulle) หรือ ชาร์ล เดอ โกล (22 พฤศจิกายน พ.ศ. 2433 – 9 พฤศจิกายน พ.ศ. 2513) เป็นนายทหารและรัฐบุรุษชาวฝรั่งเศสในคริสต์ศตวรรษที่ 20 โดยเป็นที่รู้จักในนาม นายพลเดอ โกล ก่อนสมัยสงครามโลกครั้งที่สอง เขาเป็นที่รู้จักในฐานะนักยุทธวิธีการรบด้วยรถถัง และผู้นิยมการรบด้วยการใช้ยานเกราะและกองกำลังทางอากาศ เขาเป็นผู้นำการปลดปล่อยฝรั่งเศสในสมัยสงครามโลกครั้งที่สอง และผู้นำรัฐบาลชั่วคราวในช่วงปี พ.ศ. 2487 (ค.ศ. 1944) ถึง พ.ศ. 2489 (ค.ศ. 1946) ถูกเรียกตัวไปจัดตั้งรัฐบาลในปี พ.ศ. 2501 (ค.ศ. 1958) เขาได้เป็นแรงบันดาลใจในการร่างรัฐธรรมนูญฉบับใหม่ และเป็นประธานาธิบดีฝรั่งเศสคนแรกในยุคสาธารณรัฐที่ 5 ระหว่างปี พ.ศ. 2501 (ค.ศ. 1958) ถึงปี พ.ศ. 2512 (ค.ศ. 1969) แนวคิดทางการเมืองของเขาเป็นที่รู้จักในนามของลัทธินิยมโกล และมีอิทธิพลอย่างมากต่อการเมืองฝรั่งเศสในยุคต่อม.

ใหม่!!: ปรีดี พนมยงค์และชาร์ล เดอ โกล · ดูเพิ่มเติม »

ชาติชาย ชุณหะวัณ

ลเอก พลเรือเอก พลอากาศเอก ชาติชาย ชุณหะวัณ (5 เมษายน พ.ศ. 2463 — 6 พฤษภาคม พ.ศ. 2541) เป็นนายกรัฐมนตรีไทยคนที่ 17 และเคยดำรงตำแหน่งรองนายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรีในหลายกระทรวงคือ กระทรวงการต่างประเทศ กระทรวงอุตสาหกรรม และ กระทรวงกลาโหม พลเอกชาติชาย เป็นผู้ก่อตั้งพรรคการเมือง 2 พรรค และได้ดำรงตำแหน่งหัวหน้าพรรค คือ พรรคชาติไทย และ พรรคชาติพัฒน.

ใหม่!!: ปรีดี พนมยงค์และชาติชาย ชุณหะวัณ · ดูเพิ่มเติม »

ฟรีดริช เองเงิลส์

ฟรีดริช เองเงิลส์ (Friedrich Engels) เป็นนักคิดนักเขียนชาวเยอรมัน และนักทฤษฎีสังคมนิยมวิทยาศาสตร์ เป็นเพื่อนร่วมงานและคู่คิดที่ใกล้ชิดของ คาร์ล มาร์กซ์ โดยร่วมกันวางรากฐานของอุดมการณ์คอมมิวนิสต์และลัทธิมาร์กซ และมีบทบาทสำคัญในการปรับปรุงหลักการของลัทธิมาร์กซว่าด้วยวัตถุนิยมทางประวัติศาสตร์ และวัตถุนิยมวิภาษวิธี ให้ก้าวหน้าจนเป็นที่ยอมรับทั่วไปในขบวนการสังคมนิยม.

ใหม่!!: ปรีดี พนมยงค์และฟรีดริช เองเงิลส์ · ดูเพิ่มเติม »

พรรคสหชีพ

รรคสหชีพ พรรคการเมืองในประเทศไทยในอดีต มีแนวทางการก่อตั้งพรรคและอุดมการณ์คล้ายคลึงกับพรรคแนวรัฐธรรมนูญ คือ เป็นสังคมนิยม แต่ทั้งสองพรรคนี้มิได้ดำเนินการเกี่ยวข้องกัน สมาชิกและผู้ก่อตั้งส่วนใหญ่เป็นสมาชิกขบวนการเสรีไทยสายอีสาน ที่ให้การสนับสนุน นายปรีดี พนมยงค์ เช่น นายเตียง ศิริขันธ์, นายจำลอง ดาวเรือง, นายถวิล อุดล, นายทองอินทร์ ภูริพัฒน์ และกลุ่มอื่น เช่น นายจรูญ สืบแสง, นายสงวน ตุลารักษ์, นายเดือน บุนนาค, พันเอก กาจ กาจสงคราม เป็นต้น โดยมี พลตำรวจเอก อดุล อดุลเดชจรัส เป็นหัวหน้าพรรค และนายเดือน บุนนาค เป็นเลขาธิการพรรค พรรคสหชีพ เป็นพรรคร่วมจัดตั้งรัฐบาลหลังการเลือกตั้งในเดือนสิงหาคม ปี พ.ศ. 2489 กับพรรคแนวร่วมรัฐธรรมนูญ ภายหลังเหตุการณ์กบฏวังหลวง ในปี พ.ศ. 2492 สมาชิกพรรคสหชีพหลายคนถูกลอบสังหาร เช่น นายจำลอง ดาวเรือง, นายถวิล อุดล และนายทองอินทร์ ภูริพัฒน์ ถูกสังหารอย่างมีปริศนาที่ถนนพหลโยธิน กิโลเมตรที่ 13 ยามดึก ต่อมาไม่นาน นายเตียง ศิริขันธ์ ก็ถูกสังหารอีกคนหนึ่ง พรรคสหชีพถูกยุบพรรคหลังการรัฐประหารในปี พ.ศ. 2494 ตามคำสั่งของคณะรัฐประหารที่ให้ยกเลิกรัฐธรรมนูญ ปี พ.ศ. 2492 ที่ใช้อยู่ขณะนั้น และนำรัฐธรรมนูญ ปี พ.ศ. 2475 กลับมาใช้อีกครั้ง.

ใหม่!!: ปรีดี พนมยงค์และพรรคสหชีพ · ดูเพิ่มเติม »

พรรคประชาธิปัตย์

รรคประชาธิปัตย์ (Democrat Party - DP, ย่อ: ปชป.) ก่อตั้งเมื่อวันที่ 5 เมษายน พ.ศ. 2489 เป็นพรรคการเมืองจดทะเบียนที่เก่าแก่ที่สุดของไทยที่ยังดำเนินการอยู่ พรรคมีสมาชิกที่ได้แจ้งต่อนายทะเบียนพรรคการเมืองไว้ จำนวน 2,895,933 คน นับเป็นพรรคการเมืองที่มีสมาชิกมากที่สุดในประเทศไทย และมีสาขาพรรคจำนวน 175.

ใหม่!!: ปรีดี พนมยงค์และพรรคประชาธิปัตย์ · ดูเพิ่มเติม »

พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว

ระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาประชาธิปก พระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว (8 พฤศจิกายน พ.ศ. 2436 — 30 พฤษภาคม พ.ศ. 2484) เป็นพระมหากษัตริย์สยาม รัชกาลที่ 7 ในราชวงศ์จักรี เสด็จพระราชสมภพเมื่อวันพุธ แรม 14 ค่ำ เดือน 11 ปีมะเส็ง เวลา 12.25 น. หรือตรงกับวันที่ 8 พฤศจิกายน..

ใหม่!!: ปรีดี พนมยงค์และพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว · ดูเพิ่มเติม »

พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช

ระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช (5 ธันวาคม พ.ศ. 2470 — 13 ตุลาคม พ.ศ. 2559) เป็นพระมหากษัตริย์ไทย รัชกาลที่ 9 แห่งราชวงศ์จักรี เสด็จสู่พระราชสมบัติตั้งแต่วันที่ 9 มิถุนายน..

ใหม่!!: ปรีดี พนมยงค์และพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช · ดูเพิ่มเติม »

พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล พระอัฐมรามาธิบดินทร

ระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล พระอัฐมรามาธิบดินทร (20 กันยายน พ.ศ. 2468 – 9 มิถุนายน พ.ศ. 2489) เป็นพระโอรสในสมเด็จพระเจ้าน้องยาเธอ เจ้าฟ้ามหิดลอดุลยเดช กรมขุนสงขลานครินทร์ (ภายหลังดำรงพระอิสริยยศเป็นสมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก) และหม่อมสังวาลย์ (ภายหลังดำรงพระยศเป็นสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี) มีพระเชษฐภคินีและพระอนุชาร่วมพระชนกชนนีอีก 2 พระองค์ ได้แก่ สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ และสมเด็จพระเจ้าน้องยาเธอ เจ้าฟ้าภูมิพลอดุลยเดช (ภายหลังทรงขึ้นครองราชสมบัติเป็นพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช) พระองค์เสด็จขึ้นทรงราชย์เป็นพระมหากษัตริย์รัชกาลที่ 8 แห่งราชวงศ์จักรี เมื่อวันที่ 2 มีนาคม..

ใหม่!!: ปรีดี พนมยงค์และพระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล พระอัฐมรามาธิบดินทร · ดูเพิ่มเติม »

พระบาทสมเด็จพระนโรดม สีหนุ

ระบาทสมเด็จพระนโรดม สีหนุ (នរោត្ដម សីហនុ; นโรตฺฎม สีหนุ ออกเสียง โนโรด็อม สีหนุ) (31 ตุลาคม พ.ศ. 2465 — 15 ตุลาคม พ.ศ. 2555)  พระมหากษัตริย์ลำดับที่ 4 แห่งราชอาณาจักรกัมพูชาตั้งแต่ปี พ.ศ. 2484 - 2498 และ พ.ศ. 2536 - 2547 โดยการสละราชบัลลังก์ให้แก่พระราชโอรสนโรดม สีหมุนี และดำรงพระอิสริยยศเป็นพระมหาวีรกษัตริย์ (พระวรราชบิดา) ในท้ายสุด พระองค์เป็นกษัตริย์แห่งกัมพูชา, ประมุขแห่งรัฐกัมพูชา และนายกรัฐมนตรีแห่งกัมพูชาหลายสมัย กระทั่งบันทึกสถิติโลกกินเนสส์ได้บันทึกไว้ว่า พระองค์ทรงเป็นนักการเมือง ที่ทรงดำรงตำแหน่งทางการเมืองมากมายที่สุดในโลก (the world's greatest variety of political offices) กล่าวคือ เป็นพระมหากษัตริย์ 2 สมัย ทรงเป็นประมุขแห่งรัฐ (ดำรงตำแหน่งกษัตริย์โดยไม่ได้รับการบรมราชาภิเษก) 2 สมัย ประธานาธิบดี 1 สมัย นายกรัฐมนตรี 2 สมัย และประมุขแห่งรัฐของรัฐบาลพลัดถิ่นของพระองค์เองอีก 1 สมัย ทั้งนี้พระองค์เป็นหุ่นเชิดของรัฐบาลเขมรแดงช่วงปี ค.ศ. 1975–1976.

ใหม่!!: ปรีดี พนมยงค์และพระบาทสมเด็จพระนโรดม สีหนุ · ดูเพิ่มเติม »

พระยาชัยวิชิตวิศิษฏ์ธรรมธาดา (ขำ ณ ป้อมเพชร์)

มหาอำมาตย์ตรี พระยาชัยวิชิตวิศิษฏ์ธรรมธาดา (20 มิถุนายน พ.ศ. 2422 - 20 กันยายน พ.ศ. 2487) อธิบดีกรมราชทัณฑ์คนแรกและคนสุดท้ายในระบอบสมบูรณาญาสิทธิราช อดีตผู้ว่าราชการจังหวัดสมุทรปราการ ผู้เป็นต้นสกุล "ณ ป้อมเพชร์".

ใหม่!!: ปรีดี พนมยงค์และพระยาชัยวิชิตวิศิษฏ์ธรรมธาดา (ขำ ณ ป้อมเพชร์) · ดูเพิ่มเติม »

พระยาพหลพลพยุหเสนา

ระยาพหลพลพยุหเสนา เป็นราชทินนามบรรดาศักดิ์ทหาร อาจหมายถึง.

ใหม่!!: ปรีดี พนมยงค์และพระยาพหลพลพยุหเสนา · ดูเพิ่มเติม »

พระยาพหลพลพยุหเสนา (พจน์ พหลโยธิน)

ระยาพหลพลพยุหเสนา (แถวหน้าซ้ายมือ) นำคณะรัฐมนตรีของไทยเข้าเยือนประเทศญี่ปุ่น และพบกับ ฮิเดกิ โตโจ (แถวหน้าตรงกลาง) นายกรัฐมนตรีญี่ปุ่น เมื่อปี พ.ศ. 2485 ช่วงสงครามโลกครั้งที่สอง พลเอก พลเรือเอก พลอากาศเอก พระยาพหลพลพยุหเสนา เดิมชื่อว่า "พจน์ พหลโยธิน" เป็นนายกรัฐมนตรีไทยคนที่ 2 เกิดวันที่ 29 มีนาคม..

ใหม่!!: ปรีดี พนมยงค์และพระยาพหลพลพยุหเสนา (พจน์ พหลโยธิน) · ดูเพิ่มเติม »

พระยาศรีวิสารวาจา (เทียนเลี้ยง ฮุนตระกูล)

ันเอก พระยาศรีวิสารวาจา (นามเดิม เทียนเลี้ยง ฮุนตระกูล: 25 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2439 – 23 มีนาคม พ.ศ. 2511) อดีตอธิการบดีคนแรกของมหาวิทยาลัยเชียงใหม่, อดีตปลัดทูลฉลอง และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ, อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง เป็นหนึ่งในผู้ร่างกฎหมายที่จะนำมาใช้เป็นรัฐธรรมนูญถวายพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวร่วมกับเจ้าพระยาศรีธรรมาธิเบศ และนายเรมอนต์ บี สตีเวนส์ ซึ่งทรงมีกำหนดที่จะพระราชทานรัฐธรรมนูญในวันสมโภชกรุงรัตนโกสินทร์ 150 ปี ในวันที่ 6 เมษายน พ.ศ. 2475 พระยาศรีวิสารวาจา จบการศึกษาระดับมัธยมศึกษาจากโรงเรียนอัสสัมชัญ และระดับอุดมศึกษา คณะนิติศาสตร์จากมหาวิทยาลัยอ๊อกซฟอร์ด บาร์ริสเตอร์มิดเดิลเทมเปิล ด้วยคะแนนเกียรตินิยมอันดับหนึ่ง ได้รับพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ดำรงตำแหน่งในสภากรรมการองคมนตรี ในรัชกาลที่ 7 และองคมนตรี ในรัชกาลปัจจุบัน บทบาทในทางการเมืองเป็นสมาชิกและเป็น..

ใหม่!!: ปรีดี พนมยงค์และพระยาศรีวิสารวาจา (เทียนเลี้ยง ฮุนตระกูล) · ดูเพิ่มเติม »

พระยาศรีเสนา (ศรีเสนา สมบัติศิริ)

ระยาศรีเสนา (ศรีเสนา สมบัติศิริ) (? — 6 กรกฎาคม พ.ศ. 2525) อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย และกระทรวงการต่างประเทศ เอกอัครราชทูตไทยคนแรกประจำประเทศญี่ปุ่น และองคมนตรีไทย พระยาศรีเสนา มีนามเดิมว่า ฮะ สมบัติศิริ ได้ศึกษาที่โรงเรียนอัสสัมชัญ ก่อนที่จะเป็นคนไทยกลุ่มแรกๆ ที่ไปศึกษาด้านการปกครอง ที่ London School of Economics ประเทศอังกฤษ เมื่อ..

ใหม่!!: ปรีดี พนมยงค์และพระยาศรีเสนา (ศรีเสนา สมบัติศิริ) · ดูเพิ่มเติม »

พระยาไชยยศสมบัติ (เสริม กฤษณามระ)

ตร์จารย์อุปการะคุณ พระยาไชยยศสมบัติ (เสริม กฤษณามระ) เป็น อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง ในรัฐบาลพันเอก พระยาพหลพลพยุหเสนา (พจน์ พหลโยธิน) และอดีตคณบดีคณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยคนแรก และเป็นผู้ร่วมก่อตั้งธนาคารไทยทนุ เมื่อปี..

ใหม่!!: ปรีดี พนมยงค์และพระยาไชยยศสมบัติ (เสริม กฤษณามระ) · ดูเพิ่มเติม »

พระราชบัญญัติธรรมนูญการปกครองแผ่นดินสยามชั่วคราว พุทธศักราช 2475

ระราชบัญญัติธรรมนูญการปกครองแผ่นดินสยามชั่วคราว พุทธศักราช ๒๔๗๕ เป็นรัฐธรรมนูญฉบับชั่วคราว ซึ่งถือว่าเป็นรัฐธรรมนูญฉบับแรกแห่งราชอาณาจักรสยาม ประกาศใช้เมื่อวันที่ 27 มิถุนายน พ.ศ. 2475 โดยเป็นผลพวงหลังการปฏิวัติเมื่อวันที่ 24 มิถุนายน พ.ศ. 2475 โดยคณะราษฎร ซึ่งได้ทำการเปลี่ยนแปลงการปกครองจากระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ มาเป็นระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข (ราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญ) ซึ่งในขณะที่เกิดการปฏิวัตินั้น พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงประทับ ณ พระตำหนักวังไกลกังวล อำเภอหัวหิน จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ พระราชบัญญัติธรรมนูญฉบับนี้เป็นรัฐธรรมนูญฉบับแรกในประวัติศาสตร์ไทย ร่างขึ้นโดยแกนนำสำคัญภายในคณะราษฎร โดยในวันที่ 26 มิถุนายน พ.ศ. 2475 พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวเสด็จฯ กลับพระนคร และในวันเดียวกันนั้นก็โปรดเกล้าฯ ให้คณะราษฎรเข้าเฝ้าฯ และทรงลงพระปรมาภิไธยในพระราชกำหนดนิรโทษกรรมให้แก่บรรดาสมาชิกคณะราษฎร นอกจากนี้คณะราษฎรยังถวายร่างพระราชบัญญัติธรรมนูญการปกครองแผ่นดินสยามด้วย แต่พระองค์ทรงขอตรวจร่างพระราชบัญญัติฉบับดังกล่าวก่อน ซึ่งพระองค์ก็ทรงลงพระปรมาภิไธยในวันรุ่งขึ้น โดยทรงพระอักษรกำกับต่อท้ายชื่อพระราชบัญญัตินั้นว่า "ชั่วคราว" สืบเนื่องมาจากพระองค์ทรงเห็นว่าหลักการประชาธิปไตยของผู้ก่อการฯ ไม่พ้องกันกับพระประสงค์ของพระองค์ แต่พระองค์ก็ทรงลงพระปรมาภิไธยเพราะเหตุการณ์ฉุกเฉินในขณะนั้น.

ใหม่!!: ปรีดี พนมยงค์และพระราชบัญญัติธรรมนูญการปกครองแผ่นดินสยามชั่วคราว พุทธศักราช 2475 · ดูเพิ่มเติม »

พระธรรมโกศาจารย์ (เงื่อม อินฺทปญฺโญ)

ระธรรมโกศาจารย์ (เงื่อม อินทปญฺโญ) หรือรู้จักในนาม พุทธทาสภิกขุ (27 พฤษภาคม พ.ศ. 2449 — 8 กรกฎาคม พ.ศ. 2536) เป็นชาวอำเภอไชยา จังหวัดสุราษฎร์ธานี เกิดเมื่อปี พ.ศ. 2449 เริ่มบวชเรียนเมื่ออายุได้ 20 ปี ที่วัดบ้านเกิด จากนั้นได้เข้ามาศึกษาพระธรรมวินัยต่อที่กรุงเทพมหานคร จนสอบได้เปรียญธรรม 3 ประโยค แต่แล้วท่านพุทธทาสภิกขุก็พบว่าสังคมพระพุทธศาสนาแบบที่เป็นอยู่ในขณะนั้นแปดเปื้อนเบือนบิดไปมาก และไม่อาจทำให้เข้าถึงหัวใจของศาสนาพุทธได้เลย ท่านจึงตัดสินใจหันหลังกลับมาปฏิบัติธรรมที่อำเภอไชยา ซึ่งเป็นภูมิลำเนาเดิมของท่านอีกครั้ง พร้อมปวารณาตนเองเป็น พุทธทาส เนื่องจากต้องการถวายตัวรับใช้พระพุทธศาสนาให้ถึงที่สุด ผลงานเด่นของทาสพุทธทาสคืองานหนังสือ อาทิ หนังสือพุทธธรรม, ตามรอยพระอรหันต์ และคู่มือมนุษย์ และเป็นสงฆ์ไทยรูปแรกที่บุกเบิกการใช้โสตทัศนูปกรณ์สมัยใหม่สำหรับการเผยแพร่ธรรมะ และท่านมีสหายธรรมคนสำคัญ คือ ปัญญานันทภิกขุ วัดชลประทานรังสฤษฎ์ และท่าน..

ใหม่!!: ปรีดี พนมยงค์และพระธรรมโกศาจารย์ (เงื่อม อินฺทปญฺโญ) · ดูเพิ่มเติม »

พระที่นั่งอนันตสมาคม

ระที่นั่งอนันตสมาคม เป็นท้องพระโรงเดิมของพระราชวังดุสิต ชื่อของพระที่นั่งนี้ นำมาจากพระที่นั่งองค์หนึ่งในพระบรมมหาราชวัง พระที่นั่งอนันตสมาคมสร้างขึ้นในปี พ.ศ. 2451 ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (รัชกาลที่ 5) แต่สร้างไม่ทันเสร็จพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ก็เสด็จสวรรคต จึงสร้างต่อแล้วเสร็จในสมัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว รวมใช้เวลาสร้างทั้งหมด 8 ปี พระที่นั่งอนันตสมาคม เป็นอาคารทรงยุโรปล้วน เป็นพระที่นั่งหินอ่อนเพียงองค์เดียวในประเทศไทยวลัญช์ สุภากร,, กรุงเทพธุรก.วันที่ 29 มิถุนายน 2558 ซึ่งก่อสร้างด้วยหินอ่อนสีขาวชั้นหนึ่งจากเมืองคาร์รารา ประเทศอิตาลี ได้รับการออกแบบโดยสถาปนิกชาวอิตาลีนามว่า มาริโอ ตามานโญ มีแรงบรรดาลใจมาจากโดม วิหารเซนต์ปีเตอร์ แห่งนครรัฐวาติกัน และโบสถ์เซนต์ปอลแห่งกรุงลอนดอน สหราชอาณาจักร งานก่อสร้างทั้งหมดมาจากแรงงานทั้งคนไทยและจีน ส่วนงานภายในที่มีการตกแต่งด้วยศิลปะเฟรสโก เกี่ยวกับพระราชกรณียกิจที่สำคัญของพระเจ้าอยู่หัวรัชกาลต่างๆ มาจากฝีมือช่างจากอิตาลีเป็นส่วนใหญ่ พระที่นั่งอนันตสมาคมมีจุดเด่นที่โดมใหญ่ตรงกลางซึ่งทำจากทองแดงมีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ 15 เมตร และรวมไปถึงโดมย่อยอีก 6 โดม แต่เนื่องจากสนิมทำให้เปลี่ยนสีเป็นสีเขียวอมน้ำเงินในปัจจุบัน พระที่นั่งองค์นี้ยังจัดได้ว่า เป็นรัฐสภาแห่งแรกของประเทศไทย เนื่องจากในช่วงที่เพิ่งเปลี่ยนแปลงการปกครองเป็นระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริย์เป็นประมุข ได้ใช้พระที่นั่งองค์นี้ในการประชุมสภาผู้แทนราษฎร ก่อนที่จะย้ายมาอยู่ ณ อาคารรัฐสภา ปัจจุบัน ซึ่งตั้งอยู่ข้างๆพระที่นั่งองค์นี้ พระที่นั่งอนันตสมาคม ยังเป็นสถานที่ประกอบพระราชพิธี รัฐพิธี สำคัญๆ มากมาย อาทิ รัฐพิธีพระราชทานรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พระราชพิธีสถาปนา สมเด็จพระบรมโอรสาธิราช เจ้าฟ้ามหาวชิราลงกรณ สยามมกุฎราชกุมาร พระราชพิธีสมโภชเดือนและขึ้นพระอู่ พระเจ้าหลานเธอ พระองค์เจ้าทีปังกรรัศมีโชติ และการเสด็จออกมหาสมาคมของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชอีก 4 ครั้ง.

ใหม่!!: ปรีดี พนมยงค์และพระที่นั่งอนันตสมาคม · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าช้างเผือก (ภาพยนตร์)

ระเจ้าช้างเผือก (The King of the White Elephant) เป็นภาพยนตร์ไทยขาวดำ ในระบบ 35 มม.

ใหม่!!: ปรีดี พนมยงค์และพระเจ้าช้างเผือก (ภาพยนตร์) · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าออศคาร์นุทิศ กรมหมื่นอนุวัตน์จาตุรนต์

นายพันเอก พระเจ้าวรวงศ์เธอ กรมหมื่นอนุวัตน์จาตุรนต์ (2 ธันวาคม พ.ศ. 2426 - 12 สิงหาคม พ.ศ. 2478) มีพระนามเดิมว่า พระองค์เจ้าออศคาร์นุทิศ อดีตประธานคณะผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวอานันทมหิดล.

ใหม่!!: ปรีดี พนมยงค์และพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าออศคาร์นุทิศ กรมหมื่นอนุวัตน์จาตุรนต์ · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอาทิตย์ทิพอาภา

ลโท พลเรือโท พลอากาศโท พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอาทิตย์ทิพอาภา (ประสูติ 24 กรกฎาคม พ.ศ. 2447 - สิ้นพระชนม์ 19 พฤษภาคม พ.ศ. 2489) เป็นพระโอรสพระองค์แรกในพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอาภากรเกียรติวงศ์ กรมหลวงชุมพรเขตอุดมศักดิ์ ที่ประสูติแต่พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าทิพยสัมพันธ์ ทรงดำรงตำแหน่งประธานคณะผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ในสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวอานันทมหิดล.

ใหม่!!: ปรีดี พนมยงค์และพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอาทิตย์ทิพอาภา · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าวิตโตรีโอ เอมานูเอเลที่ 3 แห่งอิตาลี

ระเจ้าวิตโตรีโอ เอมานูเอเลที่ 3 แห่งอิตาลี (Vittorio Emanuele III; 11 พฤศจิกายน ค.ศ. 1869 — 28 ธันวาคม ค.ศ. 1947) ทรงเป็นพระมหากษัตริย์แห่งอิตาลีจากราชวงศ์ซาวอย ครองราชบัลลังก์อิตาลีระหว่างวันที่ 29 กรกฎาคม ค.ศ. 1900 จนถึงวันที่ 9 พฤษภาคม ค.ศ. 1946 นอกจากอิตาลีแล้วพระเจ้าวิตโตรีโอ เอมานูเอเลยังทรงราชย์เป็นจักรพรรดิแห่งเอธิโอเปียระหว่างปี ค.ศ. 1936 จนถึงปี ค.ศ. 1943 และพระมหากษัตริย์แห่งแอลเบเนียระหว่างปี ค.ศ. 1939 จนถึงปี ค.ศ. 1943 ซึ่งรับรองโดยมหาอำนาจระหว่าง ค.ศ. 1937 ถึง ค.ศ. 1939 อีกด้วย ระหว่างรัชสมัยของพระองค์ก็มีเหตุการณ์สำคัญที่เกิดขึ้นหลายเหตุการณ์ เช่น สงครามโลกครั้งที่หนึ่งและสงครามโลกครั้งที่สอง ตลอดไปจนถึงการสถาปนาและการล่มสลายของฟาสซิสต์ในอิตาลี.

ใหม่!!: ปรีดี พนมยงค์และพระเจ้าวิตโตรีโอ เอมานูเอเลที่ 3 แห่งอิตาลี · ดูเพิ่มเติม »

พูนศุข พนมยงค์

ท่านผู้หญิงพูนศุข พนมยงค์ (สกุลเดิม: ณ ป้อมเพชร; เกิด: 2 มกราคม พ.ศ. 2455 - อนิจกรรม: 12 พฤษภาคม พ.ศ. 2550) เป็นภริยาของศาสตราจารย์ ดร. ปรีดี พนมยงค์ รัฐบุรุษอาวุโสและอดีตนายกรัฐมนตรีของประเทศไทย สมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ (ประยุทธ์ ปยุตฺโต) เคยกล่าวถึงท่านผู้หญิงพูนศุข พนมยงค์ ไว้ว.

ใหม่!!: ปรีดี พนมยงค์และพูนศุข พนมยงค์ · ดูเพิ่มเติม »

กบฏ ร.ศ. 130

ำหรับการกบฏครั้งนี้หมายถึงการกบฏในประเทศไทย หากเป็นการปฏิวัติในประเทศจีน ดูที่: การปฏิวัติซินไฮ่ คณะกบฏ ร.ศ. 130 กบฏ ร..

ใหม่!!: ปรีดี พนมยงค์และกบฏ ร.ศ. 130 · ดูเพิ่มเติม »

กบฏวังหลวง

กบฏวังหลวง ชื่อเรียกกบฏที่เกิดเมื่อวันที่ 26 กุมภาพัน..

ใหม่!!: ปรีดี พนมยงค์และกบฏวังหลวง · ดูเพิ่มเติม »

กฎหมายปกครอง

กฎหมายปกครอง (Administrative law) ได้แก่ กฎหมายที่ให้อำนาจทางปกครองกับหน่วยงานทางปกครองและเจ้าหน้าที่ใช้อำนาจทางปกครอง กฎหมายปกครองมีลักษณะพิเศษคือผู้ที่ใช้อำนาจหรือออกคำสั่งทางปกครองได้ต้องเป็นหน่วยงานทางปกครองและเจ้าหน้าที่เท่านั้น จะมีข้อยกเว้นก็ในกรณีที่ผู้ใช้อำนาจทางปกครองนั้นไม่ใช่บุคคลที่กล่าวมาแล้ว แต่เบื้องต้นจะใช้อำนาจทางปกครองได้ต้องเป็นบุคคลที่ได้รับมอบหมายให้ใช้อำนาจทางปกครองได้เป็นกรณีไป เช่น บุคคลที่ได้รับสัญญาทางปกครองกับรัฐ และเมื่อมีกรณีพิพาทขึ้นจะต้องนำคดีเข้าสู่ศาลปกครอง ซึ่งคู่พิพาทจะต้องเป็นคู่กรณีดังต่อไปนี้ คือ หน่วยงานทางปกครอง หน่วยงานทางปกครองเจ้าหน้าที่ กับหน่วยงานทางปกครองกับเอกชน เจ้าหน้าที่กับเจ้าหน้าที่ เจ้าหน้าที่กับเอกชน และผู้ที่จะฟ้องต่อศาลปกครองได้ต้องเป็นผู้เสียหายโดยตรงตาม.ร..จัดตั้งศาลปกครองมาตรา 42วรรคหนึ่ง กฎหมายที่กำหนดถึงรายละเอียดในการปกครองลดหลั่นกันลงมาจากกฎหมายรัฐธรรมนูญ กล่าวคือกฎหมายรัฐธรรนูญเป็นกฎหมายว่าด้วยการปกครองประเทศ แต่กฎหมายปกครองนั้นเป็นกฎหมายดำเนินการปกครอง ซึ่งกฎหมายปกครองนี้จะกล่าวถึงการจัดระเบียบแห่งองค์การทางปกครอง เช่น การจัดแบ่งออกเป็น กระทรวง ทบวง กรม เป็นต้น ระหว่างองค์การเหล่านี้ซึ่งมีต่อกันและกันและเป็นเกี่ยวพันระหว่างองค์กรเหล่านี้กับราษฎร กฎหมายปกครองถูกจัดให้อยู่ในหมวดหมู่กฎหมายมหาชน.

ใหม่!!: ปรีดี พนมยงค์และกฎหมายปกครอง · ดูเพิ่มเติม »

กระทรวงการคลัง (ประเทศไทย)

กระทรวงการคลัง (Ministry of Finance) เป็นหน่วยงานราชการไทยประเภทกระทรวง ทำหน้าที่เกี่ยวกับการเงินของแผ่นดิน การภาษีอากร การรัษฎากร กิจการเกี่ยวกับที่ดินราชพัสดุ กิจการอันกฎหมายบัญญัติให้เป็นการผูกขาดของรัฐ กิจการหารายได้ซึ่งรัฐมีอำนาจดำเนินการได้แต่เพียงผู้ เดียวตามกฎหมายและไม่อยู่ในอำนาจหน้าที่ของกระทรวง ทบวง กรมอื่น และกิจการซึ่งจะเป็นสัญญาผูกพันต่อเมื่อรัฐบาลได้ให้อำนาจหรือสัตยาบัน รวมทั้งการค้ำประกันหนี้ของส่วนราชการและองค์การรัฐ สถาบันการเงินและรัฐวิสาหก.

ใหม่!!: ปรีดี พนมยงค์และกระทรวงการคลัง (ประเทศไทย) · ดูเพิ่มเติม »

กระทรวงยุติธรรม (ประเทศไทย)

กระทรวงยุติธรรม (Ministry of Justice) เป็นกระทรวงหนึ่งในประเทศไทยก่อตั้งเมื่อ 25 มีนาคม พ.ศ. 2434 เดิมใช้ชื่อว่ากระทรวงยุตติธรรมและมีการเปลี่ยนชื่อเป็นกระทรวงยุติธรรมในวันที่ 12 มีนาคม..

ใหม่!!: ปรีดี พนมยงค์และกระทรวงยุติธรรม (ประเทศไทย) · ดูเพิ่มเติม »

กองทัพจักรวรรดิญี่ปุ่น

กองทัพจักรวรรดิญี่ปุ่นเป็นกองทัพของจักรวรรดิญี่ปุ่นระหว่าง..

ใหม่!!: ปรีดี พนมยงค์และกองทัพจักรวรรดิญี่ปุ่น · ดูเพิ่มเติม »

กองทัพไทย

กองทัพไทย (Royal Thai Armed Forces) เป็นกองทัพของราชอาณาจักรไทย แบ่งเป็นสามเหล่าทัพ ได้แก่ กองทัพบก กองทัพเรือและกองทัพอาก.

ใหม่!!: ปรีดี พนมยงค์และกองทัพไทย · ดูเพิ่มเติม »

การสวรรคตของพระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล

ระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล พระอัฐมรามาธิบดินทร สวรรคตเพราะต้องพระแสงปืนเมื่อวันที่ 9 มิถุนายน พ.ศ. 2489 เหตุการณ์นี้ก่อให้เกิดผลสะเทือนต่อการเมืองไทยอย่างรุนแรง และนำไปสู่การเถลิงถวัลยราชสมบัติของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช และการลดบทบาททางการเมืองของปรีดี พนมยงค์ ภายหลังรัฐประหาร พ.ศ. 2490 โดยกลุ่มจอมพล ป. พิบูลสงคราม ทุกวันนี้กรณีดังกล่าวยังคงมีการถกเถียงกันอยู่และได้รับความสนใจในหมู่ผู้ศึกษาประวัติศาสตร์การเมืองไทยสมัยใหม่ แต่ไม่เป็นประเด็นสาธารณะเพราะกรณีดังกล่าวพาดพิงถึงสถาบันพระมหากษัตริย์ไทยโดยตรง.

ใหม่!!: ปรีดี พนมยงค์และการสวรรคตของพระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล · ดูเพิ่มเติม »

การปฏิวัติสยาม พ.ศ. 2475

การปฏิวัติสยาม..

ใหม่!!: ปรีดี พนมยงค์และการปฏิวัติสยาม พ.ศ. 2475 · ดูเพิ่มเติม »

การประกาศสงคราม

การโจมตีที่อ่าวเพิร์ลฮาร์เบอร์ การประกาศสงคราม คือคำประกาศอย่างเป็นทางการ กระทำโดยชาติใดชาติหนึ่งเพื่อแสดงว่าสถานะทางกฎหมายของการสู้รบระหว่างประเทศได้เกิดขึ้นแล้ว.

ใหม่!!: ปรีดี พนมยงค์และการประกาศสงคราม · ดูเพิ่มเติม »

การโจมตีเพิร์ลฮาร์เบอร์

การโจมตีท่าเพิร์ลเป็นการโจมตีทางทหารอย่างจู่โจมของกองทัพเรือจักรวรรดิญี่ปุ่นต่อฐานทัพเรือสหรัฐที่ท่าเพิร์ล ดินแดนฮาวาย ในเช้าวันที่ 7 ธันวาคม..

ใหม่!!: ปรีดี พนมยงค์และการโจมตีเพิร์ลฮาร์เบอร์ · ดูเพิ่มเติม »

การเลือกตั้ง

การเลือกตั้งโดยการหย่อนบัตร การเลือกตั้ง (election) เป็นกระบวนการวินิจฉัยสั่งการอย่างเป็นทางการซึ่งประชาชนเลือกปัจเจกบุคคลเพื่อดำรงตำแหน่งทางการเมือง การเลือกตั้งเป็นกลไกปกติที่ใช้ในระบอบประชาธิปไตยแบบมีผู้แทนมาตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 17 Encyclpoedia Britanica Online.

ใหม่!!: ปรีดี พนมยงค์และการเลือกตั้ง · ดูเพิ่มเติม »

ก๊กมินตั๋ง

รรคชาตินิยมจีน (Chinese Nationalist Party) หรือมักเรียกว่า ก๊กมินตั๋ง ตามสำเนียงฮกเกี้ยน หรือ กั๋วหมินตั่ง ตามสำเนียงกลาง (Kuomintang; ย่อว่า KMT) เป็นพรรคการเมืองแนวอนุรักษนิยมของสาธารณรัฐจีน ซึ่งยังคงดำรงอยู่ในไต้หวัน.

ใหม่!!: ปรีดี พนมยงค์และก๊กมินตั๋ง · ดูเพิ่มเติม »

ฝ่ายสัมพันธมิตรในสงครามโลกครั้งที่สอง

"สามผู้ยิ่งใหญ่": (ซ้าย) โจเซฟ สตาลิน แห่งโซเวียต(กลาง) แฟรงกลิน ดี. โรสเวลต์ แห่งสหรัฐ(ขวา) วินสตัน เชอร์ชิล แห่งสหราชอาณาจักรในการประชุมเตหะราน เมื่อ ค.ศ. 1943 ฝ่ายสัมพันธมิตรในสงครามโลกครั้งที่สอง เป็นกลุ่มประเทศที่ต่อสู้กับฝ่ายอักษะช่วงสงครามโลกครั้งที่สอง ฝ่ายสัมพันธมิตรเข้ามาพัวพันในสงครามโลกครั้งที่สองเพราะประเทศเหล่านี้ถูกรุกรานก่อน ถูกคุกคามโดยตรงจากการรุกรานของฝ่ายอักษะหรือเพราะประเทศเหล่านี้กังวลว่าฝ่ายอักษะจะควบคุมโลกอย่างใดอย่างหนึ่ง แนวร่วมต่อสู้เยอรมนีช่วงสงครามเริ่มต้น (1 กันยายน ค.ศ. 1939) ประกอบด้วยฝรั่งเศส โปแลนด์ สหราชอาณาจักร ชาติเครือจักรภพอังกฤษ ออสเตรเลีย นิวซีแลนด์ และสหภาพแอฟริกาใต้ (กำลังสหภาพแอฟริกาใต้ส่วนใหญ่สู้รบภายใต้การบัญชาของเครือจักรภพแม้จะเป็นชาติอธิปไตยนับแต่ ค.ศ. 1931) หลัง..

ใหม่!!: ปรีดี พนมยงค์และฝ่ายสัมพันธมิตรในสงครามโลกครั้งที่สอง · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (Thammasat University) หรือเรียกโดยย่อว่า ม. (TU) เป็นมหาวิทยาลัยแห่งที่สองของประเทศไทย ก่อตั้งในชื่อ "มหาวิทยาลัยวิชาธรรมศาสตร์และการเมือง" หรือ "ม..ก." (The University of Moral and Political Sciences หรือ UMPS) เมื่อวันที่ 27 มิถุนายน..

ใหม่!!: ปรีดี พนมยงค์และมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์

มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ เป็นสถาบันอุดมศึกษาเอกชน 1 ใน 5 แห่งแรกในประเทศไทยถูกสถาปนาขึ้นพร้อมกับ วิทยาลัยเกริก วิทยาลัยกรุงเทพ วิทยาลัยไทยสุริยะ และวิทยาลัยพัฒนา ตั้งอยู่ในกรุงเทพมหานคร ก่อตั้งขึ้นในปี..

ใหม่!!: ปรีดี พนมยงค์และมหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิทยาลัยปารีส

มหาวิทยาลัยปารีส (Université de Paris) หรือนามนัยเป็นที่รู้จักกันว่า ซอร์บอนน์ (บ้านประวัติศาสตร์) เป็นมหาวิทยาลัยในปารีส ฝรั่งเศส ก่อตั้งประมาณ..

ใหม่!!: ปรีดี พนมยงค์และมหาวิทยาลัยปารีส · ดูเพิ่มเติม »

ระบบเจ้าขุนมูลนาย

ระบบเจ้าขุนมูลนาย, ระบบฟิวดัลหรือระบบเจ้าครองนคร (feudalism) เป็นระบอบการปกครองในอดีต สยามเรียกว่า ระบบศักดิน.

ใหม่!!: ปรีดี พนมยงค์และระบบเจ้าขุนมูลนาย · ดูเพิ่มเติม »

รัฐบุรุษ

รัฐบุรุษคือ บุคคลผู้ซึ่งเคยดำรงตำแหน่งสำคัญในการบริหารราชการแผ่นดินในฐานะต่าง ๆ อาทิ ผู้นำทางการเมือง หรือผู้นำทางทหาร โดยตลอดระยะเวลาที่อยู่ในตำแหน่งได้ประกอบคุณงามความดี ปฏิบัติราชการอย่างเต็มกำลังความสามารถ ด้วยความซื่อสัตย์สุจริต และได้ช่วยเหลือจงรักภักดีต่อชาตินั้น ๆ จนเป็นที่ประจักษ์กันโดยทั่วไป.

ใหม่!!: ปรีดี พนมยงค์และรัฐบุรุษ · ดูเพิ่มเติม »

รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลังของไทย

รายนามเสนาบดีว่าการกรมพระคลังมหาสมบัติ, เสนาบดีว่าการกระทรวงพระคลังมหาสมบัติ และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลังของไท.

ใหม่!!: ปรีดี พนมยงค์และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลังของไทย · ดูเพิ่มเติม »

รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศของไทย

รายนามเสนาบดีและรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศของไท.

ใหม่!!: ปรีดี พนมยงค์และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศของไทย · ดูเพิ่มเติม »

รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทยของไทย

รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย เป็นตำแหน่งหัวหน้าส่วนราชการของ กระทรวงมหาดไทย โดยตำแหน่งนี้มีขึ้นตั้งแต่ปี พ.ศ. 2435 ในสมัย พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว โดยในช่วงนั้น เรียกตำแหน่งนี้ว่า เสนาบดีกระทรวงมหาดไทย จนกระทั่งหลังจากเหตุการณ์ การปฏิวัติสยาม พ.ศ. 2475 จึงได้เปลื่ยนชื่อตำแหน่งเป็น รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย จนถึงปัจจุบัน ทั้งนี้ ตั้งแต่ พ.ศ. 2498 เป็นต้นมา รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทยมีฐานะเป็นประธานกรรมการและผู้บัญชาการ กองอาสารักษาดินแดน โดยตำแหน่ง และมียศเป็นนายกองใหญ่ ซึ่งเป็นชั้นยศสูงสุดของกองอาสารักษาดินแดน.

ใหม่!!: ปรีดี พนมยงค์และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทยของไทย · ดูเพิ่มเติม »

รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรสยาม

รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรสยาม หรือ รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2475 ประกาศและบังคับใช้เมื่อวันที่ 10 ธันวาคม 2475 และได้รับการยกเลิกอย่าง “สันติ” เมื่อวันที่ 9 พฤษภาคม 2489 เนื่องจากการประกาศและบังคับใช้รัฐธรรมนูญฉบับใหม่ รวมอายุการประกาศและบังคับใช้ 13 ปี 5 เดือน มีการแก้ไขรัฐธรรมนูญ 3 ครั้ง คือ ครั้งที่ 1 เมื่อวันที่ 28 กันยายน 2482 แก้ไขเพิ่มเติมว่าด้วยนามประเทศจาก “สยาม” เป็น “ไทย” ตามข้อเสนอของรัฐบาล ซึ่งมีพลตรี หลวงพิบูลสงคราม (แปลก ขีตตะสังคะ) เป็นนายกรัฐมนตรี ยังผลให้ชื่อของรัฐธรรมนูญต้องเปลี่ยนเป็น “รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย” ไปด้วย ครั้งที่ 2 เมื่อวันที่ 19 กันยายน 2483 แก้ไขเพิ่มเติมว่าด้วยบทเฉพาะกาล ซึ่งเสนอโดยขุนบุรัสการกิตติคดี (เหมือน บุรัสการ) ผู้แทนราษฎรจังหวัดอุบลราชธานี โดยการสนับสนุนของรัฐบาล ซึ่งมีนายพลตรี หลวงพิบูลสงคราม เป็นนายกรัฐมนตรี อันมีผลให้บทเฉพาะกาลซึ่งควรจะต้องสิ้นสุดในวันที่ 10 ธันวาคม 2485 เป็นอย่างช้า ยืดเวลาออกไปอีก 10 ปี แก่นแท้ของการเสนอยึดบทเฉพาะกาลก็คือ การคงอยู่ต่อไปอีกของสมาชิกประเภทที่ 2 อันมาจากการแต่งตั้ง ครั้งที่ 3 เมื่อวันที่ 3 ธันวาคม 2485 แก้ไขเพิ่มเติมว่าด้วยการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรตามข้อเสนอของรัฐบาล ซึ่งมีจอมพลแปลก พิบูลสงคราม เป็นนายกรัฐมนตรี ยังผลให้สามารถขยายเวลาอยู่ในตำแหน่งผู้แทนราษฎรออกไปอีกคราวละ 2 ปี.

ใหม่!!: ปรีดี พนมยงค์และรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรสยาม · ดูเพิ่มเติม »

รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย

รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยเป็นกฎหม.

ใหม่!!: ปรีดี พนมยงค์และรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย · ดูเพิ่มเติม »

รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2489

รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๔๘๙ เป็นรัฐธรรมนูญฉบับที่ 3 ของไทย จัดร่างโดยสภาผู้แทนราษฎร และประกาศและบังคับใช้เมื่อวันที่ 10 พฤษภาคม พ.ศ. 2489 และถูกยกเลิกเมื่อวันที่ 8 พฤศจิกายน พ.ศ. 2490 โดยรัฐประหารของคณะรัฐประหารอันมี พล.ท.ผิน ชุณหะวัณ นายทหารกองหนุน เป็นหัวหน้า รวมอายุการประกาศและบังคับใช้ 1 ปี 5 เดือน 28 วัน รัฐธรรมนูญฉบับนี้กำหนดให้มีพฤฒิสภา (วุฒิสภา) ที่มาจากการเลือกตั้งเป็นครั้งแรกในประเทศไทย โดยกำหนดให้มีสมาชิกในสภานี้ทั้งสิ้น 80 คน.

ใหม่!!: ปรีดี พนมยงค์และรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2489 · ดูเพิ่มเติม »

รัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2490

รัฐประหาร 8 พฤศจิกายน..

ใหม่!!: ปรีดี พนมยงค์และรัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2490 · ดูเพิ่มเติม »

ราชการส่วนท้องถิ่น (ประเทศไทย)

ราชการส่วนท้องถิ่นในประเทศไทย มี 2 รูปแบบใหญ่ ๆ คือ.

ใหม่!!: ปรีดี พนมยงค์และราชการส่วนท้องถิ่น (ประเทศไทย) · ดูเพิ่มเติม »

ราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญ

ราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญ"ราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญ" เป็นศัพท์บัญญัติของ (constitutional monarchy) เป็นรูปแบบการปกครองในระบอบประชาธิปไตยซึ่งพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุขแห่งรัฐโดยไม่ทรงมีบทบาททางการเมืองและทรงอยู่ในขอบเขตของรัฐธรรมนูญไม่ว่าเป็นหรือไม่เป็นลายลักษณ์อักษร ถึงแม้ว่าพระมหากษัตริย์อาจมีพระราชอำนาจโดยพระบารมีและรัฐบาลอาจดำเนินการในพระนาม แต่พระมหากษัตริย์จะไม่ทรงกำหนดนโยบายสาธารณะหรือเลือกผู้นำทางการเมือง เวอร์นอน บอกดานอร์ (Vernon Bogdanor) นักรัฐศาสตร์ชาวอังกฤษ นิยามว่า ราชาภายใต้รัฐธรรมนูญ คือ "องค์อธิปัตย์ที่ปกเกล้าแต่ไม่ปกครอง" (a sovereign who reigns but does not rule), excerpted from การปกครองรูปแบบนี้ต่างจากสมบูรณาญาสิทธิราชย์ที่พระมหากษัตริย์ทรงควบคุมการตัดสินใจทางการเมืองโดยไม่ทรงถูกรัฐธรรมนูญควบคุมเอาไว้ ราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญ บางทีเรียกว่า ปรมิตตาญาสิทธิราชย์ (limited monarchy) สาธารณรัฐอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข (crowned republic) หรือราชาธิปไตยแบบมีรัฐสภา (parliamentary monarchy) นอกจากเป็นศูนย์รวมใจของชนในชาติแล้ว ราชาภายใต้รัฐธรรมนูญอาจมีพระราชอำนาจอย่างเป็นทางการ เช่น ยุบสภานิติบัญญัติ หรืออนุมัติกฎหมาย แต่ส่วนใหญ่แล้วเป็นพระราชอำนาจทางพิธีการ มิใช่เป็นช่องให้พระมหากษัตริย์จัดการการเมืองได้โดยพลการ วอลเทอร์ แบกฮอต (Walter Bagehot) นักทฤษฎีการเมืองชาวอังกฤษ เขียนไว้ในหนังสือ ดิอิงลิชคอนสติติวชัน (The English Constitution) ว่า มีพระราชสิทธิ์สามประการเท่านั้นที่ราชาภายใต้รัฐธรรมนูญทรงใช้ได้ตามพระทัย คือ แสวงหาคำปรึกษา ประทานคำปรึกษา และประทานคำตักเตือน ประเทศราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญที่โดดเด่น เช่น สหราชอาณาจักรและอดีตเมืองขึ้นทั้งสิบห้าซึ่งล้วนใช้การปกครองที่เรียกว่า "ระบบเวสมินสเตอร์" (Westminster system) ส่วนรัฐสามแห่ง คือ กัมพูชา มาเลเซีย และสันตะสำนัก ใช้ราชาธิปไตยแบบเลือกตั้ง โดยให้อภิชนกลุ่มเล็ก ๆ เป็นคณะผู้เลือกตั้งองค์อธิปัตย์ขึ้นมาเป็นระยะ ๆ นับแต่เดือนกรกฎาคม..

ใหม่!!: ปรีดี พนมยงค์และราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญ · ดูเพิ่มเติม »

รายพระนามและรายนามบุคคลสำคัญของโลกชาวไทยโดยยูเนสโก

ลสำคัญของประเทศไทยที่องค์การศึกษา วิทยาศาสตร์ และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ (ยูเนสโก) ยกย่อง.

ใหม่!!: ปรีดี พนมยงค์และรายพระนามและรายนามบุคคลสำคัญของโลกชาวไทยโดยยูเนสโก · ดูเพิ่มเติม »

รายนามนายกรัฐมนตรีไทย

้านล่างนี้ คือ รายนามนายกรัฐมนตรีแห่งราชอาณาจักรไท.

ใหม่!!: ปรีดี พนมยงค์และรายนามนายกรัฐมนตรีไทย · ดูเพิ่มเติม »

ลัทธิฟาสซิสต์

ัญลักษณ์ลัทธิฟาสซิสต์ ลัทธิฟาสซิสต์ (Fascism) เป็นชาติ-อำนาจนิยมมูลวิวัติรูปแบบหนึ่งTurner, Henry Ashby, Reappraisals of Fascism.

ใหม่!!: ปรีดี พนมยงค์และลัทธิฟาสซิสต์ · ดูเพิ่มเติม »

ลัทธิคอมมิวนิสต์

ในทางรัฐศาสตร์และสังคมศาสตร์ ลัทธิคอมมิวนิสต์ (communism; communis แปลว่า "ร่วมกัน" หรือ "สากล") คืออุดมการณ์และขบวนการทางสังคม การเมือง และเศรษฐกิจ ซึ่งมีจุดมุ่งหมายสูงสุดคือการสถาปนาสังคมคอมมิวนิสต์ อันเป็นระเบียบทางสังคมบนพื้นฐานของความเป็นเจ้าของร่วมกัน (Common ownership) ของปัจจัยการผลิต (Means of production) และปราศจากชนชั้นทางสังคม เงินตรา และรัฐ ลัทธิคอมมิวนิสต์ปรากฏอยู่ในปรัชญาหรือแนวคิดหลากหลายทฤษฎีที่โดยรวม ๆ แล้วจะรวมถึงลัทธิมากซ์-อนาธิปไตย (ลัทธิคอมมิวนิสต์-อนาธิปไตย) และอุดมการณ์ทางการเมืองอื่น ๆ ซึ่งเชื่อมโยงกับสองแนวคิดนี้ โดยที่ทั้งหมดนี้มีบทวิเคราะห์สรุปร่วมกันว่าระเบียบทางสังคมในปัจจุบันอันถือกำเนิดถึงจากระบบเศรษฐกิจแบบทุนนิยม ประกอบไปด้วยชนชั้นทางสังคมสองชนชั้นหลักคือ "ชนชั้นแรงงาน" ผู้ที่ต้องทำงานเพื่ออยู่รอดและถือเป็นกลุ่มคนส่วนมากในสังคม และ "ชนชั้นนายทุน" อันเป็นชนกลุ่มน้อยในสังคม ผู้ถือเอากำไรจากการจ้างวานชนชั้นแรงงานผ่านการครอบครองปัจจัยการผลิตไว้เฉพาะส่วนตน ที่ซึ่งความขัดแย้งระหว่างสองชนชั้นนี้เองที่จะก่อให้เกิดการปฏิวัติ อันเป็นองค์ประกอบตั้งต้นที่จะช่วยให้เกิดการเปลี่ยนผ่านไปสู่การเป็นเจ้าของปัจจัยการผลิตร่วมกันของคนในสังคม (Social ownership) ด้วยความที่ลัทธิคอมมิวนิสต์มีอุดมคติที่ตรงกันข้ามกับลัทธิเสรีนิยมทางเศรษฐกิจ (Economic Liberalism) จึงทำให้เกิดความหวาดกลัวและการต่อต้านลัทธิคอมมิวนิสต์อย่างกว้างขวางในช่วงสงครามเย็น ดังจะเห็นได้จากกระแส "ความหวาดกลัวแดง" (Red Scare) หรือ ลัทธิแม็คคาร์ธี ในอเมริกาช่วงต้นสงครามเย็น.

ใหม่!!: ปรีดี พนมยงค์และลัทธิคอมมิวนิสต์ · ดูเพิ่มเติม »

ลานพระราชวังดุสิต

ระบรมรูปทรงม้า ภาพถ่ายประมาณ สมัยรัชกาลที่ 6 พระบรมรูปทรงม้า และ ลานพระราชวังดุสิต ในปัจจุบัน ภาพน้ำท่วมเมื่อปี พ.ศ. 2485 หมุดคณะราษฎร พิธีถวายสัตย์ปฏิญาณตน และสวนสนาม ของทหารรักษาพระองค์ ภาพแสดงที่ตั้งของหมุดคณะราษฎร (วงกลมสีเหลือง) พระลานพระราชวังดุสิต หรือที่นิยมเรียกโดยทั่วไปว่า ลานพระบรมรูปทรงม้า เป็นลานกว้างอยู่ด้านหน้าของพระที่นั่งอนันตสมาคมและสวนอัมพร ในเขตพระราชวังดุสิต ถนนอู่ทองใน แขวงดุสิต เขตดุสิต กรุงเทพมหานคร เป็นที่ตั้งของพระบรมราชานุสาวรีย์ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว หรือ "พระบรมรูปทรงม้า" และหมุด 24 มิถุนายน 2475 ที่ระลึกการเปลี่ยนแปลงการปกครอง.

ใหม่!!: ปรีดี พนมยงค์และลานพระราชวังดุสิต · ดูเพิ่มเติม »

วลาดีมีร์ เลนิน

วลาดีมีร์ เลนิน (Vladimir Lenin) มีชื่อเต็มว่า วลาดีมีร์ อิลลิช อุลยานอฟ (Vladimir Ilyich Ulyanov, Владимир Ильич Ульянов) เป็นผู้นำนักปฏิวัติมาร์กซิส คนแรกของสหภาพสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตที่สถาปนาเมื่อ..

ใหม่!!: ปรีดี พนมยงค์และวลาดีมีร์ เลนิน · ดูเพิ่มเติม »

วันสันติภาพไทย

วันสันติภาพไทย คือ วันที่ 16 สิงหาคม ของทุกปี ซึ่งเป็นวันที่ระลึกถึงการสิ้นสุดสงครามโลกครั้งที่ 2 ซึ่งในวันที่ 16 สิงหาคม พ.ศ. 2488 ประเทศไทยโดยนายปรีดี พนมยงค์ หัวหน้าขบวนการเสรีไทย ในฐานะผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ในรัชกาลที่ 8 ได้ออกประกาศสันติภาพในพระปรมาภิไธยพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวอานันทมหิดล ให้การประกาศสงครามต่อสหรัฐอเมริกาและบริเตนใหญ่เมื่อวันที่ 25 มกราคม พ.ศ. 2485 เป็นโมฆะ เนื่องจากเป็นการกระทำอันขัดต่อเจตจำนงของประชาชนและขัดต่อรัฐธรรมนูญ ซึ่งประชาชนชาวไทยทั้งในและนอกประเทศได้ร่วมกันแสดงเจตจำนงไม่ยอมรับคำประกาศดังกล่าวด้วยการจัดตั้งขบวนการเสรีไทยช่วยเหลือฝ่ายสัมพันธมิตรในการต่อสู้กับกองทัพญี่ปุ่นที่ยึดครองประเทศไทยอยู่ในระหว่างสงคราม (ตั้งแต่วันที่ 8 ธันวาคม พ.ศ. 2484) โดยที่ประเทศไทยประกาศว่าจะร่วมมือเต็มที่ทุกทางกับสหประชาชาติในการสถาปนาเสถียรภาพในโลกนี้ ประกาศสันติภาพนี้มีนายทวี บุณยเกตุ รัฐมนตรี เป็นผู้ลงนามรับสนองพระบรมราชโองการ เพื่อเป็นการรำลึกถึงเหตุการณ์ดังกล่าว มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ จึงตั้งชื่อถนนภายในศูนย์ท่าพระจันทร์ ที่เชื่อมระหว่างประตูถนนพระอาทิตย์กับประตูท่าพระจันทร์และผ่านหน้าตึกโดมว่า ถนน 16 สิงหา สันติภาพไทย หมวดหมู่:มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

ใหม่!!: ปรีดี พนมยงค์และวันสันติภาพไทย · ดูเพิ่มเติม »

วันปรีดี พนมยงค์

วันปรีดี พนมยงค์ ตรงกับวันที่ 11 พฤษภาคม ของทุกปี เป็นวันรำลึกถึงวันที่ 11 พฤษภาคม พ.ศ. 2443 ซึ่งเป็นวันเกิดของ นายปรีดี พนมยงค์ หัวหน้าคณะราษฎรสายพลเรือน ผู้นำการปฏิวัติสยาม พ.ศ. 2475 เปลี่ยนแปลงการปกครองของประเทศจากระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์มาเป็นประชาธิปไตย, ผู้นำขบวนการเสรีไทย ต่อต้านญี่ปุ่นในสงครามโลกครั้งที่สอง และรัฐบุรุษอาวุโสคนแรกของประเทศไทย ในวันนี้จะมีการจัดงานที่ระลึกโดยองค์กรต่าง ๆ เช่น การปาฐกถาที่จัดโดยสถาบันปรีดี พนมยงค์ งานที่ระลึกที่มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ซึ่งปรีดีเป็นผู้ประศาสน์การ (อธิการบดี) คนแรก และถือวันนี้เป็นวันสำคัญ มีงานฉลองรื่นเริงซึ่งเปิดให้ประชาชนทั่วไปได้เข้าร่วม และยังใช้วันนี้จัดกิจกรรมแรกพบนักศึกษาใหม่และให้นักศึกษาใหม่มีโอกาสเข้าร่วมกิจกรรมวันปรีดีด้ว.

ใหม่!!: ปรีดี พนมยงค์และวันปรีดี พนมยงค์ · ดูเพิ่มเติม »

วิจิตร ลุลิตานนท์

ตราจารย์วิจิตร ลุลิตานนท์ (พ.ศ. 2449 - พ.ศ. 2530) เป็นอดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง ในรัฐบาลพลเรือตรี ถวัลย์ ธำรงนาวาสวัสดิ์ อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงการคลังในรัฐบาลนายปรีดี พนมยงค์ และอดีตรัฐมนตรีไม่ได้ประจำกระทรวง.

ใหม่!!: ปรีดี พนมยงค์และวิจิตร ลุลิตานนท์ · ดูเพิ่มเติม »

วิทยาลัยนานาชาติปรีดี พนมยงค์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

วิทยาลัยนานาชาติปรีดี พนมยงค์ เป็นหน่วยงานที่มีฐานะเทียบเท่าคณะวิชา สังกัดมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ จัดตั้งขึ้นตามนโยบายของ ศาสตราจารย์ ดร.สุรพล นิติไกรพจน์เพื่อรองรับการเรียนการสอนหลักสูตรนานาชาติโดยเฉพาะการแลกเปลี่ยนนักศึกษากับนานาชาติซึ่งเดิมเป็นหน้าที่ของสำนักงานวิเทศสัมพันธ์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ทั้งนี้ชื่อวิทยาลัยตั้งขึ้นเพื่อเป็นเกียรติแด่ศาสตราจารย์ ดร.ปรีดี พนมยงค์ ผู้ประศาสน์การของมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ในวาระครบ 100 ปี ชาตกาล.

ใหม่!!: ปรีดี พนมยงค์และวิทยาลัยนานาชาติปรีดี พนมยงค์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ · ดูเพิ่มเติม »

วงไพบูลย์ร่วมแห่งมหาเอเชียบูรพา

อาณาบริเวณวงไพบูลย์ร่วมแห่งมหาเอเชียบูรพา ในปี ค.ศ. 1942 โปสเตอร์โฆษณาชวนเชื่อ แสดงภาพสันติภาพระหว่างญี่ปุ่น จีนฮั่น และแมนจูกัว สแตมป์รูปแผนที่วงไพบูลย์ร่วมแห่งมหาเอเชียบูรพา วงไพบูลย์ร่วมแห่งมหาเอเชียบูรพา (Greater East Asia Co-Prosperity Sphere) เป็นความพยายามของญี่ปุ่นที่จะรวบรวมและสร้างแนวป้องกันแห่งชาติเอเชียเพื่อหลุดพ้นจากอิทธิพลของชาติตะวันตก โดยเป็นความคิดริเริ่มของนายพลฮะชิโร อะริตะ ซึ่งในขณะนั้นดำรงตำแหน่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ และมีอุดมการณ์ทางการทหารอย่างแรงกล้าที่จะสร้างมหาเอเชียตะวันออก "Greater East Asia" ในระหว่างที่สงครามกำลังดำเนินอยู่นั้น ญี่ปุ่นได้พยายามโฆษณาชวนเชื่อ โดยมีประโยคที่ว่า "เอเชียเพื่อชาวเอเชีย" (Asia for Asians) โดยเนื้อหานั้นจะพูดถึงเกี่ยวกับการปลดปล่อยชาติในเอเชียให้หลุดพ้นจากลัทธิจักรวรรดินิยม โดยทำการบุกประเทศเพื่อนบ้าน และขับไล่ทหาร อังกฤษ ฝรั่งเศส และอเมริกา ออกไปจากภูมิภาคนี้.

ใหม่!!: ปรีดี พนมยงค์และวงไพบูลย์ร่วมแห่งมหาเอเชียบูรพา · ดูเพิ่มเติม »

ศาลาเฉลิมกรุง

ลาเฉลิมกรุง หรือชื่ออย่างเป็นทางการว่า โรงมหรสพหลวง ศาลาเฉลิมกรุง หรือเรียกสั้น ๆ ว่า เฉลิมกรุง เป็นโรงมหรสพหลวง ตั้งอยู่ริมถนนเจริญกรุง แขวงวังบูรพาภิรมย์ เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร เดิมเป็นโรงภาพยนตร์ติดตั้งเครื่องปรับอากาศ ศาลาเฉลิมกรุงได้วางศิลาฤกษ์โดย พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว เมื่อวันที่ 1 กรกฎาคม..

ใหม่!!: ปรีดี พนมยงค์และศาลาเฉลิมกรุง · ดูเพิ่มเติม »

ศาลปกครอง

ศาลปกครองกลางแห่งเยอรมนี (Federal Administrative Court of Germany) เป็นศาลปกครองชั้นสูงสุดในประเทศเยอรมนี ตั้งอยู่ ณ เมืองไลพ์ซิจ (Leipzig) ศาลปกครอง (administrative court) เป็นศาลชำนัญพิเศษด้านกฎหมายปกครอง โดยเฉพาะด้านข้อพิพาทเกี่ยวกับการใช้อำนาจรัฐ จัดตั้งขึ้นเพื่อสร้างความมั่นใจว่า ราชการเป็นไปตามกฎหมาย ศาลปกครองมักพบในประเทศทางยุโรปที่ใช้กฎหมายระบบซีวิลลอว์ บางประเทศจัดตั้งศาลปกครองขึ้นเป็นระบบต่างหากจากศาลปรกติ โดยที่แต่ละระบบไม่มีอำนาจเหนือกัน การจัดตั้งศาลปกครองลักษณะนี้มีในประเทศกรีซ ประเทศฝรั่งเศส ประเทศโปแลนด์ ประเทศฟินแลนด์ ประเทศเยอรมนี ประเทศสวีเดน และประเทศอียิปต์ สำหรับประเทศกรีซ ประเทศฝรั่งเศส และประเทศสวีเดนนั้น ศาลปกครองมีสามชั้นดังศาลทั่วไป คือ ศาลปกครองชั้นต้น ศาลปกครองชั้นอุทธรณ์ และศาลปกครองชั้นสูงสุด ส่วนในประเทศโปแลนด์และประเทศฟินแลนด์ ศาลปกครองมีสองชั้น คือ ศาลปกครองชั้นต้น กับศาลปกครองชั้นสูงสุด ในประเทศเยอรมนี ศาลปกครองมีระบบซับซ้อนทั้งยังมีความชำนาญเฉพาะเรื่องยิ่งกว่าในประเทศอื่น นอกจากนี้ เมื่อ..

ใหม่!!: ปรีดี พนมยงค์และศาลปกครอง · ดูเพิ่มเติม »

ศาสนาพุทธ

ระพุทธศาสนา หรือ ศาสนาพุทธ (buddhasāsana พุทฺธสาสนา, buddhaśāsana พุทธศาสนา) เป็นศาสนาที่มีพระพุทธเจ้าเป็นศาสดา มีพระธรรมที่พระองค์ตรัสรู้ชอบด้วยพระองค์เอง และตรัสสอนไว้เป็นหลักคำสอนสำคัญ มีพระสงฆ์ (ภิกษุ ภิกษุณี) สาวกผู้ตัดสินใจออกบวชเพื่อศึกษาปฏิบัติตนตามคำสั่งสอน ธรรม-วินัย ของพระบรมศาสดา เพื่อบรรลุสู่จุดหมายคือพระนิพพาน และสร้างสังฆะ เป็นชุมชนเพื่อสืบทอดคำสอนของพระบรมศาสดา รวมเรียกว่า พระรัตนตรัย นอกจากนี้ในพระพุทธศาสนา ยังประกอบคำสอนสำหรับการดำรงชีวิตที่ดีงาม สำหรับผู้ที่ยังไม่ออกบวช (คฤหัสถ์ - อุบาสก และอุบาสิกา) ซึ่งหากรวมประเภทบุคคลที่ที่นับถือและศึกษาปฏิบัติตนตามคำสั่งสอนของพระบรมศาสดา แล้วจะจำแนกได้เป็น 4 ประเภท คือ ภิกษุ ภิกษุณี อุบาสก อุบาสิกา หรือที่เรียกว่า พุทธบริษัท 4 ศาสนาพุทธเป็นศาสนาอเทวนิยม ปฏิเสธการมีอยู่ของพระเป็นเจ้าหรือพระผู้สร้าง และเชื่อในศักยภาพของมนุษย์ ว่าทุกคนสามารถพัฒนาจิตใจ ไปสู่ความเป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ได้ ด้วยความเพียรของตน กล่าวคือ ศาสนาพุทธ สอนให้มนุษย์บันดาลชีวิตของตนเอง ด้วยผลแห่งการกระทำของตน ตาม กฎแห่งกรรม มิได้มาจากการอ้อนวอนขอจากพระเป็นเจ้าและสิ่งศักดิ์สิทธิ์นอกกายพระไตรปิฎก เล่มที่ ๒๕ พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๑๗ ขุททกนิกาย ขุททกปาฐะ-ธรรมบท-อุทาน-อิติวุตตกะ-สุตตนิบาต คาถาธรรมบท อัตตวรรคที่ ๑. พระไตรปิฎกฉบับสยามรั.

ใหม่!!: ปรีดี พนมยงค์และศาสนาพุทธ · ดูเพิ่มเติม »

ศุขปรีดา พนมยงค์

ปรีดา พนมยงค์ (5 กันยายน พ.ศ. 2478 - 29 ตุลาคม พ.ศ. 2553) เป็นนักวิชาการด้านประวัติศาสตร์การเมือง และนักเขียนอิสระ มีผลงานเขียน อาทิ ชีวประวัติผู้นำการต่อสู้กู้เอกราชเวียดนาม "โฮจิมินห์ เทพเจ้าผู้ยังมีลมหายใจ" และ "เรียนรู้ประวัติศาสตร์ลาวผ่านชีวิตเจ้าสุพานุวง" เป็นผู้หนึ่งที่มีความสนิทสนมคุ้นเคยกับบุคคลสำคัญและมีสัมพันธ์อันดียิ่งกับประเทศเพื่อนบ้านในแถบลุ่มแม่น้ำโขง จากการที่ได้เคยติดตามบิดาไปยังประเทศเหล่านั้น ศุขปรีดาใช้ชีวิตการทำงานอยู่ต่างประเทศหลายสิบปี ก่อนจะกลับมาเป็นที่ปรึกษาให้กับบริษัท ผลิตไฟฟ้า จำกัด (มหาชน) จนกระทั่งถึงแก่กรรมเมื่อวันที่ 29 ตุลาคม..

ใหม่!!: ปรีดี พนมยงค์และศุขปรีดา พนมยงค์ · ดูเพิ่มเติม »

สภาผู้แทนราษฎรไทย

ผู้แทนราษฎรไทย ประกอบด้วยสมาชิกซึ่งมาจากการเลือกตั้งโดยตรงทั้งหมด 500 คน และแบ่งการได้มาออกเป็นการเลือกตั้งแบบแบ่งเขตเลือกตั้งในแต่ละจังหวัด จำนวน 350 คน และแบบบัญชีรายชื่อของพรรคการเมือง โดยให้เขตประเทศเป็นเขตเลือกตั้ง จำนวน 150 คน ซึ่งหลักเกณฑ์และวิธีการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรตามรูปแบบนี้ เป็นไปตามบทบัญญัติรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560 ทั้งนี้อายุของสภาผู้แทนราษฎรมีกำหนดคราวละ 4 ปี นับแต่วันเลือกตั้ง สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรย่อมเป็นผู้แทนปวงชนชาวไทยไม่อยู่ในความผูกมัดแห่งอาณัติมอบหมาย หรือความครอบงำใดๆ และต้องปฏิบัติหน้าที่ด้วยความซื่อสัตย์สุจริต เพื่อประโยชน์ส่วนรวมของประเทศชาติและความผาสุกของประชาชนโดยรวม โดยปราศจากการขัดกันแห่งผลประโยชน์ สภาผู้แทนราษฎรมีหน้าที่โดยตรงในทางนิติบัญญัติ ซึ่งร่างพระราชบัญญัติ หรือร่างพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญ จะตราขึ้นเป็นกฎหมายได้ ก็ด้วยคำแนะนำและยินยอมของรัฐสภา ซึ่งประกอบด้วยสภาผู้แทนราษฎรและวุฒิสภา และยังมีอำนาจควบคุมการบริหารราชการแผ่นดินด้วย เช่น การให้ความเห็นชอบบุคคลซึ่งสมควรได้รับแต่งตั้งเป็นนายกรัฐมนตรี การตั้งกระทู้ถาม และการเสนอญัตติขอให้เปิดอภิปรายทั่วไปเพื่อลงมติไม่ไว้วางใจนายกรัฐมนตรีหรือรัฐมนตรี ทั้งนี้ เป็นไปตามการปกครองระบอบประชาธิปไตยระบบรัฐสภา ปัจจุบันสภานิติบัญญัติแห่งชาติทำหน้าที่แทนสภาผู้แทนราษฎร จนถึงวันก่อนวันเปิดประชุมสภาผู้แทนราษฎรที่มาจากการเลือกตั้งครั้งแรกตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560.

ใหม่!!: ปรีดี พนมยงค์และสภาผู้แทนราษฎรไทย · ดูเพิ่มเติม »

สภานิติบัญญัติ

นิติบัญญัติเป็นสภาปรึกษาหารือชนิดหนึ่งซึ่งมีอำนาจผ่าน แก้ไขเพิ่มเติมและยกเลิกกฎหมาย กฎหมายที่เกิดจากสภานิติบัญญัติเรียก กฎหมายลายลักษณ์อักษร นอกเหนือไปจากการตรากฎหมายแล้ว สภานิติบัญญัติยังมีอำนาจสิทธิ์ขาดในการเพิ่มหรือลดภาษีและมีมติเห็นชอบงบประมาณและร่างกฎหมายเกี่ยวด้วยการเงินอื่น สภานิติบัญญัติมีหลายชื่อ ที่พบมากที่สุด คือ รัฐสภาและคองเกรส (congress) โดยสองคำนี้มีความหมายจำเพาะกว่า ในการปกครองระบบรัฐสภา ฝ่ายบริหารรับผิดชอบต่อสภานิติบัญญัติซึ่งอาจถอดถอนฝ่ายบริหารได้ด้วยการอภิปรายไม่ไว้วางใจ ในระบบประธานาธิบดี ตามลัทธิการแยกใช้อำนาจ สภานิติบัญญัติถูกมองว่าเป็นอิสระและเป็นการปกครองแขนงหนึ่งซึ่งเสมอกับฝ่ายตุลาการและฝ่ายบริหาร องค์ประกอบหลักของสภานิติบัญญัติ คือ มีตั้งแต่หนึ่งสภา (chamber/house) เป็นต้นไป สภา คือ การประชุมซึ่งสามารถอภิปรายและลงมติในร่างกฎหมายได้ สภานิติบัญญัติซึ่งมีสภาเดียว เรียก สภาเดียว ส่วนสภานิติบัญญัติที่มีสองสภา เรียก ระบบสองสภา ซึ่งปกติอธิบายเป็นสภาสูงและสภาล่าง โดยมักมีหน้าที่อำนาจและวิธีการเลือกสมาชิกต่างกัน นอกจากนี้ ยังมีสภานิติบัญญัติที่มีมากกว่าสองสภา แต่ไม่ค่อยพบ ในระบบรัฐสภาส่วนมาก สภาล่างเป็นสภาที่มีอำนาจกว่า ขณะที่สภาสูงเป็นเพียงสภาให้คำปรึกษาหรือทบทวน อย่างไรก็ดี ในระบบประธานาธิบดี อำนาจของสองสภามักคล้ายหรือเท่ากัน ในสหพันธรัฐ สภาสูงมักเป็นตัวแทนของรัฐที่มารวมกัน (component state) ซึ่งรวมถึงสภานิติบัญญัติเหนือชาติของสหภาพยุโรปด้วย ด้วยจุดประสงค์นี้ สภาสูงอาจมีผู้แทนจากรัฐบาลของรัฐ ดังเช่นในกรณีสหภาพยุโรปและเยอรมนี หรือมาจากการเลือกตั้งตามสูตรซึ่งให้การมีผู้แทนเท่าเทียมกันแก่รัฐซึ่งมีประชากรน้อยกว่า เช่นในกรณีออสเตรเลียและสหรัฐอเมริกาปัจจุบัน.

ใหม่!!: ปรีดี พนมยงค์และสภานิติบัญญัติ · ดูเพิ่มเติม »

สมบูรณาญาสิทธิราชย์

มบูรณาญาสิทธิราชย์ (Absolute Monarchy) คือ ระบอบการปกครองที่มีกษัตริย์เป็นผู้ปกครองและมีสิทธิ์ขาดในการบริหารประเทศ ในระบอบการปกครองนี้ กษัตริย์ก็คือกฎหมาย กล่าวคือ ที่มาของกฎหมายทั้งปวงอยู่ที่กษัตริย์ คำสั่ง ความต้องการต่าง ๆ ล้วนมีผลเป็นกฎหมายอมร รักษาสัตย์, กษัตริย์มีอำนาจในการปกครองแผ่นดินและพลเมืองโดยอิสระ โดยไม่มีกฎหมายหรือองค์กรตามกฎหมายใด ๆ จะห้ามปรามได้ แม้องค์กรทางศาสนาอาจทัดทานกษัตริย์จากการกระทำบางอย่างและองค์รัฏฐาธิปัตย์ (กษัตริย์) นั้นจะถูกคาดหวังว่าจะปฏิบัติตามธรรมเนียม แต่ในระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์นั้น ไม่มีรัฐธรรมนูญหรือกฎหมายใด ๆ ที่จะอยู่เหนือกว่าคำชี้ขาดของรัฏฐาธิปัตย์ ตามทฤษฎีพลเมืองนั้น ระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์มอบความไว้วางใจทั้งหมดให้กับพระเจ้าแผ่นดินที่ดีพร้อมทางสายเลือดและได้รับการเลี้ยงดูฝึกฝนมาอย่างดีตั้งแต่เกิด ในทางทฤษฎี กษัตริย์ในระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์จะมีอำนาจทั้งหมดเหนือประชาชนและแผ่นดิน รวมทั้งเหนืออภิชนและบางครั้งก็เหนือคณะสงฆ์ด้วย ส่วนในทางปฏิบัติ กษัตริย์ในระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์มักจะถูกจำกัดอำนาจ โดยทั่วไปโดยกลุ่มที่กล่าวมาหรือกลุ่มอื่น กษัตริย์บางพระองค์ (เช่นจักรวรรดิเยอรมนี ค.ศ. 1871–1918) มีรัฐสภาที่ไม่มีอำนาจหรือเป็นเพียงสัญลักษณ์ และมีองค์กรบริหารอื่น ๆ ที่กษัตริย์สามารถเปลี่ยนแปลงหรือยุบเลิกได้ตามต้องการ แม้จะมีผลเท่ากับระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ แต่โดยทางเทคนิคที่เป็นไปได้แล้ว นี่คือราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญ (constitutional monarchy) เนื่องจากการมีอยู่ของรัฐธรรมนูญและกฎหมายพื้นฐานของประเทศ ประเทศที่ใช้ระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ในปัจจุบันคือ ซาอุดีอาระเบีย บรูไน โอมาน สวาซิแลนด์ กาตาร์ สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ รวมทั้ง นครรัฐวาติกัน ด้ว.

ใหม่!!: ปรีดี พนมยงค์และสมบูรณาญาสิทธิราชย์ · ดูเพิ่มเติม »

สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร

มาชิกสภาผู้แทนราษฎร หรือ..

ใหม่!!: ปรีดี พนมยงค์และสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร · ดูเพิ่มเติม »

สมเถา สุจริตกุล

มเถา สุจริตกุล สมเถา สุจริตกุล เป็นวาทยากร คีตกร นักประพันธ์เพลงคลาสสิก ผู้กำกับภาพยนตร์ นักเขียนที่มีชื่อเสียงเป็นสากลคนหนึ่งของเมืองไทย สมเถาเป็นบุตร ศาสตราจารย์ ดร.สมปอง สุจริตกุล คณบดีกิตติคุณคณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยรังสิต อดีตเอกอัครราชทูตไทย และนางถ่ายเถา สุจริตกุล มีน้องสาวสองคนคือ ดร.นฎาประไพ เอื้อชูเกียรติ และเปรมิกา สุจริตกุล สมเถาโตในหลายประเทศในยุโรป ศึกษามัธยมศึกษาจากวิทยาลัยอีตัน สหราชอาณาจักร แล้วสอบชิงทุนมหาวิทยาลัยเคมบริดจ์ เข้าศึกษาวิชาดนตรีควบคู่กับ วรรณคดีอังกฤษ จนสำเร็จปริญญาตรีและโท (เกียรตินิยม) เป็นผู้ก่อตั้งมูลนิธิอุปรากรกรุงเทพฯ.

ใหม่!!: ปรีดี พนมยงค์และสมเถา สุจริตกุล · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้ารังสิตประยูรศักดิ์ กรมพระยาชัยนาทนเรนทร

ลเอก สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้ารังสิตประยูรศักดิ์ กรมพระยาชัยนาทนเรนทร พระนามเดิม พระองค์เจ้ารังสิตประยูรศักดิ์ (12 พฤศจิกายน พ.ศ. 2428 - 7 มีนาคม พ.ศ. 2494) พระราชโอรสองค์ที่ 52 ในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ประสูติแต่เจ้าจอมมารดาหม่อมราชวงศ์เนื่อง สนิทวงศ์ เป็นพระราชโอรสในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวที่ดำรงพระชนม์ชีพอยู่เป็นพระองค์สุดท้.

ใหม่!!: ปรีดี พนมยงค์และสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้ารังสิตประยูรศักดิ์ กรมพระยาชัยนาทนเรนทร · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระเจ้ากุสตาฟที่ 6 อดอล์ฟแห่งสวีเดน

มเด็จพระเจ้ากุสตาฟที่ 6 อดอล์ฟแห่งสวีเดน (พระนามเต็ม ออสการ์ เฟรดดริค วิลเฮล์ม โอลาฟ กุสตาฟ อดอล์ฟ) (ประสูติ 11 พฤศจิกายน พ.ศ. 2425 - 15 กันยายน พ.ศ. 2516) เป็นพระมหากษัตริย์สวีเดนตั้งแต่ปี..

ใหม่!!: ปรีดี พนมยงค์และสมเด็จพระเจ้ากุสตาฟที่ 6 อดอล์ฟแห่งสวีเดน · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระเจ้าจอร์จที่ 6 แห่งสหราชอาณาจักร

ระเจ้าจอร์จที่ 6 (George VI of the United Kingdom; 14 ธันวาคม ค.ศ. 1895 — 6 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1952) เป็นพระมหากษัตริย์สหราชอาณาจักรในราชวงศ์วินด์เซอร์ และเครือจักรภพอังกฤษระหว่างปี..

ใหม่!!: ปรีดี พนมยงค์และสมเด็จพระเจ้าจอร์จที่ 6 แห่งสหราชอาณาจักร · ดูเพิ่มเติม »

สฤษดิ์ ธนะรัชต์

อมพล สฤษดิ์ ธนะรัชต์ (16 มิถุนายน พ.ศ. 2451 — 8 ธันวาคม พ.ศ. 2506) เป็นนายกรัฐมนตรีไทยคนที่ 11, รัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม, ผู้บัญชาการทหารบกและอธิบดีกรมตำรวจ เป็นผู้ริเริ่มการจัดทำแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ เป็นผู้ก่อตั้งสำนักงบประมาณ เป็นผู้ก่อตั้งธนาคารทหารไทย และบริษัท ทิพยประกันภัย จำกัด เจ้าของคำพูดที่ว่า "พบกันใหม่เมื่อชาติต้องการ" และ "ข้าพเจ้าขอรับผิดชอบแต่เพียงผู้เดียว" พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช มีพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ แต่งตั้ง จอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต์ เป็นผู้รักษาพระนครฝ่ายทหาร ใน วันที่ 16 กันยายน..

ใหม่!!: ปรีดี พนมยงค์และสฤษดิ์ ธนะรัชต์ · ดูเพิ่มเติม »

สหรัฐ

หรัฐอเมริกา (United States of America) โดยทั่วไปเรียก สหรัฐ (United States) หรือ อเมริกา (America) เป็นสหพันธ์สาธารณรัฐ ประกอบด้วยรัฐ 50 รัฐ และหนึ่งเขตปกครองกลาง ห้าดินแดนปกครองตนเองสำคัญ และเกาะเล็กต่าง ๆ โดย 48 รัฐและเขตปกครองกลางตั้งอยู่ ณ ทวีปอเมริกาเหนือระหว่างประเทศแคนาดาและเม็กซิโก รัฐอะแลสกาอยู่มุมตะวันตกเฉียงเหนือของทวีปอเมริกาเหนือ มีเขตแดนติดต่อกับประเทศแคนาดาทางทิศตะวันออกและข้ามช่องแคบเบริงจากประเทศรัสเซียทางทิศตะวันตก และรัฐฮาวายเป็นกลุ่มเกาะในมหาสมุทรแปซิฟิกกลาง ดินแดนของสหรัฐกระจายอยู่ตามมหาสมุทรแปซิฟิกและทะเลแคริบเบียน ครอบคลุมเขตเวลาเก้าเขต ภูมิศาสตร์ ภูมิอากาศและสัตว์ป่าของประเทศหลากหลายอย่างยิ่ง สหรัฐมีพื้นที่ขนาด 9.8 ล้านตารางกิโลเมตร มีประชากรราว 326 ล้านคน ทำให้มีพื้นที่ขนาดใหญ่เป็นอันดับที่ 4 ของโลก และมีประชากรมากเป็นอันดับที่ 3 ของโลก เป็นประเทศซึ่งมีความหลากหลายทางเชื้อชาติและวัฒนธรรม และเป็นที่พำนักของประชากรเข้าเมืองใหญ่สุดในโลกAdams, J.Q., and Pearlie Strother-Adams (2001).

ใหม่!!: ปรีดี พนมยงค์และสหรัฐ · ดูเพิ่มเติม »

สหประชาชาติ

หประชาชาติ (United Nations; ตัวย่อ: UN) หรือ องค์การสหประชาชาติ เป็นองค์การระหว่างประเทศซึ่งมีความมุ่งหมายที่แถลงไว้เพื่ออำนวยความสะดวกแก่ความร่วมมือในกฎหมายระหว่างประเทศ ความมั่นคงระหว่างประเทศ การพัฒนาเศรษฐกิจ กระบวนการทางสังคม สิทธิมนุษยชน และการบรรลุสันติภาพโลก สหประชาชาติก่อตั้งขึ้นใน..

ใหม่!!: ปรีดี พนมยงค์และสหประชาชาติ · ดูเพิ่มเติม »

สะพานปรีดี-ธำรง

นปรีดี-ธำรง เป็นสะพานคอนกรีตข้ามแม่น้ำป่าสักเข้าเกาะเมืองอยุธยา แห่งแรก เชื่อมการคมนาคมทางบกมาสู่ตัวเมืองพระนครศรีอยุธยา สะพานแห่งนี้สร้างขึ้นเมื่อ..

ใหม่!!: ปรีดี พนมยงค์และสะพานปรีดี-ธำรง · ดูเพิ่มเติม »

สัญญา ธรรมศักดิ์

ตราจารย์ สัญญา ธรรมศักดิ์ (5 เมษายน พ.ศ. 2450 — 6 มกราคม พ.ศ. 2545) เคยดำรงตำแหน่งประธานศาลฎีกา, คณบดีคณะนิติศาสตร์ และอธิการบดีมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ กรรมการข้าราชการพลเรือนผู้ทรงคุณวุฒิ,ตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ ปลัดกระทรวงยุติธรรมรองประธานสภาร่างรัฐธรรมนูญ, ได้รับการแต่งตั้งเป็นนายกรัฐมนตรี 2 สมัย และได้รับพระราชทานแต่งตั้งเป็นประธานองคมนตรี ถึงแก่อสัญกรรม ณ โรงพยาบาลรามาธิบดี กรุงเทพมหานคร เมื่อวันที่ 6 มกราคม พ.ศ. 2545 สิริอายุรวมได้ 94 ปี.

ใหม่!!: ปรีดี พนมยงค์และสัญญา ธรรมศักดิ์ · ดูเพิ่มเติม »

สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา (ประเทศไทย)

ำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา (Office of the Council of State) เป็นสำนักงานเลขานุการของคณะกรรมการกฤษฎีกา สังกัดสำนักนายกรัฐมนตรี โดยเป็นส่วนราชการที่อยู่ในบังคับบัญชาขึ้นตรงต่อนายกรัฐมนตรี.

ใหม่!!: ปรีดี พนมยงค์และสำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา (ประเทศไทย) · ดูเพิ่มเติม »

สิทธิ

ทธิ คือ หลักเสรีภาพหรือการให้สิทธิ์ทางกฎหมาย สังคมหรือจริยศาสตร์ นั่นคือ สิทธิเป็นกฎเชิงบรรทัดฐานพื้นฐานเกี่ยวกับสิ่งที่ประชาชนมีหรือเป็นของประชาชนตามบางระบบกฎหมาย ขนบธรรมเนียมทางสังคม หรือทฤษฎีจริยศาสตร์ สิทธิมีความสำคัญยิ่งในสาขาวิชาดังกล่าว เช่น กฎหมายและจริยศาสตร์ โดยเฉพาะอย่างยิ่งทฤษฎีความยุติธรรมและกรณียกรรม มักถือว่าสิทธิเป็นพื้นฐานของอารยธรรม ถือว่าเป็นเสาหลักซึ่งเป็นที่ยอมรับของสังคมและวัฒนธรรม และประวัติศาสตร์ความขัดแย้งทางสังคมพบได้ในประวัติศาสตร์ของสิทธิแต่ละอย่างและพัฒนาการของมัน ตามสารานุกรมปรัชญาสแตนฟอร์ด "สิทธิให้โครงสร้างแก่ระบอบการปกครอง เนื้อหากฎหมาย และลักษณะของศีลธรรมซึ่งรับรู้ในปัจจุบัน".

ใหม่!!: ปรีดี พนมยงค์และสิทธิ · ดูเพิ่มเติม »

สิทธิสภาพนอกอาณาเขต

สิทธิสภาพนอกอาณาเขต (extraterritoriality หรือ extraterritorial right) หมายถึงสิทธิพิเศษทางกฎหมาย ซึ่งประเทศหนึ่งสามารถบังคับใช้กฎหมายของประเทศตนต่อบุคคลในดินแดนของประเทศอื่นได้ ตัวอย่างในอดีตอาทิ สยามเคยให้สิทธิสภาพนอกอาณาเขตแก่อังกฤษ คือหากคนในบังคับอังกฤษหรือฝรั่งเศสก่อคดีในสยามก็จะไปขึ้นศาลของอังกฤษแทน หรือตัวอย่างในปัจจุบันคือ ในสถานทูตหรือสถานกงสุลของประเทศต่างๆ ก็บังคับใช้กฎหมายของประเทศตน หมวดหมู่:กฎหมายระหว่างประเทศ.

ใหม่!!: ปรีดี พนมยงค์และสิทธิสภาพนอกอาณาเขต · ดูเพิ่มเติม »

สุรพล นิติไกรพจน์

ตราจารย์ สุรพล นิติไกรพจน์ นายกสภามหาวิทยาลัยนวมินทราธิราชกรรมการในคณะกรรมการควบคุมมหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ ประธานกรรมการ บริษัท กรุงเทพธนาคม จำกัด วิสาหกิจกรุงเทพมหานคร อดีตอธิการบดีมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ อดีตรองประธานคณะกรรมาธิการสามัญองค์กรอิสระ อดีตรองประธานคณะกรรมาธิการวิสามัญปฏิรูปการเมือง สภานิติบัญญัติแห่งชาติ พ.ศ. 2549 อดีตกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิในคณะกรรมการบริหารสถาบันทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติ และ อดีตประธานคณะกรรมการบริษัท อสมท. จำกัด (มหาชน).

ใหม่!!: ปรีดี พนมยงค์และสุรพล นิติไกรพจน์ · ดูเพิ่มเติม »

สถาบันปรีดี พนมยงค์

ันปรีดี พนมยงค์ สถาบันปรีดี พนมยงค์ เป็นสถาบันไม่แสวงหากำไรที่มีจุดประสงค์ดำเนินกิจกรรมอันเป็นประโยชน์ต่อสังคมและราษฎรไทย ตามอุดมการณ์ของนายปรีดี พนมยงค์ รัฐบุรุษอาวุโสและผู้นำคณะราษฎรในการปฏิวัติสยาม พ.ศ. 2475 สถาบันก่อตั้งโดยมูลนิธิปรีดี พนมยงค์เพื่อเป็นอนุสรณ์แด่ปรีดี และเปิดอย่างเป็นทางการเมื่อวันที่ 24 มิถุนายน พ.ศ. 2538 จุดประสงค์ในการดำเนินงานของสถาบันคือ ส่งเสริมงานด้านวิชาการซึ่งเชื่อมโยงกับแนวความคิด อุดมการณ์สันติธรรมของนายปรีดี พนมยงค์ เพื่อให้ประสานสัมพันธ์กับคนรุ่นใหม่ และสภาพปัญหาสังคมปัจจุบัน เป็นเวทีทางด้านศิลปวัฒนธรรมทุกแขนง เพื่อเป็นสื่อให้ความดีและสัจจะทางสังคม ได้แสดงออกสู่สาธารณะอย่างงดงามมีสุนทรียภาพ และประสานงานและร่วมมือกับองค์กรพันธมิตรอื่น ๆ ในเรื่องการวิจัย สัมมนา อบรม และกิจกรรมเพื่อสาธารณประโยชน์ สถาบันปรีดี พนมยงค์ ตั้งอยู่ที่ ซอยทองหล่อ (สุขุมวิท 55) ถนนสุขุมวิท แขวงคลองตันเหนือ เขตวัฒนา กรุงเทพมหานคร บนเนื้อที่ 371 ตารางวา ซึ่งมูลนิธิไชยวนามอบให้.

ใหม่!!: ปรีดี พนมยงค์และสถาบันปรีดี พนมยงค์ · ดูเพิ่มเติม »

สงครามแปซิฟิก

งครามแปซิฟิก (Pacific War) หรือ สงครามมหาเอเชียบูรพา (Greater East Asia War; 大東亜戦争, Dai Tō-A Sensō) เป็นเขตสงครามหนึ่งของสงครามโลกครั้งที่สอง สู้รบกันในมหาสมุทรแปซิฟิกและเอเชียตะวันออกเป็นหลัก มีการยอมรับกันอย่างกว้างขวางว่าสงครามแปซิฟิกเริ่มตั้งแต่วันที่ 7 หรือ 8 ธันวาคม 1941 เมื่อญี่ปุ่นบุกครองประเทศไทยและโจมตีอาณานิคมของบริติช ได้แก่ มาลายา สิงคโปร์และฮ่องกง ตลอดจนฐานทัพสหรัฐในหมู่เกาะฮาวาย หมู่เกาะเวก เกาะกวมและฟิลิปปินส์ ทว่า สงครามจีน-ญี่ปุ่นครั้งที่สองระหว่างจักรวรรดิญี่ปุ่นและสาธารณรัฐจีนมีมาต่อเนื่องตั้งแต่วันที่ 7 กรกฎาคม 1937 โดยมีความเป็นปรปักษ์ย้อนหลังไปถึงวันที่ 19 กันยายน 1931 เมื่อประเทศญี่ปุ่นบุกครองแมนจูเรีย จักรวรรดิญี่ปุ่นเริ่มนโยบายชาตินิยมโดยใช้คำขวัญที่ว่า "เอเชียเพื่อชาวเอเชีย" (Asia for Asiatics) วันที่ 3 พฤศจิกายน..

ใหม่!!: ปรีดี พนมยงค์และสงครามแปซิฟิก · ดูเพิ่มเติม »

สงครามโลกครั้งที่สอง

งครามโลกครั้งที่สอง (World War II หรือ Second World Warคำว่าสงครามโลกครั้งที่สองในภาษาอังกฤษนั้น ในเอกสารประวัติศาสตร์อย่างเป็นทางการของสหราชอาณาจักรและชาติตะวันตกใช้คำว่า "Second World War" ส่วนในสหรัฐใช้คำว่า "World War II" (ย่อเป็น "WWII" หรือ "WW2") ซึ่งเอกสารประวัติศาสตร์อย่างเป็นทางการในประเทศส่วนใหญ่มักจะใช้ภาษาอังกฤษว่า "Second World War" (เช่น Zweiter Weltkrieg ในภาษาเยอรมัน; Segunda Guerra mundial ในภาษาสเปน; Seconde Guerre mondiale ในภาษาฝรั่งเศส) แต่ทั้งสองคำนี้โดยทั่วไปแล้วสามารถใช้แทนกันได้; แม้ในประวัติศาสตร์การทหารอย่างเป็นทางการ คำว่า "Second World War" ถูกสร้างขึ้นโดย แฟรงก์ บี. เคลล็อก รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศสหรัฐอเมริกา; ส่วนคำว่า "World War II" พบใช้เป็นครั้งแรกในนิตยสาร ไทมส์ เมื่อวันที่ 12 มิถุนายน ค.ศ. 1939 ซึ่งเป็นผู้ประดิษฐ์คำว่า "World War I" ขึ้นในอีกสามเดือนต่อมา; มักย่อเป็น WWII หรือ WW2) เป็นสงครามทั่วโลกกินเวลาตั้งแต่ปี 1939 ถึง 1945 ประเทศส่วนใหญ่ในโลกมีส่วนเกี่ยวข้อง รวมทั้งรัฐมหาอำนาจทั้งหมด แบ่งเป็นพันธมิตรทางทหารคู่สงครามสองฝ่าย คือ ฝ่ายสัมพันธมิตรและฝ่ายอักษะ เป็นสงครามที่กว้างขวางที่สุดในประวัติศาสตร์ มีทหารกว่า 100 ล้านนายจากกว่า 30 ประเทศเข้าร่วมโดยตรง สงครามนี้มีลักษณะเป็น "สงครามเบ็ดเสร็จ" คือ ประเทศผู้ร่วมสงครามหลักทุ่มขีดความสามารถทางเศรษฐกิจ อุตสาหกรรมและวิทยาศาสตร์ทั้งหมดเพื่อความพยายามของสงคราม โดยลบเส้นแบ่งระหว่างทรัพยากรของพลเรือนและทหาร ประเมินกันว่าสงครามมีมูลค่าราว 1 ล้านล้านดอลลาร์สหรัฐ ประเมินกันว่ามีผู้เสียชีวิตระหว่าง 50 ถึง 85 ล้านคน ด้วยประการทั้งปวง สงครามโลกครั้งที่สองจึงนับว่าเป็นสงครามขนาดใหญ่ที่สุด ใช้เงินทุนมากที่สุด และมีผู้เสียชีวิตสูงสุดในประวัติศาสตร์มนุษยชาติ จักรวรรดิญี่ปุ่นซึ่งมีเป้าหมายครอบงำทวีปเอเชียและแปซิฟิกและทำสงครามกับจีนมาตั้งแต่ปี 1937 แล้ว แต่โดยทั่วไปถือว่าสงครามโลกครั้งที่สองเริ่มตั้งแต่การบุกครองโปแลนด์ของเยอรมนีในวันที่ 1 กันยายน 1939 นำไปสู่การประกาศสงครามต่อเยอรมนีของประเทศฝรั่งเศสและสหราชอาณาจักร ตั้งแต่ปลายปี 1939 ถึงต้นปี 1941 ในการทัพและสนธิสัญญาต่าง ๆ ประเทศเยอรมนีพิชิตหรือควบคุมยุโรปภาคพื้นทวีปได้ส่วนใหญ่ และตั้งพันธมิตรอักษะกับอิตาลีและญี่ปุ่น ภายใต้สนธิสัญญาโมโลตอฟ–ริบเบนทรอพเมื่อเดือนสิงหาคม 1939 เยอรมนีและสหภาพโซเวียตแบ่งแลผนวกดินแดนประเทศเพื่อนบ้านยุโรปของตน ได้แก่ โปแลนด์ ฟินแลนด์ โรมาเนียและรัฐบอลติก สงครามดำเนินต่อส่วนใหญ่ระหว่างชาติฝ่ายอักษะยุโรปและแนวร่วมสหราชอาณาจักรและเครือจักรภพบริติช โดยมีการทัพอย่างการทัพแอฟริกาเหนือและแอฟริกาตะวันออก ยุทธการที่บริเตนซึ่งเป็นการสู้รบทางอากาศ การทัพทิ้งระเบิดเดอะบลิตซ์ การทัพบอลข่าน ตลอดจนยุทธการที่แอตแลนติกที่ยืดเยื้อ ในเดือนมิถุนายน 1941 ชาติอักษะยุโรปบุกครองสหภาพโซเวียต เปิดฉากเขตสงครามภาคพื้นดินที่ใหญ่ที่สุดในประวัติศาสตร์ ซึ่งทำให้กำลังทหารสำคัญของฝ่ายอักษะตกอยู่ในสงครามบั่นทอนกำลัง ในเดือนธันวาคม 1941 ญี่ปุ่นโจมตีสหรัฐและอาณานิคมยุโรปในมหาสมุทรแปซิฟิก และพิชิตมหาสมุทรแปซิฟิกตะวันตกส่วนมากได้อย่างรวดเร็ว การรุกของฝ่ายอักษะยุติลงในปี 1942 หลังญี่ปุ่นปราชัยในยุทธนาวีที่มิดเวย์ใกล้กับฮาวายที่สำคัญ และเยอรมนีปราชัยในแอฟริกาเหนือและจากนั้นที่สตาลินกราดในสหภาพโซเวียต ในปี 1943 จากความปราชัยของเยอรมนีติด ๆ กันที่เคิสก์ในยุโรปตะวันออก การบุกครองอิตาลีของฝ่ายสัมพันธมิตรซึ่งนำให้อิตาลียอมจำนน จนถึงชัยของฝ่ายสัมพันธมิตรในมหาสมุทรแปซิฟิก ฝ่ายอักษะเสียการริเริ่มและต้องล่าถอยทางยุทธศาสตร์ในทุกแนวรบ ในปี 1944 ฝ่ายสัมพันธมิตรบุกครองฝรั่งเศสในการยึดครองของเยอรมนี ขณะเดียวกันกับที่สหภาพโซเวียตยึดดินแดนที่เสียไปทั้งหมดคืนและบุกครองเยอรมนีและพันธมิตร ระหว่างปี 1944 และ 1945 ญี่ปุ่นปราชัยสำคัญในทวีปเอเชียในภาคกลางและภาคใต้ของจีนและพม่า ขณะที่ฝ่ายสัมพันธมิตรก่อความเสียหายต่อกองทัพเรือญี่ปุ่นและยึดหมู่เกาะแปซิฟิกตะวันตกที่สำคัญ สงครามในยุโรปยุติลงหลังกองทัพแดงยึดกรุงเบอร์ลินได้ และการยอมจำนนอย่างไม่มีเงื่อนไขของเยอรมนีเมื่อวันที่ 8 สิงหาคม 1945 แม้จะถูกโดดเดี่ยวและตกอยู่ในสภาพเสียเปรียบอย่างยิ่ง ญี่ปุ่นยังปฏิเสธที่จะยอมจำนน กระทั่งมีการทิ้งระเบิดนิวเคลียร์สองลูกถล่มญี่ปุ่น และการบุกครองแมนจูเรีย จึงได้นำไปสู่การยอมจำนนอย่างเป็นทางการของญี่ปุ่นเมื่อวันที่ 2 กันยายน 1945 สงครามยุติลงด้วยชัยชนะของฝ่ายสัมพันธมิตร ผลของสงครามได้เปลี่ยนแปลงการวางแนวทางการเมืองและโครงสร้างสังคมของโลก สหประชาชาติถูกสถาปนาขึ้น เพื่อส่งเสริมความร่วมมือระหว่างประเทศและเพื่อป้องกันความขัดแย้งในอนาคต สหรัฐอเมริกากับสหภาพโซเวียตก้าวเป็นอภิมหาอำนาจของโลกอันเป็นคู่ปรปักษ์กัน นำไปสู่ความขัดแย้งบนเวทีแห่งสงครามเย็น ซึ่งได้ดำเนินต่อมาอีก 46 ปีหลังสงคราม ขณะเดียวกัน การยอมรับหลักการการกำหนดการปกครองด้วยตนเอง เร่งให้เกิดการเคลื่อนไหวเพื่อเรียกร้องเอกราชในทวีปเอเชียและทวีปแอฟริกา พร้อม ๆ กับที่หลายประเทศได้มุ่งหน้าฟื้นฟูเศรษฐกิจซึ่งอุตสาหกรรมได้รับความเสียหายระหว่างสงคราม และบูรณาการทางการเมืองได้เกิดขึ้นทั่วโลกในความพยายามที่จะรักษาเสถียรภาพความสัมพันธ์หลังสงคราม.

ใหม่!!: ปรีดี พนมยงค์และสงครามโลกครั้งที่สอง · ดูเพิ่มเติม »

สนามเสือป่า

นามเสือป่า สนามเสือป่า เป็นพื้นที่ที่อยู่ด้านทิศตะวันออกของลานพระบรมรูปทรงม้า ตรงข้ามกับสวนอัมพร ในเขตพระราชวังดุสิต เคยเป็นที่ตั้งของกองบัญชาการกองทัพไทย มีอาคารรับรองพระราชวังดุสิต สำนักพระราชวัง (สโมสรเสือป่า) มูลนิธิชัยพัฒนา และอีกหลายหน่วยงาน มีพื้นที่ว่างใช้จัดกิจกรรมงานออกร้านแสดงสินค้า เช่น งานกาชาด บางครั้งใช้จัดแสดงดนตรี เช่น บางกอกแจ๊สเฟสติวัล พระบาทสมเด็จพระมงกุฏเกล้าเจ้าอยู่หัวโปรดเกล้าฯ ให้ใช้พื้นที่บริเวณนี้หัดแถวยุทธวิธี ซ้ายหัน ขวาหัน หมอบคลาน เคลื่อนที่ ฝึกซ้อมสมาชิกกองเสือป่า บริเวณนี้จึงได้ชื่อว่า "สนามเสือป่า".

ใหม่!!: ปรีดี พนมยงค์และสนามเสือป่า · ดูเพิ่มเติม »

หลวงกาจสงคราม (กาจ กาจสงคราม)

ลโท พลอากาศโท กาจ กาจสงคราม หรือที่รู้จักกันดีในชื่อ หลวงกาจสงคราม หนึ่งในสมาชิกคณะราษฎร สมาชิกขบวนการเสรีไทย อดีตแม่ทัพภาคที่ 1 ของกองทัพบกไทย ช่วงปี..

ใหม่!!: ปรีดี พนมยงค์และหลวงกาจสงคราม (กาจ กาจสงคราม) · ดูเพิ่มเติม »

หลวงสิริราชไมตรี (จรูญ สิงหเสนี)

อำมาตย์ตรี หลวงสิริราชไมตรี อดีตอัครราชทูตไทยประจำกรุงโรม ประเทศอิตาลี และสมาชิกคณะราษฎร.

ใหม่!!: ปรีดี พนมยงค์และหลวงสิริราชไมตรี (จรูญ สิงหเสนี) · ดูเพิ่มเติม »

หลวงทัศนัยนิยมศึก (ทัศนัย มิตรภักดี)

ณะราษฎรสายทหารบก ที่สนามหญ้าหน้าวังปารุสกวันในวันที่ 24 มิถุนายน พ.ศ. 2475 (หลวงทัศนัยนิยมศึก - ทัศนัย มิตรภักดี คือ คนที่ 2 จากซ้ายแถวกลาง) พันตรี หลวงทัศนัยนิยมศึก มีชื่อตัวว่า ทัศนัย มิตรภักดี (22 กันยายน พ.ศ. 2443–10 พฤษภาคม พ.ศ. 2476) อดีตนายทหารม้าชาวไทย และผู้ร่วมก่อตั้งคณะราษฎรชุดแรก (7 คนแรก) ณ กรุงปารีส ประเทศฝรั่งเศส และทำการปฏิวัติสยาม พ.ศ. 2475.

ใหม่!!: ปรีดี พนมยงค์และหลวงทัศนัยนิยมศึก (ทัศนัย มิตรภักดี) · ดูเพิ่มเติม »

หลวงคหกรรมบดี (ชม จารุรัตน์)

อำมาตย์ตรี หลวงคหกรรมบดี (ชม จารุรัตน์) สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรชั่วคราว พ.ศ. 2475, คณะกรรมานุการพิจารณาร่างเค้าโครงเศรษฐกิจแห่งชาติ หลวงประดิษฐ์มนูธรรม (สมุดปกเหลือง), เลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร, เลขาธิการคณะรัฐมนตรี, ปลัดกระทรวงคมนาคม,รัฐมนตรี, รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงอุตสาหกรรม และรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงคมนาคม.

ใหม่!!: ปรีดี พนมยงค์และหลวงคหกรรมบดี (ชม จารุรัตน์) · ดูเพิ่มเติม »

หลัก 6 ประการของคณะราษฎร

ลากลางจังหวัดพระนครศรีอยุธยา สถาปัตยกรรมแบบคณะราษฎร มีเสาใหญ่หกเสาด้านหน้า ซึ่งอ้างอิงถึงหลักหกประการของคณะราษฎร หลัก 6 ประการของคณะราษฎร หรือที่นิยมเรียกอย่างสั้นว่า หลัก 6 ประการ เป็นเนื้อหาส่วนหนึ่งในประกาศคณะราษฎร ฉบับที่ 1คณะราษฎร, ประกาศคณะราษฎร ฉบับที่ ๑, วิกิซอร์ซ และถือเป็นนโยบายของคณะกรรมการราษฎรชุดแรก ในระบอบประชาธิปไตยของประเทศสยาม ซึ่งนำโดยพระยามโนปกรณ์นิติธาดา คณะกรรมการราษฎรนี้ ไม่มีการแถลงนโยบาย การบริหารราชการแผ่นดินต่อสภาผู้แทนราษฎร แต่ถือเอาหลัก 6 ประการของคณะราษฎร ที่กำหนดให้สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร ใช้ปฏิญาณตนต่อที่ประชุมก่อนเข้ารับหน้าที่นั้น เป็นนโยบายของรัฐบาล หลัก 6 ประการของคณะราษฎรซึ่งสรุปคำใจความหลักได้ว่า "เอกราช ปลอดภัย เศรษฐกิจ เสมอภาค เสรีภาพ การศึกษา"เด็กชายก้อง,, มติชน, 4 พฤศจิกายน..

ใหม่!!: ปรีดี พนมยงค์และหลัก 6 ประการของคณะราษฎร · ดูเพิ่มเติม »

หนังสือเดินทางไทย

หนังสือเดินทางอิเล็กทรอนิกส์ประเภทธรรมดา หนังสือเดินทางไทย เป็นหนังสือเดินทางที่ออกให้เฉพาะประชาชนไทยเท่านั้นราชกิจจานุเบกษ.

ใหม่!!: ปรีดี พนมยงค์และหนังสือเดินทางไทย · ดูเพิ่มเติม »

ออนซ์ (หน่วยมวล)

ออนซ์ (ounce) สัญลักษณ์ oz เป็นหน่วยวัดมวลในระบบอังกฤษ.

ใหม่!!: ปรีดี พนมยงค์และออนซ์ (หน่วยมวล) · ดูเพิ่มเติม »

อาณาจักรอยุธยา

ำหรับความหมายอื่น ดูที่ อยุธยา ระวังสับสนกับ อโยธยา อาณาจักรอยุธยา เป็นอาณาจักรของชนชาติไทยในลุ่มแม่น้ำเจ้าพระยาในช่วง พ.ศ. 1893 ถึง พ.ศ. 2310 มีกรุงศรีอยุธยาเป็นศูนย์กลางอำนาจหรือราชธานี ทั้งยังมีความสัมพันธ์ทางการค้ากับหลายชาติ จนถือได้ว่าเป็นศูนย์กลางการค้าในระดับนานาชาติ เช่น จีน เวียดนาม อินเดีย ญี่ปุ่น เปอร์เซีย รวมทั้งชาติตะวันตก เช่น โปรตุเกส สเปน เนเธอร์แลนด์ (ฮอลันดา) อังกฤษ และฝรั่งเศส ซึ่งในช่วงเวลาหนึ่งเคยสามารถขยายอาณาเขตประเทศราชถึงรัฐฉานของพม่า อาณาจักรล้านนา มณฑลยูนนาน อาณาจักรล้านช้าง อาณาจักรขอม และคาบสมุทรมลายูในปัจจุบัน.

ใหม่!!: ปรีดี พนมยงค์และอาณาจักรอยุธยา · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอพระนครศรีอยุธยา

อำเภอพระนครศรีอยุธยา เป็นอำเภอหนึ่งในจังหวัดพระนครศรีอยุธยา เป็นศูนย์กลางการบริหารศูนย์กลางธุรกิจของจังหวัดพระนครศรีอยุธยา เดิมชื่อว่า อำเภอรอบกรุง จัดตั้งขึ้นเมื่อ พ.ศ. 2440 ต่อมาในสมัยรัชกาลที่ 6 ได้เปลี่ยนชื่อ เป็น อำเภอกรุงเก่า และเปลี่ยนชื่ออีกครั้งหนึ่งในสมัยจอมพล ป. พิบูลสงคราม..

ใหม่!!: ปรีดี พนมยงค์และอำเภอพระนครศรีอยุธยา · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอวังน้อย

วังน้อย เป็นอำเภอหนึ่งในจังหวัดพระนครศรีอยุธยา เดิมชื่อ อำเภออุไทยน้อย ต่อมาในปี พ.ศ. 2460 ได้เปลี่ยนชื่อมาเป็นชื่ออำเภอดังเช่นปัจจุบัน.

ใหม่!!: ปรีดี พนมยงค์และอำเภอวังน้อย · ดูเพิ่มเติม »

อินโดจีนของฝรั่งเศส

อินโดจีนของฝรั่งเศส (Indochine française, French Indochina) ต่อมาเปลี่ยนชื่อเป็น สหภาพอินโดจีน (Union Indochinoise) เป็นอาณานิคมของจักรวรรดิฝรั่งเศสในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ซึ่งก่อตั้งขึ้นในปี พ.ศ. 2430 โดยประกอบด้วยตังเกี๋ย อันนัม โคชินไชนา (ทั้งสามแห่งรวมกันเป็นประเทศเวียดนามในปัจจุบัน) และกัมพูชา ต่อมาในปี พ.ศ. 2436 จึงได้รวมเอาลาวเข้ามา อินโดจีนมีไซ่ง่อนเป็นเมืองหลวงจนถึงปี พ.ศ. 2445 จึงได้ย้ายเมืองหลวงมาที่ฮานอย ระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง อินโดจีนถูกปกครองโดยฝรั่งเศสเขตวีชีและยังถูกญี่ปุ่นรุกรานด้วย ในต้นปี พ.ศ. 2489 เวียดมินห์ได้เริ่มต่อต้านการปกครองของฝรั่งเศส ซึ่งในภายหลังเรียกว่าสงครามอินโดจีน ส่วนทางใต้ได้มีการก่อตั้งรัฐเวียดนามซึ่งนำโดยจักรพรรดิบ๋าว ดั่ย แห่งเวียดนาม และได้รับเอกราชจากฝรั่งเศสในปี พ.ศ. 2492 แต่ต่อมาในปี พ.ศ. 2498 เวียดมินห์ก็ได้กลายเป็นรัฐบาลของเวียดนามเหนือตามอนุสัญญาเจนีวา โดยที่รัฐบาลของจักรพรรดิบ๋าว ดั่ย ยังคงปกครองเวียดนามใต้อยู.

ใหม่!!: ปรีดี พนมยงค์และอินโดจีนของฝรั่งเศส · ดูเพิ่มเติม »

อธิการบดี

อธิการบดี เป็นตำแหน่งผู้บังคับบัญชาสูงสุดและรับผิดชอบงานทั้งปวงของมหาวิทยาลั.

ใหม่!!: ปรีดี พนมยงค์และอธิการบดี · ดูเพิ่มเติม »

อดอล์ฟ ฮิตเลอร์

อดอล์ฟ ฮิตเลอร์ (Adolf Hitler) เป็นนักการเมืองเยอรมันเชื้อชาติออสเตรีย หัวหน้าพรรคกรรมกรชาติสังคมนิยมเยอรมัน หรือที่รู้จักกันทั่วไปในชื่อ พรรคนาซี ฮิตเลอร์ดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีเยอรมนี ระหว่าง..

ใหม่!!: ปรีดี พนมยงค์และอดอล์ฟ ฮิตเลอร์ · ดูเพิ่มเติม »

องค์การการศึกษา วิทยาศาสตร์ และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ

งของยูเนสโก องค์การการศึกษา วิทยาศาสตร์ และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ (United Nations Educational, Scientific and Cultural Organization) หรือ ยูเนสโก (UNESCO) เป็นทบวงการชำนัญพิเศษของสหประชาชาติ ก่อตั้งโดยได้มีการลงนามในธรรมนูญขององค์การ เมื่อวันที่ 16 พฤศจิกายน..

ใหม่!!: ปรีดี พนมยงค์และองค์การการศึกษา วิทยาศาสตร์ และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ · ดูเพิ่มเติม »

ผิน ชุณหะวัณ

อมพลผิน ชุณหะวัณ (14 ตุลาคม พ.ศ. 2434 - 26 มกราคม พ.ศ. 2516) เป็นบิดาของพลเอกชาติชาย ชุณหะวัณ เกิดที่ตำบลบางนกแขวก อำเภอบางคนที จังหวัดสมุทรสงคราม เป็นบุตรของนายไข่ และ นางพลับ ชุณหะวัณ ชาวสวนและแพทย์แผนโบราณ มีพี่น้องร่วมบิดามารดาเดียวกัน 8 คน จอมพลผิน ชุณหะวัณ ถึงแก่อสัญกรรมในวันศุกร์ที่ 26 มกราคม..

ใหม่!!: ปรีดี พนมยงค์และผิน ชุณหะวัณ · ดูเพิ่มเติม »

ผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์

ผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ หรือ ผู้สำเร็จราชการแผ่นดิน (regent) เป็นผู้ได้รับแต่งตั้งให้ปฏิบัติพระราชกรณียกิจในพระปรมาภิไธยพระมหากษัตริย์ของประเทศที่มีพระมหากษัตริย์เป็นพระประมุข เนื่องจากพระมหากษัตริย์ยังไม่ทรงบรรลุนิติภาวะ หรือทรงพระประชวร หรือไม่ทรงอยู่ในประเทศ หรือทรงบริหารพระราชกิจไม่ได้ไม่ว่าด้วยเหตุใดก็ตาม ทั้งนี้ ผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ยังมีขึ้นได้ในกรณีที่ระบอบพระมหากษัตริย์ยังมิได้มีพระมหากษัตริย์ที่เหมาะสม เช่น เมื่อประเทศฟินแลนด์ประกาศเอกราชจากจักรวรรดิรัสเซียแล้วมีการสถาปนาราชอาณาจักรฟินแลนด์ขึ้น แต่ยังไม่มีเชื้อพระวงศ์ต่างประเทศพระองค์ใดเหมาะสม จึงให้ผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ทำหน้าที่ไปพลางก่อน จนรัฐสภาฟินแลนด์เลือกเจ้าชายเฟรเดอริก ชาร์ลแห่งเฮสส์ แห่งแคว้นเฮสส์จากจักรวรรดิเยอรมันขึ้นเป็นสมเด็จพระราชาธิบดีแห่งฟินแลนด์ ตำแหน่งผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์จึงสิ้นสุดลง.

ใหม่!!: ปรีดี พนมยงค์และผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ · ดูเพิ่มเติม »

ผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ (ประเทศไทย)

ผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ เป็นผู้บริหารราชการแผ่นดินในพระปรมาภิไธยหรือพระนามาภิไธยพระมหากษัตริย์ เนื่องจากพระมหากษัตริย์ยังไม่ทรงบรรลุนิติภาวะก็ดี ทรงพระประชวรก็ดี ทรงไม่อาจบริหารพระราชกิจได้ก็ดี หรือไม่ทรงอยู่ในประเทศก็ดี ในสมัยราชวงศ์จักรีเริ่มมีผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เนื่องจากพระองค์ทรงขึ้นครองราชย์เมื่อพระองค์ยังทรงพระเยาว.

ใหม่!!: ปรีดี พนมยงค์และผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ (ประเทศไทย) · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิโชวะ

มเด็จพระจักรพรรดิฮิโระฮิโตะ หรือพระนามตามชื่อรัชสมัย คือ จักรพรรดิโชวะ (29 เมษายน 2444 - 7 มกราคม 2532) (裕仁) ทรงเป็นจักรพรรดิพระองค์ที่ 124 ของญี่ปุ่น ครองราชย์ระหว่างปี พ.ศ. 2469 - พ.ศ. 2532 (63 ปี) ในตอนต้นรัชสมัยของพระองค์ จักรวรรดิญี่ปุ่นในขณะนั้น ได้กลายเป็นชาติมหาอำนาจของโลกแล้ว ด้วยขนาดเศรษฐกิจที่ใหญ่เป็นอันดับ 9 ของโลก จักรพรรดิฮิโระฮิโตะทรงดำรงตำแหน่งประมุขแห่งรัฐของจักรวรรดิญี่ปุ่นภายใต้รัฐธรรมนูญแห่งจักรวรรดิญี่ปุ่น ในรัชสมัยของพระองค์ ญี่ปุ่นได้เข้าร่วมสงครามโลกครั้งที่สอง ซึ่งทำให้ในห้วงเวลานั้น จักรวรรดิญี่ปุ่นแผ่อำนาจและดินแดนไปทั่วเอเชียบูรพาโดยที่ไม่มีชาติใด ๆ จะสามารถต้านทาน ภายหลังสงครามสิ้นสุดลงบนความพ่ายแพ้ของญี่ปุ่น พระองค์ไม่ได้ถูกดำเนินคดีในข้อหาอาชญากรสงครามดังเช่นผู้นำคนอื่น ๆ ของชาติฝ่ายอักษะ และภายหลังสงคราม พระองค์ทรงเป็นสัญลักษณ์ของรัฐใหม่ในการกอบกู้ประเทศชาติที่ได้รับความเสียหายจากสงคราม ในตอนปลายรัชกาล ประเทศญี่ปุ่นก็สามารถกลับมายืนหยัดในฐานะชาติมหาอำนาจทางเศรษฐกิจอันดับ 2 ของโลก.

ใหม่!!: ปรีดี พนมยงค์และจักรพรรดิโชวะ · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดพระนครศรีอยุธยา

ังหวัดพระนครศรีอยุธยา เป็นจังหวัดหนึ่งในภาคกลางซึ่งเป็นเขตเศรษฐกิจที่สำคัญ โดยมีผลิตภัณฑ์มวลรวมของจังหวัดมีมูลค่าสูงเป็นอันดับ 3 ของประเทศ และมีประวัติศาสตร์ความเป็นมาที่ยาวนาน เคยมีชื่อเสียงในฐานะเป็นแหล่งปลูกข้าวที่สำคัญ จังหวัดพระนครศรีอยุธยาเป็นจังหวัดที่ไม่มีอำเภอเมือง มีอำเภอพระนครศรีอยุธยาเป็นศูนย์กลางการบริหารจัดการด้านต่าง ๆ ชาวบ้านโดยทั่วไปนิยมเรียกอีกชื่อหนึ่งว่า "กรุงเก่า" หรือ "เมืองกรุงเก่า".

ใหม่!!: ปรีดี พนมยงค์และจังหวัดพระนครศรีอยุธยา · ดูเพิ่มเติม »

จิตติ ติงศภัทิย์

ตราจารย์พิเศษ จิตติ ติงศภัทิย์ (16 มีนาคม พ.ศ. 2451 – 3 มีนาคม พ.ศ. 2538) เป็นนักกฎหมายชาวไทย รับตำแหน่งองคมนตรีตั้งแต่ปี 2527 ถึง 2538 และถึงแก่อสัญกรรมในตำแหน่ง จิตติประสิทธิ์ประสาทวิชากฎหมายมาเป็นเวลานานจนได้รับยกย่องเป็นปรมาจารย์แห่งวงการกฎหมายไทย และได้รับการกล่าวขานว่า ตั้งมั่นอยู่ในความบริสุทธิ์ยุติธรรม.

ใหม่!!: ปรีดี พนมยงค์และจิตติ ติงศภัทิย์ · ดูเพิ่มเติม »

ธนาคารแห่งประเทศไทย

นาคารแห่งประเทศไทย (Bank of Thailand) เป็นธนาคารกลางของประเทศไทย จัดตั้งขึ้นโดยพระราชบัญญัติธนาคารแห่งประเทศไท..

ใหม่!!: ปรีดี พนมยงค์และธนาคารแห่งประเทศไทย · ดูเพิ่มเติม »

ธนาคารเอเชีย

นาคารเอเชีย (Bank of Asia) เป็นธนาคารในประเทศไทย ก่อตั้งเมื่อปี พ.ศ. 2482 มีสถานะเป็นรัฐวิสาหกิจไทย ใช้ชื่อว่า ธนาคารแห่งเอเชียเพื่ออุตสาหกรรมและพาณิชยกรรม โดยศาสตราจารย์ ดร.ปรีดี พนมยงค์ อดีตนายกรัฐมนตรี และผู้ประศาสน์การมหาวิทยาลัยวิชาธรรมศาสตร์และการเมือง ต่อมาภายหลังเปลี่ยนชื่อเป็น "ธนาคารเอเชีย" (BOA) จดทะเบียนเข้าตลาดหลักทรัพย์ในปี พ.ศ. 2521 และกลายเป็นบริษัทมหาชน จำกัด ในปี พ.ศ. 2535 ธนาคารเอเชียมีผลิตภัณฑ์ทางการเงินที่หลากหลาย อีกทั้งยังมีบริษัทในเครือที่ให้ บริการด้านประกันภัย, การจัดการกองทุน, การจัดจำหน่ายตราสาร หนี้และตราสารทุนและบริการเช่าซื้อ สถานที่ตั้งสำนักงานใหญ่ของธนาคารอยู่ที่ถนนสาทรใต้ ในกรุงเทพมหานคร ณ เดือนกันยายน พ.ศ. 2546 ธนาคารเอเชียมีสาขา 124 แห่ง พ.ศ. 2541 ธนาคารเอบีเอ็น แอมโร แห่งประเทศเนเธอร์แลนด์ ได้เข้ามาเป็นผู้ถือหุ้นรายใหญ่ ของธนาคารเอเชีย ในปี..

ใหม่!!: ปรีดี พนมยงค์และธนาคารเอเชีย · ดูเพิ่มเติม »

ถวัลย์ ธำรงนาวาสวัสดิ์

ล.ร.ต.ถวัลย์ ธำรงนาวาสวัสดิ์ (ซ้าย) ขณะเดินสนทนากับ พ.ต.ควง อภัยวงศ์ ในงานเปิดสมาคมนักข่าว นักหนังสือพิมพ์แห่งประเทศไทย เมื่อปี พ.ศ. 2484 พลเรือตรี ถวัลย์ ธำรงนาวาสวัสดิ์ เดิมคือ หลวงธำรงนาวาสวัสดิ์ (ถวัลย์ ธารีสวัสดิ์) (21 พฤศจิกายน พ.ศ. 2444 — 3 ธันวาคม พ.ศ. 2531) นายกรัฐมนตรีคนที่ 8 ของประเทศไทยในช่วง..

ใหม่!!: ปรีดี พนมยงค์และถวัลย์ ธำรงนาวาสวัสดิ์ · ดูเพิ่มเติม »

ถนอม กิตติขจร

อมพล จอมพลเรือ จอมพลอากาศ ถนอม กิตติขจร (11 สิงหาคม พ.ศ. 2454—16 มีนาคม พ.ศ. 2547) เป็น อดีตนายกรัฐมนตรีคนที่ 10 ของประเทศไทย ผู้บัญชาการทหารบก รัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม และ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ ผู้ซึ่งเป็นหัวหน้าคณะรัฐบาลในเหตุการณ์ 14 ตุลา ปี 2516 ซึ่งเป็นเหตุการณ์การประท้วงของ นิสิต นักศึกษา และประชาชน โดยในเหตุการณ์ ทหารได้ใช้อาวุธสงครามเข้าปราบปรามนักศึกษาประชาชนที่ชุมนุมเรียกร้องรัฐธรรมนูญ จนทำให้มีผู้เสียชีวิตเป็นจำนวนมาก เป็นผลให้ จอมพล ถนอม กิตติขจร ต้องประกาศลาออกจากตำแหน่ง และเดินทางออกจากประเทศ พร้อมกับ จอมพล ประภาส จารุเสถียร และ พ.อ.ณรงค์ กิตติขจร ภายหลังเหตุการณ์ จอมพล ถนอม กิตติขจร ก็ได้เดินทางกลับ แล้วบวชเป็นพระสามเณร เป็นชนวนไปสู่การ ขับไล่ ของนักศึกษาธรรมศาสตร์ จนโยงไปสู่เหตุการณ์ 6 ตุลา ปี 2519 ทำให้มีผู้บาดเจ็บ เสียชีวิต และสูญหายจำนวนมาก จอมพล ถนอม กิตติขจร เคยดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีถึง 4 สมัย เป็นระยะเวลาถึง 10 ปี 6 เดือนเศษ และนับจากการเปลี่ยนการปกครอง พ.ศ. 2475 เป็นต้นมา นายทหารที่มาจากคนธรรมดาสามัญที่ครองยศจอมพลสายทหารบก มีด้วยกัน 7 คน จอมพลถนอมเป็นคนที่ 6 จอมพลประภาส จารุเสถียรเป็นคนที่ 7 แต่ผู้ที่มีอายุยืนที่สุด คือจอมพลถนอม จึงกลายเป็น "จอมพลคนสุดท้าย" จอมพลถนอมถึงแก่อสัญกรรมด้วยโรคเส้นเลือดในสมองแตกเมื่อกลางดึก เมื่อวันที่ 16 มิถุนายน..

ใหม่!!: ปรีดี พนมยงค์และถนอม กิตติขจร · ดูเพิ่มเติม »

ถนนประดิษฐ์มนูธรรม

นนประดิษฐ์มนูธรรม (Thanon Pradit Manutham) เป็นถนนเลียบทางพิเศษฉลองรัช (ทางด่วนสายรามอินทรา-อาจณรงค์หรือทางด่วนหมายเลข 3) เป็นถนนสายหลักสายหนึ่งที่เชื่อมระหว่างในเมืองกับชานเมืองด้านตะวันออกเฉียงเหนือของกรุงเทพมหานคร ชื่อถนน "ประดิษฐ์มนูธรรม" ตั้งตามราชทินนามของ "หลวงประดิษฐ์มนูธรรม" (ปรีดี พนมยงค์) รัฐบุรุษอาวุโส ผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ในรัชกาลที่ 8 นายกรัฐมนตรีคนที่ 7 หัวหน้าขบวนการเสรีไทย และผู้นำพลเรือนในคณะราษฎร เพื่อสดุดีเกียรติคุณของท่านในฐานะบุคคลสำคัญของชาติและในวาระที่องค์การศึกษา วิทยาศาสตร์ และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติหรือยูเนสโก ประกาศให้ท่านเป็นบุคคลสำคัญของโลกในปี พ.ศ. 2543 ซึ่งเป็นปีครบรอบ 100 ปี ชาตกาลของท่าน โดยกรุงเทพมหานครเป็นผู้จัดสร้างและดูแลรักษาถนนสายนี้ เมื่อปี พ.ศ. 2546 กรุงเทพมหานครได้ให้ทางเขตวังทองหลางและเขตห้วยขวางเปลี่ยนชื่อถนนประดิษฐ์มนูธรรมเฉพาะช่วงถนนพระราม 9 ถึงถนนลาดพร้าวเป็นชื่อ "ถนนประเสริฐมนูกิจ" โดยให้เหตุผลว่าถนนสายนี้มีความยาวมาก ทำให้การระบุที่อยู่และชื่อผู้รับทางไปรษณีย์ทำได้ไม่สะดวก อย่างไรก็ตาม การเปลี่ยนชื่อถนนประดิษฐ์มนูธรรมช่วงดังกล่าวได้ก่อให้เกิดเสียงคัดค้านขึ้นทั่วไป ทางคณะกรรมการกลางตั้งชื่อถนน ตรอก ซอย วงเวียน ทางแยก คลอง สะพาน และสถานที่สำคัญในเขตกรุงเทพมหานครจึงได้พิจารณาในเดือนธันวาคม พ.ศ. 2547 และให้เปลี่ยนชื่อถนนประเสริฐมนูกิจกลับมาเป็นถนนประดิษฐ์มนูธรรมตามเดิม ถนนประดิษฐ์มนูธรรมมีความยาว 12 กิโลเมตร เริ่มต้นจากปลายซอยสุขุมวิท 63 (เอกมัย) ในพื้นที่เขตห้วยขวาง มุ่งเหนือค่อนตะวันออกเฉียงเหนือ ตัดผ่านถนนพระราม 9 ข้ามคลองลาดพร้าวเข้าสู่พื้นที่เขตวังทองหลาง ตัดกับถนนประชาอุทิศและถนนลาดพร้าว ข้ามคลองทรงกระเทียมเข้าสู่เขตลาดพร้าว (ฟากตะวันออกของถนนกลายเป็นเส้นแบ่งเขตปกครองระหว่างเขตลาดพร้าวกับเขตวังทองหลาง เขตบางกะปิ และเขตบึงกุ่มตั้งแต่จุดนี้) จากนั้นตัดกับถนนประเสริฐมนูกิจ (เกษตร-นวมินทร์) ข้ามคลองโคกครามเข้าสู่พื้นที่เขตบางเขน และไปสิ้นสุดเส้นทางที่ถนนรามอินทราบริเวณกิโลเมตรที่ 5.5 ถนนมีความกว้าง 6 ช่องจราจร (ขาเข้าและขาออกอย่างละ 3 ช่องจราจร) มีเกาะกลางถนน โดยมีทางด่วนยกระดับอยู่บนเกาะกลางถนนช่วงตั้งแต่ถนนพระราม 9 ถึงถนนรามอินทรา กล่าวได้ว่าถนนสายนี้ขนานขนาบทางด่วน ชาวบ้านจึงมักเรียกว่า "ถนนเลียบทางด่วนรามอินทรา" มีสะพานลอยรถข้ามทางแยกบริเวณจุดตัดถนนลาดพร้าวและถนนประเสริฐมนูกิจด้วย ถนนสายนี้ยังมีทางจักรยานขนานไปกับทางเท้าริมถนน เป็นตัวอย่างที่ดีของการออกแบบถนนสายใหม่ในกรุงเทพฯ และเมืองต่าง ๆ สองข้างทางปลูกต้นไม้หลายชนิดให้ความสวยงามร่มรื่น เช่น ต้นปาล์มน้ำมันที่ปลูกเป็นทิวแถวเรียงรายไปตามทางเท้าริมถนน ถัดจากแถวต้นปาล์มก็จะมีแนวต้นประดู่บ้านอยู่ริมทางจักรยานอีกด้วย ปัจจุบันมีร้านอาหารแบบสวนอาหารตั้งอยู่เรียงรายตลอดแนวถนน โดยเฉพาะบริเวณใกล้จุดตัดถนนประเสริฐมนูกิจซึ่งมีบรรยากาศแบบชายทุ่งชานเมือง นอกจากนี้ยังมีโครงการพัฒนาหมู่บ้านจัดสรรราคาสูงหลายโครงการบนถนนเส้นนี้บนพื้นที่ซึ่งเดิมเป็นพื้นที่ตาบอด แต่ปัจจุบันกลายเป็นทำเลทองที่ไม่ไกลจากใจกลางเมือง.

ใหม่!!: ปรีดี พนมยงค์และถนนประดิษฐ์มนูธรรม · ดูเพิ่มเติม »

ถนนปรีดี พนมยงค์

นนปรีดี พนมยงค์ อาจหมายถึง.

ใหม่!!: ปรีดี พนมยงค์และถนนปรีดี พนมยงค์ · ดูเพิ่มเติม »

ทองคำ

ทองคำ (gold) คือธาตุเคมีที่มีหมายเลขอะตอม 79 และสัญลักษณ์คือ Au (มาจากภาษาละตินว่า aurum) จัดอยู่ในกลุ่มธาตุโลหะมีสกุลชนิดหนึ่ง ทองคำเป็นธาตุโลหะทรานซิชันสีเหลืองทองมันวาวเนื้ออ่อนนุ่ม สามารถยืดและตีเป็นแผ่นได้ ทองคำไม่ทำปฏิกิริยากับสารเคมีส่วนใหญ่ ทองคำใช้เป็นทุนสำรองทางการเงินของหลายประเทศ ใช้ประโยชน์เป็นเครื่องประดับ งานทันตกรรม และอุปกรณ์อิเล็กทรอนิก.

ใหม่!!: ปรีดี พนมยงค์และทองคำ · ดูเพิ่มเติม »

ทัณฑนิคม

ทัณฑนิคม (penal colony) หมายถึงถิ่นฐานซึ่งใช้สำหรับเนรเทศนักโทษและแยกพวกเขาจากประชากรส่วนใหญ่โดยการส่งตัวนักโทษเหล่านี้ไปยังสถานที่ที่อยู่ห่างไกล ซึ่งส่วนใหญ่มักเป็นเกาะหรือดินแดนอาณานิคมที่อยู่ไกลออกไป คำดังกล่าวมักหมายถึงประชาคมนักโทษซึ่งอยู่ภายใต้การควบคุมของนักโทษหรือผู้ว่าการซึ่งมีอำนาจเด็ดขาด ในทางประวัติศาสตร์ ทัณฑนิคมมักจะเป็นสถานที่ซึ่งมีการใช้แรงงานนักโทษในดินแดนของรัฐ (หรือส่วนใหญ่คืออาณานิคม) ซึ่งเศรษฐกิจอย่างไม่พัฒนา และมีขนาดใหญ่กว่า "ฟาร์มในคุก" อย่างมาก ในทางปฏิบัติแล้ว ทัณฑนิคมมีความเหนือกว่าประชาคมทาสเพียงเล็กน้อยเท่านั้น จักรวรรดิอังกฤษ จักรวรรดิฝรั่งเศส และจักรวรรดิอาณานิคมอื่น ๆ มักจะใช้ทวีปอเมริกาเหนือ และส่วนอื่น ๆ ของโลกเป็นทัณฑนิยมสำหรับโทษที่แตกต่างกัน ซึ่งบางครั้งอยู่ในฐานะความจำยอม การผูกมัดหรือการจัดการที่คล้ายคลึงกัน.

ใหม่!!: ปรีดี พนมยงค์และทัณฑนิคม · ดูเพิ่มเติม »

ทำเนียบท่าช้าง

ทำเนียบท่าช้าง หรือ วังถนนพระอาทิตย์ ตั้งอยู่บนถนนพระอาทิตย์ เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร เดิมเป็นบ้านของเจ้าพระยามหาโยธา (ทอเรียะ คชเสนี) บุตรเจ้าพระยามหาโยธานราธิบดีศรีพิชัยณรงค์ (พญาเจ่ง) ต้นสกุลคชเสนี เชื้อสายมอญ เจ้าพระยามหาโยธา (ทอเรีย)เป็นปู่ของเจ้าจอมมารดากลิ่นในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว และเป็นมรดกตกทอดมาถึง พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระนเรศรวรฤทธิ์ (พระองค์เจ้ากฤดาภินิหาร) ต่อมาในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวโปรดเกล้าฯ ให้สร้างตำหนัก 2 ชั้น เป็นที่ประทับของพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระนเรศวรฤทิธิ์และเจ้าจอมมารดา ต่อมาเรียกอาคารหลักนี้ว่า ตำหนักเดิม พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว พระราชทานทรัพย์ส่วนพระองค์สร้างตำหนักใหม่ ในปี พ.ศ. 2460 สร้างเป็นอาคารทรงยุโรปก่ออิฐถือปูน 2 ชั้น เรียกว่า วังมะลิวัลย์ จากนั้น พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระนเรศวรฤทธิ์ทรงย้ายไปประทับอยู่ ณ วังมะลิวัลย์จนสิ้นพระชนม์ในปี พ.ศ. 2468 ส่วนตำหนักเดิมนั้น สันนิษฐานว่าเป็นที่พำนักของเจ้าจอมมารดากลิ่น หลังจากที่พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระนเรศวรฤทธิ์สิ้นพระชนม์ พระโอรสองค์ใหญ่ซึ่งทรงเป็นผู้จัดการมรดก ได้ทูลเกล้าฯ ถวายร.7ขายตำหนักและที่ดินแก่พระคลังข้างที่ใน พ.ศ. 2468 ต่อมาหลังเปลี่ยนแปลงการปกครอง ตกมาเป็นกรรมสิทธิของ สำนักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์ ในปัจจุบัน ในรัชสมัยรัชกาลที่ 7 พระองค์พระราชทานตำหนักเดิม วังถนนพระอาทิตย์ ให้เป็นที่ประทับของสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระสวัสดิวัดนวิศิษฎ์ ต้นราชสกุลสวัสดิวัตน์ เมื่อพักได้ระยะหนึ่งจนตำหนักใหม่สูง 3 ชั้นสร้างเสร็จ ตำหนักเดิมจึงไม่มีผู้ใดอาศัย หลังเปลี่ยนแปลงการปกครอง โดยคณะราษฎร์ สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระสวัสดิวัดนวิศิษฏ์ เสด็จออกจากวังนี้ ทรงลี้ภัยทางการเมืองสู่ ปีนัง เข้าสู่ ร.8 ประมาณปี..

ใหม่!!: ปรีดี พนมยงค์และทำเนียบท่าช้าง · ดูเพิ่มเติม »

ทูต

ทูต มีความหมายว่า ตัวแทน, ผู้รับเจรจาแทน อาจหมายถึง.

ใหม่!!: ปรีดี พนมยงค์และทูต · ดูเพิ่มเติม »

ดอลลาร์สหรัฐ

100 ดอลลาร์สหรัฐ ธนบัตรที่มีค่ามากสุดในสหรัฐในปัจจุบัน ดอลลาร์สหรัฐ (United States dollar; ในเอกสารเก่าอาจพบการใช้ เหรียญสหรัฐ) เป็นสกุลเงินของประเทศสหรัฐอเมริกา และยังใช้เป็นสกุลเงินสำรองในหลายประเทศทั่วโลก รหัสสากลคือ ISO 4217 ใช้ตัวย่อว่า USD และสัญลักษณ์ $ โดย 1 ดอลลาร์สหรัฐมีค่าเท่ากับเกือบ 34 บาท (baht) สหรัฐอเมริกาเป็นประเทศหนึ่งที่ใช้หน่วยเงิน ดอลลาร์ เป็นสกุลเงินประจำชาติ และยังมีประเทศอื่นที่มีเงินดอลลาร์เช่นกัน แต่ใช้ชื่อเรียกอื่น เช่น ดอลลาร์สิงคโปร์ ดอลลาร์ฮ่องกง ดอลลาร์ไต้หวัน นอกจากนี้ ดอลลาร์สหรัฐ ยังเป็นสกุลเงินหลักในหลายประเทศ และในบางประเทศถึงแม้ว่าดอลลาร์สหรัฐไม่ใช่สกุลเงินหลัก แต่ยังมีการยอมรับในการใช้จ่ายสินค้าทั่วไป ชื่อเล่นที่ชาวอเมริกันเรียก 1 เซนต์ ว่า "เพนนี" (penny), 5 เซนต์ ว่า "นิกเกิล" (nickel), 10 เซนต์ ว่า "ไดม์" (dime), 25 เซนต์ ว่า "ควอเตอร์" (quarter), 1 ดอลลาร์สหรัฐ ว่า "บั๊ก (ภาษาสแลง, ภาษาพูด)" (buck) และเรียก หนึ่งพันดอลลาร์สหรัฐ ว่า แกรนด์ (grand).

ใหม่!!: ปรีดี พนมยงค์และดอลลาร์สหรัฐ · ดูเพิ่มเติม »

ดิเรก ชัยนาม

นายดิเรก ชัยนาม ศาสตราจารย์ ดิเรก ชัยนาม (18 มกราคม พ.ศ. 2447 - 1 พฤษภาคม พ.ศ. 2510) อดีตเอกอัครราชทูตไทยประจำกรุงโตเกียว กรุงลอนดอน และกรุงบอนน์ รองนายกรัฐมนตรี รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรมและคณบดีคณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ เคยได้รับการเสนอชื่อจากนายปรีดี พนมยงค์ ให้ดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรี แต่ได้ปฏิเสธที่จะรับตำแหน่ง และเคยได้รับการเสนอชื่อจากรัฐบาลไทย ต่อองค์การยูเนสโกให้ประกาศเกียรติคุณเป็นบุคคลสำคัญแห่งโลก แต่ไม่ได้รับพิจารณาเนื่องจากข้อเสนอของรัฐบาลไทยไม่เข้าข่ายที่จะได้รับการพิจารณ.

ใหม่!!: ปรีดี พนมยงค์และดิเรก ชัยนาม · ดูเพิ่มเติม »

ดุษฎี พนมยงค์

ษฎี พนมยงค์ บุญทัศนกุล (18 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2482) ศิลปินแห่งชาติ เป็นนักดนตรีแนวคลาสสิก เป็นหนึ่งในผู้บุกเบิกการเรียนการสอนวิชาขับร้องคลาสสิกในประเทศไทย มีผลงานผลิตครู อาจารย์ และนักร้องคลาสสิกที่มีคุณภาพอย่างต่อเนื่อง ปัจจุบันเป็นอาจารย์พิเศษวิชาสังคีตนิยม คณะศิลปศาสตร์และวิทยาศาสตร์มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ นอกจากนี้ยังได้ก่อตั้งและเป็นผู้อำนวยการคณะนักร้องประสานเสียงสวนพลู และยังเป็นวิทยากรบรรยายในหัวข้อการใช้ดนตรีเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตให้แก่ภาครัฐและเอกชนอย่างสม่ำเสมอ.

ใหม่!!: ปรีดี พนมยงค์และดุษฎี พนมยงค์ · ดูเพิ่มเติม »

คลองรังสิต

แผนที่แสดงคลองรังสิต ในเขตจังหวัดปทุมธานี คลองรังสิตประยูรศักดิ์ หรือมักเรียกสั้น ๆ ว่า คลองรังสิต เป็นคลองสายหลักในโครงการพัฒนาที่ดินขนาดใหญ่แห่งแรกของประเทศไทย ซึ่งเริ่มขึ้นในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว และเป็นโครงการคลองชลประทานเพื่อการเกษตรแห่งแรกของไทยที่ริเริ่มขึ้นเพื่อพัฒนาพื้นที่บริเวณทุ่งรังสิตให้เป็นแหล่งเพาะปลูกข้าว รองรับการขยายตัวของการส่งออกข้าว ซึ่งเป็นสินค้าส่งออกอันดับหนึ่งของไทยในขณะนั้น โครงการรังสิตนับเป็นโครงการพัฒนาที่ดินขนาดใหญ่ที่สุดในสมัยนั้น มีพื้นที่สัมปทานประมาณ 800,000 - 1,500,000 ไร่ ครอบคลุมพื้นที่ 5 จังหวัด ตั้งแต่ จังหวัดปทุมธานี บริเวณอำเภอธัญบุรี อำเภอคลองหลวง อำเภอหนองเสือ และอำเภอลำลูกกา, จังหวัดนครนายก ในเขตอำเภอองครักษ์, กรุงเทพมหานคร บริเวณเขตหนองจอกและเขตบางเขน, จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ที่อำเภอวังน้อย และจังหวัดสระบุรี ที่อำเภอหนองแค การขุดคลองตามโครงการรังสิตนับเป็นจุดเริ่มต้นของการพัฒนางานด้านชลประทานของประเทศไทย โดยเฉพาะการชลประทานเพื่อการเกษตรกรรม การขุดคลองรังสิตและคลองแยกต่าง ๆ ระหว่าง พ.ศ. 2433 - พ.ศ. 2448 ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทำให้พื้นที่รกร้างบริเวณทุ่งหลวงเปลี่ยนเป็นแหล่งเกษตรกรรมขนาดใหญ่ที่มีข้าวเป็นผลผลิตหลัก คลองรังสิตซึ่งเป็นคลองสายหลักจึงเปรียบเสมือนเส้นเลือดใหญ่ที่หล่อเลี้ยงชีวิตคนรังสิต เป็นทั้งแหล่งน้ำสำหรับเพาะปลูก เส้นทางคมนาคม ตลอดจนใช้ในการอุปโภคและบริโภค แม้การพัฒนาอุตสาหกรรมได้ทำให้คลองรังสิตลดความสำคัญในฐานะคลองส่งน้ำเพื่อการเกษตรกรรมลง เป็นเพียงคลองชลประทานสำหรับระบายน้ำ.

ใหม่!!: ปรีดี พนมยงค์และคลองรังสิต · ดูเพิ่มเติม »

ควง อภัยวงศ์

รองอำมาตย์เอก หลวงโกวิทอภัยวงศ์ หรือ พันตรี ควง อภัยวงศ์ (17 พฤษภาคม 2445 – 15 มีนาคม 2511) อดีตนายกรัฐมนตรีไทย 4 สมัย ผู้ก่อตั้งและหัวหน้าพรรคประชาธิปัตย์คนแรก ควง อภัยวงศ์เป็นสมาชิกคณะราษฎรสายพลเรือนซึ่งร่วมการปฏิวัติสยาม พ.ศ. 2475 เคยมีบรรดาศักดิ์เป็น รองอำมาตย์เอก หลวงโกวิทอภัยวง.ต.ควง ถือเป็นผู้บุกเบิกก่อตั้งกระทรวงคมนาคมยุคใหม่ เนื่องจากดำรงตำแหน่งเป็นรัฐมนตรีว่าการคนแรก ด้วยประสบการณ์ที่เคยรับราชการจนมีตำแหน่ง เป็นถึงอธิบดีกรมไปรษณีย์โทรเลข นอกจากนี้ยังเคย ดำรงตำแหน่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงพาณิชย์, กระทรวงการคลัง, กระทรวงเกษตราธิการ และกระทรวงมหาดไทยด้ว.

ใหม่!!: ปรีดี พนมยงค์และควง อภัยวงศ์ · ดูเพิ่มเติม »

คาร์ล มากซ์

ร์ล ไฮน์ริช มากซ์ (Karl Heinrich Marx, 5 พฤษภาคม พ.ศ. 2361 — 14 มีนาคม พ.ศ. 2426) เป็นนักปรัชญา นักเศรษฐศาสตร์ นักประวัติศาสตร์ นักทฤษฎีการเมือง นักสังคมวิทยา นักหนังสือพิมพ์และนักสังคมนิยมปฏิวัติชาวเยอรมัน มากซ์เกิดในครอบครัวชนชั้นกลางในเทรียร์ เขาศึกษากฎหมายและปรัชญาแบบเฮเกิล เนื่องจากงานพิมพ์การเมืองของเขาทำให้เขาไร้สัญชาติและอาศัยลี้ภัยในกรุงลอนดอน ซึ่งเขายังพัฒนาความคิดของเขาต่อโดยร่วมมือกับนักคิดชาวเยอรมัน ฟรีดริช เองเงิลส์ และจัดพิมพ์งานเขียนของเขา เรื่องที่ขึ้นชื่อของเขา ได้แก่ จุลสารปี 2391, แถลงการณ์พรรคคอมมิวนิสต์ และทุน จำนวนสามเล่ม ความคิดทางการเมืองและปรัชญาของเขามีอิทธิพลใหญ่หลวงต่อปัญญาชนรุ่นหลัง วิชาประวัติศาสตร์เศรษฐกิจและประวัติศาสตร์การเมือง ชื่อของเขาเป็นคำคุณศัพท์ นามและสำนักทฤษฎีสังคม ทฤษฎีของมากซ์เกี่ยวกับสังคม เศรษฐศาสตร์และการเมือง ที่เรียกรวมว่า ลัทธิมากซ์ ถือว่าสังคมมนุษย์พัฒนาผ่านการต่อสู้ระหว่างชนชั้น ในทุนนิยม การต่อสู้ระหว่างชนชั้นแสดงออกมาในรูปการต่อสู้ระหว่างชนชั้นปกครอง (เรียก ชนชั้นกระฎุมพี) ซึ่งควบคุมปัจจัยการผลิตและชนชั้นแรงงาน (เรียก ชนกรรมาชีพ) นำปัจจัยการผลิตดังกล่าวไปใช้โดยขายากำลังแรงงานของพวกตนเพื่อแลกกับค่าจ้าง มากซ์ใช้แนวเข้าสู่การศึกษาวิพากษ์ที่เรียก วัสดุนิยมทางประวัติศาสตร์ ทำนายว่าทุนนิยมจะก่อเกิดความตึงเครียดภายในซึงจะนำไปสู่การทำลายตนเองเช่นเดียวกับระบบสังคมและเศรษฐกิจก่อนหน้านี้ และแทนท่ด้วยระบบใหม่ คือ สังคมนิยม; สำหรับมากซ์ การต่อต้านชนชั้นภายใต้ทุนนิยมซึ่งบางส่วนมีสาเหตุจากความไม่มั่นคงและสภาพที่มีแนวโน้มเกิดวิกฤติ จะลงเอยด้วยการพัฒนาความสำนึกเรื่องชั้นชนของชนชั้นแรงงาน และนำไปสู่การพิชิตอำนาจทางการเมืองและสุดท้ายการสถาปนาสังคมคอมมิวนิสต์ปราศจากชนชั้นอันประกอบด้วยการรวมกันเป็นสมาคมอิสระของผู้ผลิต มากซ์เรียกร้องให้นำความคิดดังกล่าวไปปฏิบัติอย่างแข็งขัน โดยแย้งว่าชนชั้นแรงงานควรเป็นผู้ลงมือปฏิวัติแบบจัดระเบียบเพื่อโค่นทุนนิยมและนำมาซึ่งการปลดปล่อยให้เป็นอิสระทางสังคมและเศรษฐกิจ มีผู้อธิบายว่ามากซ์เป็นบุคคลทรงอิทธิพลมากที่สุดคนหนึ่งในประวัติศาสตร์มนุษย์ และงานของเขาได้รับการสรรเสริญและวิพากษ์ งานของเขาในวิชาเศรษฐศาสตร์วางรากฐานสำหรับความเข้าใจในปัจจุบันของแรงงานและความสัมพันธ์กับทุน และความคิดทางเศษฐศาสตร์สมัยหลัง ปัญญาชน สหภาพแรงงาน ศิลปินและพรรคการเมืองจำนวนมากทั่วโลกได้รับอิทธิพลจากงานของมากซ์ มีหลายคนดัดแปลงหรือรับความคิดของเขามาใช้ มักออกชื่อมากซ์ว่าเป็นผู้สร้างสังคมศาสตร์สมัยใหม่คนสำคัญคนหนึ่ง.

ใหม่!!: ปรีดี พนมยงค์และคาร์ล มากซ์ · ดูเพิ่มเติม »

คณะกรรมการกฤษฎีกา (ประเทศไทย)

ณะกรรมการกฤษฎีกา (Council of State) เป็นคณะกรรมการกฤษฎีกาแห่งประเทศไทย ขึ้นตรงต่อนายกรัฐมนตรี มีหน้าที่ตรวจพิจารณาร่างกฎหมายและยกร่างกฎหมาย กับทั้งให้ความเห็นทางกฎหมายแก่รัฐบาลและหน่วยงานของรัฐ คณะกรรมการกฤษฎีกามีสำนักงานเลขานุการคือ สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีก.

ใหม่!!: ปรีดี พนมยงค์และคณะกรรมการกฤษฎีกา (ประเทศไทย) · ดูเพิ่มเติม »

คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 9

นายพันเอก หลวงพิบูลสงคราม (แปลก ขีตตะสังคะ) นายกรัฐมนตรีคนที่ 3 หัวหน้าคณะรัฐมนตรีคณะที่ 9 หลวงพรหมโยธี คณะรัฐมนตรี คณะที่ 9 ของไทย (16 ธันวาคม พ.ศ. 2481 - 7 มีนาคม พ.ศ. 2485) นายพันเอก หลวงพิบูลสงคราม (แปลก ขีตตะสังคะ) เป็นนายกรัฐมนตรี ประกาศพระบรมราชโองการลงวันที่ 16 ธันวาคม พ.ศ. 2481 คณะผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ ประกอบด้วย พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอาทิตย์ทิพอาภา เจ้าพระยายมราช (ปั้น สุขุม) และนายพลเอก เจ้าพระยาพิชเยนทรโยธิน (อุ่น อินทรโยธิน) ลงนามในประกาศ พระยามานวราชเสวี (ปลอด ณ สงขลา) ประธานสภาผู้แทนราษฎร เป็นผู้รับสนองพระบรมราชโองการ.

ใหม่!!: ปรีดี พนมยงค์และคณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 9 · ดูเพิ่มเติม »

คณะราษฎร

ณะราษฎร (อ่านว่า "คะ-นะ-ราด-สะ-ดอน"; มักสะกดผิดเป็น คณะราษฎร์) คือ กลุ่มบุคคลที่ดำเนินการการปฏิวัติสยาม พ.ศ. 2475 ยึดอำนาจจากพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว และเปลี่ยนแปลงระบอบการปกครองของประเทศสยาม จากสมบูรณาญาสิทธิราชย์มาเป็นราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญ อาจได้ชื่อว่าเป็นพรรคการเมืองพรรคแรกของไท.

ใหม่!!: ปรีดี พนมยงค์และคณะราษฎร · ดูเพิ่มเติม »

คณะนิติศาสตร์ปรีดี พนมยงค์ มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์

ณะนิติศาสตร์ปรีดี พนมยงค์ มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์เริ่มดำเนินการจัดการศึกษาระดับปริญญาตรี ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2518 ปริญญาโท และปริญญาเอก คณะนิติศาสตร์ปรีดี พนมยงค์ ได้ปรับปรุงและพัฒนาหลักสูตรอย่างต่อเนื่อง เพื่อให้หลักสูตรทุกหลักสูตรทันสมัยสอดคล้องกับความต้องการของสังคม และเพื่อสนองตอบต่อหน่วยงานทั้งภาครัฐและเอกชน โดยจะเน้นหนักการผลิตบัณฑิตและมหาบัณฑิตที่มีความรอบรู้ในกฎหมาย และมีความรับผิดชอบต่อสังคม.

ใหม่!!: ปรีดี พนมยงค์และคณะนิติศาสตร์ปรีดี พนมยงค์ มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ · ดูเพิ่มเติม »

ตั้ว ลพานุกรม

รองอำมาตย์เอก ตั้ว ลพานุกรม (21 ตุลาคม พ.ศ. 2441- 27 สิงหาคม พ.ศ. 2484)น้าชาด สำนักพิมพ์ข่าวสด ฉบับวันที่ 5 ตุลาคม..

ใหม่!!: ปรีดี พนมยงค์และตั้ว ลพานุกรม · ดูเพิ่มเติม »

ซุน ยัตเซ็น

นายแพทย์ ซุน ยัตเซ็น (12 พฤศจิกายน ค.ศ. 1866 - 12 มีนาคม ค.ศ. 1925) เป็นนักปฏิวัติ และ ได้รับการกล่าวขานว่าเป็น "บิดาของชาติ" ในสาธารณรัฐจีน และ "ผู้บุกเบิกการปฏิวัติประชาธิปไตย" ในสาธารณรัฐประชาชนจีน ด้วยความเป็นผู้ริเริ่มจีนชาตินิยมคนสำคัญ ซุนมีบทบาทสำคัญในจุดประกายการโค่นล้มราชวงศ์ชิงที่ปกครองแผ่นดินจีนเป็นราชวงศ์สุดท้ายและเกือบนำประเทศไปสู่ความหายนะ ซุนได้ปลุกกระแสให้ชาวจีนหันมาตระหนักถึงความล้มเหลวของราชวงศ์ชิง กระทั่งกลายเป็นกระแสต่อต้านราชวงศ์และนำไปสู่การปฏิวัติซินไฮ่ ซึ่งเปลี่ยนประเทศจีนเป็นประชาธิปไตยแบบสาธารณรัฐ ซุนเป็นประธานาธิบดีเฉพาะกาลคนแรกเมื่อสาธารณรัฐจีนก่อตั้งขึ้นใน..

ใหม่!!: ปรีดี พนมยงค์และซุน ยัตเซ็น · ดูเพิ่มเติม »

ปฐมจุลจอมเกล้า

ปฐมจุลจอมเกล้า มีอักษรย่อว่า ป..

ใหม่!!: ปรีดี พนมยงค์และปฐมจุลจอมเกล้า · ดูเพิ่มเติม »

ประชาธิปไตย

รัฐที่มิได้มองว่าตนปกครองระบอบประชาธิปไตย ได้แก่ นครรัฐวาติกัน ประเทศซาอุดิอาระเบีย UAE กาตาร์ โอมาน ฟิจิและบรูไน ประชาธิปไตยเป็นระบอบการปกครองแบบหนึ่งซึ่งการบริหารอำนาจรัฐมาจากเสียงข้างมากของพลเมือง ผู้เป็นเจ้าของอำนาจอธิปไตย โดยพลเมืองอาจใช้อำนาจของตนด้วยตนเองหรือผ่านผู้แทนที่เลือกไปใช้อำนาจแทนก็ได้ ประชาธิปไตยยังเป็นอุดมคติที่ว่าพลเมืองทุกคนในชาติร่วมกันพิจารณากฎหมายและการปฏิบัติของรัฐ และกำหนดให้พลเมืองทุกคนมีโอกาสแสดงความยินยอมและเจตนาของตนเท่าเทียมกัน ประชาธิปไตยเกิดขึ้นในบางนครรัฐกรีกโบราณช่วงศตวรรษที่ 5 ก่อนคริสตกาล โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ในเอเธนส์หลังการก่อการกำเริบเมื่อ 508 ปีก่อนคริสตกาล ประชาธิปไตยแบบนี้เรียกว่า ประชาธิปไตยทางตรง ซึ่งพลเมืองเกี่ยวข้องในกระบวนการทางการเมืองโดยตรง แต่ประชาธิปไตยในปัจจุบันเป็นประชาธิปไตยแบบมีผู้แทน โดยสาธารณะออกเสียงในการเลือกตั้งและเลือกนักการเมืองเป็นผู้แทนตนในรัฐสภา จากนั้น สมาชิกสภาจะเป็นผู้ตัดสินใจด้วยเสียงข้างมาก ประชาธิปไตยทางตรงยังมีอยู่ในระดับท้องถิ่นหลายประเทศ เช่น การเลือกตั้งสมาชิกเทศบาล อย่างไรก็ดี ในระดับชาติ ความเป็นประชาธิปไตยทางตรงมีเพียงการลงประชามติ การริเริ่มออกกฎหมายและการถอดถอนผู้ได้รับเลือกตั้ง แม้ในปัจจุบัน ประชาธิปไตยจะยังไม่มีนิยามที่ได้รับการยอมรับโดยทั่วกันก็ตาม แต่มีการระบุว่าความเสมอภาคและอิสรภาพเป็นคุณลักษณะสำคัญของประชาธิปไตยนับแต่โบราณกาลR.

ใหม่!!: ปรีดี พนมยงค์และประชาธิปไตย · ดูเพิ่มเติม »

ประภาส จารุเสถียร

อมพล จอมพลเรือ จอมพลอากาศ พลตำรวจเอก ประภาส จารุเสถียร (5 ธันวาคม พ.ศ. 2455 — 18 สิงหาคม พ.ศ. 2540) อดีตรองนายกรัฐมนตรี, อดีตผู้บัญชาการทหารบก, อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย, อดีตอธิบดีกรมตำรวจ และอดีตอธิการบดีจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลั.

ใหม่!!: ปรีดี พนมยงค์และประภาส จารุเสถียร · ดูเพิ่มเติม »

ประมวลรัษฎากร

ประมวลรัษฎากร เป็นชื่อของกฎหมายภาษีอากรฉบับหนึ่ง มีผลใช้บังคับโดยพระราชบัญญัติให้ใช้บทบัญญัติแห่งประมวลรัษฎากร..

ใหม่!!: ปรีดี พนมยงค์และประมวลรัษฎากร · ดูเพิ่มเติม »

ประยูร ภมรมนตรี

รองอำมาตย์เอก นายพลโท ประยูร ภมรมนตรี ราชบัณฑิตกิตติมศักดิ์ เป็นหนึ่งในคณะผู้ก่อการปฏิวัติสยาม พ.ศ. 2475 ฝ่ายพลเรือน อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข และอดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ เป็นเหลนของพระยาราชมนตรี (ภู่ ภมรมนตรี) เสนาบดีพระคลังในรัชกาลที่๓ เป็นบุตรของ พันตรี พระชำนาญคุรุวิทย์ (แย้ม ภมรมนตรี) ทูตทหารประจำจักรวรรดิเยอรมัน กับมารดาที่เป็นชาวเยอรมัน ซึ่งเป็นครูสอนภาษาเยอรมันให้กับนักเรียนในจักรวรรดิเยอรมันขณะนั้น2475: สองฝั่งประชาธิปไตย, สารคดี: ทีวีไทย พฤหัสบดีที่ 26 กรกฎาคม พ.ศ. 2555 ชื่อ แพทย์หญิงแอนเนลี ไฟร์ พลโท ประยูร ภมรมนตรี เป็นผู้เสนอจัดตั้งโรงแรมขนาดใหญ่ เพื่อรองรับความเจริญของกรุงเทพมหานคร หลังสงครามโลกครั้งที่สอง เมื่อปี..

ใหม่!!: ปรีดี พนมยงค์และประยูร ภมรมนตรี · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศฝรั่งเศส

ฝรั่งเศส (France ฟร็องส์) หรือชื่อทางการว่า สาธารณรัฐฝรั่งเศส (République française) เป็นประเทศที่มีศูนย์กลางตั้งอยู่ในภูมิภาคยุโรปตะวันตก ทั้งยังประกอบไปด้วยเกาะและดินแดนอื่น ๆ ในต่างทวีป ประเทศฝรั่งเศสแผ่นดินใหญ่ทอดตัวตั้งแต่ทะเลเมดิเตอร์เรเนียนจนถึงช่องแคบอังกฤษและทะเลเหนือ และจากแม่น้ำไรน์จนถึงมหาสมุทรแอตแลนติก ชาวฝรั่งเศสมักเรียกแผ่นดินใหญ่ว่า หกเหลี่ยม (L'Hexagone) เนื่องจากรูปทรงทางกายภาพของประเทศ ประเทศฝรั่งเศสปกครองด้วยระบอบกึ่งประธานาธิบดี โดยยึดอุดมการณ์จากปฏิญญาว่าด้วยสิทธิของมนุษย์และของพลเมือง ประเทศฝรั่งเศสมีพรมแดนติดกับประเทศเบลเยียม ลักเซมเบิร์ก เยอรมนี สวิตเซอร์แลนด์ อิตาลี โมนาโก อันดอร์ราและสเปน และเนื่องจากประเทศฝรั่งเศสมีดินแดนโพ้นทะเลไว้ในครอบครอง ทำให้มีอาณาเขตติดกับประเทศบราซิล ซูรินาม (ติดกับเฟรนช์เกียนา) และซินต์มาร์เตินของเนเธอร์แลนด์ (ติดกับแซ็ง-มาร์แต็ง) อีกด้วย นอกจากนั้นประเทศฝรั่งเศสยังเชื่อมกับสหราชอาณาจักรทางอุโมงค์ช่องแคบอังกฤษอีกด้วย ประเทศฝรั่งเศสเคยเป็นหนึ่งในประเทศมหาอำนาจของโลกตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 17 เป็นต้นมา ในคริสต์ศตวรรษที่ 18 และ 19 จักรวรรดิฝรั่งเศสเป็นหนึ่งในประเทศจักรวรรดินิยมที่มีอาณานิคมในครอบครองมากที่สุดในโลก แผ่อาณาเขตตั้งแต่แอฟริกาตะวันตกจนถึงเอเชียอาคเนย์ ซึ่งเห็นได้ชัดจากอิทธิพลทางวัฒนธรรม ภาษาและการเมืองการปกครองของดินแดนนั้น ๆ ประเทศฝรั่งเศสถูกจัดให้เป็นประเทศที่พัฒนาแล้วและมีเศรษฐกิจใหญ่เป็นอันดับที่ 6 ของโลก ประเทศฝรั่งเศสยังเป็นประเทศที่มีนักท่องเที่ยวมากที่สุดในโลกอีกด้วย โดยมีนักท่องเที่ยวชาวต่างชาติกว่า 82 ล้านคนต่อปี ประเทศฝรั่งเศสเป็นประเทศผู้ก่อตั้งสหภาพยุโรปและมีพื้นที่ใหญ่ที่สุดในกลุ่มประเทศอีกด้วย ประเทศฝรั่งเศสยังเป็นประเทศผู้ก่อตั้งสหประชาชาติ เป็นสมาชิกประชาคมผู้ใช้ภาษาฝรั่งเศสโลก จีแปด นาโต้และสหภาพละติน ประเทศฝรั่งเศสยังเป็นสมาชิกถาวรของคณะมนตรีความมั่นคงแห่งสหประชาชาติและเป็นมหาอำนาจนิวเคลียร์ที่มีหัวรบนิวเคลียร์กว่า 360 หัวรบและเตาปฏิกรณ์นิวเคลียร์ 59 แห่ง.

ใหม่!!: ปรีดี พนมยงค์และประเทศฝรั่งเศส · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศสวิตเซอร์แลนด์

วิตเซอร์แลนด์ (Switzerland; die Schweiz; la Suisse; Svizzera; Svizra) มีชื่อทางการว่า สมาพันธรัฐสวิส (Swiss Confederation; Confoederatio Helvetica) เป็นประเทศขนาดเล็กที่ไม่มีทางออกสู่ทะเล และตั้งอยู่ในทวีปยุโรปตะวันตก โดยมีพรมแดนติดกับ ประเทศเยอรมนี ประเทศฝรั่งเศส ประเทศอิตาลี ประเทศออสเตรีย และประเทศลิกเตนสไตน์ นอกจากจะมีความเป็นกลางทางการเมืองแล้ว สวิตเซอร์แลนด์นับว่ามีการร่วมมือกันระหว่างประเทศเป็นอย่างมาก เนื่องจากเป็นที่ตั้งขององค์กรนานาชาติหลายแห่ง นอกจากนี้ลักษณะของประเทศยังคล้ายกับประเทศเบลเยียม.

ใหม่!!: ปรีดี พนมยงค์และประเทศสวิตเซอร์แลนด์ · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศสิงคโปร์

ประเทศสิงคโปร์ มีชื่ออย่างเป็นทางการว่า สาธารณรัฐสิงคโปร์ เป็นนครรัฐสมัยใหม่และประเทศเกาะที่มีขนาดเล็กที่สุดในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ตั้งอยู่นอกปลายทิศใต้ของคาบสมุทรมลายูและอยู่เหนือเส้นศูนย์สูตร 137 กิโลเมตร ดินแดนของประเทศประกอบด้วยเกาะหลักรูปสี่เหลี่ยมขนมเปียกปูน ซึ่งมักเรียกว่าเกาะสิงคโปร์ในภาษาอังกฤษ และเกาะอูจง (Pulau Ujong) ในภาษามลายู และเกาะที่เล็กกว่ามากอีกกว่า 60 เกาะ ประเทศสิงคโปร์แยกจากคาบสมุทรมลายูโดยช่องแคบยะฮอร์ทางทิศเหนือ และจากหมู่เกาะเรียวของประเทศอินโดนีเซียโดยช่องแคบสิงคโปร์ทางทิศใต้ ประเทศมีลักษณะแบบเมืองอย่างสูง และคงเหลือพืชพรรณดั้งเดิมเล็กน้อย ดินแดนของประเทศขยายอย่างต่อเนื่องโดยการแปรสภาพที่ดิน หมู่เกาะมีการตั้งถิ่นฐานในคริสต์ศตวรรษที่ 2 และต่อมาเป็นของจักรวรรดิท้องถิ่นต่าง ๆ สิงคโปร์สมัยใหม่ก่อตั้งใน..

ใหม่!!: ปรีดี พนมยงค์และประเทศสิงคโปร์ · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศจีน

ประเทศจีน มีชื่ออย่างเป็นทางการว่า สาธารณรัฐประชาชนจีน (People's Republic of China (PRC)) เป็นรัฐเอกราชในเอเชียตะวันออก เป็นประเทศที่มีประชากรมากที่สุดในโลก กว่า 1,300 ล้านคน เป็นรัฐพรรคการเมืองเดียวปกครองโดยพรรคคอมมิวนิสต์จีน มีเมืองหลวงอยู่ที่กรุงปักกิ่ง ประเทศจีนแบ่งการปกครองออกเป็น 22 มณฑล (ไม่รวมพื้นที่พิพาทไต้หวัน) 5 เขตปกครองตนเอง 4 เทศบาลนคร (ปักกิ่ง เทียนจิน เซี่ยงไฮ้ และฉงชิ่ง) และ 2 เขตบริหารพิเศษ ได้แก่ ฮ่องกงและมาเก๊า ประเทศจีนมีพื้นที่ 9.6 ล้านตารางกิโลเมตร นับเป็นประเทศที่มีพื้นที่ทั้งหมดใหญ่ที่สุดในโลกเป็นอันดับ 3 หรือ 4 แล้วแต่วิธีการวัด ลักษณะภูมิประเทศของจีนมีความหลากหลาย ตั้งแต่ป่าสเต็ปป์และทะเลทรายในพื้นที่แห้งแล้งทางตอนเหนือของประเทศติดกับประเทศมองโกเลียและไซบีเรียของรัสเซีย และป่าฝนกึ่งโซนร้อนในพื้นที่ชื้นทางใต้ซึ่งติดกับเวียดนาม ลาว และพม่า ส่วนภูมิประเทศทางตะวันตกนั้นขรุขระและเป็นที่สูง โดยมีเทือกเขาหิมาลัยและเทือกเขาเทียนชานกั้นเป็นพรมแดนตามธรรมชาติกับประเทศอินเดีย เนปาล และเอเชียกลาง ในทางตรงกันข้าม แนวชายฝั่งด้านตะวันออกของจีนแผ่นดินใหญ่นั้นเป็นที่ราบต่ำ และมีแนวชายฝั่งยาว 14,500 กิโลเมตร (ยาวที่สุดเป็นอันดับที่ 11 ของโลก) ซึ่งติดต่อกับทะเลจีนใต้ทางใต้ และทะเลจีนตะวันออกทางตะวันออก นอกจากนี้ยังมีประเทศที่เป็นเกาะอยู่ใกล้เคียง ได้แก่ เกาหลี และญี่ปุ่น อารยธรรมจีนโบราณ ซึ่งถือว่าเป็นหนึ่งอารยธรรมยุคแรกเริ่มของโลก เจริญรุ่งเรืองในลุ่มแม่น้ำเหลืองอันอุดมสมบูรณ์ ซึ่งไหลผ่านที่ราบลุ่มจีนเหนือ จีนยึดระบบการเมืองแบบราชาธิปไตยหลายสหัสวรรษ จีนรวมกันเป็นปึกแผ่นครั้งแรกในสมัยราชวงศ์ฉินเมื่อ 221 ปีก่อนคริสตกาล ส่วนราชวงศ์สุดท้าย ราชวงศ์ชิง สิ้นสุดลงในปี..

ใหม่!!: ปรีดี พนมยงค์และประเทศจีน · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศไทย

ประเทศไทย มีชื่ออย่างเป็นทางราชการว่า ราชอาณาจักรไทย เป็นรัฐชาติอันตั้งอยู่ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เดิมมีชื่อว่า "สยาม" รัฐบาลประกาศเปลี่ยนชื่อเป็นประเทศไทยอย่างเป็นทางการตั้งแต่ปี 2482 ประเทศไทยมีขนาดใหญ่เป็นอันดับที่ 50 ของโลก มีเนื้อที่ 513,115 ตารางกิโลเมตร และมีประชากรมากเป็นอันดับที่ 20 ของโลก คือ ประมาณ 66 ล้านคน กรุงเทพมหานครเป็นศูนย์กลางการบริหารราชการแผ่นดินและนครใหญ่สุดของประเทศ และการปกครองส่วนภูมิภาค จัดระเบียบเป็น 76 จังหวัด แม้จะมีการสถาปนาระบอบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญและประชาธิปไตยระบบรัฐสภาในปี 2475 แต่กองทัพยังมีบทบาทในการเมืองไทยสูง ล่าสุด เกิดรัฐประหารเมื่อวันที่ 22 พฤษภาคม 2557 และมีการปกครองแบบเผด็จการทหารนับแต่นั้น พบหลักฐานการอยู่อาศัยอย่างต่อเนื่องในอาณาเขตประเทศไทยปัจจุบันตั้งแต่ 20,000 ปีก่อนคริสตกาล ชาวไทเริ่มอพยพเข้าสู่บริเวณนี้ในคริสต์ศตวรรษที่ 11 แล้วเข้ามาตั้งแว่นแคว้นต่าง ๆ ที่สำคัญได้แก่ อาณาจักรสุโขทัย อาณาจักรล้านนาและอาณาจักรอยุธยา นักประวัติศาสตร์มักถือว่าอาณาจักรสุโขทัยเป็นจุดเริ่มต้นของประวัติศาสตร์ไทย ต่อมาอาณาจักรอยุธยาค่อย ๆ เรืองอำนาจมากขึ้นจนเป็นมหาอำนาจในภูมิภาคในปลายคริสต์ศตวรรษที่ 14 การติดต่อกับชาติตะวันตกเริ่มด้วยผู้แทนทางทูตชาวโปรตุเกสในปี 2054 อาณาจักรรุ่งเรืองอย่างมากในรัชกาลสมเด็จพระนารายณ์มหาราช (ครองราชย์ปี 2199–2231) แต่หลังจากนั้นค่อย ๆ เสื่อมอำนาจโดยมีสาเหตุส่วนหนึ่งจากการผลัดแผ่นดินที่มีการนองเลือดหลายรัชกาล จนสุดท้ายกรุงศรีอยุธยาถูกทำลายสิ้นเชิงในปี 2310 สมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรีทรงรวบรวมแผ่นดินที่แตกออกเป็นก๊กต่าง ๆ และสถาปนาอาณาจักรธนบุรีที่มีอายุ 15 ปี ความวุ่นวายในช่วงปลายอาณาจักรนำไปสู่การสำเร็จโทษพระองค์โดยพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช ปฐมราชวงศ์จักรีแห่งกรุงรัตนโกสินทร์ ช่วงต้นกรุงรัตนโกสินทร์ ประเทศเผชิญภัยคุกคามจากชาติใกล้เคียง แต่หลังรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวเป็นต้นมา ชาติตะวันตกเริ่มมีอิทธิพลในภูมิภาคเป็นอย่างมาก นำไปสู่การเข้าเป็นภาคีแห่งสนธิสัญญาไม่เป็นธรรมหลายฉบับ กระนั้น สยามไม่ตกเป็นอาณานิคมของตะวันตกชาติใด มีการปรับให้สยามทันสมัยและรวมอำนาจปกครองในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (ครองราชย์ปี 2411–53) สยามเข้าร่วมกับฝ่ายสัมพันธมิตรในสงครามโลกครั้งที่หนึ่งในปี 2460; ในปี 2475 เกิดการปฏิวัติเปลี่ยนแปลงการปกครองสู่ระบอบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญโดยไม่เสียเลือดเนื้อ คณะราษฎรมีบทบาทนำทางการเมือง และในพุทธทศวรรษ 2480 นายกรัฐมนตรี จอมพล แปลก พิบูลสงคราม ดำเนินนโยบายชาตินิยมเข้มข้น ระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง ไทยเข้ากับฝ่ายอักษะ แต่ฝ่ายสัมพันธมิตรส่วนใหญ่ไม่ยอมรับการประกาศสงคราม ในช่วงสงครามเย็น ประเทศไทยเป็นพันธมิตรกับสหรัฐซึ่งสนับสนุนรัฐบาลทหารมาก รัฐประหารที่มีจอมพล สฤษดิ์ ธนะรัชต์เป็นหัวหน้าคณะในปี 2500 ทำให้คณะราษฎรหมดอำนาจ รัฐบาลฟื้นฟูพระราชอำนาจและมีมาตรการต่อต้านคอมมิวนิสต์ในภูมิภาค ผลของเหตุการณ์ 14 ตุลา 2516 ทำให้เกิดประชาธิปไตยระบบรัฐสภาช่วงสั้น ๆ ประเทศไทยมีนายกรัฐมนตรีจากการเลือกตั้งครั้งแรกในปี 2531 หลังพุทธทศวรรษ 2540 มีวิกฤตการเมืองระหว่างฝ่ายที่สนับสนุนและต่อต้านอดีตนายกรัฐมนตรีทักษิณ ชินวัตรมาจนปัจจุบัน รวมทั้งเกิดรัฐประหารสองครั้ง โดยครั้งล่าสุดเกิดในปี 2557 รัฐธรรมนูญฉบับปัจจุบันเป็นฉบับที่ 20 ประกาศใช้เมื่อวันที่ 6 เมษายน 2560 หลังมีการลงประชามติรับร่างเมื่อหนึ่งปีก่อน ประเทศไทยเป็นสมาชิกสหประชาชาติ เอเปก อีกทั้งเป็นร่วมผู้ก่อตั้งอาเซียน ประเทศไทยเป็นพันธมิตรของสหรัฐตั้งแต่สนธิสัญญาซีโต้ในปี 2497 ถือเป็นประเทศอำนาจนำภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และประเทศอำนาจปานกลางในเวทีโลก ประเทศไทยเป็นประเทศที่มีรายได้ปานกลาง-สูงและประเทศอุตสาหกรรมใหม่ มีรายได้หลักจากภาคอุตสาหกรรมและบริการ การเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจทำให้มีการอพยพเข้าสู่เมืองในคริสต์ศตวรรษที่ 20 ตามประมาณการในปี 2560 จีดีพีของประเทศไทยมีมูลค่าราว 432,898 ล้านดอลลาร์สหรัฐ นับว่าเศรษฐกิจไทยเป็นเศรษฐกิจใหญ่สุดเป็นอันดับ 2 ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และใหญ่เป็นอันดับที่ 26 ของโลก.

ใหม่!!: ปรีดี พนมยงค์และประเทศไทย · ดูเพิ่มเติม »

ปลาปล้องทองปรีดี

ปลาปล้องทองปรีดี (Mini dragon loach, Dr.) ปลาน้ำจืดขนาดเล็กชนิดหนึ่ง ในวงศ์ปลาค้อ (Balitoridae) มีรูปร่างเรียวยาวคล้ายปลาไหล แต่ทว่าลำตัวแบนข้าง หัวทู่สั้น ตาเล็ก มีหนวด 2 คู่อยู่เหนือปาก และอีก 2 คู่อยู่ใต้ปาก ลำตัวมีสีเหลืองสลับดำเป็นปล้อง ๆ ดูแลสวยงาม มีขนาดโตเต็มที่ประมาณ 4 นิ้ว เป็นปลาที่เพิ่งค้นพบใหม่ของโลก พบที่ลำธารบนภูเขาสูงในเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าดอยเชียงดาว อำเภอเชียงดาว จังหวัดเชียงใหม่ ที่เดียวในโลกเท่านั้น โดยอาศัยอยู่ในลำธารน้ำที่ไหลแรงและเย็น การศึกษาทางนิเวศวิทยาของปลาชนิดนี้ยังไม่ค่อยเป็นที่รู้จัก เนื่องจากเป็นปลาชนิดใหม่และพบได้น้อย แต่เชื่อว่า ออกหากินในเวลากลางคืน เคลื่อนไหวได้ว่องไวมาก โดยกินอาหารได้แก่ แมลงน้ำ หรือ สิ่งมีชีวิตขนาดเล็กในลำธารเหมือนปลาชนิดอื่น ในวงศ์และสกุลเดียวกัน ถูกตั้งชื่อสายพันธุ์เพื่อเป็นเกียรติแก่ นายปรีดี พนมยงค์ รัฐบุรุษอาวุโสของไท.

ใหม่!!: ปรีดี พนมยงค์และปลาปล้องทองปรีดี · ดูเพิ่มเติม »

ปอนด์สเตอร์ลิง

ปอนด์สเตอร์ลิง (pound sterling) คือ มาตราเงินของอังกฤษ.

ใหม่!!: ปรีดี พนมยงค์และปอนด์สเตอร์ลิง · ดูเพิ่มเติม »

ปารีส

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: ปรีดี พนมยงค์และปารีส · ดูเพิ่มเติม »

ปาล พนมยงค์

ปาล พนมยงค์ (12 ธันวาคม พ.ศ. 2474 - 9 กันยายน พ.ศ. 2524) เป็นนักกฎหมาย บุตรชายคนโตของ ศาสตราจารย์ ดร.ปรีดี พนมยงค์ รัฐบุรุษอาวุโส อดีตนายกรัฐมนตรีของไทย กับ ท่านผู้หญิงพูนศุข พนมยงค์ (สกุลเดิม: ณ ป้อมเพชร์).

ใหม่!!: ปรีดี พนมยงค์และปาล พนมยงค์ · ดูเพิ่มเติม »

นายกรัฐมนตรีไทย

นายกรัฐมนตรีไทย เป็นประธานแห่งคณะรัฐมนตรีไทย และทำหน้าที่หัวหน้ารัฐบาลของประเทศไทย โดยมีจุดกำเนิดมาจากการปฏิวัติสยาม พ.ศ. 2475 ในการเปลี่ยนแปลงการปกครองสู่ราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญและประชาธิปไตยระบบรัฐสภา โดยปกติแล้วนายกรัฐมนตรีในระบอบประชาธิปไตยจะมีที่มาจากสภาผู้แทนราษฎรไทย ซึ่งโดยหลักแล้วถือว่านายกรัฐมนตรีมีต้องมาจากการแต่งตั้งทางอ้อมโดยประชาชน แต่รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (ฉบับชั่วคราว) พุทธศักราช 2557 กำหนดให้พระมหากษัตริย์ทรงแต่งตั้งนายกรัฐมนตรีตามมติสภานิติบัญญัติแห่งชาติ (สภาที่พระมหากษัตริย์ทรงแต่งตั้ง) ซึ่งผลการลงมติเลือกนายกรัฐมนตรีปรากฏว่า พลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา หัวหน้าคณะรักษาความสงบแห่งชาติ ได้รับเลือกเป็นนายกรัฐมนตรี.

ใหม่!!: ปรีดี พนมยงค์และนายกรัฐมนตรีไทย · ดูเพิ่มเติม »

แอนโทนี อีเดน

แอนโทนี อีเดน เอิร์ลแห่งเอวอง (Anthony Eden, 1st Earl of Avon) เป็นนักการเมืองชาวอังกฤษจากพรรคอนุรักษนิยม เคยดำรงตำแหน่งรัฐมนตรีว่าการต่างประเทศสามสมัย รัฐมนตรีว่าการสงคราม รัฐมนตรีว่าการอาณานิคม และนายกรัฐมนตรี เขาได้เข้าเป็นสมาชิกรัฐสภาตั้งแต่อายุยังน้อย โดยได้เป็นรัฐมนตรีว่าการต่างประเทศขณะมีอายุเพียง 38 ปี ก่อนที่จะลาออกเพื่อเป็นการประท้วงนายกรัฐมนตรีเนวิล เชมเบอร์ลิน จากนโยบายโอนอ่อนผ่อนปรณต่อมุสโสลินี ผู้นำอิตาลีขณะนั้น ต่อมาเขาได้กลับมารับตำแหน่งนี้อีกครั้งในรัฐบาลของวินสตัน เชอร์ชิล และอยู่ในตำแหน่งนี้ตลอดช่วงเวลาของสงครามโลกครั้งที่สอง เขายังเป็นผู้นำอันดับสองในรัฐบาลของเชอร์ชิลยาวนานกว่า 15 ปี ก่อนที่เขาจะได้สืบต่อตำแหน่งนายกรัฐมนตรีจากเชอร์ชิลในปี..

ใหม่!!: ปรีดี พนมยงค์และแอนโทนี อีเดน · ดูเพิ่มเติม »

แปลก พิบูลสงคราม

งครามอินโดจีน พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เมื่อครั้งผนวชทรงรับบาตรจากจอมพล ป. นายกรัฐมนตรีในขณะนั้น จอมพล จอมพลเรือ จอมพลอากาศ แปลก พิบูลสงคราม (14 กรกฎาคม พ.ศ. 2440 – 11 มิถุนายน พ.ศ. 2507) หรือที่เรียกกันทั่วไปว่า "จอมพล ป.พิบูลสงคราม" เป็นนายกรัฐมนตรีไทยที่ดำรงตำแหน่งนานที่สุด คือ 14 ปี 11 เดือน 18 วัน รวม 8 สมัย และเป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย มีนโยบายที่สำคัญคือ การมุ่งมั่นพัฒนาประเทศไทย ให้มีความเจริญรุ่งเรืองทัดเทียมนานาอารยประเทศ มีการปลุกระดมให้คนไทยรู้สึกรักชาติ โดยออกประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วย "รัฐนิยม" หลายอย่าง ซึ่งบางอย่างได้ประกาศเป็นกฎหมายในภายหลัง หลายอย่างกลายเป็นวัฒนธรรมของชาติ เช่น การรำวง, ก๋วยเตี๋ยวผัดไทย เป็นผู้เปลี่ยนชื่อ "ประเทศสยาม" เป็น "ประเทศไทย" และเป็นผู้เปลี่ยน "เพลงชาติไทย" มาเป็นเพลงที่ใช้กันอยู่ในปัจจุบัน คำขวัญที่รู้จักกันดีของนายกรัฐมนตรีผู้นี้คือ "เชื่อผู้นำชาติพ้นภัย" หรือ "ท่านผู้นำไปไหนฉันไปด้วย" และ "ไทยอยู่คู่ฟ้า" ในสายตานักวิชาการประวัติศาสตร์การเมืองไทยส่วนหนึ่งเห็นว่า จอมพล ป. พิบูลสงคราม เป็นเผด็จการทางทหารที่มีบทบาททางการเมืองสูง และให้ความสนใจกับความคิดที่ส่อไปในทางเชื้อชาตินิยม จอมพล ป. พิบูลสงคราม ถึงแก่อสัญกรรม เมื่อวันที่ 11 มิถุนายน พ.ศ. 2507 ในเวลาประมาณ 20.30 น. ณ บ้านพักส่วนตัว ชานกรุงโตเกียว สิริอายุได้ 67 ปี.

ใหม่!!: ปรีดี พนมยงค์และแปลก พิบูลสงคราม · ดูเพิ่มเติม »

แนบ พหลโยธิน

แนบ พหลโยธิน แนบ พหลโยธิน อดีตนักการเมืองและหนึ่งในสมาชิกคณะราษฎร ผู้กระทำการเปลี่ยนแปลงการปกครอง พ.ศ. 2475 แนบ พหลโยธิน เป็นบุตรของ พลโท พระยาพหลโยธินรามินทรภักดี (นพ พหลโยธิน) บิดาเป็นพี่ชายของพันเอก พระยาพหลพลพยุหเสนา (พจน์ พหลโยธิน) จบการศึกษาจากโรงเรียนราชวิทยาลัย (โรงเรียน ภ.ป.ร. ราชวิทยาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์ ในปัจจุบัน) จบการศึกษาเนติบัณฑิต ประเทศอังกฤษ ระหว่างการศึกษาอยู่ยังประเทศอังกฤษนั้น ได้ร่วมกับนักเรียนไทยที่ประเทศอังกฤษ และประเทศฝรั่งเศสส่วนหนึ่ง ก่อตั้งคณะราษฎรขึ้นมา โดยที่แนบ ถือเป็นสมาชิกรุ่นแรก ที่มีด้วยกันทั้งหมด 7 คน ซึ่งนอกจากนายแนบแล้ว ยังประกอบด้วย ปรีดี พนมยงค์, ร้อยโท แปลก ขีตตะสังคะ, จรูญ สิงหเสนี, ประยูร ภมรมนตรี, ร้อยโท ทัศนัย มิตรภักดี และตั้ว ลพานุกรม ในการประชุมครั้งแรกที่บ้านพักเลขที่ 9 ถนนซอมเมอราร์ด กรุงปารีส เมื่อวันที่ 5 กุมภาพัน..

ใหม่!!: ปรีดี พนมยงค์และแนบ พหลโยธิน · ดูเพิ่มเติม »

โมฆะ

มฆะ (void) มีความหมายโดยทั่วไปว่า เปล่า ว่าง ไม่มีประโยชน์ หรือไม่มีผล โดยในทางกฎหมายนั้นหมายความว่า เสียเปล่า หรือไม่มีผลบังคับหรือผูกพันตามกฎหมายราชบัณฑิตยสถาน, 2551: ออนไลน.

ใหม่!!: ปรีดี พนมยงค์และโมฆะ · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนมัธยมวัดเบญจมบพิตร

ก่าอาคารพระพุทธเจ้าหลวง ปัจจุบันได้รับการขึ้นทะเบียนเป็นโบราณสถาน ภาพหน้าบันอาคารพระพุทธเจ้าหลวง โรงเรียนมัธยมวัดเบญจมบพิตร (Mathayom Wat Benchamabophit School) ตั้งอยู่ในบริเวณวัดเบญจมบพิตรดุสิตวนาราม เขตดุสิต กรุงเทพมหานคร ในเนื้อที่ประมาณ 5 ไร่ 42 ตารางวา อยู่ในเขตพระราชฐาน เป็นโรงเรียนในเขตกรุงเทพมหานครที่เปิดสอนเฉพาะนักเรียนชาย (โรงเรียนชายล้วน) ตามพระราชดำริของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว มีพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชกำเนิดเมื่อ ร..119 (พ.ศ. 2443) พระองค์ทรงกำหนดหลักสูตรแนวการสอนด้วยพระองค์เอง และเปิดสอนตั้งแต่วันที่ 5 พฤษภาคม 2444 มีนักเรียน 40 คน เป็นโรงเรียนในพระบรมราชูปถัมภ์โดยตรงไม่ขึ้นตรงต่อกระทรวงธรรมการสมัยนั้น หลังจากนั้นทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯให้พระบรมวงศานุวงศ์ ชั้นผู้ใหญ่และเสนาบดีกระทรวงธรรมการ ร่วมกันวางแผนปรับปรุงโรงเรียนมัธยมวัดเบญจมบพิตร ที่สำคัญยิ่งก็คือ พระองค์ได้พระราชทานทุนทรัพย์ส่วนพระองค์สร้างอาคารถาวรเป็นตึกทรงยุโรปสถาปัตยกรรมแบบ Neo-Classic และทรงห่วงใยในเรื่องการก่อสร้างเป็นอย่างยิ่ง แม้ในสิ่งเล็กๆ น้อยๆ ก็ต้องได้รับพระราชทาน บรมราชานุญาตทุกอย่าง โรงเรียนมัธยมวัดเบญจมบพิตรปัจจุบันเปิดสอนชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น และชั้นมัธยมศึกษาตอนปล.

ใหม่!!: ปรีดี พนมยงค์และโรงเรียนมัธยมวัดเบญจมบพิตร · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย

รงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย (อักษรย่อ: ส.ก./S.K.) เป็นโรงเรียนชายล้วนในระดับชั้น มัธยมศึกษา สังกัด สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ ก่อตั้งโดย พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ปัจจุบันตั้งอยู่เลขที่ 88 ถนนตรีเพชร แขวงวังบูรพาภิรมย์ เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร บนเนื้อที่ 11 ไร่ 2 งาน 23 ตารางวา ประกอบด้วยอาคารเรียน 7 หลัง ห้องเรียนทั้งหมด 78 ห้อง นอกจากนี้โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัยยังโดดเด่นในเรื่องคุณภาพมาตรฐานของศิษย์เก่าที่จบไปโดยเฉพาะด้านวิชาการ ภาษา และความเป็นผู้นำ โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย เป็น 1 ในกลุ่มโรงเรียนจตุรมิตรสามัคคี ซึ่งประกอบด้วย โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย โรงเรียนเทพศิรินทร์ โรงเรียนอัสสัมชัญ และโรงเรียนกรุงเทพคริสเตียนวิทยาลัย มีการแข่งขันฟุตบอลระหว่างทีมของทั้ง 4 โรงเรียน โดยแต่ละโรงเรียนจะผลัดกันเป็นเจ้าภาพในทุกๆ 2 ปี นอกจากการแข่งขันฟุตบอล ยังมี การแปรอักษร ของทั้ง 4 โรงเรียน ซึ่งเป็นอีกสัญลักษณ์สำคัญของงาน โดยกีฬาจตุรมิตรสามัคคีจะจัดขึ้นในทุกๆ 4 ปี ที่ สนามศุภชลาศัย นอกจากนี้ โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย ยังมีงานกรีฑาสวนกุหลาบสัมพันธ์ และงานชุมนุมลูกเสือสวนกุหลาบสัมพันธ์ ซึ่งจัดขึ้นร่วมกับโรงเรียนใน เครือสวนกุหลาบวิทยาลัย เป็นประจำทุกปี โดยแต่ละโรงเรียนจะผลัดกันเป็นเจ้.

ใหม่!!: ปรีดี พนมยงค์และโรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนอยุธยาวิทยาลัย

รงเรียนอยุธยาวิทยาลัย (Ayutthaya Wittayalai School) เป็นโรงเรียนประจำจังหวัดพระนครศรีอยุธยา เปิดทำการสอนตั้งแต..

ใหม่!!: ปรีดี พนมยงค์และโรงเรียนอยุธยาวิทยาลัย · ดูเพิ่มเติม »

โฮจิมินห์

มินห์ (Hồ Chí Minh, โห่ จี๊ มิญ; คำแปล "แสงสว่างที่นำทาง") เป็นนักปฏิวัติชาวเวียดนาม ซึ่งในภายหลังได้กลายมาเป็นนายกรัฐมนตรีและประธานาธิบดีแห่งสาธารณรัฐประชาธิปไตยเวียดนาม (เวียดนามเหนือ) หลังจากสิ้นสุดของสงครามเวียดนาม ไซ่ง่อน เมืองหลวงเก่าของเวียดนามใต้ ได้ถูกเปลี่ยนชื่อมาเป็นนครโฮจิมินห์ เพื่อเป็นเกียรติแก่โฮจิมินห์ โฮจิมินห์ เป็นบุคคลที่ชาวเวียดนามถือว่าเป็นบุคคลที่มีความสำคัญเป็นอย่างยิ่งต่อการประกาศอิสรภาพของเวียดนาม.

ใหม่!!: ปรีดี พนมยงค์และโฮจิมินห์ · ดูเพิ่มเติม »

โจว เอินไหล

วเอินไหล (5 มีนาคม พ.ศ. 2441 – 8 มกราคม พ.ศ. 2519) ผู้นำสำคัญของพรรคคอมมิวนิสต์จีน เคยเป็นนายกรัฐมนตรีของสาธารณรัฐประชาชนจีน ตั้งแต..

ใหม่!!: ปรีดี พนมยงค์และโจว เอินไหล · ดูเพิ่มเติม »

โจเซฟ สตาลิน

ซฟ สตาลิน (รัสเซีย: Иосиф Виссарионович Сталин Iosif Vissarionovich Stalin อิโอซิฟ วิซซาริโอโนวิช สตาลิน; อังกฤษ: Joseph Stalin) (1 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1878 - 5 มีนาคม ค.ศ. 1953) เป็นผู้นำของสหภาพโซเวียต ตั้งแต่กลางทศวรรษที่ 1920 ถึง..

ใหม่!!: ปรีดี พนมยงค์และโจเซฟ สตาลิน · ดูเพิ่มเติม »

ไสว สุทธิพิทักษ์

ร.ไสว สุทธิพิทักษ์ ดร.ไสว สุทธิพิทักษ์ (10 มีนาคม พ.ศ. 2460 - 22 กันยายน พ.ศ. 2537) ผู้ก่อตั้งมหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ อธิการบดีคนแรกของมหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ อดีตกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ คณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ และอดีตกรรมการสภาหอการค้าแห่งประเทศไทย รวมทั้งยังเคยเป็นผู้แทนฝ่ายไทยในการประสานงานกับกองบัญชาการกองทัพพันธมิตร ในช่วงสงครามโลกครั้งที่สอง.

ใหม่!!: ปรีดี พนมยงค์และไสว สุทธิพิทักษ์ · ดูเพิ่มเติม »

เบนิโต มุสโสลินี

นีโต อามิลกาเร อานเดรอา มุสโสลีนี (Benito Amilcare Andrea Mussolini) เรียกชื่อโดยทั่วไปว่า "อิลดูเช" (Il Duce) แปลว่า "ท่านผู้นำ" เป็นจอมเผด็จการและนายกรัฐมนตรีของประเทศอิตาลี (พ.ศ. 2465 – พ.ศ. 2486) เกิดเมื่อวันที่ 29 กรกฎาคม พ.ศ. 2426 ในครอบครัวที่ยากจนที่เมืองโดวีอาดีเปรดัปปีโอ (Dovia di Predappio) ในจังหวัดฟอร์ลิ แคว้นเอมีเลีย-โรมัญญา แต่ด้วยเวลาไม่นาน มุสโสลีนีได้กลายเป็นนักสังคมนิยมยุวชนที่หลักแหลมและมีอันตราย แต่ต่อมาต้องลาออกจากพรรคสังคมนิยมอิตาลีเนื่องจากสนับสนุนการเข้าแทรกแซงสงครามโลกครั้งที่ 1 ในปี พ.ศ. 2462 มุสโสลีนีได้เข้าร่วมการก่อตั้งพรรคสันนิบาตการต่อสู้แห่งอิตาลี (Fasci Italiani di Combattimento) หรือพรรคฟาสซิสต์เพื่อเตรียมเป็นกองกำลังปฏิวัติ ในปี พ.ศ. 2465 ได้เป็นนายกรัฐมนตรีซึ่งฉลองชัยชนะด้วย "การสวนสนามแห่งโรม" (เดือนตุลาคม) ล่วงมาถึงปี พ.ศ. 2468 เขาได้สถาปนาตนเองเป็นเผด็จการเต็มรูปแบบ บังคับให้ยกเลิกระบบรัฐสภาทดแทนด้วย "รัฐบรรษัท" (Corporate State) และวางระบบรวบอำนาจอย่างเป็นทางการ ได้จัดตั้งนครรัฐวาติกัน (พ.ศ. 2472) บุกยึดอะบิสซิเนีย (ตั้งแต่ พ.ศ. 2478-พ.ศ. 2479 ปัจจุบันคือเอธิโอเปีย) และแอลเบเนีย (พ.ศ. 2482) ไว้ในการครอบครอง พร้อมกับการประกาศเข้าร่วมเป็นฝ่ายอักษะกับอดอล์ฟ ฮิตเลอร์แห่งประเทศเยอรมนี มุสโสลินีถูกจับกุมตัวได้เมื่อวันที่ 27 เมษายน พ.ศ. 2488 โดยกองกำลังปาร์ติซานของพรรคคอมมิวนิสต์อิตาลี ที่บริเวณใกล้ชายแดนอิตาลี-สวิสเซอร์แลนด์ ในขณะที่เขาพยายามจะหลบหนีออกจากอิตาลี และถูกประหารชีวิตด้วยการยิงเป้าในข้อหาทรยศต่อชาติ ในวันที่ 28 เมษายน พ.ศ. 2488 โดยคำตัดสินลับหลังของคณะลูกขุนแห่งคณะกรรมการปลดแอกแห่งชาติ ร่างของมุสโสลินี อนุภรรยา และผู้นิยมลัทธิฟาสซิสต์คนอื่นๆ อีกประมาณ 15 คน ได้ถูกนำไปยังเมืองมิลาโน เพื่อแขวนประจานต่อสาธารณชน.

ใหม่!!: ปรีดี พนมยงค์และเบนิโต มุสโสลินี · ดูเพิ่มเติม »

เภา เพียรเลิศ บริภัณฑ์ยุทธกิจ

ลเอก เภา เพียรเลิศ บริภัณฑ์ยุทธกิจ (10 พฤศจิกายน พ.ศ. 2436 - 3 เมษายน พ.ศ. 2513) ราชบัณฑิตกิตติมศักดิ์ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง และ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงพาณิชย์ ในสมัยรัฐบาลของจอมพล ป. พิบูลสงคราม.

ใหม่!!: ปรีดี พนมยงค์และเภา เพียรเลิศ บริภัณฑ์ยุทธกิจ · ดูเพิ่มเติม »

เสรีภาพ

รีภาพ, อิสรภาพ หรือเสรีธรรม ในทางปรัชญา หมายถึง เจตจำนงเสรี ซึ่งตรงข้ามกับนิยัตินิยม ในทางการเมือง เสรีภาพประกอบด้วยเสรีภาพทางสังคมและการเมืองที่รับประกันแก่พลเมืองทุกคน ในทางเทววิทยา เสรีภาพ คือ อิสรภาพจากพันธะบาป.

ใหม่!!: ปรีดี พนมยงค์และเสรีภาพ · ดูเพิ่มเติม »

เสรีไทย

รีไทย (Free Thai Movement) เป็นขบวนการใต้ดินที่ดำเนินการระหว่างสงครามมหาเอเชียบูรพา ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของสงครามโลกครั้งที่สอง ในช่วง พ.ศ. 2484 - 2488 มีวัตถุประสงค์เพื่อต่อต้านการรุกรานของกองทัพจักรวรรดิญี่ปุ่น รักษาเอกราชและอธิปไตยของชาติไทย ขบวนการเสรีไทยกำเนิดขึ้นในวันที่ 8 ธันวาคม..

ใหม่!!: ปรีดี พนมยงค์และเสรีไทย · ดูเพิ่มเติม »

เหมา เจ๋อตง

หมา เจ๋อตง หรือ เหมา เจ๋อตุง (26 ธันวาคม พ.ศ. 2436 — 9 กันยายน พ.ศ. 2519) หรือที่นิยมเรียกอีกอย่างว่า ท่านประธานเหมา เป็นผู้ก่อตั้งพรรคคอมมิวนิสต์แห่งประเทศจีน และทำให้จีนเปลี่ยนระบอบการปกครองแบบคอมมิวนิสต์มาจนถึงปัจจุบัน.

ใหม่!!: ปรีดี พนมยงค์และเหมา เจ๋อตง · ดูเพิ่มเติม »

เหรียญพิทักษ์รัฐธรรมนูญ

หรียญพิทักษ์รัฐธรรมนูญ (The Safeguarding the Constitution Medal) เป็นเหรียญสำหรับพระราชทานเป็นบำเหน็จความกล้าหาญ สำหรับพระราชทานแก่ ผู้ช่วยเหลือราชการทั้งฝ่ายทหารและพลเรือนในการปราบกบฏบวรเดช เมื่อ..

ใหม่!!: ปรีดี พนมยงค์และเหรียญพิทักษ์รัฐธรรมนูญ · ดูเพิ่มเติม »

เหรียญดุษฎีมาลา

หรียญดุษฎีมาลา เป็นเหรียญราชอิสริยาภรณ์สำหรับพระราชทานเป็นที่ระลึก เรียกอย่างไม่เป็นทางการว่า เหรียญแพรแถบ เป็นเหรียญบำเหน็จความชอบในราชการ ซึ่งพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงพระกรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อมให้สร้างขึ้นในปี..

ใหม่!!: ปรีดี พนมยงค์และเหรียญดุษฎีมาลา · ดูเพิ่มเติม »

เอเชียตะวันออกเฉียงใต้

อเชียตะวันออกเฉียงใต้, อุษาคเนย์ หรือ เอเชียอาคเนย์ เป็นอนุภูมิภาคของทวีปเอเชีย ประกอบด้วยประเทศต่าง ๆ ซึ่งทิศเหนือติดจีน ทิศตะวันตกติดอินเดีย ทิศตะวันออกติดปาปัวนิวกินี และทิศใต้ติดออสเตรเลีย ภูมิภาคดังกล่าวตั้งอยู่บนรอยต่อของแผ่นทวีปหลายแผ่นที่ยังมีการไหวสะเทือนรุนแรงและการปะทุของภูเขาไฟอยู่ต่อเนื่อง เอเชียตะวันออกเฉียงใต้แบ่งได้ภาคภูมิศาสตร์ได้สองภาค ได้แก่ เอเชียตะวันออกเฉียงใต้แผ่นดินใหญ่หรืออินโดจีน ประกอบด้วย กัมพูชา ลาว พม่า ไทย เวียดนาม และมาเลเซียตะวันตก และเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ภาคพื้นสมุทร ประกอบด้วยบรูไน มาเลเซียตะวันออก ติมอร์-เลสเต อินโดนีเซีย ฟิลิปปินส์ และสิงคโปร.

ใหม่!!: ปรีดี พนมยงค์และเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ · ดูเพิ่มเติม »

เผด็จการทหาร

ระบอบเผด็จการทหาร (military dictatorship) คือ ระบอบการปกครองที่อำนาจทางการเมืองขึ้นอยู่กับกองทัพ ถือได้ว่าเป็นการปกครองแบบคณาธิปไตยลัทธิอำนาจนิยมอย่างหนึ่ง เผด็จการทหารต่างจากเผด็จการพลเรือนด้วยหลายสาเหตุ คือ แรงจูงใจของการยึดอำนาจ สถาบันซึ่งใช้จัดระเบียบการปกครอง และหนทางสละอำนาจ เผด็จการทหารมักมองว่าตนกำลังช่วยให้ประเทศชาติพ้นจากนักการเมืองพลเรือนที่ฉ้อฉลหรือวิสัยทัศน์คับแคบ และอ้างฐานะของตนเป็นผู้ชี้ขาด "คนกลาง" บนฐานสมาชิกภาพในกองทัพ ผู้นำทหารมักปกครองเป็นคณะผู้ยึดอำนาจการปกครอง โดยเลือกหนึ่งในพวกตนเป็นหัวหน้.

ใหม่!!: ปรีดี พนมยงค์และเผด็จการทหาร · ดูเพิ่มเติม »

เผ่า ศรียานนท์

ลเอก พลเรือเอก พลอากาศเอก พลตำรวจเอก เผ่า ศรียานนท์ (1 มีนาคม พ.ศ. 2452 — 21 พฤศจิกายน พ.ศ. 2503) อดีตอธิบดีกรมตำรว..

ใหม่!!: ปรีดี พนมยงค์และเผ่า ศรียานนท์ · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าพระยาพิชเยนทรโยธิน (อุ่ม อินทรโยธิน)

ลเอก เจ้าพระยาพิชเยนทรโยธิน (อุ่ม พิชเยนทรโยธิน) เกิดเมื่อวันที่ 7 มีนาคม พ.ศ. 2411 ที่บ้านถนนพระสุเมรุ บางลำพูบน ในกำแพงพระนคร เป็นบุตรนายเสงี่ยม อินทรโยธิน มีตำแหน่งเป็นมหาดเล็กวิเศษอยู่เวรศักดิ์ และคุณหญิงชม้าย อินทรโยธิน มีพี่น้องรวมท่านด้วยทั้งสิ้น 8 คน เป็นหญิงคนโต นอกนั้นเป็นชายทั้งหมด โดยท่านเป็นคนที่ 3 ได้รับการศึกษาชั้นต้นที่โรงเรียนหลวงในพระบรมมหาราชวัง ในสำนักพระยาอนุกูล (ชม) และได้เข้าศึกษาวิชาทหารในสำนักพระยาวิเศษสัจธาดา ได้ศึกษาวิชาภาษาอังกฤษในสำนักครูลำดัส ได้ถวายตัวเป็นทหารรักษาพระองค์ในสมเด็จพระบรมโอรสาธิราช เจ้าฟ้ามหาวชิรุณหิศ สยามมกุฎราชกุมาร ในปี พ.ศ. 2427 ได้บวชเป็นสามเณรอยู่วัดรังสีในสำนักท่านอาจารย์สี เมื่อสึกจากสามเณรแล้วได้ไปศึกษาวิชาภาษาอังกฤษในสำนักหมอแมกฟาร์แลนด์เป็นเวลา 3 ปี แล้วสมัครเข้าเป็นนักเรียนนายร้อยทหารบก วังสราญรมย์เมื่อเรียนจบหลักสูตรแล้วก็เข้ารับราชการในกรมทหารราบที่ 4 เมื่อปี 2433 ได้ย้ายเข้าประจำกองโรงเรียนนายร้อยทหารบก ได้ไปในกองข้าหลวงใหญ่เพื่อปราบโจรผู้ร้ายหัวเมืองฝ่ายตะวันออก เมื่อครั้งที่ พลเอกเจ้าพระยาสุรศักดิ์มนตรี ผู้บัญชาการทหารบก ได้รับโปรดเกล้าโปรดกระหม่อม ให้เป็นข้าหลวงใหญ่ในการปราบปรามโจรผู้ร้ายนั้น จากนั้นก็ได้เลื่อนยศเป็นว่าที่ร้อยโทปลัดกองโรงเรียนนายร้อยทหารบก ในปี พ.ศ. 2435 ได้ย้ายไปรับราชการประจำกองร้อยที่ 1 ในกรมทหารราบที่ 1 มหาดเล็กรักษาพระองค์ในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว จากนั้นก็ได้เลื่อนยศเป็นว่าที่ร้อยเอกเป็นผู้บังคับกองร้อยที่ 4 กองพันที่ 1 ในกรมทหารราบที่ 3 ของพระยาอนุชิตชาญไชย ไปราชการทัพมณฑลอีสานที่เมืองอุบลราชธานี ในปี พ.ศ. 2437 ได้รับพระราชทานสัญญาบัตรเป็นร้อยเอกในกรมทหารบก มีบรรดาศักดิ์เป็นหลวงสรสิทธยานุภาพ เมื่อสมเด็จพระบรมโอรสาธิราช เจ้าฟ้ามหาวชิรุณทิศฯ ทิวงคต ก็ได้รับพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ออกไปรับราชการเป็นองครักษ์ประจำองค์สมเด็จพระบรมโอรสาธิราช เจ้าฟ้ามหาวชิราวุธ สยามมกุฎราชกุมาร ซึ่งทรงศึกษาอยู่ในประเทศอังกฤษ พร้อมกับ พลตรีพระยาเสมอใจราช ข้าหลวงผู้เชิญเครื่องราชอิสริยยศไปทูลเกล้าฯ ที่กรุงลอนดอน ในการสถาปนาขึ้นเป็นสมเด็จพระบรมโอรสาธิราช สยามมกุฎราชกุมาร ของสมเด็จเจ้าฟ้ามหาวชิราวุธ ระหว่างที่รับราชการประจำพระองค์สมเด็จพระบรมโอรสาธิราช เจ้าฟ้ามหาวชิราวุธ สยามมกุฎราชกุมาร ประทับอยู่ที่ประเทศอังกฤษ ก็ได้ตามเสด็จพระราชดำเนินไปทุกหนทุกแห่ง และได้ศึกษาวิชาทหารบางวิชาโดยเสด็จ สมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯสยามมกุฎราชกุมารด้วย ในปี พ.ศ. 2443 ได้ตามเสด็จฯ สมเด็จพระอนุชาธิราช เจ้าฟ้าจักรพงษ์ภูวนาถ กรมหลวงพิษณุโลกประชานาถ ไปในงานพระบรมศพสมเด็จพระเจ้าอุมแบร์โตที่ 1 แห่งอิตาลี ในเดือน กันยายน 2444 ได้ตามเสด็จฯ ไปในงานพระบรมศพสมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรียแห่งสหราชอาณาจักร ในเดือนพฤษภาคม 2445 ได้ตามเสด็จฯ ไปในงานบรมราชาภิเษก พระเจ้าอัลฟังโซแห่งสเปน ในเดือน มิถุนายน 2445 ได้รับพระราชทานสัญญาบัตรเป็น.ต. และได้ตามเสด็จฯ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวไปประเทศนอร์เวย์ และประเทศเดนมาร์ก เมื่อสมเด็จพระบรมโอรสาธิราช เจ้าฟ้ามหาวชิราวุธ สยามมกุฎราชกุมาร ทรงสำเร็จการศึกษาแล้ว ได้เสด็จประพาสไปเยี่ยมเยียนพระราชสำนักและเมืองต่างๆ ในยุโรป อเมริกา และญี่ปุ่น ก็ได้ตามเสด็จฯ ไปด้วย ได้เสด็จฯ นิวัตกลับกรุงเทพฯ ทางอเมริกาถึงกรุงเทพฯ เมื่อปลายเดือน ก..

ใหม่!!: ปรีดี พนมยงค์และเจ้าพระยาพิชเยนทรโยธิน (อุ่ม อินทรโยธิน) · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าพระยายมราช (ปั้น สุขุม)

มหาอำมาตย์นายก มหาเสวกเอก นายพลเสือป่า นายพันเอก นายนาวาอากาศเอก เจ้าพระยายมราช (ปั้น สุขุม) (15 กรกฎาคม พ.ศ. 2405 - 30 ธันวาคม พ.ศ. 2481) อดีตผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ในสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวอานันทมหิดล อภิรัฐมนตรี เสนาบดีกระทรวงโยธาธิการ เสนาบดีกระทรวงนครบาล ทั้งยังเป็นผู้ควบคุมการก่อสร้าง การประปานครหลวง การไฟฟ้ามหานคร ถนนและสะพานในกรุงเทพมหานครอีกด้ว.

ใหม่!!: ปรีดี พนมยงค์และเจ้าพระยายมราช (ปั้น สุขุม) · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าพระยาศรีธรรมาธิเบศ (จิตร ณ สงขลา)

มหาอำมาตย์เอก เจ้าพระยาศรีธรรมาธิเบศ (จิตร ณ สงขลา) (30 ตุลาคม พ.ศ. 2428 - 25 กันยายน พ.ศ. 2519) ป.., ม.ป.., ม.ว.ม., ร..ม. (ศ.) ขุนนาง 5 แผ่นดิน อดีตประธานศาลฎีกา เสนาบดีกระทรวงยุติธรรม และรัฐมนตรีหลายกระทรวง เคยดำรงตำแหน่ง ประธานรัฐสภา และประธานสภาผู้แทนราษฎร ได้รับพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ ให้ดำรงตำแหน่งองคมนตรี ประธานองคมนตรี และเป็นคนสุดท้ายที่ได้รับสถาปนาเป็นเจ้าพระยา ภายหลังเปลี่ยนแปลงการปกครอง เจ้าพระยาศรีธรรมาธิเบศ มีบทบาทในคณะรัฐมนตรีหลายคณะ โดยดำรงตำแหน่งเป็น รัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรม กระทรวงการต่างประเทศ กระทรวงสาธารณสุข และ กระทรวงการคลัง ภายหลังพ้นภารกิจทางการเมืองแล้ว ได้รับพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ ให้ดำรงตำแหน่งองคมนตรี และเคยดำรงตำแหน่ง ประธานองคมนตรี ในรัชกาลที่ 9 นอกจากได้รับราชการและทำงานด้านการเมือง เจ้าพระยาศรีธรรมาธิเบศยังมีความสำคัญกับวงการประกันชีวิตของไทย โดยเมื่อ ปี..

ใหม่!!: ปรีดี พนมยงค์และเจ้าพระยาศรีธรรมาธิเบศ (จิตร ณ สงขลา) · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าสุภานุวงศ์

้าชายอุดทอง สุภานุวงศ์ หรือ เจ้าสุภานุวงศ์ หรือ ประธานสุภานุวงศ์ (ສຸພານຸວົງ) เกิดเมื่อวันที่ 13 กรกฎาคม พ.ศ. 2452 ที่เมืองหลวงพระบาง เป็นเชื้อพระวงศ์ราชวงศ์ล้านช้างหลวงพระบาง เป็นประธานประเทศ (ประธานาธิบดี) สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว คนแรกหลังจากลาวเปลี่ยนแปลงการปกครองจากราชอาณาจักรมาเป็นสาธารณรัฐเมื่อปี พ.ศ. 2518 ทั่วโลกรู้จักในสมญานาม "เจ้าชายแดง" หรือ "The Red Prince".

ใหม่!!: ปรีดี พนมยงค์และเจ้าสุภานุวงศ์ · ดูเพิ่มเติม »

เทศบาล

ำนักงานเทศบาลนครสุราษฎร์ธานี เทศบาล เป็นรูปแบบการปกครองส่วนท้องถิ่นรูปแบบหนึ่งที่ใช้ในประเทศไทยปัจจุบัน การปกครองรูปแบบเทศบาลเป็นการกระจายอำนาจให้แก่ท้องถิ่นดำเนินการปกครองตนเองตามระบอบประชาธิปไตย เกิดขึ้นในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว โดยเริ่มจากการจัดตั้งสุขาภิบาลกรุงเทพฯ ร..116 (พ.ศ. 2440) โดยมีพระราชกำหนดสุขาภิบาลกรุงเทพฯ ร.ศ. 116 ในส่วนภูมิภาค มีการตราพระราชบัญญัติจัดการสุขาภิบาลท่าฉลอม ร.ศ. 124 (พ.ศ. 2448) ขึ้นมีวิวัฒนาการเรื่อยมา จนถึงปี พ.ศ. 2475 ได้มีการเปลี่ยนแปลงการปกครอง ได้มีการกระจายอำนาจการปกครองที่สมบูรณ์แบบยิ่งขึ้น โดยมีการจัดตั้งเทศบาลขึ้นในปี พ.ศ. 2476 โดยมีการตราพระราชบัญญัติจัดระเบียบเทศบาล..

ใหม่!!: ปรีดี พนมยงค์และเทศบาล · ดูเพิ่มเติม »

เดือน บุนนาค

ตราจารย์ เดือน บุนนาค ราชบัณฑิตกิตติมศักดิ์ อดีตรองนายกรัฐมนตรี อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงพาณิชย์ อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ รองประธานสภาผู้แทนราษฎร ผู้ร่วมก่อตั้ง เลขาธิการ และรักษาการผู้ประศาสน์การมหาวิทยาลัยวิชาธรรมศาสตร์และการเมือง คณบดีคณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี และคณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ หัวหน้าพรรคสหชีพ มีผลงานที่สำคัญระหว่างปี..

ใหม่!!: ปรีดี พนมยงค์และเดือน บุนนาค · ดูเพิ่มเติม »

เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติยศยิ่งมงกุฎไทย

รื่องราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติยศยิ่งมงกุฎไทย (The Most Noble Order of the Crown of Thailand) เป็นตระกูลเครื่องราชอิสริยาภรณ์ หนึ่งใน 8 ตระกูลที่สำหรับพระราชทานแด่พระบรมวงศานุวงศ์ ข้าราชการ และผู้กระทำคุณความดี ทั้งบุรุษและสตรี โดยเครื่องราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติยศยิ่งมงกุฎไทยนี้สำหรับพระราชทานแก่ผู้กระทำความดีความชอบเป็นประโยชน์แก่ราชการหรือสาธารณชน โดยการพิจารณาเสนอขอพระราชทานของรัฐบาล เพื่อเป็นบำเหน็จความชอบและเครื่องหมายเชิดชูเกียรติยศอย่างสูง แก่ผู้ได้รับพระราชทาน พระราชทานทั้งบุรุษและสตรี หากทรงพระกรุณาโปรดเกล้า ฯ แล้ว ให้ประกาศรายนามในราชกิจจานุเบกษา ปรกติแล้วจะประกาศในวันเฉลิมพระชนมพรรษา 5 ธันวาคม ของทุกปี แยกเป็น 2 ฉบับ คือชั้นต่ำกว่าสายสะพาย และชั้นสายสะพาย เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติยศยิ่งมงกุฎไทยนี้ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงพระกรุณาให้สร้างขึ้น เมื่อ..

ใหม่!!: ปรีดี พนมยงค์และเครื่องราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติยศยิ่งมงกุฎไทย · ดูเพิ่มเติม »

เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นที่เชิดชูยิ่งช้างเผือก

รื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นที่เชิดชูยิ่งช้างเผือก (The Most Exalted Order of the White Elephant) เป็นตระกูลเครื่องราชอิสริยาภรณ์ หนึ่งใน 8 ตระกูลที่สำหรับพระราชทานแด่พระบรมวงศานุวงศ์ ข้าราชการ และผู้กระทำคุณความดี ทั้งบุรุษและสตรี โดยเครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นที่เชิดชูยิ่งช้างเผือกนี้สำหรับพระราชทานแก่ผู้กระทำความดีความชอบเป็นประโยชน์แก่ราชการหรือสาธารณชน โดยการพิจารณาเสนอขอพระราชทานของรัฐบาล เพื่อเป็นบำเหน็จความชอบและเครื่องหมายเชิดชูเกียรติยศอย่างสูงแก่ผู้ได้รับพระราชทาน พระราชทานทั้งบุรุษและสตรี หากทรงพระกรุณาโปรดเกล้า ฯ แล้ว ให้ประกาศรายนามในราชกิจจานุเบกษา ปรกติแล้วจะประกาศในวันเฉลิมพระชนมพรรษา 5 ธันวาคม ของทุกปี แยกเป็น 2 ฉบับ คือชั้นต่ำกว่าสายสะพาย และชั้นสายสะพาย เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นที่เชิดชูยิ่งช้างเผือกนี้ พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงพระกรุณาให้สร้างขึ้นเมื่อ..

ใหม่!!: ปรีดี พนมยงค์และเครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นที่เชิดชูยิ่งช้างเผือก · ดูเพิ่มเติม »

เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นโบราณมงคลนพรัตนราชวราภรณ์

รื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นโบราณมงคลนพรัตนราชวราภรณ์ มีอักษรย่อว่า น.ร. เป็นเครื่องราชอิสริยาภรณ์ที่มีความเป็นมาสืบแต่ครั้งกรุงศรีอยุธยา ต่อมา พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้สร้างดารานพรัตนขึ้นสำหรับใช้ประดับที่เสื้อ ซึ่งทรงเรียกว่า "เครื่องประดับสำหรับยศ" นอกจากนี้ ทรงพระกรุณาโปรดเกล้า ฯ ให้สร้างแหวนนพรัตนสำหรับพระราชทานแก่พระราชวงศ์ฝ่ายหน้า และฝ่ายใน ตลอดจนข้าราชการชั้นผู้ใหญ่ซึ่งเป็นพุทธมามกะ ต่อมา ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงพระกรุณาโปรดเกล้า ฯ ให้สร้างดวงตรามหานพรัตน สำหรับห้อยสายสะพายขึ้นเป็นครั้งแรกของเครื่องราชอิสริยาภรณ์ไทย เครื่องราชอิสริยาภรณ์ตระกูลนี้ มีเฉพาะชั้นสายสะพายชั้นเดียว ทั้งนี้ ผู้รับพระราชทานต้องเป็นพุทธมามกะ และจะประดับเครื่องราชอิสริยาภรณ์นี้ในงานมงคล หรืองานที่มีหมายกำหนดการระบุไว้เท่านั้นราชกิจจานุเบกษา,, เล่ม ๑๑๕, ตอนพิเศษ ๑๑๘ ง เล่มที่ ๒, ๔ ธันวาคม..

ใหม่!!: ปรีดี พนมยงค์และเครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นโบราณมงคลนพรัตนราชวราภรณ์ · ดูเพิ่มเติม »

เครื่องราชอิสริยาภรณ์อาทิตย์อุทัย

รื่องราชอิสริยาภรณ์อาทิตย์อุทัย (อังกฤษ: Order of the Rising Sun) เป็นเครื่องราชอิสริยาภรณ์ญี่ปุ่น สถาปนาในปี พ.ศ. 2448 โดย สมเด็จพระจักรพรรดิเมจิ แห่งจักรวรรดิญี่ปุ่น.

ใหม่!!: ปรีดี พนมยงค์และเครื่องราชอิสริยาภรณ์อาทิตย์อุทัย · ดูเพิ่มเติม »

เครื่องราชอิสริยาภรณ์จุลจอมเกล้า

รื่องราชอิสริยาภรณ์จุลจอมเกล้า (The Most Illustrious Order of Chula Chom Klao) สถาปนาขึ้นโดยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เมื่อ พ.ศ. 2416 ด้วยทรงเห็นว่าพระมหากษัตริย์ในราชวงศ์จักรีทรงอยู่ในราชสมบัติยั่งยืนนานมาเป็นเวลา 90 ปี ก็ด้วยความจงรักภักดีและการปฏิบัติราชการของพระบรมวงศานุวงศ์และข้าราชการทั้งปวง ทั้งมีพระราชประสงค์จะทรงชุบเลี้ยงบรรดาทายาทของบุคคลเหล่านี้ ให้มีความเจริญรุ่งเรืองในราชการสืบเนื่องต่อไป จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ทายาทของผู้ได้รับพระราชทานสามารถรับพระราชทานตราสืบตระกูลของบิดาได้ โดยพระราชทานนามพระองค์ "จุลจอมเกล้า" เป็นนามของเครื่องราชอิสรยาภรณ์ตระกูลนี้ พร้อมทรงคิดคำขวัญจารึกบนดวงตราว่า "เราจะบำรุงตระกูลวงศ์ให้เจริญ".

ใหม่!!: ปรีดี พนมยงค์และเครื่องราชอิสริยาภรณ์จุลจอมเกล้า · ดูเพิ่มเติม »

เครื่องราชอิสริยาภรณ์เลโอโปลด์ (เบลเยียม)

รื่องราชอิสริยาภรณ์เลโอปอลด์ (Order of Leopold, Ordre de Léopold, Leopoldsorde) เป็นเครื่องราชอิสริยาภรณ์ที่มีลำดับเกียรติสูงสุดของประเทศเบลเยียม พระเจ้าเลโอโปลด์ที่ 1 แห่งเบลเยียม ได้ทรงสถาปนาขึ้นเมื่อ 11 กรกฎาคม พ.ศ. 2375 มีสีของสายสะพายและแพรแถบเป็นสีม่วงแกมบานเย็น.

ใหม่!!: ปรีดี พนมยงค์และเครื่องราชอิสริยาภรณ์เลโอโปลด์ (เบลเยียม) · ดูเพิ่มเติม »

เครื่องอิสริยาภรณ์เลฌียงดอเนอร์

รื่องอิสริยาภรณ์เลฌียงดอเนอร์ (Ordre National de la Légion D'honneur,; National Order of the Legion of Honour) เป็น "เครื่องอิสริยาภรณ์สำหรับคณะอัศวิน" (Ordres de chevalerie; Chivalric order) ชั้นสูงสุดแห่งสาธารณรัฐฝรั่งเศส สถาปนาขึ้นโดย นโปเลียน โบนาปาร์ต กงสุลเอกแห่งสาธารณรัฐฝรั่งเศส เมื่อวันที่ 19 พฤษภาคม 2345 มีห้าชั้น ได้แก่ ประถมาภรณ์ ทุติยาภรณ์ ตริตาภรณ์ จตุรถาภรณ์ และเบญจมาภรณ์ ตามอันดับ ปัจจุบัน มีประธานาธิบดีแห่งสาธารณรัฐเป็นประธาน และรักษาไว้ที่ "ตำหนักเลฌียงดอเนอร์" (Palais de la Légion D'honneur) ริมฝั่งซ้ายน้ำแซน ณ กรุงปารีส ทั้งนี้ คำว่า "เลฌียงดอเนอร์" มีความหมายว่า "กองพลเกียรติยศ" และคติพจน์แห่งเครื่องอิสริยาภรณ์เลฌียงดอเนอร์ คือ "เกียรติยศและปิตุภูมิ" (Honneur et Patrie; Honour and Fatherland).

ใหม่!!: ปรีดี พนมยงค์และเครื่องอิสริยาภรณ์เลฌียงดอเนอร์ · ดูเพิ่มเติม »

เค้าโครงการเศรษฐกิจ พ.ศ. 2475

้าโครงการเศรษฐก..

ใหม่!!: ปรีดี พนมยงค์และเค้าโครงการเศรษฐกิจ พ.ศ. 2475 · ดูเพิ่มเติม »

เติ้ง เสี่ยวผิง

ติ้ง เสี่ยวผิง (22 สิงหาคม พ.ศ. 2447 - 19 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2540) เป็นผู้เปลี่ยนแปลงพรรคคอมมิวนิสต์แห่งประเทศจีน และดำรงตำแหน่งผู้นำสูงสุดแห่งสาธารณรัฐประชาชนจีน ในช่วงต้นทศวรรษ 2520 ถึง..

ใหม่!!: ปรีดี พนมยงค์และเติ้ง เสี่ยวผิง · ดูเพิ่มเติม »

เนติบัณฑิตยสภา ในพระบรมราชูปถัมภ์

right เนติบัณฑิตยสภา ในพระบรมราชูปภัมภ์ เป็นองค์การอิสระ ที่มีฐานะเป็นนิติบุคคล ตามพระราชบัญญัติเนติบัณฑิต..

ใหม่!!: ปรีดี พนมยงค์และเนติบัณฑิตยสภา ในพระบรมราชูปถัมภ์ · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

Pridi BanomyongPridi Phanomyongหลวงประดิษฐมนูธรรมหลวงประดิษฐ์มนูธรรมหลวงประดิษฐ์มนูธรรม (ปรีดี พนมยงค์)ปรีดีนายปรีดี พนมยงค์

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »