ความคล้ายคลึงกันระหว่าง รายนามรองนายกรัฐมนตรีไทยและวันมูหะมัดนอร์ มะทา
รายนามรองนายกรัฐมนตรีไทยและวันมูหะมัดนอร์ มะทา มี 13 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย): บรรหาร ศิลปอาชาชวลิต ยงใจยุทธชาติชาย ชุณหะวัณบุญเอื้อ ประเสริฐสุวรรณพิชัย รัตตกุลพินิจ จารุสมบัติสมศักดิ์ เทพสุทินสุริยะ จึงรุ่งเรืองกิจสุวัจน์ ลิปตพัลลภสุเทพ เทือกสุบรรณทักษิณ ชินวัตรปุระชัย เปี่ยมสมบูรณ์โภคิน พลกุล
บรรหาร ศิลปอาชา
รรหาร ศิลปอาชา (19 สิงหาคม พ.ศ. 2475 – 23 เมษายน พ.ศ. 2559) เป็นนักการเมืองชาวไทย ดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีไทยคนที่ 21 ประธานกรรมการมูลนิธิบรรหาร-แจ่มใส ศิลปอาชา ประธานที่ปรึกษาพรรคชาติไทยพัฒนา อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดสุพรรณบุรี 11 สมัย อดีตนายกสภามหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา อดีตนายกสภาสถาบันการพลศึกษา อดีตกรรมการผู้จัดการ บริษัท สหศรีชัยก่อสร้าง จำกัด และอดีตหัวหน้าพรรคชาติไทย ทั้งเป็นพี่ชายของชุมพล ศิลปอาชา อดีตรองนายกรัฐมนตรี.
บรรหาร ศิลปอาชาและรายนามรองนายกรัฐมนตรีไทย · บรรหาร ศิลปอาชาและวันมูหะมัดนอร์ มะทา ·
ชวลิต ยงใจยุทธ
ลเอก พลเรือเอก พลอากาศเอก ชวลิต ยงใจยุทธ (15 พฤษภาคม พ.ศ. 2475 —) เป็นนายกรัฐมนตรีของประเทศไทย คนที่ 22 อดีตรองนายกรัฐมนตรี อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงแรงงานและสวัสดิการสังคม อดีตผู้บัญชาการทหารบกและอดีดรักษาการผู้บัญชาการทหารสูงสุด เป็นเจ้าของสมญา "ขงเบ้งแห่งกองทัพบก" เคยได้รับการแต่งตั้งให้เป็น สมาชิกวุฒิสภา ขณะดำรงตำแหน่งทางทหาร เป็นผู้ก่อตั้ง และหัวหน้า พรรคความหวังใหม่ คนแรก และเป็นอดีต..หลายสมัย มีคะแนนเสียงหนาแน่นในจังหวัดนครพนม สื่อมวลชนและประชาชนทั่วไป เรียก พล.อ.ชวลิต ว่า "บิ๊กจิ๋ว" และในพื้นที่ภาคอีสาน เรียก พล.อ.ชวลิต ว่า "พ่อใหญ่จิ๋ว" นอกจากนี้แล้วยังมีอีกฉายาหนึ่งว่า "จิ๋วหวานเจี๊ยบ" จากการมีบุคลิกพูดจาอ่อนนิ่ม นุ่มนวล.
ชวลิต ยงใจยุทธและรายนามรองนายกรัฐมนตรีไทย · ชวลิต ยงใจยุทธและวันมูหะมัดนอร์ มะทา ·
ชาติชาย ชุณหะวัณ
ลเอก พลเรือเอก พลอากาศเอก ชาติชาย ชุณหะวัณ (5 เมษายน พ.ศ. 2463 — 6 พฤษภาคม พ.ศ. 2541) เป็นนายกรัฐมนตรีไทยคนที่ 17 และเคยดำรงตำแหน่งรองนายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรีในหลายกระทรวงคือ กระทรวงการต่างประเทศ กระทรวงอุตสาหกรรม และ กระทรวงกลาโหม พลเอกชาติชาย เป็นผู้ก่อตั้งพรรคการเมือง 2 พรรค และได้ดำรงตำแหน่งหัวหน้าพรรค คือ พรรคชาติไทย และ พรรคชาติพัฒน.
ชาติชาย ชุณหะวัณและรายนามรองนายกรัฐมนตรีไทย · ชาติชาย ชุณหะวัณและวันมูหะมัดนอร์ มะทา ·
บุญเอื้อ ประเสริฐสุวรรณ
ลตรี บุญเอื้อ ประเสริฐสุวรรณ (ชื่อเดิม: กิมกุ่ย) (13 เมษายน พ.ศ. 2462 - 13 ตุลาคม พ.ศ. 2559) อดีตประธานรัฐสภา ประธานสภาผู้แทนราษฎร อดีตรองนายกรัฐมนตรี และสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดสุพรรณบุรี.
บุญเอื้อ ประเสริฐสุวรรณและรายนามรองนายกรัฐมนตรีไทย · บุญเอื้อ ประเสริฐสุวรรณและวันมูหะมัดนอร์ มะทา ·
พิชัย รัตตกุล
ัย รัตตกุล (16 กันยายน พ.ศ. 2469 —) เป็น อดีตหัวหน้าพรรคประชาธิปัตย์ คนที่ 4 ระหว่างปี..
พิชัย รัตตกุลและรายนามรองนายกรัฐมนตรีไทย · พิชัย รัตตกุลและวันมูหะมัดนอร์ มะทา ·
พินิจ จารุสมบัติ
นายพินิจ จารุสมบัติ กรรมการสภามหาวิทยาลัยผู้ทรงคุณวุฒิของมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ อดีตรองนายกรัฐมนตรี อดีตหัวหน้าพรรคเสรีธรรม เคยร่วมต่อสู้กับพรรคคอมมิวนิสต์แห่งประเทศไทย ช่วงหลังเหตุการณ์ 6 ตุลาคม พ.ศ. 2519 โดยใช้ชื่อจัดตั้งว่า สหายพนัส ปัจจุบันเป็นแกนนำกลุ่มวังพญานาค พรรคชาติพัฒนาเพื่อแผ่นดิน.
พินิจ จารุสมบัติและรายนามรองนายกรัฐมนตรีไทย · พินิจ จารุสมบัติและวันมูหะมัดนอร์ มะทา ·
สมศักดิ์ เทพสุทิน
นายสมศักดิ์ เทพสุทิน แกนนำกลุ่มสามมิตร หรือ กลุ่มวังน้ำยม และ กลุ่มมัชฌิมาเดิม กลุ่มอดีต..
รายนามรองนายกรัฐมนตรีไทยและสมศักดิ์ เทพสุทิน · วันมูหะมัดนอร์ มะทาและสมศักดิ์ เทพสุทิน ·
สุริยะ จึงรุ่งเรืองกิจ
ริยะ จึงรุ่งเรืองกิจ (10 ธันวาคม พ.ศ. 2497-) อดีตรองนายกรัฐมนตรี รัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรม ในสมัยรัฐบาลของทักษิณ ชินวัตรและเลขาธิการพรรคไทยรักไท.
รายนามรองนายกรัฐมนตรีไทยและสุริยะ จึงรุ่งเรืองกิจ · วันมูหะมัดนอร์ มะทาและสุริยะ จึงรุ่งเรืองกิจ ·
สุวัจน์ ลิปตพัลลภ
วัจน์ ลิปตพัลลภ นายกสภามหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา อดีตรองนายกรัฐมนตรี ในรัฐบาลของดร.ทักษิณ ชินวัตร อดีตรัฐมนตรีว่าการทบวงมหาวิทยาลัย และอดีตรัฐมนตรีว่าการหลายกระทรวง เป็นหนึ่งในแกนนำพรรครวมชาติพัฒนา (ปัจจุบันคือ พรรคชาติพัฒนาเพื่อแผ่นดิน) แต่ไม่ได้ลงสมัครรับเลือกตั้งทั่วไป 23 ธันวาคม พ.ศ. 2550 เนื่องจากถูกตัดสิทธิ์ทางการเมืองเป็นเวลา 5 ปี.
รายนามรองนายกรัฐมนตรีไทยและสุวัจน์ ลิปตพัลลภ · วันมูหะมัดนอร์ มะทาและสุวัจน์ ลิปตพัลลภ ·
สุเทพ เทือกสุบรรณ
ทพ เทือกสุบรรณ เป็นประธานมูลนิธิมวลมหาประชาชนเพื่อการปฏิรูปประเทศไทย และ ผู้ก่อตั้งวิทยาลัยอาชีวศึกษาภาวนาโพธิคุณ เป็นอดีตรองนายกรัฐมนตรีในรัฐบาลอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ อดีตเลขาธิการพรรคประชาธิปัตย์ และสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดสุราษฎร์ธานีหลายสมัย เคยดำรงตำแหน่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงคมนาคม และรัฐมนตรีช่วยว่าการหลายกระทรวง จนถึงปี 2554 เป็นเลขาธิการพรรคประชาธิปัตย์ เขาลาออกจากตำแหน่งในเดือนพฤศจิกายน 2556 เป็นเลขาธิการ กปปส. ซึ่งดำเนินการประท้วงเพื่อพยายามโค่นรัฐบาลยิ่งลักษณ์ ชินวัตร ในห้วงวิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2556–2557 เขาเรียกร้องให้ตั้ง "สภาประชาชน" ซึ่งมิได้มาจากการเลือกตั้งเพื่อปฏิรูปประเทศก่อนเลือกตั้ง เขาเคยเรียกร้องเพื่อให้เขาสวมบทบาทเป็น "องค์อธิปัตย์" เพื่อออกกฎบัตร ตั้งรัฐบาลใหม่ และตั้งสภาประชาชน และจะประท้วงต่อหากรัฐบาลใหม่ไม่สามารถนำการปฏิรูปที่ กปป.
รายนามรองนายกรัฐมนตรีไทยและสุเทพ เทือกสุบรรณ · วันมูหะมัดนอร์ มะทาและสุเทพ เทือกสุบรรณ ·
ทักษิณ ชินวัตร
ทักษิณ ชินวัตร (เกิด 26 กรกฎาคม 2492) เป็นนายกรัฐมนตรีไทยคนที่ 23 ดำรงตำแหน่งระหว่างปี 2544 ถึง 2549 และเป็นพี่ชายของยิ่งลักษณ์ ชินวัตร นายกรัฐมนตรีไทยคนที่ 28 เคยเป็นนักธุรกิจโทรคมนาคมและการสื่อสาร ผู้ก่อตั้งกลุ่มบริษัท ชิน คอร์ปอเรชั่น จำกัด (มหาชน) บริษัทโทรคมนาคมและการสื่อสารขนาดใหญ่ที่สุดในประเทศไทย อดีตข้าราชการตำรวจ (ชั้นยศสูงสุดที่ พันตำรวจโท) อดีตเจ้าของและประธานสโมสรฟุตบอลแมนเชสเตอร์ซิตี อดีตที่ปรึกษาทางเศรษฐกิจของรัฐบาลกัมพูชา และ ศาสตราจารย์อาคันตุกะแห่งมหาวิทยาลัยทากุโชกุ มีสัญชาติไทยโดยการเกิด ปัจจุบันถือสัญชาติมอนเตเนโกร ปี 2537 ทักษิณเข้าสู่วงการเมืองสังกัดพรรคพลังธรรม โดยการชักนำของพลตรี จำลอง ศรีเมือง ต่อมาก่อตั้งพรรคไทยรักไทย ในปี 2541 หลังการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2544 ซึ่งพรรคไทยรักไทยได้รับเสียงข้างมากในสภา จึงดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีเป็นสมัยแรก ทักษิณใช้หนี้กองทุนการเงินระหว่างประเทศได้ก่อนกำหนดเดิม และดำเนินนโยบายต่าง ๆ เพื่อลดความยากจนในชนบท โดยสามารถลดความยากจนได้ถึงครึ่งหนึ่งภายในสี่ปี ริเริ่มระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าเป็นครั้งแรกของประเทศ ตลอดจนการกวาดล้างยาเสพติด ซึ่งทั้งหมดช่วยให้เขามีความนิยมอย่างสูง ทักษิณเริ่มดำเนินโครงการลงทุนโครงสร้างพื้นฐานขนานใหญ่ รวมทั้งท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ หนี้สาธารณะลดลงจากร้อยละ 57 ของจีดีพีในเดือนมกราคม 2544 เหลือร้อยละ 41 ในเดือนกันยายน 2549 รวมทั้งระดับการฉ้อราษฎร์บังหลวงลดลง โดยดัชนีภาพลักษณ์คอร์รัปชันขององค์กรเพื่อความโปร่งใสนานาชาติ เพิ่มขึ้นจาก 3.2 เป็น 3.8 ระหว่างปี 2544 และ 2549 ทักษิณดำรงตำแหน่งจนครบวาระสี่ปี เป็นนายกรัฐมนตรีที่มาจากการเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรซึ่งดำรงตำแหน่งจนครบวาระคนแรก และจากผลการเลือกตั้งเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2548 ทำให้ทักษิณดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีสมัยที่สอง ด้วยคะแนนเสียงสูงที่สุดเป็นประวัติการณ์ อย่างไรก็ดี มีผู้กล่าวหารัฐบาลทักษิณหลายประการเช่น ละเมิดสิทธิมนุษยชน ฉ้อราษฎร์บังหลวง เป็นเผด็จการรัฐสภา มีผลประโยชน์ทับซ้อน และควบคุมสื่อ ส่วนข้อกล่าวหาของตัวทักษิณเอง ก็มีว่าหลีกเลี่ยงภาษี หมิ่นพระบรมเดชานุภาพ ตลอดจนขายทรัพย์สินของบริษัทไทยให้นักลงทุนต่างชาติThe Star,, 2 April 2006The Nation,, 23 March 2006 องค์การนิรโทษกรรมสากลวิจารณ์ทักษิณว่า มีประวัติเชิงสิทธิมนุษยชนไม่สู้ดี และเขายังถูกกล่าวหาว่าปกปิดทรัพย์สินระหว่างดำรงตำแหน่งการเมือง ฟอรีนพอลิซี ยกตัวอย่างว่า เขาเป็นอดีตผู้นำของโลกที่ประพฤติไม่ดี เกิดการประท้วงของพันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตยในปี 2549 และวันที่ 19 กันยายน ปีเดียวกัน คณะมนตรีความมั่นคงแห่งชาติ (คมช.) รัฐประหารล้มรัฐบาลทักษิณ ศาลที่ คม.
ทักษิณ ชินวัตรและรายนามรองนายกรัฐมนตรีไทย · ทักษิณ ชินวัตรและวันมูหะมัดนอร์ มะทา ·
ปุระชัย เปี่ยมสมบูรณ์
ตราจารย์ ร้อยตำรวจเอก ปุระชัย เปี่ยมสมบูรณ์ (เกิด 1 สิงหาคม พ.ศ. 2493) สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร แบบบัญชีรายชื่อ สังกัดพรรครักษ์สันติ อดีตสมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ ผู้เชี่ยวชาญด้านอาชญาวิทยา และเป็นประธานคณะกรรมการข้าราชการตำรวจ (ก.ตร.) อดีตอธิการบดี สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ เป็นผู้ก่อตั้งมหาวิทยาลัยชินวัตร ชีวิตส่วนตัวสมรสกับ ผู้ช่วยศาสตราจารย์สมศรี เปี่ยมสมบูรณ์ มีบุตร-ธิดารวม 3 คน.
ปุระชัย เปี่ยมสมบูรณ์และรายนามรองนายกรัฐมนตรีไทย · ปุระชัย เปี่ยมสมบูรณ์และวันมูหะมัดนอร์ มะทา ·
โภคิน พลกุล
รองศาสตราจารย์ ดร.
รายนามรองนายกรัฐมนตรีไทยและโภคิน พลกุล · วันมูหะมัดนอร์ มะทาและโภคิน พลกุล ·
รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้
- สิ่งที่ รายนามรองนายกรัฐมนตรีไทยและวันมูหะมัดนอร์ มะทา มีเหมือนกัน
- อะไรคือความคล้ายคลึงกันระหว่าง รายนามรองนายกรัฐมนตรีไทยและวันมูหะมัดนอร์ มะทา
การเปรียบเทียบระหว่าง รายนามรองนายกรัฐมนตรีไทยและวันมูหะมัดนอร์ มะทา
รายนามรองนายกรัฐมนตรีไทย มี 177 ความสัมพันธ์ขณะที่ วันมูหะมัดนอร์ มะทา มี 68 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 13, ดัชนี Jaccard คือ 5.31% = 13 / (177 + 68)
การอ้างอิง
บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง รายนามรองนายกรัฐมนตรีไทยและวันมูหะมัดนอร์ มะทา หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่: