โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

ท้าวเทพกระษัตรีและท้าวศรีสุนทร

ดัชนี ท้าวเทพกระษัตรีและท้าวศรีสุนทร

อนุสาวรีย์ท้าวเทพกระษัตรี ท้าวศรีสุนทร ตราประจำจังหวัดภูเก็ต (พ.ศ. 2528 - ปัจจุบัน) แสดงภาพอนุสาวรีย์ของท้าวเทพกระษัตรี ท้าวศรีสุนทร ท้าวเทพกระษัตรี (เกิดราวปี พ.ศ. 2278 หรือ 2280 - ราวปี พ.ศ. 2336) และ ท้าวศรีสุนทร (ไม่ทราบปีเกิด) เป็นวีรสตรีไทยที่ป้องกันเมืองถลางให้พ้นจากข้าศึกได้ในสงครามเก้าทัพ สมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น ท้าวเทพกระษัตรี มีชื่อเดิมว่า "ท่านผู้หญิงจัน" ท้าวศรีสุนทร เป็นน้องมีชื่อเดิมว่า "คุณมุก" ทั้งสองเป็นบุตรีของจอมรั้งเจ้าเมืองถลาง.

15 ความสัมพันธ์: ชาวมอญพ.ศ. 2328พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราชพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวพระเจ้าปดุงยะไข่รัฐมณีปุระรัตนโกสินทร์ (แก้ความกำกวม)สมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรีสงครามเก้าทัพอำเภอถลางจังหวัดภูเก็ตตะกั่วป่าไทใหญ่13 มีนาคม

ชาวมอญ

มอญ (မွန်လူမျိုး; မန် หรือ မည်; IPA:; อังกฤษ: Mon) เป็นชนชาติเจ้าของอารยธรรมอันเก่าแก่ในแผ่นดินพม่า พูดภาษาในตระกูลมอญ-เขมร.

ใหม่!!: ท้าวเทพกระษัตรีและท้าวศรีสุนทรและชาวมอญ · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2328

ทธศักราช 2328 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: ท้าวเทพกระษัตรีและท้าวศรีสุนทรและพ.ศ. 2328 · ดูเพิ่มเติม »

พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช

ระบาทสมเด็จพระปรโมรุราชามหาจักรีบรมนารถ พระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก (พระราชสมภพ 20 มีนาคม พ.ศ. 2279 — สวรรคต 7 กันยายน พ.ศ. 2352) เป็นพระมหากษัตริย์ไทยรัชกาลที่ 1 ในราชวงศ์จักรี เสด็จพระราชสมภพเมื่อวันพุธ เดือน 4 แรม 5 ค่ำ ปีมะโรงอัฐศก เวลา 3 ยาม ตรงกับวันที่ 20 มีนาคม..

ใหม่!!: ท้าวเทพกระษัตรีและท้าวศรีสุนทรและพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช · ดูเพิ่มเติม »

พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว

ระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาวชิราวุธฯ พระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว หรือ พระบาทสมเด็จพระรามาธิบดีศรีสินทรมหาวชิราวุธ พระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว (1 มกราคม พ.ศ. 2423 – 26 พฤศจิกายน พ.ศ. 2468) เป็นพระมหากษัตริย์ไทยรัชกาลที่ 6 ในราชวงศ์จักรี เสด็จพระราชสมภพเมื่อวันเสาร์ เดือนยี่ ขึ้น 2 ค่ำ ปีมะโรง ตรงกับวันที่ 1 มกราคม..

ใหม่!!: ท้าวเทพกระษัตรีและท้าวศรีสุนทรและพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าปดุง

ระเจ้าปดุง (Bodawpaya) เป็นพระมหากษัตริย์ลำดับที่ 5 แห่งราชวงศ์อลองพญา (หรือเป็นองค์ที่ 6 หากนับรวมพระเจ้าหม่องหม่องด้วย) ราชวงศ์สุดท้ายของพม่า เป็นพระโอรสลำดับที่ 5 ใน 6 พระองค์ของพระเจ้าอลองพญา ขึ้นครองราชย์โดยการปราบดาภิเษกในปี พ.ศ. 2325 ปีเดียวกับการสถาปนากรุงรัตนโกสินทร์ พระเจ้าปดุง เมื่อทรงครองราชย์มีพระนามว่า "ปโดงเมง" หมายถึง "พระราชาจากเมืองปโดง" แต่มีพระนามที่เป็นที่เรียกขานในพม่าภายหลังว่า "โบดอพญา" (ဘိုးတော်ဘုရား) แปลว่า "เสด็จปู่ ".

ใหม่!!: ท้าวเทพกระษัตรีและท้าวศรีสุนทรและพระเจ้าปดุง · ดูเพิ่มเติม »

ยะไข่

ทความนี้เป็นบทความเกี่ยวกับชาติพันธุ์ สำหรับเขตการปกครอง ดูที่ รัฐยะไข่ สำหรับแคว้นโบราณ ดูที่ แคว้นยะไข่ ยะไข่, อะระกัน หรือ ระขึน (ရခိုင်လူမျိုး; IPA:; Rakhine) เป็นหนึ่งในกลุ่มชาติพันธุ์หลักกลุ่มหนึ่งในประเทศพม่า อาศัยในรัฐยะไข่ ชาวยะไข่ถือเป็นชาวพม่าพื้นถิ่นในรัฐยะไข่กลุ่มหนึ่ง ภาษาพูดของชาวยะไข่นั้นถือเป็นสำเนียงหนึ่งในภาษาพม่า และยังมีร่องรอยของภาษาพม่าโบราณหลงเหลืออยู่ อันมีเสียงบางเสียงซึ่งในภาษาพม่าสำเนียงย่างกุ้งไม่มีใช้แล้ว เช่น เสียง ร โดยภาษายะไข่นั้นยังรักษาเสียง ร ไว้ได้ครบแทบทุกตำแหน่ง หากต้องการสะกดคำที่มีอักษร ร จึงควรดูที่การออกเสียงของภาษายะไข่ ทั้งนี้เนื่องจากยะไข่ห่างไกลศูนย์กลางจากพม่า โดยมีเทือกเขาอาระกันโยมาขวางกั้นอยู่ อีกทั้งยะไข่เองก็เคยมีอิสรภาพในการปกครองตนเองเป็นอาณาจักรอยู่ร่วมหลายร้อยปี ภายหลังจากการมาของอังกฤษ ยะไข่ถูกมองว่าต่างจากชาวพม่าทั่วไป ดินแดนยะไข่จึงถูกกำหนดเป็นรัฐหนึ่งเฉกเช่นเดียวกับชนกลุ่มน้อยในพม.

ใหม่!!: ท้าวเทพกระษัตรีและท้าวศรีสุนทรและยะไข่ · ดูเพิ่มเติม »

รัฐมณีปุระ

รัฐมณีปุระ (ภาษาเบงกาลี: মণিপুর, ภาษามณีปุรี: mnipur) คือหนึ่งในรัฐทางตะวันออกเฉียงเหนือของอินเดีย มีเขตติดต่อกับรัฐนาคาแลนด์ทางทิศเหนือ รัฐอัสสัมทางทิศตะวันตก รัฐมิโซรัมทางทิศใต้ และประเทศพม่าทางทิศตะวันออก เป็นรัฐในเขตชายแดนซึ่งถือเป็นเขตพิเศษ ชาวต่างชาติที่จะเข้าไปต้องได้รับอนุญาต เป็นจุดกำเนิดของกีฬาโปโลสมัยใหม.

ใหม่!!: ท้าวเทพกระษัตรีและท้าวศรีสุนทรและรัฐมณีปุระ · ดูเพิ่มเติม »

รัตนโกสินทร์ (แก้ความกำกวม)

รัตนโกสินทร์ อาจจะหมายถึง.

ใหม่!!: ท้าวเทพกระษัตรีและท้าวศรีสุนทรและรัตนโกสินทร์ (แก้ความกำกวม) · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรี

มเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรี หรือ สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช (แต้จิ๋ว: Dênchao; 17 เมษายน พ.ศ. 2277 – 6 เมษายน พ.ศ. 2325) มีพระนามเดิมว่า สิน เป็นคนไทยเชื้อสายจีน เป็นพระมหากษัตริย์ผู้ก่อตั้งอาณาจักรธนบุรี และเป็นพระมหากษัตริย์พระองค์เดียวของราชอาณาจักรนั้น เดิมพระองค์เป็นนายทหารในรัชกาลสมเด็จพระที่นั่งสุริยาศน์อมรินทร์ ต่อม..

ใหม่!!: ท้าวเทพกระษัตรีและท้าวศรีสุนทรและสมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรี · ดูเพิ่มเติม »

สงครามเก้าทัพ

งครามเก้าทัพ เป็นสงครามระหว่างอาณาจักรพม่ากับราชอาณาจักรไทย หลังจากที่พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช ได้สถาปนากรุงรัตนโกสินทร์ เป็นราชธานีแห่งใหม่ เวลานั้นบ้านเมืองอยู่ในช่วงผ่านศึกสงครามมาใหม่ ๆ ประจวบทั้งการสร้างบ้านแปลงเมือง รวมทั้งปราสาทราชวังต่าง ๆ ในปี พ.ศ. 2328 พระเจ้าปดุง กษัตริย์พม่า หลังจากบรมราชาภิเษกขึ้นเป็นกษัตริย์อังวะแล้ว ทำสงครามรวบรวมเมืองเล็กเมืองน้อยรวมถึงเมืองประเทศราชให้เป็นปึกแผ่น แล้วก็ได้ยกกองกำลังเข้ามา โดยมีจุดประสงค์ทำสงครามกับกรุงรัตนโกสินทร์ สงครามครั้งนี้พระเจ้าปดุงได้ยกทัพมาถึง 9 ทัพ รวมกำลังพลมากถึง 144,000 นาย โดยแบ่งการเข้าโจมตีกรุงรัตนโกสินทร์ออกเป็น 5 ทิศทาง.

ใหม่!!: ท้าวเทพกระษัตรีและท้าวศรีสุนทรและสงครามเก้าทัพ · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอถลาง

อำเภอถลาง อำเภอหนึ่งในจังหวัดภูเก็ต.

ใหม่!!: ท้าวเทพกระษัตรีและท้าวศรีสุนทรและอำเภอถลาง · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดภูเก็ต

ูเก็ต เป็นจังหวัดหนึ่งทางภาคใต้ของประเทศไทย เป็นเกาะขนาดใหญ่ที่สุดในประเทศไทย อยู่ในทะเลอันดามัน จังหวัดที่ใกล้เคียงทางทิศเหนือ คือ จังหวัดพังงา ทางทิศตะวันออก คือ จังหวัดพังงาและจังหวัดกระบี่ ทั้งเกาะล้อมรอบด้วยมหาสมุทรอินเดีย และยังมีเกาะที่อยู่ในอาณาเขตของจังหวัดภูเก็ตทางทิศใต้และตะวันออก การเดินทางเข้าสู่ภูเก็ตนอกจากทางเรือแล้ว สามารถเดินทางโดยรถยนต์ซึ่งมีเพียงเส้นทางเดียวผ่านทางจังหวัดพังงา โดยข้ามสะพานสารสินและสะพานคู่ขนาน คือ สะพานท้าวเทพกระษัตรีและสะพานท้าวศรีสุนทร เพื่อเข้าสู่ตัวจังหวัด และทางอากาศโดยมีท่าอากาศยานนานาชาติภูเก็ตรองรับ ท่าอากาศยานนี้ตั้งอยู่ทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือของเกาะ คำว่า ภูเก็ต คาดว่าน่าจะเพี้ยนมาจากคำว่า บูกิต (ในภาษามลายูแปลว่าภูเขา) และคำว่า "ภูเขา" ในภาษาอุรักลาโว้ย เรียกว่า "บูเก๊ะ" หรือที่เคยรู้จักแต่โบราณในนาม เมืองถลาง.

ใหม่!!: ท้าวเทพกระษัตรีและท้าวศรีสุนทรและจังหวัดภูเก็ต · ดูเพิ่มเติม »

ตะกั่วป่า

ตะกั่วป่า อาจหมายถึง.

ใหม่!!: ท้าวเทพกระษัตรีและท้าวศรีสุนทรและตะกั่วป่า · ดูเพิ่มเติม »

ไทใหญ่

ทใหญ่ หรือ ฉาน (တႆး ไต๊; ရှမ်းလူမျိုး) หรือ เงี้ยว (ซึ่งเป็นคำเรียกที่ไม่สุภาพ) คือกลุ่มชาติพันธุ์ในตระกูลภาษาไท-กะได ซึ่งเป็นกลุ่มชาติพันธุ์ขนาดใหญ่อันดับสองของพม่า ส่วนมากอาศัยในรัฐฉาน ประเทศพม่า และบางส่วนอาศัยอยู่บริเวณดอยไตแลง ชายแดนระหว่างประเทศไทยกับประเทศพม่าคนไทใหญ่ในประเทศพม่ามีประมาณ 3 หรือ 4 ล้านคน แต่มีไทใหญ่หลายแสนคนที่ได้อพยพเข้าสู่ประเทศไทย เพื่อหนีปัญหาทางการเมืองและการหางาน ตามภาษาของเขาเองจะเรียกตัวเอง ไต มีหลายกลุ่มเช่น ไตขืน ไตแหลง ไตคัมตี ไตลื้อ และไตมาว แต่กลุ่มใหญ่ที่สุดคือ ไตโหลง (ไต.

ใหม่!!: ท้าวเทพกระษัตรีและท้าวศรีสุนทรและไทใหญ่ · ดูเพิ่มเติม »

13 มีนาคม

วันที่ 13 มีนาคม เป็นวันที่ 72 ของปี (วันที่ 73 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 293 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: ท้าวเทพกระษัตรีและท้าวศรีสุนทรและ13 มีนาคม · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

จันมุกท้าวศรีสุนทรท้าวเทพกระษัตรีท้าวเทพกระษัตรี ท้าวศรีสุนทรท้าวเทพกษัตรี ท้าวศรีสุนทรคุณหญิงมุกคุณหญิงจัน

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »