โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

อังคณา นีละไพจิตร

ดัชนี อังคณา นีละไพจิตร

อังคณา นีละไพจิตร (สกุลเดิม: วงศ์ราเชนทร์; 23 มีนาคม พ.ศ. 2499) กรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ประธานกรรมการในคณะอนุกรรมการด้านสิทธิสตรีกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติรองประธานในคณะอนุกรรมการด้านสิทธิมนุษยชนในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ นักเคลื่อนไหวสตรี ภรรยาของนายสมชาย นีละไพจิตร ปัจจุบันเป็นประธานคณะทำงานยุติธรรมเพื่อสันติภาพ ติดตามความคืบหน้าของคดีการหายตัวไปของนายสมชาย นีละไพจิตร ได้รับแต่งตั้งเป็นสมาชิกสภาร่างรัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2550 อังคณาเกิดที่กรุงเทพมหานคร จบการศึกษาจากโรงเรียนซางตาครู้สคอนแวนท์ และคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล ได้พบกับสมชาย นีละไพจิตร ขณะเป็นนายกสมาคมยุวมุสลิมแห่งประเทศไทย (ยมท.) และสมรสกัน มีบุตรด้วยกัน 5 คน.

7 ความสัมพันธ์: กรุงเทพมหานครศาสนาอิสลามสภาร่างรัฐธรรมนูญไทย พ.ศ. 2550สมชาย นีละไพจิตรคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดลคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ (ประเทศไทย)โรงเรียนซางตาครู้สคอนแวนท์

กรุงเทพมหานคร

กรุงเทพมหานคร เป็นเมืองหลวงและนครที่มีประชากรมากที่สุดของประเทศไทย เป็นศูนย์กลางการปกครอง การศึกษา การคมนาคมขนส่ง การเงินการธนาคาร การพาณิชย์ การสื่อสาร และความเจริญของประเทศ เป็นเมืองที่มีชื่อยาวที่สุดในโลก ตั้งอยู่บนสามเหลี่ยมปากแม่น้ำเจ้าพระยา มีแม่น้ำเจ้าพระยาไหลผ่านและแบ่งเมืองออกเป็น 2 ฝั่ง คือ ฝั่งพระนครและฝั่งธนบุรี กรุงเทพมหานครมีพื้นที่ทั้งหมด 1,568.737 ตร.กม.

ใหม่!!: อังคณา นีละไพจิตรและกรุงเทพมหานคร · ดูเพิ่มเติม »

ศาสนาอิสลาม

นาอิสลาม (Islam) เป็นศาสนาเอกเทวนิยมและศาสนาอับราฮัม บัญญัติไว้ในคัมภีร์อัลกุรอาน คัมภีร์ศักดิ์สิทธิ์ของอิสลามซึ่งสาวกถือว่าเป็นพระวจนะคำต่อคำของพระเป็นเจ้า (อัลลอฮฺ) และสำหรับสาวกส่วนใหญ่ เป็นคำสอนและตัวอย่างเชิงบรรทัดฐาน (เรียกว่า สุนัต และประกอบด้วยหะดีษ) ของมุฮัมมัด (ประมาณ 570–8 มิถุนายน 632)เป็นศาสดา (นบี) องค์สุดท้ายของพระเป็นเจ้า สาวกของศาสนาอิสลาม เรียกว่า มุสลิม มุสลิมเชื่อว่า พระเจ้าเป็นหนึ่งและหาที่เปรียบไม่ได้ และจุดประสงค์ของการดำรงอยู่ คือ เพื่อรักและรับใช้พระเป็นเจ้า มุสลิมยังเชื่อว่า ศาสนาอิสลามเป็นบรรพศรัทธาฉบับสมบูรณ์และเป็นสากลที่สุดซึ่งได้ประจักษ์มาหลายครั้งก่อนหน้านั้น ผ่านศาสดาซึ่งรวมอาดัม โนอาห์ อับราฮัม โมเสส และพระเยซู พวกเขายึดมั่นว่า สารและวิวรณ์ถูกแปลผิดหรือเปลี่ยนแปลงบางส่วนตามกาลดู.

ใหม่!!: อังคณา นีละไพจิตรและศาสนาอิสลาม · ดูเพิ่มเติม »

สภาร่างรัฐธรรมนูญไทย พ.ศ. 2550

ร่างรัฐธรรมนูญ..

ใหม่!!: อังคณา นีละไพจิตรและสภาร่างรัฐธรรมนูญไทย พ.ศ. 2550 · ดูเพิ่มเติม »

สมชาย นีละไพจิตร

มชาย นีละไพจิตร สมชาย นีละไพจิตร (เกิด 13 พฤษภาคม 2494) อดีตประธานชมรมนักกฎหมายมุสลิม และนักเคลื่อนไหวด้านสิทธิมนุษยชนซึ่งหายตัวไปอย่างลึกลับเมื่อวันที่ 12 มีนาคม 2547 สมชายมักทำคดีด้านสิทธิมนุษยชนที่ทนายความส่วนมากปฏิเสธ เช่น คดีที่ชาวบ้านถูกกล่าวหาละเมิดสิทธิมนุษยชนในภาคใต้ คดีคนพม่าลี้ภัยการเมือง คดีชาวอิหร่านที่ถูกจับในข้อหาเป็นผู้วางระเบิดสถานทูตอิสราเอลในประเทศไทย สมชายเคยร่วมกับองค์กรมุสลิมต่าง ๆ ในประเทศไทย รวมทั้ง ชมรมสมาชิกรัฐสภาไทยมุสลิม เสนอแนวทางในการแก้ความไม่สงบในชายแดนภาคใต้ของประเทศไทย เมื่อวันที่ 27 กุมภาพันธ์ 2547 และในเวลาเดียวกันก็เรียกร้องขอความเป็นธรรม ในการสอบสวน 5 ผู้ต้องหา ที่ถูกกล่าวหาว่าเป็นผู้ก่อการร้ายมูจาฮีดีน ซึ่งสมชายได้ยืนยันว่าได้พบกับผู้ต้องหาทั้ง 5 คน ได้ความว่า ทั้งหมดไม่ได้กระทำความผิด แต่จำต้องรับสารภาพ เนื่องจากถูกตำรวจขู่เข็ญทำทารุณกรรม ซึ่งกรณีนี้สร้างความอับอายให้กับกระบวนการสืบสวนสอบสวนของรัฐเป็นอันมาก วันที่ 13 มกราคม 2549 ทักษิณ ชินวัตร อดีตนายกรัฐมนตรี แถลงว่า กรมสอบสวนคดีพิเศษพบหลักฐานสำคัญที่ระบุว่าสมชายเสียชีวิตแล้ว โดยมีเจ้าหน้าที่ตำรวจเกี่ยวข้องมากกว่า 4 คน โดยจะสรุปสำนวนเสร็จสิ้นไม่เกินเดือนกุมภาพันธ์ หลังการหายตัวไปอย่างลึกลับ อังคณา นีละไพจิตร ภรรยา เป็นตัวแทนเรียกร้องความเป็นธรรมและมีบทบาททางสังคมนับแต่นั้นม.

ใหม่!!: อังคณา นีละไพจิตรและสมชาย นีละไพจิตร · ดูเพิ่มเติม »

คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล

ณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล เป็นคณะพยาบาลแห่งแรกของไทย กำเนิดมาจาก โรงเรียนแพทย์ผดุงครรภ์และหญิงพยาบาล ในยุคโรงเรียนราชแพทยาลัย นับได้ว่าเป็นคณะพยาบาลที่วางรากฐานด้านการพยาบาลที่ยอดเยี่ยมของไท.

ใหม่!!: อังคณา นีละไพจิตรและคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล · ดูเพิ่มเติม »

คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ (ประเทศไทย)

ณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ (National Human Rights Commission) เป็นองค์กรอิสระตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย ประกอบด้วยประธานกรรมการคนหนึ่งและกรรมการอื่นอีกสิบคน ซึ่งพระมหากษัตริย์ทรงแต่งตั้งตามคำแนะนำของวุฒิสภา จากผู้ซึ่งมีความรู้หรือประสบการณ์ด้านการคุ้มครองสิทธิเสรีภาพของประชาชนเป็นที่ประจักษ์ ทั้งนี้ โดยต้องคำนึงถึงการมีส่วนร่วมของผู้แทนจากองค์การเอกชนด้านสิทธิมนุษยชนด้วย คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติมีวาระการดำรงตำแหน่งหกปีนับแต่วันที่พระมหากษัตริย์ทรงแต่งตั้ง และให้ดำรงตำแหน่งได้เพียงวาระเดียว วาระละ 6 ปี โดยมีสำนักงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ เป็นหน่วยงานข้าราชการฝ่ายรัฐสภาสามัญทำหน้าที่ปฏิบัติราชการภายใต้อำนาจหน้าที่ ปัจจุบัน นาง ภิรมย์ ศรีประเสริฐ เป็น เลขาธิการคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาต.

ใหม่!!: อังคณา นีละไพจิตรและคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ (ประเทศไทย) · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนซางตาครู้สคอนแวนท์

รงเรียนซางตาครู้สคอนแวนท์ เป็นโรงเรียนเอกชนโรมันคาทอลิกและคอนแวนต์ของคณะภคินีเซนต์ปอล เดอ ชาร์ตร และมีผู้จัดตั้งโรงเรียนคือมุขนายกฌอง หลุยส์ เวย์ จัดตั้งโรงเรียนเมื่อ..

ใหม่!!: อังคณา นีละไพจิตรและโรงเรียนซางตาครู้สคอนแวนท์ · ดูเพิ่มเติม »

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »