โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ติดตั้ง
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

สุรยุทธ์ จุลานนท์

ดัชนี สุรยุทธ์ จุลานนท์

ลเอก พลเรือเอก พลอากาศเอก สุรยุทธ์ จุลานนท์ (เกิด 28 สิงหาคม พ.ศ. 2486) องคมนตรี นายกรัฐมนตรีไทยคนที่ 24 จากการแต่งตั้งโดยคณะปฏิรูปการปกครองในระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข (คปค.) ภายหลังเหตุการณ์รัฐประหาร 19 กันยายน พ.ศ. 2549 ก่อนเข้าดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรี พล.อ.สุรยุทธ์เคยดำรงตำแหน่ง ผู้บัญชาการทหารบก ผู้บัญชาการทหารสูงสุด และองคมนตรี ในปลายเดือนกันยายน พ.ศ. 2550 นายอารีย์ วงศ์อารยะ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย ได้ลาออกจากตำแหน่ง พล.อ.สุรยุทธ์ ได้เข้าดำรงตำแหน่ง รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย แทนนายอารีย์อีกตำแหน่งหนึ่งด้วย 8 เมษายน พ.ศ. 2551 พล.อ.สุรยุทธ์ ได้รับพระมหากรุณาโปรดเกล้าฯ จาก พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ให้กลับดำรงตำแหน่ง องคมนตรี เป็นครั้งที่สอง พล.อ.สุรยุทธ์ จุลานนท์ มีฉายาว่า "บิ๊กแอ้ด" วันที่ 9 ธันวาคม..

112 ความสัมพันธ์: ชวน หลีกภัยพ.ศ. 2508พ.ศ. 2509พ.ศ. 2511พ.ศ. 2516พ.ศ. 2517พ.ศ. 2533พ.ศ. 2535พ.ศ. 2536พ.ศ. 2537พ.ศ. 2538พ.ศ. 2540พ.ศ. 2541พ.ศ. 2544พ.ศ. 2545พ.ศ. 2546พ.ศ. 2549พ.ศ. 2550พ.ศ. 2551พ.ศ. 2559พ.ศ. 2561พรรคคอมมิวนิสต์แห่งประเทศไทยพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชพระยาศรีสิทธิสงคราม (ดิ่น ท่าราบ)พฤษภาทมิฬพลอากาศเอกพลเรือเอกพลเอกพโยม จุลานนท์กฎอัยการศึกกรมทหารราบที่ 31 รักษาพระองค์กรมประชาสัมพันธ์กระทรวงมหาดไทย (ประเทศไทย)กล้านรงค์ จันทิกกองอาสารักษาดินแดนกองอำนวยการรักษาความมั่นคงภายในราชอาณาจักรกองทัพบกไทยกองทัพไทยกันยายนมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทยของไทยรายชื่อผู้บัญชาการทหารสูงสุดของไทยรายนามผู้บัญชาการทหารบกไทยรายนามแม่ทัพภาคที่ 2รถถังฤๅษีลิงวิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักรศาสนาพุทธในประเทศไทยสมัคร สุนทรเวช...สมทัต อัตตะนันทน์สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูรสื่อมวลชนสุจินดา คราประยูรสถานีวิทยุโทรทัศน์แห่งประเทศไทยสถานีโทรทัศน์ทีไอทีวีสถานีโทรทัศน์ไอทีวีสถานีโทรทัศน์ไทยพีบีเอสสนธิ บุญยรัตกลินหม่อมราชวงศ์ปรีดิยาธร เทวกุลหม่อมราชวงศ์เสนีย์ ปราโมชอารีย์ วงศ์อารยะองค์การกระจายเสียงและแพร่ภาพสาธารณะแห่งประเทศไทยผู้บัญชาการทหารจังหวัดลพบุรีจังหวัดปราจีนบุรีจังหวัดนครราชสีมาจิตรวดี จุลานนท์ธีรยุทธ บุญมีทักษิณ ชินวัตรทุติยจุลจอมเกล้าวิเศษข่าวสดณรงค์ ยุทธวงศ์คณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติคณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 56คณะองคมนตรีคณะองคมนตรีไทยคณะปฏิรูปการปกครองในระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุขฉัตรมงคลปฐมจุลจอมเกล้าประเทศไทยนามแฝงนายกรัฐมนตรีไทยโรงแรมรัตนโกสินทร์โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัยโรงเรียนนายร้อยพระจุลจอมเกล้าโรงเรียนเตรียมทหารโรงเรียนเซนต์ฟรังซีสซาเวียร์คอนแวนต์โรงเรียนเซนต์คาเบรียลโคโยตี้โฆสิต ปั้นเปี่ยมรัษฎ์ไพบูลย์ วัฒนศิริธรรมเชษฐา ฐานะจาโรเหรียญกาชาดเหรียญราชการชายแดนเหรียญจักรมาลาเขายายเที่ยงเครื่องราชอิสริยาภรณ์อันมีศักดิ์รามาธิบดีเครื่องราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติยศยิ่งมงกุฎไทยเครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นที่เชิดชูยิ่งช้างเผือกเครื่องราชอิสริยาภรณ์จุลจอมเกล้าเต่าเฉลิม อยู่บำรุงเปรม ติณสูลานนท์1 ตุลาคม19 กันยายน26 ธันวาคม29 มกราคม3 ตุลาคม6 กุมภาพันธ์6 ธันวาคม8 เมษายน ขยายดัชนี (62 มากกว่า) »

ชวน หลีกภัย

วน หลีกภัย (28 กรกฎาคม พ.ศ. 2481 —) เป็นนายกรัฐมนตรีไทยคนที่ 20 ดำรงตำแหน่งสองสมัย ปัจจุบันเป็นประธานสภาที่ปรึกษาพรรคประชาธิปัต.

ใหม่!!: สุรยุทธ์ จุลานนท์และชวน หลีกภัย · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2508

ทธศักราช 2508 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1965 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันศุกร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: สุรยุทธ์ จุลานนท์และพ.ศ. 2508 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2509

ทธศักราช 2509 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1966 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ใหม่!!: สุรยุทธ์ จุลานนท์และพ.ศ. 2509 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2511

ทธศักราช 2511 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1968 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: สุรยุทธ์ จุลานนท์และพ.ศ. 2511 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2516

ทธศักราช 2516 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1973 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: สุรยุทธ์ จุลานนท์และพ.ศ. 2516 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2517

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: สุรยุทธ์ จุลานนท์และพ.ศ. 2517 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2533

ทธศักราช 2533 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1990 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: สุรยุทธ์ จุลานนท์และพ.ศ. 2533 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2535

ทธศักราช 2535 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1992 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันพุธตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: สุรยุทธ์ จุลานนท์และพ.ศ. 2535 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2536

ทธศักราช 2536 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1993 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันศุกร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: สุรยุทธ์ จุลานนท์และพ.ศ. 2536 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2537

ทธศักราช 2537 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1994 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: สุรยุทธ์ จุลานนท์และพ.ศ. 2537 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2538

ทธศักราช 2538 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1995 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: สุรยุทธ์ จุลานนท์และพ.ศ. 2538 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2540

ทธศักราช 2540 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1997 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพุธตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: สุรยุทธ์ จุลานนท์และพ.ศ. 2540 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2541

ทธศักราช 2541 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1998 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดีตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: สุรยุทธ์ จุลานนท์และพ.ศ. 2541 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2544

ทธศักราช 2544 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2001 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: สุรยุทธ์ จุลานนท์และพ.ศ. 2544 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2545

ทธศักราช 2545 V 2002 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2002 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคารตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: สุรยุทธ์ จุลานนท์และพ.ศ. 2545 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2546

ทธศักราช 2546 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2003 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพุธตามปฏิทินเกรกอเรียน และกำหนดให้เป็น.

ใหม่!!: สุรยุทธ์ จุลานนท์และพ.ศ. 2546 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2549

ทธศักราช 2549 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2006 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ใหม่!!: สุรยุทธ์ จุลานนท์และพ.ศ. 2549 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2550

ทธศักราช 2550 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2007 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ใหม่!!: สุรยุทธ์ จุลานนท์และพ.ศ. 2550 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2551

ทธศักราช 2551 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2008 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคารตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ใหม่!!: สุรยุทธ์ จุลานนท์และพ.ศ. 2551 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2559

ทธศักราช 2559 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2016 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันศุกร์ และเป็น.

ใหม่!!: สุรยุทธ์ จุลานนท์และพ.ศ. 2559 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2561

ทธศักราช 2561 เป็นปีปัจจุบัน ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2018 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ใหม่!!: สุรยุทธ์ จุลานนท์และพ.ศ. 2561 · ดูเพิ่มเติม »

พรรคคอมมิวนิสต์แห่งประเทศไทย

รรคคอมมิวนิสต์แห่งประเทศไทย (พคท.) (Communist Party of Thailand - CPT) เป็นพรรคคอมมิวนิสต์ในประเทศไทย ไม่เคยจดทะเบียนจัดตั้งตามกฎหมายอย่างเป็นทางการ ดำเนินแนวทางตาม ลัทธิมาร์กซ์ ลัทธิเลนิน และลัทธิเหมา นอกจากนั้น ในอดีตยังมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทย ซึ่งเป็นสมาชิกของ พคท.

ใหม่!!: สุรยุทธ์ จุลานนท์และพรรคคอมมิวนิสต์แห่งประเทศไทย · ดูเพิ่มเติม »

พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช

ระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช (5 ธันวาคม พ.ศ. 2470 — 13 ตุลาคม พ.ศ. 2559) เป็นพระมหากษัตริย์ไทย รัชกาลที่ 9 แห่งราชวงศ์จักรี เสด็จสู่พระราชสมบัติตั้งแต่วันที่ 9 มิถุนายน..

ใหม่!!: สุรยุทธ์ จุลานนท์และพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช · ดูเพิ่มเติม »

พระยาศรีสิทธิสงคราม (ดิ่น ท่าราบ)

ันเอก พระยาศรีสิทธิสงคราม (ดิ่น ท่าราบ) อดีตนายทหารบก ผู้เป็นแกนหลักในเหตุการณ์กบฏบวรเดชเมื่อปี พ.ศ. 2476 พระยาศรีสิทธิสงคราม มีชื่อเดิมว่า ดิ่น ท่าราบ เกิดเมื่อวันที่ 10 พฤษภาคม พ.ศ. 2434 ในครอบครัวคหบดีชาวสวน ที่ตำบลท่าราบ อำเภอคลองกระแชง (ปัจจุบัน คือ อำเภอเมืองเพชรบุรี) จังหวัดเพชรบุรี จบการศึกษาจากโรงเรียนนายร้อยทหารบก ด้วยการสอบได้ที่ 1 จึงได้ทุนการศึกษาไปศึกษาต่อที่โรงเรียนนายร้อยทหารบกเยอรมัน ร่วมรุ่นเดียวกับ พระยาพหลพลพยุหเสนา (พจน์ พหลโยธิน) และพระยาทรงสุรเดช (เทพ พันธุมเสน) โดยทั้ง 3 สนิทสนมกันมาก จนได้รับฉายาจากพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอลงกฏ กรมหมื่นอดิศรอุดมศักดิ์ ว่าเป็น "สามทหารเสือ" เช่นเดียวกับ สามทหารเสือ ในนวนิยายชื่อเดียวกันของอเล็กซังเดรอ ดูมาส์ นักเขียนชาวฝรั่งเศส พระยาศรีสิทธิสงคราม ได้ศึกษาที่ประเทศเยอรมันนานถึง 10 ปี ก่อนจะเดินทางกลับมายังประเทศไทย มีความเจริญก้าวหน้าในหน้าที่ราชการอย่างรวดเร็ว โดยได้รับยศเป็น พันเอก (.อ.) ตั้งแต่อายุ 37 ปี และได้รับบรรดาศักดิ์เป็น พระยา เมื่ออายุได้ 40 ปี ในการเปลี่ยนแปลงการปกครอง เมื่อปี พ.ศ. 2475 นั้น พระยาศรีสิทธิสงครามได้ถูกชักชวนให้เข้าร่วมด้วย แต่พระยาศรีสิทธิสงครามไม่ขอเข้าร่วม เนื่องจากยึดมั่นในคำถวายสัตย์ แต่ก็ไม่ต่อต้าน โดยในวันที่ 24 มิถุนายน ปีเดียวกันนั้นที่เกิดเหตุการณ์ ตัวของพระยาศรีสิทธิสงครามก็ได้ซ่อนตัวอยู่ในบ้านพักของพระยาพหลพลหยุหเสนาทั้งวัน จากนั้น พระยาศรีสิทธิสงคราม จึงถูกย้ายไปรับราชการในกระทรวงธรรมการ (กระทรวงศึกษาธิการในปัจจุบัน) ต่อมาเมื่อเกิดความขัดแย้งกันในหมู่คณะราษฎร เมื่อพระยามโนปกรณ์นิติธาดา ได้ใช้อำนาจนายกรัฐมนตรี ปิดรัฐสภา และงดใช้รัฐธรรมนูญบางมาตรา ซึ่งเป็นชนวนเหตุให้พระยาทรงสุรเดช, พระยาฤทธิอัคเนย์ และพระประศาสน์พิทยายุทธ ลาออกจากตำแหน่งรัฐมนตรี (ลอย) ก็เป็นพระยาศรีสิทธิสงครามที่ได้รับการแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งแทน และได้รับแต่งตั้งให้เป็นเจ้ากรมยุทธการทหารบก แต่ก็อยู่ในตำแหน่งได้เพียง 2 วันเท่านั้น ก็เกิดการรัฐประหารเมื่อวันที่ 20 มิถุนายน พ.ศ. 2476 โดยกลุ่มของ พระยาพหลพลพยุหเสนา และหลวงพิบูลสงคราม พระยาศรีสิทธิสงครามจึงถูกย้ายไปรับราชการที่กระทรวงธรรมการอีกครั้ง ซึ่งทั้งหมดนี้เป็นเหตุให้พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าบวรเดช อดีตเสนาบดีกระทรวงกลาโหม เกิดความขุ่นข้องหมองพระทัย และได้ก่อเหตุการณ์กบฏบวรเดชขึ้นในเดือนตุลาคม ปีเดียวกันนั้น โดยพระยาศรีสิทธิสงครามเข้าร่วมด้วย มีฐานะเป็นแม่ทัพ รับหน้าที่เป็นกองระวังหลัง จนเมื่อทางฝ่ายกบฏเพลี่ยงพล้ำต่อรัฐบาล ในเวลาพลบค่ำของวันที่ 23 ตุลาคม ปีเดียวกัน พระยาศรีสิทธิสงครามได้เป็นผู้เดินไปเจรจากับทหารฝ่ายรัฐบาล เพื่อขอให้หยุดยิง แต่ปรากฏว่า พระยาศรีสิทธิสงครามได้ถูกยิงเสียชีวิต ที่สถานีรถไฟหินลับ จังหวัดสระบุรี โดยร้อยโท ตุ๊ จารุเสถียร (ประภาส จารุเสถียร) จากนั้นร่างของพระยาศรีสิทธิสงครามได้ถูกส่งกลับกรุงเทพมหานคร โดยทำการฌาปนกิจอย่างเร่งด่วนที่วัดอภัยทายาราม หรือวัดมะกอก โดยที่ทางครอบครัวไม่ได้รับรู้มาก่อนเลย และกว่าจะได้อัฐิกลับคืนก็เป็นเวลาล่วงไป 3-4 ปีแล้ว อีกทั้งยังถูกคุกคามต่าง ๆ นานา ตลอดสมัยรัฐบาลหลวงพิบูลสงคราม เป็นนายกรัฐมนตรี จนกระทั่งสิ้นสุดสงครามโลกครั้งที่สอง ชีวิตครอบครัวของพระยาศรีสิทธิสงคราม สมรสกับคุณหญิงศรีสิทธิสงคราม (ตลับ ท่าราบ - นามสกุลเดิม อ่ำสำราญ) มีบุตรธิดาทั้งหมด 4 คน ได้แก่ นางอัมโภช จุลานนท์ (มารดาของพลเอก สุรยุทธ์ จุลานนท์), แพทย์หญิงโชติศรี ท่าราบ, นางอารีพันธ์ ประยูรโภคราช และนายชัยสิทธิ์ ท่าร.

ใหม่!!: สุรยุทธ์ จุลานนท์และพระยาศรีสิทธิสงคราม (ดิ่น ท่าราบ) · ดูเพิ่มเติม »

พฤษภาทมิฬ

หตุการณ์พฤษภาทมิฬ เป็นเหตุการณ์ที่ประชาชนเคลื่อนไหวประท้วงรัฐบาลครั้งสำคัญครั้งหนึ่งในประวัติศาสตร์การเมืองที่มีพลเอกสุจินดา คราประยูร เป็น นายกรัฐมนตรี และต่อต้านการสืบทอดอำนาจของ คณะรักษาความสงบเรียบร้อยแห่งชาติ (รสช.) ระหว่างวันที่ 17-24 พฤษภาคม พ.ศ. 2535 ซึ่งเป็นการรัฐประหาร รัฐบาลพลเอกชาติชาย ชุณหะวัณ เมื่อเดือนกุมภาพันธ์ พ.ศ. 2534 นำไปสู่เหตุการณ์ปราบปรามและปะทะกันระหว่างเจ้าหน้าที่ตำรวจและทหารกับประชาชนผู้ชุมนุม มีผู้เสียชีวิตและบาดเจ็บจำนวนมาก (พลเอกสุจินดาแถลงว่ามีผู้เสียชีวิต 40 คน บาดเจ็บ 600 คน) และนำไปสู่การเปลี่ยนแปลงทางการเมือง เหตุการณ์ได้เริ่มต้นขึ้นเมื่อคณะรักษาความสงบเรียบร้อยแห่งชาติ ได้ทำการรัฐประหารรัฐบาลพลเอกชาติชาย ชุณหะวัณ โดยมีหัวหน้าคณะคือ พล.อ.สุนทร คงสมพงษ์ ผู้บัญชาการทหารสูงสุด ในขณะนั้นภายหลังการรัฐประหารได้เลือกนาย อานันท์ ปันยารชุน เป็นรักษาการนายกรัฐมนตรีและได้ร่างรัฐธรรมนูญจนมีการเลือกตั้งผลปรากฏว่านายณรงค์ วงศ์วรรณ หัวหน้าพรรคสามัคคีธรรมที่ตั้งขึ้นและได้รับการสนับสนุนจากบุคคลในคณะ ร. ได้คะแนนมากที่สุด แต่สุดท้ายไม่สามารถดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีได้เนื่องจากถูกรัฐบาลสหรัฐขึ้นบัญชีดำจากความใกล้ชิดกับนักค้ายาเสพติด ทำให้ พล.อ.สุจินดา ขึ้นเป็นนายกรัฐมนตรีแทน ซึ่งเป็นการตระบัดสัตย์ที่เคยกล่าวไว้ว่าจะไม่ดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรี จนได้รับฉายา "เสียสัตย์เพื่อชาติ" จากสื่อมวลชนในเวลาต่อมา จากผลดังกล่าว ทำให้ประชาชนหลายส่วนไม่พอใจการขึ้นดำรงตำแหน่งเป็นนายกรัฐมนตรีของพล.อ.สุจินดา ซึ่งขัดกับหลักประชาธิปไตย จนนำไปสู่การประท้วงทั้งการอดอาหาร การเดินขบวน และการชุมนุมในสถานที่ต่างๆ ในกรุงเทพฯ ทำให้รัฐบาลพล.อ.สุจินดาใช้คำสั่งสลายการชุมนุม เกิดการปะทะขึ้น มีประชาชนเสียชีวิตและบาดเจ็บเป็นจำนวนมาก ในเวลาต่อมาพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชได้ทรงรับสั่งให้พลเอกสุจินดา คราประยูรและพลตรีจำลอง ศรีเมืองเข้าเฝ้า โดยทรงพระราชทานพระราชดำรัสแก่คณะผู้เข้าเฝ้าทูลละอองธุลีพระบาท ซึ่งได้มีการเผยแพร่ผ่านโทรทัศน์รวมการเฉพาะกิจแห่งประเทศไทย หลังจากนั้นอีก 4 วัน พล.อ.สุจินดา จึงได้ประกาศลาออกจากการเป็นนายกรัฐมนตรี และนายอานันท์ ปันยารชุน ได้ดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีอีกครั้ง ก่อนการเลือกตั้งในเวลาต่อมา การชุมนุมในครั้งนี้ยังเป็นการชุมนุมที่ผู้ประท้วงมีโทรศัพท์มือถือใช้สื่อสารจนถูกเรียกว่าเป็น "ม็อบมือถือ" และรวมถึงการเรียกชื่อฝั่งพรรคซึ่งแตกออกเป็น 2 ฝั่งจากผู้สื่อข่าว โดยเรียกฝั่งพรรคที่เข้าไปทางรัฐบาลของพล.อ.สุจินดา ว่า "พรรคมาร" ส่วนฝั่งพรรคที่คัดค้านการมีอำนาจของพล.อ.สุจินดา เรียกว่า "พรรคเทพ".

ใหม่!!: สุรยุทธ์ จุลานนท์และพฤษภาทมิฬ · ดูเพิ่มเติม »

พลอากาศเอก

ลอากาศเอก (air chief marshal) คือ ยศของเจ้าพนักงานทหารอากาศระดับสี่ดาว ซึ่งใช้เป็นครั้งแรกในกองทัพอากาศอังกฤษ และปัจจุบันก็ยังใช้อยู่ในกองทัพดังกล่าว ยศนี้ยังได้รับการใช้ในกองทัพอากาศของหลาย ๆ ประเทศซึ่งได้รับอิทธิพลทางประวัติศาสตร์มาจากประเทศอังกฤษ เจ้าพนักงานซึ่งดำรงยศพลอากาศเอกนี้มักเป็นเจ้าพนักงานชั้นผู้ใหญ่อย่างยิ่ง เช่น เป็นผู้บัญชาการกองทัพหรือกองทัพอากาศระดับชาต.

ใหม่!!: สุรยุทธ์ จุลานนท์และพลอากาศเอก · ดูเพิ่มเติม »

พลเรือเอก

พลเรือเอก (admiral) คือ ยศสูงสุดสำหรับทหาร/ตำรวจ ที่มีหน้าที่หรือปฏิบัติหน้าที่การทำงานภาคพื้นทะเลเท่านั้น หมวดหมู่:ยศทหาร หมวดหมู่:พลเรือเอก.

ใหม่!!: สุรยุทธ์ จุลานนท์และพลเรือเอก · ดูเพิ่มเติม »

พลเอก

ลเอก (General officer) คือ ยศของเจ้าหน้าที่ระดับสูงในกองทัพบก และในกองทัพเรือและกองทัพอากาศสำหรับบางประเทศ คำว่า "General" หรือ "นายพล" ถูกนำมาใช้ได้สองแบบ คือ โดยทั่วไปหมายถึงนายทหารชั้นยศนายพลทั้งหมดตั้งแต่ พลจัตวา ถึง พลเอก และใช้เฉพาะเจาะจงหมายถึงยศพลเอก.

ใหม่!!: สุรยุทธ์ จุลานนท์และพลเอก · ดูเพิ่มเติม »

พโยม จุลานนท์

ม จุลานนท์ ในปี พ.ศ. 2491 พันโท พโยม จุลานนท์ เป็นทหาร, นักการเมือง, หัวหน้าพรรคคอมมิวนิสต์แห่งประเทศไทย สมรสกับสมโภช ท่าราบ มีบุตร 3 คน คือ นางอัมพร ทีขะระ, พลเอก สุรยุทธ์ จุลานนท์ อดีตนายกรัฐมนตรี และนภาวดี ศิริภักดี พโยมเป็นบุตรของพระยาวิเศษสิงหนาถ (ยิ่ง จุลานนท์) แห่งเมืองเพชรบุรี ต้นตระกูลจุลานนท์ ซึ่งเป็นบุตรเขยของพระยาศรีสิทธิสงคราม (ดิ่น ท่าราบ) พโยมกลายเป็นพันธมิตรของจอมพล แปลก พิบูลสงคราม ในคราวรัฐประหารพลเรือตรี ถวัลย์ ธำรงนาวาสวัสดิ์และปรีดี พนมยงค์ ในปี 2490 หลังจากนั้นพโยมก็ไม่เห็นด้วยกับหัวหน้าคณะรัฐประหารและเริ่มปฎิวัติล้มเหลว พโยมจึงต้องลี้ภัยไปยังประเทศจีน ผ่านทางอำเภอแม่สาย และประเทศพม่า พโยมกลับมาประเทศไทยอีกครั้งในปี..

ใหม่!!: สุรยุทธ์ จุลานนท์และพโยม จุลานนท์ · ดูเพิ่มเติม »

กฎอัยการศึก

กฎอัยการศึก (martial law) เป็นกฎหมายซึ่งได้ตราขึ้นไว้สำหรับประกาศใช้เมื่อมีเหตุจำเป็นเพื่อรักษาความสงบเรียบร้อยในบ้านเมือง เช่น ในกรณีเกิดสงคราม การจลาจล ในเขตที่ประกาศใช้กฎอัยการศึก เจ้าหน้าที่ฝ่ายทหารมีอำนาจหน้าที่เหนือเจ้าหน้าที่ฝ่ายพลเรือนในส่วนที่เกี่ยวกับการยุทธ์ การระงับปราบปรามหรือการรักษาความสงบเรียบร้อย และศาลทหารมีอำนาจพิจารณาพิพากษาคดีอาญาบางอย่างที่ประกาศระบุไว้แทนศาลพลเรือน กฎอัยการศึกมักกำหนดเป็นการชั่วคราวเมื่อรัฐบาลหรือข้าราชการพลเรือนไม่อาจทำหน้าที่ได้อย่างมีประสิทธิภาพ เช่น ในการรักษาความสงบเรียบร้อยและความมั่นคง หรือให้บริการที่สำคัญ ในกฎอัยการศึกเต็มขั้น นายทหารยศสูงสุดจะยึด หรือได้รับแต่งตั้ง เป็นผู้ว่าการทหารหรือเป็นหัวหน้ารัฐบาล ฉะนั้น จึงเป็นการถอดอำนาจทั้งหมดทั้งฝ่ายนิติบัญญัติ บริหารและตุลาการของรัฐบาล กฎอัยการศึกเป็นกฎหมายที่มีอยู่ในเวลาปกติ แต่ไม่ได้ใช้บังคับ โดยเมื่อจะใช้บังคับจะต้องประกาศ และกำหนดเขตพื้นที่ที่จะใช้บังคับ ในหลายประเทศจะไม่มีการตราเป็นกฎหมายชัดเจน เช่น สหรัฐอเมริกา อังกฤษ ในบางประเทศจะตราเป็นกฎหมายชัดเจน เช่น ฝรั่งเศส ไทย รัฐบาลอาจใช้กฎอัยการศึกเพื่อควบคุมสาธารณะ เหตุการณ์นี้อาจเกิดขึ้นหลังรัฐประหาร (เช่น ประเทศไทยใน พ.ศ. 2549) เมื่อถูกการประท้วงของประชาชนคุกคาม (เช่น การประท้วงที่จัตุรัสเทียนอันเหมินในประเทศจีน พ.ศ. 2532) เพื่อปราบปรามคู่แข่งทางการเมือง (เช่น ประเทศโปแลนด์ในปี พ.ศ. 2524) หรือเพื่อกำราบการก่อการกบฏ (เช่น วิกฤตการณ์เดือนตุลาคม พ.ศ. 2513 ในประเทศแคนาดา) อาจมีประกาศกฎอัยการศึกในกรณีภัยพิบัติธรรมชาติใหญ่ ทว่า ประเทศส่วนมากประกาศเป็นสถานการณ์ฉุกเฉินแทน นอกจากนี้ ยังมีการกำหนดกฎอัยการศึกระหว่างความขัดแย้งหรือในกรณีการยึดครอง เมื่อไม่มีการจัดรัฐบาลพลเรือนอื่นใดให้กับประชากรที่ไม่มีเสถียรภาพ ตัวอย่างเช่น การบูรณะประเทศเยอรมนีและญี่ปุ่นหลังสงครามโลกครั้งที่สอง ตลอดจนการบูรณะตอนใต้หลังสงครามกลางเมืองอเมริกา ตามแบบ การกำหนดกฎอัยการศึกจะประกอบกับการห้ามออกจากเคหสถานเวลาค่ำคืน การระงับกฎหมายแพ่ง สิทธิพลเมือง หมายสั่งให้ส่งตัวผู้ถูกคุมขังมาศาล และการใช้หรือขยายกฎหมายทหารหรือการศาลทหารกับพลเรือน.

ใหม่!!: สุรยุทธ์ จุลานนท์และกฎอัยการศึก · ดูเพิ่มเติม »

กรมทหารราบที่ 31 รักษาพระองค์

กรมทหารราบที่ 31 รักษาพระองค์ เป็นหน่วยทหารของกองทัพบกไทย รักษาพระองค์ในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช มีที่ตั้งหน่วยอยู่ที่ 120 หมู่ 5 บ้านหนองแขม ถนนพิชัยดาบหัก ตำบลถนนใหญ่ อำเภอเมือง จังหวัดลพบุรี หน่วยพร้อมรบเคลื่อนที่เร็วของ (อาร์ดีเอฟ) กองทัพบก เป็นหน่วยทหารรักษาพระองค์ในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุล.

ใหม่!!: สุรยุทธ์ จุลานนท์และกรมทหารราบที่ 31 รักษาพระองค์ · ดูเพิ่มเติม »

กรมประชาสัมพันธ์

กรมประชาสัมพันธ์ เป็นหน่วยงานประชาสัมพันธ์ของรัฐบาลไทย ในสังกัดสำนักนายกรัฐมนตรี มีหน้าที่เสริมสร้างความเข้าใจ ระหว่างหน่วยงานรัฐกับประชาชน และระหว่างประชาชนกับประชาชนด้วยกัน นอกจากนี้ ยังทำหน้าที่โน้มน้าวชักจูงประชาชน ให้ร่วมมือกับรัฐบาล และหน่วยงานราชการ.

ใหม่!!: สุรยุทธ์ จุลานนท์และกรมประชาสัมพันธ์ · ดูเพิ่มเติม »

กระทรวงมหาดไทย (ประเทศไทย)

กระทรวงมหาดไทย มีอำนาจหน้าที่เกี่ยวกับการบำบัดทุกข์บำรุงสุข การรักษาความสงบเรียบร้อยของประชาชน การอำนวยความเป็นธรรมของสังคม การส่งเสริมและพัฒนาการเมืองการปกครอง การพัฒนาการบริหารราชการส่วนภูมิภาค การปกครองท้องที่ การส่งเสริมการปกครองท้องถิ่นและพัฒนาชุมชน การทะเบียนราษฎร ความมั่นคงภายใน กิจการสาธารณภัย และการพัฒนาเมืองและราชการอื่นตามที่มีกฎหมายกำหนดให้เป็นอำนาจหน้าที่ของกระทรวงมหาดไทยหรือส่วนราชการที่สังกัดกระทรวงมหาดไท.

ใหม่!!: สุรยุทธ์ จุลานนท์และกระทรวงมหาดไทย (ประเทศไทย) · ดูเพิ่มเติม »

กล้านรงค์ จันทิก

กล้านรงค์ จันทิก เป็นสมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ อดีตกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ อดีตเลขาธิการคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ (ป.ป.ช.) เกิดเมื่อวันที่ 18 กันยายน พ.ศ. 2486 เป็นบุตรของนายยนต์ และนางศรีสว่าง จันทิก สมรสกับนางพันทิพา จันทิก มีบุตรธิดา 3 คน นายกล้านรงค์ ได้รับการแต่งตั้งเป็น กรรมการ ป.ป..

ใหม่!!: สุรยุทธ์ จุลานนท์และกล้านรงค์ จันทิก · ดูเพิ่มเติม »

กองอาสารักษาดินแดน

กองอาสารักษาดินแดน (คำย่อ: อส., Volunteer Defense Corps; VDC) เป็นกองกำลังกึ่งทหาร ทำหน้าที่รักษาความสงบร่วมกับพนักงานฝ่ายปกครองหรือตำรวจ ปราบปรามผู้กระทำผิดกฎหมาย การเทิดทูนและพิทักษ์รักษาไว้ซึ่งสถาบันพระมหากษัตริย์ การจัดระเบียบสังคม การบริการประชาชน การส่งเสริมการท่องเที่ยว รวมถึงรักษาความปลอดภัยในสถานที่สำคัญ และการคมนาคม และเป็นกำลังสำรองส่วนหนึ่งที่พร้อมจะเพิ่มเติมและสนับสนุนกำลังทหารได้เมื่อมีการร้องขอทั้งในยามปกติและยามศึกสงคราม กองอาสารักษาดินแดนสังกัดกรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย มีรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทยเป็นผู้บัญชาการโดยตำแหน่งhttp://asa.dopa.go.th/line1.pdf และประธานกรรมการ.

ใหม่!!: สุรยุทธ์ จุลานนท์และกองอาสารักษาดินแดน · ดูเพิ่มเติม »

กองอำนวยการรักษาความมั่นคงภายในราชอาณาจักร

กองอำนวยการรักษาความมั่นคงภายในราชอาณาจักร หรือ กอ.รมน. (อังกฤษ: Internal Security Operations Command) เป็นหน่วยงานในสังกัดสำนักนายกรัฐมนตรี มีหน้าที่เป็นศูนย์ประสานงานกลาง เพื่อต่อต้านภัยคุกคามที่มุ่งทำลายผลประโยชน์และความมั่นคงของชาติ มีนายกรัฐมนตรีเป็นผู้อำนวยการรักษาความมั่นคงภายในราชอาณาจักร (ผอ.รมน.) โดยตำแหน่ง.

ใหม่!!: สุรยุทธ์ จุลานนท์และกองอำนวยการรักษาความมั่นคงภายในราชอาณาจักร · ดูเพิ่มเติม »

กองทัพบกไทย

กองทัพบกไทย (คำย่อ: ทบ.; Royal Thai Army) เป็นเหล่าทัพที่มีประวัติความเป็นมายาวนานที่สุดและมีขนาดใหญ่ที่สุดของกองทัพไทย ก่อตั้งเป็นกองทัพสมัยใหม่ขี้นในปี พ.ศ. 2417.

ใหม่!!: สุรยุทธ์ จุลานนท์และกองทัพบกไทย · ดูเพิ่มเติม »

กองทัพไทย

กองทัพไทย (Royal Thai Armed Forces) เป็นกองทัพของราชอาณาจักรไทย แบ่งเป็นสามเหล่าทัพ ได้แก่ กองทัพบก กองทัพเรือและกองทัพอาก.

ใหม่!!: สุรยุทธ์ จุลานนท์และกองทัพไทย · ดูเพิ่มเติม »

กันยายน

กันยายน เป็นเดือนที่ 9 ของปี ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็นหนึ่งในเดือน 4 เดือนที่มี 30 วัน ตามหลักโหราศาสตร์ เดือนกันยายนเริ่มต้นขึ้นเมื่อดวงอาทิตย์ยกเข้าสู่ราศีกันย์ และสิ้นสุดเมื่อยกเข้าสู่ราศีตุล แต่ในทางดาราศาสตร์ ต้นเดือนกันยายนดวงอาทิตย์อยู่ในกลุ่มดาวสิงโตและปลายเดือนไปอยู่ในกลุ่มดาวหญิงสาว เดือนกันยายนในภาษาอังกฤษ September มาจากภาษาละติน septem เนื่องจากเป็นเดือนที่ 7 ในปฏิทินโรมันดั้งเดิมที่เริ่มต้นปีในเดือนมีนาคม ประเทศไทยเริ่มใช้ชื่อเดือนกันยายนในปี พ.ศ. 2432 ตรงกับสมัยรัชกาลที่ 5 โดยสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอกรมพระยาเทววงศ์วโรปการ เป็นผู้เสนอให้ใช้ราศีกำหนดชื่อเดือน.

ใหม่!!: สุรยุทธ์ จุลานนท์และกันยายน · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (Thammasat University) หรือเรียกโดยย่อว่า ม. (TU) เป็นมหาวิทยาลัยแห่งที่สองของประเทศไทย ก่อตั้งในชื่อ "มหาวิทยาลัยวิชาธรรมศาสตร์และการเมือง" หรือ "ม..ก." (The University of Moral and Political Sciences หรือ UMPS) เมื่อวันที่ 27 มิถุนายน..

ใหม่!!: สุรยุทธ์ จุลานนท์และมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ · ดูเพิ่มเติม »

รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทยของไทย

รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย เป็นตำแหน่งหัวหน้าส่วนราชการของ กระทรวงมหาดไทย โดยตำแหน่งนี้มีขึ้นตั้งแต่ปี พ.ศ. 2435 ในสมัย พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว โดยในช่วงนั้น เรียกตำแหน่งนี้ว่า เสนาบดีกระทรวงมหาดไทย จนกระทั่งหลังจากเหตุการณ์ การปฏิวัติสยาม พ.ศ. 2475 จึงได้เปลื่ยนชื่อตำแหน่งเป็น รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย จนถึงปัจจุบัน ทั้งนี้ ตั้งแต่ พ.ศ. 2498 เป็นต้นมา รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทยมีฐานะเป็นประธานกรรมการและผู้บัญชาการ กองอาสารักษาดินแดน โดยตำแหน่ง และมียศเป็นนายกองใหญ่ ซึ่งเป็นชั้นยศสูงสุดของกองอาสารักษาดินแดน.

ใหม่!!: สุรยุทธ์ จุลานนท์และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทยของไทย · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อผู้บัญชาการทหารสูงสุดของไทย

ผู้บัญชาการทหารสูงสุด เป็นชื่อตำแหน่งผู้บัญคับบัญชาระดับบนสุดของกองทัพไทยและกองบัญชาการกองทัพไทย ตั้งแต..

ใหม่!!: สุรยุทธ์ จุลานนท์และรายชื่อผู้บัญชาการทหารสูงสุดของไทย · ดูเพิ่มเติม »

รายนามผู้บัญชาการทหารบกไทย

รายพระนาม รายนาม ผู้บัญชาการทหารบก แห่งกองทัพบกไท.

ใหม่!!: สุรยุทธ์ จุลานนท์และรายนามผู้บัญชาการทหารบกไทย · ดูเพิ่มเติม »

รายนามแม่ทัพภาคที่ 2

กองทัพภาคที่ 2 (ทภ.2) ของกองทัพบกไทย รับผิดชอบพื้นที่ภาคตะวันออกเฉียงเหนือทั้งหมด ตั้งกองบัญชาการที่ค่ายสุรนารี จังหวัดนครราชสีมา หน่วยรบที่สำคัญ คือ.

ใหม่!!: สุรยุทธ์ จุลานนท์และรายนามแม่ทัพภาคที่ 2 · ดูเพิ่มเติม »

รถถัง

รถถัง Mark IV รถถัง เป็นยานพาหนะต่อสู้หุ้มเกราะติดตีนตะขาบที่ถูกออกแบบมาเพื่อใช้ในการรบที่แนวหน้าซึ่งเป็นการผสมผสานระหว่างความคล่องตัว การรุก และการป้องกัน อำนาจการยิงของมันมาจากปืนหลักขนาดใหญ่ของมันที่ติดตั้งอยู่บนป้อมส่วนบนที่หมุนได้พรัอมกับมีปืนกลติดตั้งอยู่เพื่อเป็นอาวุธรอง ในขณะที่เกราะขนาดหนักและความสามารถในการเคลื่อนที่ของมันเป็นสิ่งที่คอยปกป้องชีวิตของพลประจำรถ นั่นทำให้มันสามารถทำงานหลักของทหารราบยานเกราะได้ทั้งหมดในสมรภูมิ รถถังเริ่มนำมาใช้ในสงครามโลกครั้งที่ 1 ครั้งแรกโดยอังกฤษ ได้แก่ Mark IV tank เพื่อใช้มันสนับสนุนทหารราบในการฝ่าทะลุแนวสนามเพลาะ พวกมันถูกใช้ในยุทธการซอมม์ในจำนวนน้อยมาก ในช่วงที่มันถูกสร้างขึ้นมันถูกเรียกว่ายานลำเลียงน้ำเพื่อปกปิดวัตถุประสงค์การใช้งานจริงของมัน คำว่า"แท็งค์" (tank) นั้นมาจากคำว่า "Water tank" ที่แปลว่าถังน้ำ ด้วยวัตถุประสงค์หลักเพื่อสนับสนุนทหารราบมันจึงทำความเร็วสูงสุดได้เพียง 5-6 กิโลเมตรต่อชั่วโมง การมาของ Mark IV tank ทำให้ฝ่ายเยอรมันพัฒนารถถังของตนเอง ได้แก่ A7V เพื่อตอบโต้ฝ่ายอังกฤษ รถถัง A7V ฝรั่งเศสเป็นชาติแรกในโลกที่พัฒนารถถังที่ติดตั้งปืนบนป้อมซึ่งหมุนได้ 360 องศาได้แก่ Renault FT และใช้พลรถถังเพียง 2 คน ในการควบคุมรถถัง ต่างจาก Mark IV tank ของอังกฤษที่ต้องใช้พลรถถังถึง 8 คนในการควบคุม และ A7V ของเยอรมนีที่ใช้พลรถถัง 18 คน การพัฒนาในสงครามของมันเกิดขึ้นในสงครามโลกครั้งที่สองทำให้มันเป็นแนวคิดหลักของสงครามยานเกราะซึ่งอยู่มาจนถึงทุกวันนี้ และเป็นบทบาทหลักในสงครามโลกครั้งที่ 2 สหภาพโซเวียตได้นำรถถังที-34 มาใช้ มันเป็นหนึ่งในรถถังที่ดีที่สุดในสงครามและเป็นต้นตำรับของรถถังหลัก เยอรมนีใช้การโจมตีสายฟ้าแลบ ซึ่งเป็นยุทธวิธีในการใช้กองกำลังรถถังเป็นหลักโดยมีปืนใหญ่และการยิงทางอากาศเข้าสนับสนุนเพื่อเจาะทะลุแนวป้องกันของศัตรู ปัจจุบันรถถังนั้นไม่ปฏิบัติการเพียงลำพังนัก พวกมันจะรวมกันเป็นหน่วยซึ่งจะมีทหารราบให้การสนับสนุน ทหารเหล่านั้นจะทำงานร่วมกับรถสายพานลำเลียงพลหรือยานพาหนะต่อสู้ทหารราบ รถถังยังถูกใช้ร่วมกับการสอดแนมหรือการโจมตีภาคพื้นดินทางอากาศอีกด้วย เนื่องมาจากความสามารถและความหลากประโยชน์ของรถถังประจัญบานที่ถูกมองว่าเป็นกุญแจสำคัญของกองทัพยุคใหม่ อย่างไรก็ตามในสงครามนอกกรอบได้นำข้อสงสัยมาสู่กองพลยานเกราะ ไจโรสโคปถูกนำมาใช้เพื่อสร้างความเสถียรให้กับปืนใหญ่ ทำให้มันเล็งได้อย่างแม่นยำและยิงได้ในขณะเคลื่อนที่ ปืนรถถังยุคใหม่ยังมีตัวลดความร้อนเพื่อลดการกระจายความร้อนที่เกิดจากการยิง มันจะช่วยลดควันที่เข้าไปในรถถังและบางครั้งก็ลดแรงถีบซึ่งจะเพิ่มความแม่นยำและอัตราการยิงให้มากขึ้น โดยทั่วไปแล้วการตรวจจับเป้าหมายจะใช้สายตามองเอาผ่านทางกล้องโทรทรรศน์ อย่างไรก็ตามมีบางครั้งที่ผู้บัญชาการรถถังจะเปิดฝาครอบด้านบนออกเพื่อมองไปรอบๆ ตัว ซึ่งจะเป็นการเพิ่มความระมัดระวังต่อสถานการณ์แต่ก็ทำให้เขาตกเป็นเป้าของพลซุ่มยิงได้ โดยเฉพาะเมื่อยู่ในป่าหรือเมือง แม้ว่าการพัฒนามากมายในการตรวจหาเป้าหมายจะเกิดขึ้นเมื่อเร็วๆ นี้ แต่ข้อปฏิบัติดังกล่าวก็ยังถูกใช้กันอยู่ ในบางกรณีปืนกลเคียงที่อยู่ข้างปืนใหญ่ก็ถูกใช้เพื่อหาวิถีโค้งและระยะของเป้าหมาย ปืนกลนี้จะถูกติดตั้งบนแกนเดียวกับปืนใหญ่รถถัง และยิงกระสุนไปที่เป้าหมายเดียวกัน พลปืนจะติดตามการเคลื่อนไหวของกระสุนติดตามเมื่อมันพุ่งชนเป้าหมาย และเมื่อมันชนเป้าหมาย มันก็จะปล่อยแสงออกมาพร้อมกับควันหลังจากที่ปืนใหญ่ยิงออกไปแล้ว อย่างไรก็ตามมันก็มักถูกแทนที่ด้วยเลเซอร์หาระยะแทน รถถังยุคใหม่ยังมีกล้องมองกลางคืนและกล้องจับถวามร้อนเพื่อเพิ่มความสามารถในการทำงานในตอนกลางคืน ในสภาพอากาศที่เลวร้าย และในกลุ่มควัน ความแม่นยำของรถถังยุคใหม่ได้ก้าวไปสู่จุดสูงสุดโดยระบบควบคุมการยิง ระบบนี้ใช้เลเซอร์หาระยะเพื่อระบุความห่างจากเป้าหมาย มันยังมีตัววัดแรงลมและตัวควบคุมความร้อนที่ปากกระบอก การที่เลเซอร์หาระยะสามารถมองหาเป้าหมายสองเป้าได้พร้อมกับทำให้มันสามารถคำนวณการเคลื่อนไหวของเป้าหมายได้ ข้อมูลเหล่านี้จะถูกรวบรวมเข้ากับการเคลื่อนไหวของรถถังและการเคลื่อนที่ของวัตถุในอากาศเพื่อคำนวณการไต่ระดับและจุดเล็งที่มันจะเข้าชนเป้าหมาย โดยปกติแล้วรถถังจะมีปืนขนาดเล็กกว่าเพื่อป้องกันตัวในระยะใกล้ซึ่งการยิงด้วยปืนใหญ่นั้นจะไร้ประสิทธิภาพ อย่างการจัดการกับทหารราบ ยานพาหนะขนาดเบา หรือเครื่องบิน อาวุธรองมักจะเป็นปืนกลเอนกประสงค์ที่อยู่ข้างปืนใหญ่และปืนกลต่อต้านอากาศยานที่อยู่ด้านบนสุดของป้อมปืน อาวุธเหล่านี้มักถูกดัดแปลงเพื่อใช้โดยทหารราบ และใช้กระสุนที่เหมือนๆ กัน.

ใหม่!!: สุรยุทธ์ จุลานนท์และรถถัง · ดูเพิ่มเติม »

ฤๅษี

วนฤๅษีผู้เลื่องชื่อในเทพปกรณัมฮินดู ฤๅษี หรือ ฤษี (สันสกฤต: ṛṣi; เทวนาครี: ऋषि) ภาษาสันสกฤตอ่านว่า ฤษิ หมายความว่า ผู้แต่งพระเวท หรือผู้เห็น ฤๅษีเป็นนักบวชพวกหนึ่ง มีมาก่อนพุทธกาล สละบ้านเรือนออกไปบำเพ็ญพรตแสวงหาความสงบ ตามสถานที่สงัดต่างๆ ในป่าเขาหรือถ้ำ และเดิมมักเป็นหญิง ซึ่งเรียก "ฤษิก" (rishika) ตามความในคัมภีร์สารวานุกรมนี (Sarvanukramani) ในบรรดาผู้แต่งฤคเวทนั้น เป็นฤษีหญิงถึงยี่สิบคน ฤษี อาจหมายถึงมุนี (muni) ฤษี อีกความหมายหนึ่งคือ ฤษีเพศชาย ส่วน "ฤษิณี" หมายถึง ฤษีเพศหญิง ฤษีที่มีชื่อเสียงชื่อ ฤษี วยาส ผู้สร้างโศลกเรื่องมหากาพย์ภารตะ ซึ่งเป็นมหากาพย์ที่มีจำนวนโศลกมากจำนวนประมาณถึง 1 แสนโศลก ตำนานเล่าว่า ฤๅษีเวทวฺยาส หรือ กฤษฺณ ไทฺวปายน เป็นปู่ของสองพี่น้องตระกูลเการพและปาณฑพ และเป็นเหลนใหญ่ของท้าวภรต คัมภีร์โบราณของฮินดูระบุไว้ว่า ท้าวภรต (ภะ-ระ-ตะ) ผู้นี้เป็นโอรสท้าวทุษยันต์ อันเกิดจากนางศกุนตล.

ใหม่!!: สุรยุทธ์ จุลานนท์และฤๅษี · ดูเพิ่มเติม »

ลิง

แสม (''Macaca fascicularis'') ลิงที่คุ้นเคยและพบได้บ่อยที่สุดในประเทศไทย อาจพบได้ถึงในชุมชนเมืองhttp://1081009.tourismthailand.org/trip/dcp?id.

ใหม่!!: สุรยุทธ์ จุลานนท์และลิง · ดูเพิ่มเติม »

วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร

วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร หรือ วปอ. เป็นสถาบันการศึกษาชั้นสูงของประเทศ ขึ้นตรงกับสถาบันวิชาการป้องกันประเทศ กองบัญชาการกองทัพไทย กระทรวงกลาโหม มีหน้าที่จัดการศึกษาหลักสูตรเกี่ยวกับความมั่นคงแห่งชาติและการป้องกันราชอาณาจักร ให้แก่ข้าราชการชั้นผู้ใหญ่ทั้งฝ่ายทหารและพลเรือน พนักงานองค์การของรัฐ รัฐวิสาหกิจ รวมทั้งเอกชน โดยฝึกปฏิบัติการวางแผนและนโยบายระดับชาติ การพัฒนายุทธศาสตร์ชาต.

ใหม่!!: สุรยุทธ์ จุลานนท์และวิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร · ดูเพิ่มเติม »

ศาสนาพุทธในประเทศไทย

ระพุทธศาสนาเข้ามาสู่ดินแดนที่เป็นประเทศไทยในปัจจุบัน เมื่อประมาณ พ.ศ. 236 สมัยเดียวกันกับประเทศศรีลังกา ด้วยการส่งพระสมณทูตไปเผยแผ่พระพุทธศาสนาในประเทศต่างๆ 9 สาย โดยการอุปถัมภ์ของพระเจ้าอโศกมหาราช กษัตริย์อินเดีย ในขณะนั้นประเทศไทยรวมอยู่ในดินแดนที่เรียกว่าสุวรรณภูมิ ซึ่งมีขอบเขตกว้างขวาง มีประเทศรวมกันอยู่ในดินแดนส่วนนี้ทั้ง 7 ประเทศในปัจจุบัน ได้แก่ ไทย พม่า ศรีลังกา ญวน กัมพูชา ลาว มาเลเซีย ซึ่งสันนิษฐานว่ามีใจกลางอยู่ที่จังหวัดนครปฐมของไทย เนื่องจากได้พบโบราณวัตถุที่สำคัญ เช่นพระปฐมเจดีย์ และรูปธรรมจักรกวางหมอบเป็นหลักฐานสำคัญ แต่พม่าก็สันนิษฐานว่ามีในกลางอยู่ที่เมืองสะเทิม ภาคใต้ของพม่า พระพุทธศาสนาเข้ามาสู่สุวรรณภูมิในยุคนี้ นำโดยพระโสณะและพระอุตตระ พระเถระชาวอินเดีย เดินทางมาเผยแผ่พุทธศาสนาในแถบนี้ จนเจริญรุ่งเรืองมาตามลำดับ ตามยุคสมัยต่อไปนี้.

ใหม่!!: สุรยุทธ์ จุลานนท์และศาสนาพุทธในประเทศไทย · ดูเพิ่มเติม »

สมัคร สุนทรเวช

มัคร สุนทรเวช (ชื่อจีน: 李沙馬 Lǐ Shāmǎ; 13 มิถุนายน พ.ศ. 2478 – 24 พฤศจิกายน พ.ศ. 2552) เป็นนายกรัฐมนตรีไทยคนที่ 25 และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม หัวหน้าพรรคพลังประชาชน อดีตผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร และผู้ก่อตั้งพรรคประชากรไทย เกิดที่กรุงเทพมหานคร เป็นนักการเมืองเก่าแก่ ที่มีเสียงพูดและลีลาการพูดเป็นเอกลักษณ์ เคยดำรงตำแหน่งสำคัญมากมาย เช่น รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย รัฐมนตรีว่าการกระทรวงคมนาคม (2 สมัย) ได้ฉายาจากสื่อมวลชนทั่วไปว่า "น้าหมัก" "ออหมัก" หรือ "ชมพู่" (มาจากลักษณะจมูกของสมัคร) "ชาวนา" (จากกรณีกลุ่มงูเห่า) เป็นต้น สมัครเริ่มทำงานหลังจบนิติศาสตร์ ธรรมศาสตร์ เป็นสื่อมวลชนสายการเมือง โดยเขียนบทความ และความคิดเห็น ทางการเมืองแบบไม่ประจำใน หนังสือพิมพ์สยามรัฐ, สยามรัฐสัปดาห์วิจารณ์ และชาวกรุง ตั้งแต..

ใหม่!!: สุรยุทธ์ จุลานนท์และสมัคร สุนทรเวช · ดูเพิ่มเติม »

สมทัต อัตตะนันทน์

ลเอก พลเรือเอก พลอากาศเอก สมทัต อัตตะนันทน์ (5 พฤษภาคม พ.ศ. 2487 —) อดีตผู้บัญชาการทหารสูงสุด ผู้บัญชาการทหารบก และแม่ทัพภาคที่ 1.

ใหม่!!: สุรยุทธ์ จุลานนท์และสมทัต อัตตะนันทน์ · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร

มเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร (พระราชสมภพ 28 กรกฎาคม พ.ศ. 2495) เป็นพระมหากษัตริย์ไทย รัชกาลที่ 10 แห่งราชวงศ์จักรี เสด็จขึ้นทรงราชย์เมื่อวันที่ 13 ตุลาคม..

ใหม่!!: สุรยุทธ์ จุลานนท์และสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร · ดูเพิ่มเติม »

สื่อมวลชน

ื่อมวลชน (mass media) เป็นสื่อที่สามารถกระจายข้อมูลข่าวสารจากบุคคลหนึ่งหรือจากองค์กรหนึ่ง ไปยังมวลชนจำนวนมากโดยเฉพาะประชาชนทั้งประเทศ ในเวลาอันรวดเร็ว ได้แก่ หนังสือพิมพ์ นิตยสาร วิทยุ โทรทัศน์ ภาพยนตร์ อินเทอร์เน็ตฯลฯ การเผยแพร่ในสื่อมวลชนส่วนหนึ่งต้องจ่ายเงินเพื่อซื้อเวลา ซื้อพื้นที่ในการเผยแพร่ข้อมูลข่าวสาร อย่างไรก็ตามองค์กรสามารถใช้สื่อมวลชนแบบให้เปล่าได้ หากองค์กรนั้นมีเรื่องราวที่น่าสนใจแก่การเผยแพร่ หรือบังคับโดยข้อกฎหม.

ใหม่!!: สุรยุทธ์ จุลานนท์และสื่อมวลชน · ดูเพิ่มเติม »

สุจินดา คราประยูร

ลเอก พลเรือเอก พลอากาศเอก สุจินดา คราประยูร (เกิด 6 สิงหาคม พ.ศ. 2476) เป็นอดีตนายกรัฐมนตรีของประเทศไทย รัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม ผู้บัญชาการทหารบก และ ผู้บัญชาการทหารสูง.

ใหม่!!: สุรยุทธ์ จุลานนท์และสุจินดา คราประยูร · ดูเพิ่มเติม »

สถานีวิทยุโทรทัศน์แห่งประเทศไทย

นีวิทยุโทรทัศน์แห่งประเทศไทย (ชื่อย่อ: เอ็นบีที; อังกฤษ: The National Broadcasting Services of Thailand) เป็นหน่วยงานสถานีวิทยุโทรทัศน์ของรัฐบาล มีสถานะเป็นสถานีวิทยุโทรทัศน์แห่งชาติของประเทศไทย สังกัดกรมประชาสัมพันธ์ สำนักนายกรัฐมนตรี โดยมีรัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี (ปัจจุบันคือ กอบศักดิ์ ภูตระกูล) และปลัดสำนักนายกรัฐมนตรี (ปัจจุบันคือ นางพัชราภรณ์ อินทรียงค์) เป็นผู้กำกับดูแล โดยมีการเปลี่ยนชื่อ พร้อมปรับปรุงระบบการบริหารงาน และรูปแบบของสถานีฯ เพื่อให้สมเจตนารมณ์ของการก่อตั้งสถานีฯ ตั้งแต่วันอังคารที่ 1 เมษายน พ.ศ. 2551 เวลา 06.00 น. เป็นต้นไปในวันที่ใช้ชื่อเอ็นบีที และได้เปลี่ยนอัตลักษณ์ใหม่ของสถานีฯ ที่ใช้มาจนถึงปัจจุบัน.

ใหม่!!: สุรยุทธ์ จุลานนท์และสถานีวิทยุโทรทัศน์แห่งประเทศไทย · ดูเพิ่มเติม »

สถานีโทรทัศน์ทีไอทีวี

นีโทรทัศน์ทีไอทีวี (Thailand Independent Television ชื่อย่อ: TITV) เป็นสถานีโทรทัศน์ระบบยูเอชเอฟที่อยู่ในการกำกับดูแลโดย กรมประชาสัมพันธ์ ผู้ได้รับมอบอำนาจการออกอากาศจากสำนักงานปลัดสำนักนายกรัฐมนตรี (สปน.) ในสถานะหน่วยงานรูปแบบพิเศษ (Service Delivery Unit - SDU) ตั้งแต่เวลา 00.00 น. วันที่ 8 มีนาคม..

ใหม่!!: สุรยุทธ์ จุลานนท์และสถานีโทรทัศน์ทีไอทีวี · ดูเพิ่มเติม »

สถานีโทรทัศน์ไอทีวี

นีโทรทัศน์ไอทีวี (Independent Television ชื่อย่อ: itv) เริ่มต้นออกอากาศอย่างเป็นทางการ เมื่อวันที่ 1 กรกฎาคม พ.ศ. 2539 เวลา 19.00 น. โดยเริ่มต้นจากการนำเสนอ ข่าวภาคค่ำประจำวัน เพื่อตอกย้ำภาพลักษณ์ การเป็น สถานีโทรทัศน์เพื่อข่าวสาร และสาระความรู้ โดยผู้ประกาศข่าวคู่แรกของสถานี คือ กิตติ สิงหาปัด และ เทพชัย หย่อง ออกอากาศทางช่อง 26และช่อง 29 โดยมี สำนักงานปลัดสำนักนายกรัฐมนตรี (สปน.) เป็นเจ้าของคลื่นความถี่ และผู้กำกับสัมปทาน เป็นสถานีโทรทัศน์แห่งที่ 6 ที่ให้บริการแบบไม่ต้องเสียค่าบริการ แห่งประเทศไทย จนกระทั่งต้องยุติการออกอากาศ ตั้งแต่เวลา 24.00 น. ของวันพุธที่ 7 มีนาคม พ.ศ. 2550 เนื่องจากไม่สามารถจ่ายค่าสัมปทานส่วนต่างๆ และค่าปรับแก่ สปน.ได้ตามเวลาที่กำหน.

ใหม่!!: สุรยุทธ์ จุลานนท์และสถานีโทรทัศน์ไอทีวี · ดูเพิ่มเติม »

สถานีโทรทัศน์ไทยพีบีเอส

นีโทรทัศน์ไทยพีบีเอส (Thai PBS) เป็นสถานีโทรทัศน์สาธารณะแห่งแรกของประเทศไทย และแห่งแรกในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ดำเนินการโดยองค์การกระจายเสียงและแพร่ภาพสาธารณะแห่งประเทศไทย (ส.ส.ท.) ออกอากาศแทนสถานีโทรทัศน์ทีไอทีวี ในวันอังคารที่ 15 มกราคม พ.ศ. 2551 ก่อนแพร่ภาพอย่างเป็นทางการในอีก 1 เดือนต่อม.

ใหม่!!: สุรยุทธ์ จุลานนท์และสถานีโทรทัศน์ไทยพีบีเอส · ดูเพิ่มเติม »

สนธิ บุญยรัตกลิน

ลเอก สนธิ บุญยรัตกลิน (เกิด 2 ตุลาคม พ.ศ. 2489) อดีตรองนายกรัฐมนตรี ผู้บัญชาการทหารบกของไทยและก็เป็น ผู้บัญชาการทหารบกของไทยคนแรกที่มาจากชาวไทยมุสลิม และอดีตหัวหน้าคณะปฏิรูปการปกครองในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข ในเหตุการณ์ รัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2549 อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบบัญชีรายชื่อ และหัวหน้าพรรคมาตุภูมิ อดีตรองผู้อำนวยการเสริมสร้างสันติสุข จังหวัดชายแดนภาคใต้.

ใหม่!!: สุรยุทธ์ จุลานนท์และสนธิ บุญยรัตกลิน · ดูเพิ่มเติม »

หม่อมราชวงศ์ปรีดิยาธร เทวกุล

หม่อมราชวงศ์ปรีดิยาธร เทวกุล (15 กรกฎาคม 2490 -) กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิในคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ อดีตรองนายกรัฐมนตรี อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง อดีตประธานกรรมการนโยบายการให้เอกชนร่วมลงทุนในกิจการของรัฐอดีตประธานกรรมการนโยบายอวกาศแห่งชาติ และอดีตผู้ว่าการธนาคารแห่งประเทศไท.

ใหม่!!: สุรยุทธ์ จุลานนท์และหม่อมราชวงศ์ปรีดิยาธร เทวกุล · ดูเพิ่มเติม »

หม่อมราชวงศ์เสนีย์ ปราโมช

ม.ร.ว. เสนีย์ ปราโมช เมื่อครั้งดำรงตำแหน่งเป็นเอกอัครราชทูตไทยประจำสหรัฐอเมริกา ภาพนี้ถ่ายเมื่อ พ.ศ. 2487 ในงานเฉลิมพระชนมพรรษาครบ 19 พรรษา ของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวอานันทมหิดล ที่สหรัฐอเมริกา ศาสตราจารย์ (พิเศษ) หม่อมราชวงศ์เสนีย์ ปราโมช (26 พฤษภาคม พ.ศ. 2448 — 28 กรกฎาคม พ.ศ. 2540) อดีตนายกรัฐมนตรีของประเทศไทย 4 สมัย ผู้ร่วมก่อตั้งและอดีตหัวหน้าพรรคประชาธิปัตย์ ก่อนเข้าสู่วงการเมือง เคยเป็นผู้พิพากษา และเคยดำรงตำแหน่ง เอกอัครราชทูตไทย ประจำสหรัฐอเมริกา มาก่อน ม.ร.ว.เสนีย์ เกิดที่ค่ายทหาร ในจังหวัดนครสวรรค์ เวลาใกล้รุ่ง เป็นโอรสใน พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าคำรบ กับหม่อมแดง (บุนนาค) ชื่อ "เสนีย์" หมายถึง ทหาร หรือ เสนาบดี ได้รับพระราชทานนามนี้จากสมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระยาวชิรญาณวโรรส สันนิษฐานว่า เนื่องจากเสด็จพ่อ (พระองค์เจ้าคำรบ) เป็นทหาร ชีวิตครอบครัวสมรสกับ ท่านผู้หญิงอุศนา ปราโมช มีบุตรชาย-หญิง 3 คน บุตรชาย ได้แก่ ม.ล.เสรี ปราโมช, ม.ล.อัศนี ปราโมช และ บุตรี ได้แก่ ม.ล.นียนา ปราโมช ม.ร.ว.เสนีย์ มีน้องชายที่มีชื่อเสียงคู่กันคือ ม.ร.ว.คึกฤทธิ์ ปราโมช อดีตนายกรัฐมนตรี ที่มีความสามารถในหลายสาขา โดยสื่อมวลชนนิยมเรียก ท่านทั้งคู่ว่า "หม่อมพี่ หม่อมน้อง" นอกจากนี้ยังมีพี่สาวคือ ม.ร.ว.บุญรับ พินิจชนคดี (สมรสกับ พล.ต.อ.พระพินิจชนคดี หรือ พินิจ อินทรทูต) ม.ร.ว เสนีย์ เป็นนายกรัฐมนตรีไทยที่อายุน้อยที่สุดในประศาสตร์การเมืองไทย ด้วยอายุขณะรับตำแหน่ง คือ 40 ปี.

ใหม่!!: สุรยุทธ์ จุลานนท์และหม่อมราชวงศ์เสนีย์ ปราโมช · ดูเพิ่มเติม »

อารีย์ วงศ์อารยะ

อารีย์ วงศ์อารยะ เป็นอดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย ในรัฐบาลพลเอกสุรยุทธ์ จุลานนท์ อดีตปลัดกระทรวงมหาดไทย และอดีตผู้ว่าราชการจังหวัดสตูล สระบุรี ปราจีนบุรี สุพรรณบุรี.

ใหม่!!: สุรยุทธ์ จุลานนท์และอารีย์ วงศ์อารยะ · ดูเพิ่มเติม »

องค์การกระจายเสียงและแพร่ภาพสาธารณะแห่งประเทศไทย

องค์การกระจายเสียงและแพร่ภาพสาธารณะแห่งประเทศไทย (Thai Public Broadcasting Service) หรือเรียกโดยย่อว่า "..ท." (TPBS) เป็นหน่วยงานของรัฐ มีสถานะเป็นนิติบุคคลมหาชน ซึ่งไม่เป็นส่วนราชการหรือรัฐวิสาหกิจ จัดตั้งขึ้นตามพระราชบัญญัติองค์การกระจายเสียงและแพร่ภาพสาธารณะแห่งประเทศไท..

ใหม่!!: สุรยุทธ์ จุลานนท์และองค์การกระจายเสียงและแพร่ภาพสาธารณะแห่งประเทศไทย · ดูเพิ่มเติม »

ผู้บัญชาการทหาร

ผู้บัญชาการทหาร (Commander-in-chief) คือ ผู้ที่สามารถใช้อำนาจสูงสุดหรือกองกำลังทหารทั้งปวงในประเทศ โดยทั่วไปผู้ที่ดำรงตำแหน่งนี้คือประมุขของรัฐหรือหัวหน้ารัฐบาลซึ่งอาจเป็นพลเรือนก็ได้ สำหรับในประเทศไทยมีตำแหน่งผู้บัญชาการทหารสูงสุด และ จอมทัพ ซึ่งเรียกว่า จอมทัพไทย โดยจอมทัพไทยไม่ใช่ยศทหาร ผู้ที่ดำรงตำแหน่งจอมทัพไทย คือ พระมหากษัตริย์ไทย ซึ่งเป็นทั้งประมุขและผู้นำทหารทั้งประเทศ ทรงดำรงพระยศ จอมพล จอมพลเรือ และ จอมพลอาก.

ใหม่!!: สุรยุทธ์ จุลานนท์และผู้บัญชาการทหาร · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดลพบุรี

ังหวัดลพบุรี เป็นจังหวัดในภาคกลางของประเทศไทย แบ่งการปกครองออกเป็น 11 อำเภอ มีอาณาเขตติดต่อกับจังหวัดอื่นถึง 8 จังหวัด วนตามเข็มนาฬิกาจากทิศเหนือ ได้แก่ จังหวัดเพชรบูรณ์ ชัยภูมิ นครราชสีมา สระบุรี พระนครศรีอยุธยา อ่างทอง สิงห์บุรี และจังหวัดนครสวรรค์ จังหวัดลพบุรีเป็นจังหวัดที่มีพื้นที่อุดมสมบูรณ์เหมาะแก่การเพาะปลูก และมีประวัติศาสตร์ยาวนาน ซึ่งเคยเป็นที่ตั้งศูนย์กลางของอาณาจักรละโว้.

ใหม่!!: สุรยุทธ์ จุลานนท์และจังหวัดลพบุรี · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดปราจีนบุรี

ปราจีนบุรี เดิมสะกดว่า ปราจิณบุรี เป็นจังหวัดในภาคตะวันออกของประเทศไทย เป็นเมืองที่มีประวัติศาสตร์ยาวนาน มีการพบซากโบราณสถานในหลายพื้นที่ของจังหวัด นอกจากนี้ยังมีแหล่งท่องเที่ยวทางธรรมชาติหลายแห่ง มีอุทยานแห่งชาติอยู่ในเขตมรดกโลกถึง 3 แห่ง ทั้งยังเป็นจังหวัดที่มีพื้นที่ป่ามากที่สุดในภาคตะวันออกอีกด้วย แต่เดิมจังหวัดปราจีนบุรีมีพื้นที่กว้างใหญ่มาก เนื่องจากในอดีตเคยมีการยุบรวมจังหวัดนครนายกเข้ากับจังหวัดปราจีนบุรีในปี..

ใหม่!!: สุรยุทธ์ จุลานนท์และจังหวัดปราจีนบุรี · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดนครราชสีมา

นครราชสีมา หรือรู้จักในชื่อ โคราช เป็นจังหวัดที่มีพื้นที่มากที่สุดในประเทศไทยและมีประชากรมากเป็นอันดับ 2 ของประเทศ อยู่ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ชื่อเมืองนครราชสีมาปรากฏครั้งแรกเป็นเมืองพระยามหานครในการปฏิรูปการปกครองในรัชสมัยสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ(ตั้งอยู่ในพื้นที่อำเภอสูงเนิน จังหวัดนครราชสีมา) ในรัชสมัยสมเด็จพระนารายณ์มหาราชทรงมีรับสั่งให้ย้ายเมืองนครราชสีมามาตั้งบริเวณพื้นที่ปัจจุบัน เมื่อ..

ใหม่!!: สุรยุทธ์ จุลานนท์และจังหวัดนครราชสีมา · ดูเพิ่มเติม »

จิตรวดี จุลานนท์

ันเอกหญิง ท่านผู้หญิง จิตรวดี จุลานนท์ เป็นคู่สมรสของพลเอกสุรยุทธ์ จุลานนท์ นายกรัฐมนตรีคนที่ 24 ของประเทศไท.

ใหม่!!: สุรยุทธ์ จุลานนท์และจิตรวดี จุลานนท์ · ดูเพิ่มเติม »

ธีรยุทธ บุญมี

ตราจารย์ ธีรยุทธ บุญมี (เกิด 10 มกราคม พ.ศ. 2493) เป็นนักวิชาการ นักวิจารณ์การเมือง และนักเขียนรางวัลศรีบูรพา อดีตเลขาธิการ ศูนย์กลางนิสิตนักศึกษาแห่งประเทศไทย ผู้นำนักศึกษาในเหตุการณ์ 14 ตุลา เคยเป็นอาจารย์ประจำ คณะสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ได้รับแต่งตั้งเป็นศาสตราจารย์ สาขามานุษยวิทยา ในปี..

ใหม่!!: สุรยุทธ์ จุลานนท์และธีรยุทธ บุญมี · ดูเพิ่มเติม »

ทักษิณ ชินวัตร

ทักษิณ ชินวัตร (เกิด 26 กรกฎาคม 2492) เป็นนายกรัฐมนตรีไทยคนที่ 23 ดำรงตำแหน่งระหว่างปี 2544 ถึง 2549 และเป็นพี่ชายของยิ่งลักษณ์ ชินวัตร นายกรัฐมนตรีไทยคนที่ 28 เคยเป็นนักธุรกิจโทรคมนาคมและการสื่อสาร ผู้ก่อตั้งกลุ่มบริษัท ชิน คอร์ปอเรชั่น จำกัด (มหาชน) บริษัทโทรคมนาคมและการสื่อสารขนาดใหญ่ที่สุดในประเทศไทย อดีตข้าราชการตำรวจ (ชั้นยศสูงสุดที่ พันตำรวจโท) อดีตเจ้าของและประธานสโมสรฟุตบอลแมนเชสเตอร์ซิตี อดีตที่ปรึกษาทางเศรษฐกิจของรัฐบาลกัมพูชา และ ศาสตราจารย์อาคันตุกะแห่งมหาวิทยาลัยทากุโชกุ มีสัญชาติไทยโดยการเกิด ปัจจุบันถือสัญชาติมอนเตเนโกร ปี 2537 ทักษิณเข้าสู่วงการเมืองสังกัดพรรคพลังธรรม โดยการชักนำของพลตรี จำลอง ศรีเมือง ต่อมาก่อตั้งพรรคไทยรักไทย ในปี 2541 หลังการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2544 ซึ่งพรรคไทยรักไทยได้รับเสียงข้างมากในสภา จึงดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีเป็นสมัยแรก ทักษิณใช้หนี้กองทุนการเงินระหว่างประเทศได้ก่อนกำหนดเดิม และดำเนินนโยบายต่าง ๆ เพื่อลดความยากจนในชนบท โดยสามารถลดความยากจนได้ถึงครึ่งหนึ่งภายในสี่ปี ริเริ่มระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าเป็นครั้งแรกของประเทศ ตลอดจนการกวาดล้างยาเสพติด ซึ่งทั้งหมดช่วยให้เขามีความนิยมอย่างสูง ทักษิณเริ่มดำเนินโครงการลงทุนโครงสร้างพื้นฐานขนานใหญ่ รวมทั้งท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ หนี้สาธารณะลดลงจากร้อยละ 57 ของจีดีพีในเดือนมกราคม 2544 เหลือร้อยละ 41 ในเดือนกันยายน 2549 รวมทั้งระดับการฉ้อราษฎร์บังหลวงลดลง โดยดัชนีภาพลักษณ์คอร์รัปชันขององค์กรเพื่อความโปร่งใสนานาชาติ เพิ่มขึ้นจาก 3.2 เป็น 3.8 ระหว่างปี 2544 และ 2549 ทักษิณดำรงตำแหน่งจนครบวาระสี่ปี เป็นนายกรัฐมนตรีที่มาจากการเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรซึ่งดำรงตำแหน่งจนครบวาระคนแรก และจากผลการเลือกตั้งเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2548 ทำให้ทักษิณดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีสมัยที่สอง ด้วยคะแนนเสียงสูงที่สุดเป็นประวัติการณ์ อย่างไรก็ดี มีผู้กล่าวหารัฐบาลทักษิณหลายประการเช่น ละเมิดสิทธิมนุษยชน ฉ้อราษฎร์บังหลวง เป็นเผด็จการรัฐสภา มีผลประโยชน์ทับซ้อน และควบคุมสื่อ ส่วนข้อกล่าวหาของตัวทักษิณเอง ก็มีว่าหลีกเลี่ยงภาษี หมิ่นพระบรมเดชานุภาพ ตลอดจนขายทรัพย์สินของบริษัทไทยให้นักลงทุนต่างชาติThe Star,, 2 April 2006The Nation,, 23 March 2006 องค์การนิรโทษกรรมสากลวิจารณ์ทักษิณว่า มีประวัติเชิงสิทธิมนุษยชนไม่สู้ดี และเขายังถูกกล่าวหาว่าปกปิดทรัพย์สินระหว่างดำรงตำแหน่งการเมือง ฟอรีนพอลิซี ยกตัวอย่างว่า เขาเป็นอดีตผู้นำของโลกที่ประพฤติไม่ดี เกิดการประท้วงของพันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตยในปี 2549 และวันที่ 19 กันยายน ปีเดียวกัน คณะมนตรีความมั่นคงแห่งชาติ (คมช.) รัฐประหารล้มรัฐบาลทักษิณ ศาลที่ คม.

ใหม่!!: สุรยุทธ์ จุลานนท์และทักษิณ ชินวัตร · ดูเพิ่มเติม »

ทุติยจุลจอมเกล้าวิเศษ

ทุติยจุลจอมเกล้าวิเศษ มีอักษรย่อว่า ท..ว. เป็นเครื่องราชอิสริยาภรณ์ในตระกูลเครื่องราชอิสริยาภรณ์จุลจอมเกล้า ชั้นที่ 2 ซึ่งพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวจะพระราชทานทั้งฝ่ายหน้า (บุรุษ) จำนวน 200 สำรับ และฝ่ายใน (สตรี) จำนวน 100 สำรับ โดยทุติยจุลจอมเกล้าวิเศษจัดเป็นเครื่องราชอิสริยาภรณ์ที่มีลำดับเกียรติอันดับที่ 13 ของเครื่องราชอิสริยาภรณ์ไท.

ใหม่!!: สุรยุทธ์ จุลานนท์และทุติยจุลจอมเกล้าวิเศษ · ดูเพิ่มเติม »

ข่าวสด

วสด เป็นหนังสือพิมพ์รายวันภาษาไทย เสนอข่าวทั่วไป ออกจำหน่ายเป็นยุคแรก ด้วยขนาดแท็บลอยด์ เมื่อราวปี พ.ศ. 2524 ซึ่งดำเนินงานโดยเผด็จ ภูรีปติภาน (นามปากกา: พญาไม้) แต่ผู้อ่านไม่ค่อยนิยมเท่าที่ควร ต่อมาเครือมติชน โดยขรรค์ชัย บุนปาน เข้าช่วยเหลือกิจการ จึงเริ่มทดลองออกจำหน่าย โดยนำชื่อหัวหนังสือกีฬาเดิมของเครือมติชน รวมเข้าด้วยกันเป็น "ข่าวสด-สปอร์ตนิวส์" พร้อมทั้งปรับขนาดหน้ากระดาษเป็นบรอดชีต โดยเริ่มนับเป็นปีที่ 1 ฉบับที่ 1 และตรงกับปีที่ 10 ฉบับที่ 2798 ของข่าวสดยุคแรก ตั้งแต่วันเสาร์ที่ 1 ธันวาคม พ.ศ. 2533 จนถึงวันจันทร์ที่ 8 เมษายน พ.ศ. 2534 เป็นจำนวน 129 ฉบับ ก่อนที่จะเริ่มใช้เพียงชื่อเดียวคือ "ข่าวสด" ตั้งแต่ฉบับที่ 130 ประจำวันอังคารที่ 9 เมษายน..

ใหม่!!: สุรยุทธ์ จุลานนท์และข่าวสด · ดูเพิ่มเติม »

ณรงค์ ยุทธวงศ์

ลเอก พลเรือเอก พลอากาศเอก ณรงค์ ยุทธวงศ์ อดีตผู้บัญชาการทหารสูงสุด (ต.ค.44 - ก.ย.45) เกิดเมื่อวันที่ 1 พฤศจิกายน 2484 ที่จังหวัดพระนคร เป็นบุตรของพันเอกสรรค์ และนางระเบียบ ยุทธวงศ์ จบการศึกษาจากโรงเรียนเซนต์คาเบียล และโรงเรียนนายเรือ เข้ารับราชการครั้งแรกเป็นนายทหารประจำเรือและใช้ชีวิตรับราชการในตำ แหน่งต่างๆในเรือร่วม 20 ปี ซี่งได้รับการเลื่อนชั้นยศและตำแหน่งตามลำดับ ตำแหน่งสำคัญของการรับราชการ อาทิ ผู้บังคับการเรือหลวงภูเก็ต(ลำเก่า), ผู้บังคับการเรือหลวงประแส, ผู้บังคับการเรือหลวงมกุฎราชกุมาร, ผู้บัญชาการกองเรือฟริเกตที่ 2, ผู้บัญชาการกองเรือยุทธการ, รองผู้บัญชาการทหารสูงสุด และผู้บัญชาการทหารสูงสุด โดยได้รับพระราชทานยศในอัตราจอมพล ชั้นยศ พลเอก พลเรือเอก และพลอากาศเอก นอกจากนี้ยังได้รับพระมหากรุณาธิกุลโปรดเกล้าโปรดกระหม่อมให้เป็นองครักษ์เวร และตุลาการศาลทหารสูงสุด ปัจจุบันเกษียณอายุราชการแล้ว ตำแหน่งสำคัญที่เคยดำรงตำแหน่งหลังเกษียณอายุราชการ คือ ประธานกรรมการ การรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนแห่งประเทศไทย (รฟม.)และสมาชิกวุฒิสภา ปัจจุบันดำรงตำแหน่ง รองประธานสถาบันวิจัยจุฬาภรณ.

ใหม่!!: สุรยุทธ์ จุลานนท์และณรงค์ ยุทธวงศ์ · ดูเพิ่มเติม »

คณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ

ณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ (ย่อ: คณะกรรมการ ป.ป.ช.) (National Anti-Corruption Commission) เป็นคณะบุคคลซึ่งประกอบด้วยประธานกรรมการคนหนึ่งและกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิอื่นอีก 8 คน ซึ่งพระมหากษัตริย์ทรงแต่งตั้งตามคำแนะนำของวุฒิสภา ผู้ได้รับการเสนอชื่อและได้รับเลือกเป็นกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติต้องเป็นผู้ซึ่งมีความซื่อสัตย์สุจริตเป็นที่ประจักษ์ มีคุณสมบัติและไม่มีลักษณะต้องห้ามตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540 มาตรา 256 และพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการทุจริต..

ใหม่!!: สุรยุทธ์ จุลานนท์และคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ · ดูเพิ่มเติม »

คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 56

รัฐบาลพลเรือน ที่ตั้งขึ้นภายหลังเหตุการณ์รัฐประหาร เมื่อวันที่ 19 กันยายน..

ใหม่!!: สุรยุทธ์ จุลานนท์และคณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 56 · ดูเพิ่มเติม »

คณะองคมนตรี

ณะองคมนตรี (privy council) คือ กลุ่มบุคคลที่ให้คำปรึกษาแก่ประมุขแห่งรัฐ โดยทั่วไปในประเทศที่ปกครองแบบราชาธิปไตย ในภาษาอังกฤษ คำว่า "privy" หมายถึง "ส่วนตัว" หรือ "ลับ" ดังนั้นแรกเริ่มเดิมที privy council คือคณะที่ปรึกษาที่ใกล้ชิดที่สุดของกษัตริย์ที่ให้คำปรึกษาที่รักษาเป็นความลับในเรื่องกิจการรัฐ ประเทศที่มีสภาองคมนตรีหรือองค์กรเทียบเท่าในปัจจุบัน เช่น สหราชอาณาจักรบริเตนใหญ่และไอร์แลนด์เหนือ, ประเทศแคนาดา, ราชอาณาจักรเดนมาร์ก, ราชอาณาจักรตองกา และ ราชอาณาจักรไท.

ใหม่!!: สุรยุทธ์ จุลานนท์และคณะองคมนตรี · ดูเพิ่มเติม »

คณะองคมนตรีไทย

ณะองคมนตรีในประเทศไทย คือกลุ่มบุคคลที่ให้คำปรึกษาแก่พระมหากษัตริย์ โดยในอดีตเคยใช้ชื่อ ปรีวีเคาน์ซิล (สภาที่ปฤกษาในพระองค์), องคมนตรีสภา, และ สภากรรมการองคมนตรี ตามลำดับ ก่อนจะเปลี่ยนมาเป็นชื่อปัจจุบัน.

ใหม่!!: สุรยุทธ์ จุลานนท์และคณะองคมนตรีไทย · ดูเพิ่มเติม »

คณะปฏิรูปการปกครองในระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข

ณะปฏิรูปการปกครอง ในระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข หรือ คป. เป็นคณะบุคคล อันประกอบด้วย กลุ่มทหาร ตำรวจ และ พลเรือน ซึ่งมีพลเอก สนธิ บุญยรัตกลินเป็นหัวหน้า ได้เข้ายึดอำนาจการปกครองราชอาณาจักรไทยไว้ได้ เมื่อวันที่ 19 กันยายน พ.ศ. 2549 มีที่ตั้ง ณ กองบัญชาการกองทัพบก ถนนราชดำเนินนอก เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร.

ใหม่!!: สุรยุทธ์ จุลานนท์และคณะปฏิรูปการปกครองในระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข · ดูเพิ่มเติม »

ฉัตรมงคล

ฉัตรมงคล (อ่านว่า ฉัด-ตระ-มง-คน หรือ ฉัด-มง-คน) มีความหมายตามพจนานุกรมว่า พระราชพิธีฉลองพระเศวตฉัตรทำในวันซึ่งตรงกับวันบรมราชาภิเษก ในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ซึ่งเป็นรัชกาลที่ 9 พระราชพิธีฉัตรมงคลจัดขึ้นทุกวันที่ 5 พฤษภาคม เพราะทรงประกอบพระราชพิธีบรมราชาภิเษกเมื่อวันที่ 5 พฤษภาคม พ.ศ. 2493 และทางราชการถือเป็นวันหยุดตามประเพณีวันหนึ่งของประเทศไทย ต่อมาในวันที่ 11 เมษายน พ.ศ. 2560 การสวรรคตของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ทางรัฐบาลที่มี พล.อ.ประยุทธ์ จันทร์โอชา เป็นนายกรัฐมนตรี ได้ประกาศลงในราชกิจจานุเบกษายกเลิกวันนี้ลง และให้วันที่ 28 กรกฎาคม อันเป็นวันคล้ายวันพระราชสมภพของสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร และวันที่ 13 ตุลาคม ของทุกปี อันเป็นวันคล้ายวันสวรรคตของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช เป็นวันหยุดเพิ่มเติมตั้งแต่ปี..

ใหม่!!: สุรยุทธ์ จุลานนท์และฉัตรมงคล · ดูเพิ่มเติม »

ปฐมจุลจอมเกล้า

ปฐมจุลจอมเกล้า มีอักษรย่อว่า ป..

ใหม่!!: สุรยุทธ์ จุลานนท์และปฐมจุลจอมเกล้า · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศไทย

ประเทศไทย มีชื่ออย่างเป็นทางราชการว่า ราชอาณาจักรไทย เป็นรัฐชาติอันตั้งอยู่ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เดิมมีชื่อว่า "สยาม" รัฐบาลประกาศเปลี่ยนชื่อเป็นประเทศไทยอย่างเป็นทางการตั้งแต่ปี 2482 ประเทศไทยมีขนาดใหญ่เป็นอันดับที่ 50 ของโลก มีเนื้อที่ 513,115 ตารางกิโลเมตร และมีประชากรมากเป็นอันดับที่ 20 ของโลก คือ ประมาณ 66 ล้านคน กรุงเทพมหานครเป็นศูนย์กลางการบริหารราชการแผ่นดินและนครใหญ่สุดของประเทศ และการปกครองส่วนภูมิภาค จัดระเบียบเป็น 76 จังหวัด แม้จะมีการสถาปนาระบอบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญและประชาธิปไตยระบบรัฐสภาในปี 2475 แต่กองทัพยังมีบทบาทในการเมืองไทยสูง ล่าสุด เกิดรัฐประหารเมื่อวันที่ 22 พฤษภาคม 2557 และมีการปกครองแบบเผด็จการทหารนับแต่นั้น พบหลักฐานการอยู่อาศัยอย่างต่อเนื่องในอาณาเขตประเทศไทยปัจจุบันตั้งแต่ 20,000 ปีก่อนคริสตกาล ชาวไทเริ่มอพยพเข้าสู่บริเวณนี้ในคริสต์ศตวรรษที่ 11 แล้วเข้ามาตั้งแว่นแคว้นต่าง ๆ ที่สำคัญได้แก่ อาณาจักรสุโขทัย อาณาจักรล้านนาและอาณาจักรอยุธยา นักประวัติศาสตร์มักถือว่าอาณาจักรสุโขทัยเป็นจุดเริ่มต้นของประวัติศาสตร์ไทย ต่อมาอาณาจักรอยุธยาค่อย ๆ เรืองอำนาจมากขึ้นจนเป็นมหาอำนาจในภูมิภาคในปลายคริสต์ศตวรรษที่ 14 การติดต่อกับชาติตะวันตกเริ่มด้วยผู้แทนทางทูตชาวโปรตุเกสในปี 2054 อาณาจักรรุ่งเรืองอย่างมากในรัชกาลสมเด็จพระนารายณ์มหาราช (ครองราชย์ปี 2199–2231) แต่หลังจากนั้นค่อย ๆ เสื่อมอำนาจโดยมีสาเหตุส่วนหนึ่งจากการผลัดแผ่นดินที่มีการนองเลือดหลายรัชกาล จนสุดท้ายกรุงศรีอยุธยาถูกทำลายสิ้นเชิงในปี 2310 สมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรีทรงรวบรวมแผ่นดินที่แตกออกเป็นก๊กต่าง ๆ และสถาปนาอาณาจักรธนบุรีที่มีอายุ 15 ปี ความวุ่นวายในช่วงปลายอาณาจักรนำไปสู่การสำเร็จโทษพระองค์โดยพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช ปฐมราชวงศ์จักรีแห่งกรุงรัตนโกสินทร์ ช่วงต้นกรุงรัตนโกสินทร์ ประเทศเผชิญภัยคุกคามจากชาติใกล้เคียง แต่หลังรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวเป็นต้นมา ชาติตะวันตกเริ่มมีอิทธิพลในภูมิภาคเป็นอย่างมาก นำไปสู่การเข้าเป็นภาคีแห่งสนธิสัญญาไม่เป็นธรรมหลายฉบับ กระนั้น สยามไม่ตกเป็นอาณานิคมของตะวันตกชาติใด มีการปรับให้สยามทันสมัยและรวมอำนาจปกครองในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (ครองราชย์ปี 2411–53) สยามเข้าร่วมกับฝ่ายสัมพันธมิตรในสงครามโลกครั้งที่หนึ่งในปี 2460; ในปี 2475 เกิดการปฏิวัติเปลี่ยนแปลงการปกครองสู่ระบอบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญโดยไม่เสียเลือดเนื้อ คณะราษฎรมีบทบาทนำทางการเมือง และในพุทธทศวรรษ 2480 นายกรัฐมนตรี จอมพล แปลก พิบูลสงคราม ดำเนินนโยบายชาตินิยมเข้มข้น ระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง ไทยเข้ากับฝ่ายอักษะ แต่ฝ่ายสัมพันธมิตรส่วนใหญ่ไม่ยอมรับการประกาศสงคราม ในช่วงสงครามเย็น ประเทศไทยเป็นพันธมิตรกับสหรัฐซึ่งสนับสนุนรัฐบาลทหารมาก รัฐประหารที่มีจอมพล สฤษดิ์ ธนะรัชต์เป็นหัวหน้าคณะในปี 2500 ทำให้คณะราษฎรหมดอำนาจ รัฐบาลฟื้นฟูพระราชอำนาจและมีมาตรการต่อต้านคอมมิวนิสต์ในภูมิภาค ผลของเหตุการณ์ 14 ตุลา 2516 ทำให้เกิดประชาธิปไตยระบบรัฐสภาช่วงสั้น ๆ ประเทศไทยมีนายกรัฐมนตรีจากการเลือกตั้งครั้งแรกในปี 2531 หลังพุทธทศวรรษ 2540 มีวิกฤตการเมืองระหว่างฝ่ายที่สนับสนุนและต่อต้านอดีตนายกรัฐมนตรีทักษิณ ชินวัตรมาจนปัจจุบัน รวมทั้งเกิดรัฐประหารสองครั้ง โดยครั้งล่าสุดเกิดในปี 2557 รัฐธรรมนูญฉบับปัจจุบันเป็นฉบับที่ 20 ประกาศใช้เมื่อวันที่ 6 เมษายน 2560 หลังมีการลงประชามติรับร่างเมื่อหนึ่งปีก่อน ประเทศไทยเป็นสมาชิกสหประชาชาติ เอเปก อีกทั้งเป็นร่วมผู้ก่อตั้งอาเซียน ประเทศไทยเป็นพันธมิตรของสหรัฐตั้งแต่สนธิสัญญาซีโต้ในปี 2497 ถือเป็นประเทศอำนาจนำภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และประเทศอำนาจปานกลางในเวทีโลก ประเทศไทยเป็นประเทศที่มีรายได้ปานกลาง-สูงและประเทศอุตสาหกรรมใหม่ มีรายได้หลักจากภาคอุตสาหกรรมและบริการ การเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจทำให้มีการอพยพเข้าสู่เมืองในคริสต์ศตวรรษที่ 20 ตามประมาณการในปี 2560 จีดีพีของประเทศไทยมีมูลค่าราว 432,898 ล้านดอลลาร์สหรัฐ นับว่าเศรษฐกิจไทยเป็นเศรษฐกิจใหญ่สุดเป็นอันดับ 2 ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และใหญ่เป็นอันดับที่ 26 ของโลก.

ใหม่!!: สุรยุทธ์ จุลานนท์และประเทศไทย · ดูเพิ่มเติม »

นามแฝง

นามแฝง หรือ ฉายา (alias, pseudonym ชื่อปลอม) หมายถึง ชื่อที่ปรุงแต่งหรือตั้งขึ้น เพื่อใช้เรียกแทนชื่อจริงของบุคคลเป็นการส่วนตัว บางครั้งนามแฝงสามารถใช้อ้างถึงบุคคลในทางกฎหมายได้ บุคคลที่มีชื่อเสียงบางคนอาจใช้นามแฝงในการแสดงหรือการเขียนหนังสือมากกว่าใช้ชื่อจริงของตน.

ใหม่!!: สุรยุทธ์ จุลานนท์และนามแฝง · ดูเพิ่มเติม »

นายกรัฐมนตรีไทย

นายกรัฐมนตรีไทย เป็นประธานแห่งคณะรัฐมนตรีไทย และทำหน้าที่หัวหน้ารัฐบาลของประเทศไทย โดยมีจุดกำเนิดมาจากการปฏิวัติสยาม พ.ศ. 2475 ในการเปลี่ยนแปลงการปกครองสู่ราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญและประชาธิปไตยระบบรัฐสภา โดยปกติแล้วนายกรัฐมนตรีในระบอบประชาธิปไตยจะมีที่มาจากสภาผู้แทนราษฎรไทย ซึ่งโดยหลักแล้วถือว่านายกรัฐมนตรีมีต้องมาจากการแต่งตั้งทางอ้อมโดยประชาชน แต่รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (ฉบับชั่วคราว) พุทธศักราช 2557 กำหนดให้พระมหากษัตริย์ทรงแต่งตั้งนายกรัฐมนตรีตามมติสภานิติบัญญัติแห่งชาติ (สภาที่พระมหากษัตริย์ทรงแต่งตั้ง) ซึ่งผลการลงมติเลือกนายกรัฐมนตรีปรากฏว่า พลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา หัวหน้าคณะรักษาความสงบแห่งชาติ ได้รับเลือกเป็นนายกรัฐมนตรี.

ใหม่!!: สุรยุทธ์ จุลานนท์และนายกรัฐมนตรีไทย · ดูเพิ่มเติม »

โรงแรมรัตนโกสินทร์

รงแรมรัตนโกสินทร์ หรือ รอยัลรัตนโกสินทร์ (Royal Rattanakosin Hotel) เป็นโรงแรมเก่าแก่ตั้งอยู่บริเวณถนนราชดำเนิน เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร เริ่มก่อสร้างเมื่อปี พ.ศ. 2485 และได้เปิดอย่างเป็นทางการครั้งแรกเมื่อวันที่ 24 มิถุนายน พ.ศ. 2486 โดยมีจอมพล ป. พิบูลสงคราม เป็นประธานเปิด มีผู้จัดการคนแรกคือ นายยี่ทวน กาญจนนัค (สุรพงศ์ กาญจนนัค) โรงแรมรัตนโกสินทร์ได้รับการยกย่องให้เป็นหนึ่งในโรงแรมที่สวยที่สุดและทันสมัยที่สุดแห่งหนึ่งในสมัยนั้น ด้วยการขึ้นชื่อว่าเป็นโรงแรม 5 ดาว มีห้องพักถึง 45 ห้อง โดยแต่ละห้องตกแต่งด้วยเฟอร์นิเจอร์ลวดลายกนกทองที่สวยงาม, พลังจิต.วันที่ 20 มีนาคม..

ใหม่!!: สุรยุทธ์ จุลานนท์และโรงแรมรัตนโกสินทร์ · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย

รงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย (อักษรย่อ: ส.ก./S.K.) เป็นโรงเรียนชายล้วนในระดับชั้น มัธยมศึกษา สังกัด สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ ก่อตั้งโดย พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ปัจจุบันตั้งอยู่เลขที่ 88 ถนนตรีเพชร แขวงวังบูรพาภิรมย์ เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร บนเนื้อที่ 11 ไร่ 2 งาน 23 ตารางวา ประกอบด้วยอาคารเรียน 7 หลัง ห้องเรียนทั้งหมด 78 ห้อง นอกจากนี้โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัยยังโดดเด่นในเรื่องคุณภาพมาตรฐานของศิษย์เก่าที่จบไปโดยเฉพาะด้านวิชาการ ภาษา และความเป็นผู้นำ โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย เป็น 1 ในกลุ่มโรงเรียนจตุรมิตรสามัคคี ซึ่งประกอบด้วย โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย โรงเรียนเทพศิรินทร์ โรงเรียนอัสสัมชัญ และโรงเรียนกรุงเทพคริสเตียนวิทยาลัย มีการแข่งขันฟุตบอลระหว่างทีมของทั้ง 4 โรงเรียน โดยแต่ละโรงเรียนจะผลัดกันเป็นเจ้าภาพในทุกๆ 2 ปี นอกจากการแข่งขันฟุตบอล ยังมี การแปรอักษร ของทั้ง 4 โรงเรียน ซึ่งเป็นอีกสัญลักษณ์สำคัญของงาน โดยกีฬาจตุรมิตรสามัคคีจะจัดขึ้นในทุกๆ 4 ปี ที่ สนามศุภชลาศัย นอกจากนี้ โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย ยังมีงานกรีฑาสวนกุหลาบสัมพันธ์ และงานชุมนุมลูกเสือสวนกุหลาบสัมพันธ์ ซึ่งจัดขึ้นร่วมกับโรงเรียนใน เครือสวนกุหลาบวิทยาลัย เป็นประจำทุกปี โดยแต่ละโรงเรียนจะผลัดกันเป็นเจ้.

ใหม่!!: สุรยุทธ์ จุลานนท์และโรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนนายร้อยพระจุลจอมเกล้า

รงเรียนนายร้อยพระจุลจอมเกล้า (ชื่อย่อ: รร.จปร.) เป็นสถาบันการศึกษาทางทหาร ในระดับอุดมศึกษาในสังกัดกรมยุทธศึกษาทหารบก กองทัพบก ตั้งอยู่ที่ อำเภอเมืองนครนายก จังหวัดนครนายก ผู้ที่ศึกษาในโรงเรียนนายร้อยพระจุลจอมเกล้า เรียกว่า นักเรียนนายร้อย (นนร.) ต้นไม้สัญลักษณ์ประจำโรงเรียนนายร้อยพระจุลจอมเกล้า คือ จำปีสิรินธร.

ใหม่!!: สุรยุทธ์ จุลานนท์และโรงเรียนนายร้อยพระจุลจอมเกล้า · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนเตรียมทหาร

รงเรียนเตรียมทหาร (Armed Forces Academies Preparatory School.) เป็นสถาบันการศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย สังกัดสถาบันวิชาการป้องกันประเทศ กองบัญชาการกองทัพไทย และเป็นสถาบันการศึกษาแห่งเดียวในประเทศไทย ที่เป็นศูนย์รวมเบื้องต้นสำหรับผู้ที่จะเข้าศึกษาต่อในโรงเรียนนายร้อยพระจุลจอมเกล้า โรงเรียนนายเรือ โรงเรียนนายเรืออากาศนวมินทกษัตริยาธิราช และโรงเรียนนายร้อยตำรวจ ผู้ที่ศึกษาในโรงเรียนเตรียมทหาร เรียกว่า นักเรียนเตรียมทหาร (นตท.) การรับสมัครบุคคลพลเรือนเข้าเป็นนักเรียนเตรียมทหารนั้น โรงเรียนเตรียมทหารมิได้เป็นผู้ดำเนินการสอบคัดเลือกนักเรียนเตรียมทหารด้วยตนเอง หากแต่โรงเรียนนายร้อยพระจุลจอมเกล้า โรงเรียนนายเรือ โรงเรียนนายเรืออากาศ และโรงเรียนนายร้อยตำรวจ จะเป็นผู้ดำเนินการสอบคัดเลือก โดยในแต่ละปีจะมีการกำหนดจำนวนรับนักเรียนเตรียมทหารในส่วนของกองทัพบก กองทัพเรือ กองทัพอากาศ และสำนักงานตำรวจแห่งชาติ จากนั้นแต่ละเหล่าทัพจะส่งผู้ผ่านการสอบคัดเลือกมาเรียนรวมกันที่โรงเรียนเตรียมทหาร เป็นเวลา 2 ปี ภายหลังจากที่สำเร็จการศึกษาตามหลักสูตรของโรงเรียนเตรียมทหารแล้ว นักเรียนเตรียมทหารเหล่านี้จะเข้าศึกษาต่อในโรงเรียนเหล่าทัพ ตามที่นักเรียนได้สมัครและผ่านการสอบคัดเลือก เมื่อสำเร็จการศึกษาจากโรงเรียนเหล่าทัพ หรือโรงเรียนนายร้อยตำรวจแล้ว นักเรียนนายร้อยเหล่านี้ จะได้รับการบรรจุเข้ารับราชการเป็นนายทหาร และนายตำรวจชั้นสัญญาบัตร พร้อมทั้งเข้ารับพระราชทานกระบี่จากสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว.

ใหม่!!: สุรยุทธ์ จุลานนท์และโรงเรียนเตรียมทหาร · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนเซนต์ฟรังซีสซาเวียร์คอนแวนต์

รงเรียนเซนต์ฟรังซีสซาเวียร์คอนแวนต์ ก่อตั้งขึ้นเมื่อ..

ใหม่!!: สุรยุทธ์ จุลานนท์และโรงเรียนเซนต์ฟรังซีสซาเวียร์คอนแวนต์ · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนเซนต์คาเบรียล

รงเรียนเซนต์คาเบรียล (St.) เป็นโรงเรียนเอกชนโรงเรียนชายล้วนขนาดใหญ่ ในเครือคณะภราดาเซนต์คาเบรียล ซึ่งเป็นคณะนักบวชคาทอลิก ตั้งอยู่บนถนนสามเสน แขวงวชิรพยาบาล เขตดุสิต กรุงเทพมหานคร เปิดสอนนักเรียน ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 ถึงมัธยมศึกษาปีที่ 6 คำว่า "เซนต์คาเบรียล" ในชื่อโรงเรียนนั้น จึงมาจากชื่อคณะภราดาเซนต์คาเบรียล ผู้ก่อตั้งโรงเรียน โรงเรียนเซนต์คาเบรียลเป็นโรงเรียนที่เก่าแก่และมีชื่อเสียงแห่งหนึ่งในประเทศ เป็นที่ยอมรับในด้านคุณภาพการศีกษาโดยเฉพาะภาษาอังกฤษ และคุณภาพของนักเรียนและศิษย์เก่าที่จบไป โรงเรียนเซนต์คาเบรียล เป็นหนึ่งในสองของโรงเรียนในเครือฯที่ใช้สีประจำสถาบันคือ น้ำเงินขาว (อีกโรงเรียนหนึ่งที่ใช้สีน้ำเงินขาวคือโรงเรียนอัสสัมชัญลำปาง) และมีเพียงวิทยาเขตเดียว เช่นเดียวกับ โรงเรียนมงฟอร์ตวิทยาลัยและโรงเรียนเซนต์หลุยส์ ที่ไม่ได้ชื่อโรงเรียนว่า "อัสสัมชัญ" นำหน้า ปัจจุบันโรงเรียนเซนต์คาเบรียลมีอายุได้ ปี เป็นหนึ่งในโรงเรียนที่เก่าแก่ที่สุดในย่านดุสิต.

ใหม่!!: สุรยุทธ์ จุลานนท์และโรงเรียนเซนต์คาเบรียล · ดูเพิ่มเติม »

โคโยตี้

ในสังคมไทย คำว่า "โคโยตี้" หมายถึง บุคคลที่หาเลี้ยงชีพด้วยเต้นทำเพลงทำนองเร้าใจในแนวเย้ายวนกามารมณ์ ชื่ออาชีพนี้มาจากชื่อภาพยนตร์ตะวันตกเรื่อง "โคโยตี้ อั๊กลี่ บาร์ห้าวสาวฮ็อต" เนื้อหาเกี่ยวกับหญิงที่ทำงานในสถานบันเทิงและเต้นในบาร์ ในเมืองไทยเริ่มมีสาวโคโยตี้ครั้งแรกที่ฟอร์เต้ สถานบันเทิงแห่งหนึ่งในซอยสุขุมวิท 24 ในช่วง พ.ศ. 2545.

ใหม่!!: สุรยุทธ์ จุลานนท์และโคโยตี้ · ดูเพิ่มเติม »

โฆสิต ปั้นเปี่ยมรัษฎ์

นายโฆสิต ปั้นเปี่ยมรัษฎ์ อดีตรองนายกรัฐมนตรี และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรม และรักษาการรัฐมนตรีว่าการกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร อดีตเลขาธิการนายกรัฐมนตรี (พลเอกสุจินดา คราประยูร) อดีตรัฐมนตรีอีกหลายสมัย และอดีตประธานกรรมการบริหารธนาคารกรุงเท.

ใหม่!!: สุรยุทธ์ จุลานนท์และโฆสิต ปั้นเปี่ยมรัษฎ์ · ดูเพิ่มเติม »

ไพบูลย์ วัฒนศิริธรรม

ูลย์ วัฒนศิริธรรม (24 มีนาคม พ.ศ. 2484 — 9 เมษายน พ.ศ. 2555) อดีตรองนายกรัฐมนตรี และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ ใน รัฐบาลของพลเอกสุรยุทธ์ จุลานนท์ และอดีตผู้อำนวยการธนาคารออมสิน.

ใหม่!!: สุรยุทธ์ จุลานนท์และไพบูลย์ วัฒนศิริธรรม · ดูเพิ่มเติม »

เชษฐา ฐานะจาโร

ลเอกเชษฐา ฐานะจาโร (23 สิงหาคม พ.ศ. 2481 —) ประธานที่ปรึกษาพรรคเพื่อไทย อดีตหัวหน้าพรรครวมใจไทยชาติพัฒนา อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม อดีตผู้บัญชาการทหารบก และอดีตแม่ทัพภาคที่ 1.

ใหม่!!: สุรยุทธ์ จุลานนท์และเชษฐา ฐานะจาโร · ดูเพิ่มเติม »

เหรียญกาชาด

หรียญกาชาด เป็นเหรียญราชอิสริยาภรณ์อันเป็นบำเหน็จความชอบที่พระราชทานแก่ผู้ทำคุณประโยชน์แก่สภากาชาดไทย แบ่งออกเป็น 3 ประเภท ได้แก่ เหรียญกาชาดสมนาคุณ เหรียญกาชาดสรรเสริญ และเหรียญกาชาดสดุดี.

ใหม่!!: สุรยุทธ์ จุลานนท์และเหรียญกาชาด · ดูเพิ่มเติม »

เหรียญราชการชายแดน

หรียญราชการชายแดน ด้านหน้า เหรียญราชการชายแดน (The Border Service Medal) ใช้อักษรย่อว..

ใหม่!!: สุรยุทธ์ จุลานนท์และเหรียญราชการชายแดน · ดูเพิ่มเติม »

เหรียญจักรมาลา

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: สุรยุทธ์ จุลานนท์และเหรียญจักรมาลา · ดูเพิ่มเติม »

เขายายเที่ยง

ที่ยง เขายายเที่ยง เป็นภูเขาในเขตตำบลคลองไผ่ อ.สีคิ้ว จ.นครราชสีมา มีอาณาเขตแนวป่าติดต่อกับ ป่าเขาเตียน ป่าเขาเขื่อนลั่น ป่าปากช่อง ป่าหมูสี และเขื่อนลำตะคอง ซึ่งเป็นเขตป่าสงวนตามแผนที่-อาคารของกรมแผนที่ทหาร เมื่อปี 2545 ชาวบ้านขึ้นมาทำกินบนเขาตั้งแต่ปี 2517 โดยถางป่าทำไร่ข้าวโพด จนเป็นพื้นที่ป่าเสื่อมโทรม ต่อมาในปี 2524 กรมป่าไม้จึงมาจัดสรรให้คนละ 14 ไร่ 2 งาน โดย 14 ไร่ให้เป็นที่ทำกิน ส่วน 2 งานให้เป็นที่อยู่อาศัย แต่เนื่องจากพื้นที่บริเวณนี้ส่วนหนึ่งเป็นหิน ไม่เหมาะสำหรับทำการเกษตร ชาวบ้านจึงขายที่ต่อให้กับคนต่างถิ่น โดยมีข้าราชการจำนวนหนึ่งมาซื้อต่อเป็นทอดๆ เพราะบนเขามีทิวทัศน์สวยงาม มีอากาศดี เหมาะจะนำมาสร้างเป็นบ้านพักตากอากาศ รวมทั้งพล.อ.สุรยุทธ์ จุลานนท์ ทั้งนี้พื้นที่บริเวณนี้ยังไม่มีการออกเอกสารสิทธิ มีเพียงหลักฐานการเสียภาษีบำรุงท้องที่ (ภ.ท.บ.5) ที่ที่ว่าการอำเภอเป็นผู้ออกให้.

ใหม่!!: สุรยุทธ์ จุลานนท์และเขายายเที่ยง · ดูเพิ่มเติม »

เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันมีศักดิ์รามาธิบดี

รื่องราชอิสริยาภรณ์อันมีศักดิ์รามาธิบดี (The Honourable Order of Rama) เป็นเครื่องราชอิสริยาภรณ์ที่สร้างขึ้นโดยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว เมื่อวันที่ 22 กรกฎาคม พ.ศ. 2461 สำหรับบำเหน็จความดีความชอบแก่ผู้ทำความชอบพิเศษเป็นประโยชน์ยิ่งแก่ราชการทหาร ไม่ว่ายามสงบหรือยามสงคราม ตามที่ทรงพระราชดำริเห็นสมควรราชกิจจานุเบกษา,, เล่ม ๓๕, ตอน ๐ก, ๒๒ กรกฎาคม..

ใหม่!!: สุรยุทธ์ จุลานนท์และเครื่องราชอิสริยาภรณ์อันมีศักดิ์รามาธิบดี · ดูเพิ่มเติม »

เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติยศยิ่งมงกุฎไทย

รื่องราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติยศยิ่งมงกุฎไทย (The Most Noble Order of the Crown of Thailand) เป็นตระกูลเครื่องราชอิสริยาภรณ์ หนึ่งใน 8 ตระกูลที่สำหรับพระราชทานแด่พระบรมวงศานุวงศ์ ข้าราชการ และผู้กระทำคุณความดี ทั้งบุรุษและสตรี โดยเครื่องราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติยศยิ่งมงกุฎไทยนี้สำหรับพระราชทานแก่ผู้กระทำความดีความชอบเป็นประโยชน์แก่ราชการหรือสาธารณชน โดยการพิจารณาเสนอขอพระราชทานของรัฐบาล เพื่อเป็นบำเหน็จความชอบและเครื่องหมายเชิดชูเกียรติยศอย่างสูง แก่ผู้ได้รับพระราชทาน พระราชทานทั้งบุรุษและสตรี หากทรงพระกรุณาโปรดเกล้า ฯ แล้ว ให้ประกาศรายนามในราชกิจจานุเบกษา ปรกติแล้วจะประกาศในวันเฉลิมพระชนมพรรษา 5 ธันวาคม ของทุกปี แยกเป็น 2 ฉบับ คือชั้นต่ำกว่าสายสะพาย และชั้นสายสะพาย เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติยศยิ่งมงกุฎไทยนี้ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงพระกรุณาให้สร้างขึ้น เมื่อ..

ใหม่!!: สุรยุทธ์ จุลานนท์และเครื่องราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติยศยิ่งมงกุฎไทย · ดูเพิ่มเติม »

เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นที่เชิดชูยิ่งช้างเผือก

รื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นที่เชิดชูยิ่งช้างเผือก (The Most Exalted Order of the White Elephant) เป็นตระกูลเครื่องราชอิสริยาภรณ์ หนึ่งใน 8 ตระกูลที่สำหรับพระราชทานแด่พระบรมวงศานุวงศ์ ข้าราชการ และผู้กระทำคุณความดี ทั้งบุรุษและสตรี โดยเครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นที่เชิดชูยิ่งช้างเผือกนี้สำหรับพระราชทานแก่ผู้กระทำความดีความชอบเป็นประโยชน์แก่ราชการหรือสาธารณชน โดยการพิจารณาเสนอขอพระราชทานของรัฐบาล เพื่อเป็นบำเหน็จความชอบและเครื่องหมายเชิดชูเกียรติยศอย่างสูงแก่ผู้ได้รับพระราชทาน พระราชทานทั้งบุรุษและสตรี หากทรงพระกรุณาโปรดเกล้า ฯ แล้ว ให้ประกาศรายนามในราชกิจจานุเบกษา ปรกติแล้วจะประกาศในวันเฉลิมพระชนมพรรษา 5 ธันวาคม ของทุกปี แยกเป็น 2 ฉบับ คือชั้นต่ำกว่าสายสะพาย และชั้นสายสะพาย เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นที่เชิดชูยิ่งช้างเผือกนี้ พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงพระกรุณาให้สร้างขึ้นเมื่อ..

ใหม่!!: สุรยุทธ์ จุลานนท์และเครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นที่เชิดชูยิ่งช้างเผือก · ดูเพิ่มเติม »

เครื่องราชอิสริยาภรณ์จุลจอมเกล้า

รื่องราชอิสริยาภรณ์จุลจอมเกล้า (The Most Illustrious Order of Chula Chom Klao) สถาปนาขึ้นโดยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เมื่อ พ.ศ. 2416 ด้วยทรงเห็นว่าพระมหากษัตริย์ในราชวงศ์จักรีทรงอยู่ในราชสมบัติยั่งยืนนานมาเป็นเวลา 90 ปี ก็ด้วยความจงรักภักดีและการปฏิบัติราชการของพระบรมวงศานุวงศ์และข้าราชการทั้งปวง ทั้งมีพระราชประสงค์จะทรงชุบเลี้ยงบรรดาทายาทของบุคคลเหล่านี้ ให้มีความเจริญรุ่งเรืองในราชการสืบเนื่องต่อไป จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ทายาทของผู้ได้รับพระราชทานสามารถรับพระราชทานตราสืบตระกูลของบิดาได้ โดยพระราชทานนามพระองค์ "จุลจอมเกล้า" เป็นนามของเครื่องราชอิสรยาภรณ์ตระกูลนี้ พร้อมทรงคิดคำขวัญจารึกบนดวงตราว่า "เราจะบำรุงตระกูลวงศ์ให้เจริญ".

ใหม่!!: สุรยุทธ์ จุลานนท์และเครื่องราชอิสริยาภรณ์จุลจอมเกล้า · ดูเพิ่มเติม »

เต่า

ต่า คือ สัตว์จำพวกหนึ่งในอันดับ Testudines จัดอยู่ในจำพวกสัตว์เลือดเย็น ในชั้นสัตว์เลื้อยคลาน เป็นสัตว์ที่มีวิวัฒนาการมาแล้วกว่า 200 ล้านปี ซึ่งเต่านั้นถือเป็นสัตว์ที่มีอายุยืนมากที่สุดชนิดหนึ่ง โดยเต่าจะมีกระดูกที่แข็งคลุมบริเวณหลังที่เรียกว่า "กระดอง" ซึ่งประกอบด้วยแคลเซียมเป็นส่วนใหญ่ ซึ่งจะสามารถหดหัว ขา และหางเข้าในกระดองเพื่อป้องกันตัวได้ แต่เต่าบางชนิดก็ไม่อาจจะทำได้ เต่าเป็นสัตว์ที่ไม่มีฟัน แต่มีริมฝีปากที่แข็งแรงและคม ใช้ขบกัดอาหารแทนฟัน โดยมากแล้ว เต่า เป็นสัตว์ที่เคลื่อนไหวและเคลื่อนที่ได้ช้า อาศัยและใช้ช่วงชีวิตหนึ่งอยู่ในน้ำ ซึ่งมีอาศัยทั้งน้ำจืด และทะเล แต่เต่าบางจำพวกก็ไม่ต้องอาศัยน้ำเลย เรียกว่า "เต่าบก" (Testudinidae) ซึ่งเต่าบกที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในโลก คือ เต่ายักษ์กาลาปากอส (Geochelone nigra) ที่อาศัยอยู่ตามเกาะต่าง ๆ ในหมู่เกาะกาลาปากอส ในเอกวาดอร์ (มีทั้งหมด 15 ชนิดย่อย) ในขณะที่เต่าน้ำที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในโลก คือ เต่าอัลลิเกเตอร์ (Macrochelys temminckii) อาศัยอยู่ตามหนองน้ำในทวีปอเมริกาเหนือ.

ใหม่!!: สุรยุทธ์ จุลานนท์และเต่า · ดูเพิ่มเติม »

เฉลิม อยู่บำรุง

ร้อยตำรวจเอก เฉลิม อยู่บำรุง นักการเมืองไทย สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรฝั่งธนบุรีหลายสมัย อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงแรงงาน อดีตรองนายกรัฐมนตรีและสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบบัญชีรายชื่อ สังกัดพรรคเพื่อไทย อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย รัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรม รัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี และหัวหน้าพรรคมวลชน ระหว่างวันที่ 21 มกราคม 2557 ถึง 18 มีนาคม 2557 เขาเป็นผู้อำนวยการศูนย์รักษาความสงบ ตามคำสั่งคำสั่งที่ พิเศษ 1/2557 เรื่องจัดตั้งศูนย์รักษาความสงบ โดย ยิ่งลักษณ์ ชินวัตร.

ใหม่!!: สุรยุทธ์ จุลานนท์และเฉลิม อยู่บำรุง · ดูเพิ่มเติม »

เปรม ติณสูลานนท์

ลเอก พลเรือเอก พลอากาศเอก เปรม ติณสูลานนท์ ประธานองคมนตรี รัฐบุรุษ อดีตผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ในสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร และนายกรัฐมนตรีไทยคนที่ 16 ดำรงตำแหน่ง 3 สมัย ระหว่างปี..

ใหม่!!: สุรยุทธ์ จุลานนท์และเปรม ติณสูลานนท์ · ดูเพิ่มเติม »

1 ตุลาคม

วันที่ 1 ตุลาคม เป็นวันที่ 274 ของปี (วันที่ 275 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 91 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: สุรยุทธ์ จุลานนท์และ1 ตุลาคม · ดูเพิ่มเติม »

19 กันยายน

วันที่ 19 กันยายน เป็นวันที่ 262 ของปี (วันที่ 263 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 103 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: สุรยุทธ์ จุลานนท์และ19 กันยายน · ดูเพิ่มเติม »

26 ธันวาคม

วันที่ 26 ธันวาคม เป็นวันที่ 360 ของปี (วันที่ 361 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 5 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: สุรยุทธ์ จุลานนท์และ26 ธันวาคม · ดูเพิ่มเติม »

29 มกราคม

วันที่ 29 มกราคม เป็นวันที่ 29 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 336 วันในปีนั้น (337 วันในปีอธิกสุรทิน).

ใหม่!!: สุรยุทธ์ จุลานนท์และ29 มกราคม · ดูเพิ่มเติม »

3 ตุลาคม

วันที่ 3 ตุลาคม เป็นวันที่ 276 ของปี (วันที่ 277 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 89 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: สุรยุทธ์ จุลานนท์และ3 ตุลาคม · ดูเพิ่มเติม »

6 กุมภาพันธ์

วันที่ 6 กุมภาพันธ์ เป็นวันที่ 37 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 328 วันในปีนั้น (329 วันในปีอธิกสุรทิน).

ใหม่!!: สุรยุทธ์ จุลานนท์และ6 กุมภาพันธ์ · ดูเพิ่มเติม »

6 ธันวาคม

วันที่ 6 ธันวาคม เป็นวันที่ 340 ของปี (วันที่ 341 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 25 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: สุรยุทธ์ จุลานนท์และ6 ธันวาคม · ดูเพิ่มเติม »

8 เมษายน

วันที่ 8 เมษายน เป็นวันที่ 98 ของปี (วันที่ 99 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 267 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: สุรยุทธ์ จุลานนท์และ8 เมษายน · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

สุรยุทธ จุลานนท์สุรยุทธ์พล.อ.สุรยุทธ์ จุลานนท์พลเอก สุรยุทธ์ จุลานนท์พลเอกสุรยุทธ์ จุลานนท์

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »