เรากำลังดำเนินการเพื่อคืนค่าแอป Unionpedia บน Google Play Store
ขาออกขาเข้า
🌟เราได้ทำให้การออกแบบของเราง่ายขึ้นเพื่อการนำทางที่ดีขึ้น!
Instagram Facebook X LinkedIn

รายนามรองนายกรัฐมนตรีไทย

ดัชนี รายนามรองนายกรัฐมนตรีไทย

รองนายกรัฐมนตรี หมวดหมู่:รายนามบุคคล.

สารบัญ

  1. 177 ความสัมพันธ์: บรรหาร ศิลปอาชาชวรัตน์ ชาญวีรกูลชวลิต ยงใจยุทธชวน หลีกภัยบัญญัติ บรรทัดฐานชาติชาย ชุณหะวัณชิดชัย วรรณสถิตย์บุญชัย บำรุงพงศ์บุญชู โรจนเสถียรบุญพันธ์ แขวัฒนะบุญเอื้อ ประเสริฐสุวรรณบุญเท่ง ทองสวัสดิ์ชุมพล ศิลปอาชาช่วง เชวงศักดิ์สงครามฟื้น รณนภากาศ ฤทธาคนีพรหมินทร์ เลิศสุริย์เดชพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวรรณไวทยากร กรมหมื่นนราธิปพงศ์ประพันธ์พิชัย รัตตกุลพิทักษ์ อินทรวิทยนันท์พินิจ จารุสมบัติพจน์ สารสินพงศ์เทพ เทพกาญจนาพงส์ สารสินกร ทัพพะรังสีกอร์ปศักดิ์ สภาวสุกิตติรัตน์ ณ ระนองมั่น พัธโนทัยมานะ รัตนโกเศศมิ่งขวัญ แสงสุวรรณมุนี มหาสันทนะ เวชยันตรังสฤษฏ์มีชัย ฤชุพันธุ์มนตรี พงษ์พานิชยิ่งลักษณ์ ชินวัตรยุทธศักดิ์ ศศิประภายุคล ลิ้มแหลมทองยงยุทธ วิชัยดิษฐวันมูหะมัดนอร์ มะทาวิษณุ เครืองามวิโรจน์ เปาอินทร์วีรพงษ์ รามางกูรศุภชัย พานิชภักดิ์สมชาย วงศ์สวัสดิ์สมบุญ ระหงษ์สมพงษ์ อมรวิวัฒน์สมภพ โหตระกิตย์สมศักดิ์ เทพสุทินสมัคร สุนทรเวชสมคิด จาตุศรีพิทักษ์สฤษดิ์ ธนะรัชต์สวัสดิ์ สวัสดิ์รณชัย สวัสดิเกียรติ... ขยายดัชนี (127 มากกว่า) »

บรรหาร ศิลปอาชา

รรหาร ศิลปอาชา (19 สิงหาคม พ.ศ. 2475 – 23 เมษายน พ.ศ. 2559) เป็นนักการเมืองชาวไทย ดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีไทยคนที่ 21 ประธานกรรมการมูลนิธิบรรหาร-แจ่มใส ศิลปอาชา ประธานที่ปรึกษาพรรคชาติไทยพัฒนา อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดสุพรรณบุรี 11 สมัย อดีตนายกสภามหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา อดีตนายกสภาสถาบันการพลศึกษา อดีตกรรมการผู้จัดการ บริษัท สหศรีชัยก่อสร้าง จำกัด และอดีตหัวหน้าพรรคชาติไทย ทั้งเป็นพี่ชายของชุมพล ศิลปอาชา อดีตรองนายกรัฐมนตรี.

ดู รายนามรองนายกรัฐมนตรีไทยและบรรหาร ศิลปอาชา

ชวรัตน์ ชาญวีรกูล

วรัตน์ ชาญวีรกูล อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย อดีตหัวหน้าพรรคภูมิใจไทย อดีตรองนายกรัฐมนตรีในรัฐบาลนายสมชาย วงศ์สวัสดิ์ เป็นผู้ปฏิบัติหน้าที่แทนนายกรัฐมนตรีนับตั้งแต่วันที่ 2 ธันวาคม พ.ศ.

ดู รายนามรองนายกรัฐมนตรีไทยและชวรัตน์ ชาญวีรกูล

ชวลิต ยงใจยุทธ

ลเอก พลเรือเอก พลอากาศเอก ชวลิต ยงใจยุทธ (15 พฤษภาคม พ.ศ. 2475 —) เป็นนายกรัฐมนตรีของประเทศไทย คนที่ 22 อดีตรองนายกรัฐมนตรี อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงแรงงานและสวัสดิการสังคม อดีตผู้บัญชาการทหารบกและอดีดรักษาการผู้บัญชาการทหารสูงสุด เป็นเจ้าของสมญา "ขงเบ้งแห่งกองทัพบก" เคยได้รับการแต่งตั้งให้เป็น สมาชิกวุฒิสภา ขณะดำรงตำแหน่งทางทหาร เป็นผู้ก่อตั้ง และหัวหน้า พรรคความหวังใหม่ คนแรก และเป็นอดีต..หลายสมัย มีคะแนนเสียงหนาแน่นในจังหวัดนครพนม สื่อมวลชนและประชาชนทั่วไป เรียก พล.อ.ชวลิต ว่า "บิ๊กจิ๋ว" และในพื้นที่ภาคอีสาน เรียก พล.อ.ชวลิต ว่า "พ่อใหญ่จิ๋ว" นอกจากนี้แล้วยังมีอีกฉายาหนึ่งว่า "จิ๋วหวานเจี๊ยบ" จากการมีบุคลิกพูดจาอ่อนนิ่ม นุ่มนวล.

ดู รายนามรองนายกรัฐมนตรีไทยและชวลิต ยงใจยุทธ

ชวน หลีกภัย

วน หลีกภัย (28 กรกฎาคม พ.ศ. 2481 —) เป็นนายกรัฐมนตรีไทยคนที่ 20 ดำรงตำแหน่งสองสมัย ปัจจุบันเป็นประธานสภาที่ปรึกษาพรรคประชาธิปัต.

ดู รายนามรองนายกรัฐมนตรีไทยและชวน หลีกภัย

บัญญัติ บรรทัดฐาน

ัญญัติ บรรทัดฐาน กรรมการที่ปรึกษาพรรคประชาธิปัตย์ อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบบัญชีรายชื่อ สังกัดพรรคประชาธิปัตย์ และอดีตหัวหน้าพรรคประชาธิปัต.

ดู รายนามรองนายกรัฐมนตรีไทยและบัญญัติ บรรทัดฐาน

ชาติชาย ชุณหะวัณ

ลเอก พลเรือเอก พลอากาศเอก ชาติชาย ชุณหะวัณ (5 เมษายน พ.ศ. 2463 — 6 พฤษภาคม พ.ศ. 2541) เป็นนายกรัฐมนตรีไทยคนที่ 17 และเคยดำรงตำแหน่งรองนายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรีในหลายกระทรวงคือ กระทรวงการต่างประเทศ กระทรวงอุตสาหกรรม และ กระทรวงกลาโหม พลเอกชาติชาย เป็นผู้ก่อตั้งพรรคการเมือง 2 พรรค และได้ดำรงตำแหน่งหัวหน้าพรรค คือ พรรคชาติไทย และ พรรคชาติพัฒน.

ดู รายนามรองนายกรัฐมนตรีไทยและชาติชาย ชุณหะวัณ

ชิดชัย วรรณสถิตย์

ลตำรวจเอก นายกองใหญ่ ดร.ชิดชัย วรรณสถิตย์ (เกิด 13 สิงหาคม พ.ศ. 2489 ที่จังหวัดอุบลราชธานี) อดีตสมาชิกสภาขับเคลื่อนการปฏิรูปประเทศ เคยดำรงตำแหน่งรองนายกรัฐมนตรี (คนที่ 1) สมัยรัฐบาลทักษิณ ชินวัตร พ้นจากตำแหน่งเนื่องจาก รัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ.

ดู รายนามรองนายกรัฐมนตรีไทยและชิดชัย วรรณสถิตย์

บุญชัย บำรุงพงศ์

ลเอก บุญชัย บำรุงพงศ์ (8 พฤศจิกายน พ.ศ. 2458 - 12 กันยายน พ.ศ. 2538) เป็นอดีตรองนายกรัฐมนตรี อดีตผู้บัญชาการทหารบก ลำดับที่ 20 ระหว่าง 1 ตุลาคม พ.ศ.

ดู รายนามรองนายกรัฐมนตรีไทยและบุญชัย บำรุงพงศ์

บุญชู โรจนเสถียร

นายบุญชู โรจนเสถียร (20 มกราคม พ.ศ. 2464 — 19 มีนาคม พ.ศ. 2550) อดีตรองนายกรัฐมนตรี, รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง หลายสมัย เคยดำรงตำแหน่งกรรมการผู้จัดการใหญ่ธนาคารกรุงเทพ ได้รับการยกย่องให้เป็น "ซาร์เศรษฐกิจ".

ดู รายนามรองนายกรัฐมนตรีไทยและบุญชู โรจนเสถียร

บุญพันธ์ แขวัฒนะ

นายบุญพันธ์ แขวัฒนะ เป็นอดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข ในรัฐบาลของพลเอกสุจินดา คราประยูร และรัฐบาลชวน หลีกภัย (1) และเป็นอดีตรองนายกรัฐมนตรี รัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี ในรัฐบาลบรรหาร ศิลปอาชา อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดพระนครศรีอยุธยา 9 สมั.

ดู รายนามรองนายกรัฐมนตรีไทยและบุญพันธ์ แขวัฒนะ

บุญเอื้อ ประเสริฐสุวรรณ

ลตรี บุญเอื้อ ประเสริฐสุวรรณ (ชื่อเดิม: กิมกุ่ย) (13 เมษายน พ.ศ. 2462 - 13 ตุลาคม พ.ศ. 2559) อดีตประธานรัฐสภา ประธานสภาผู้แทนราษฎร อดีตรองนายกรัฐมนตรี และสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดสุพรรณบุรี.

ดู รายนามรองนายกรัฐมนตรีไทยและบุญเอื้อ ประเสริฐสุวรรณ

บุญเท่ง ทองสวัสดิ์

ญเท่ง ทองสวัสดิ์ (15 เมษายน พ.ศ. 2455 - 1 พฤศจิกายน พ.ศ. 2542) เป็นอดีตประธานรัฐสภาและประธานสภาผู้แทนราษฎรไทย อดีตรองนายกรัฐมนตรี อดีตรัฐมนตรีหลายกระทรวง และเป็นอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรรวม 16 สมัย ซึ่งมากที่สุดในโลก รวมถึงผู้ร่วมก่อตั้งพรรคประชาธิปัตย์ ได้รับฉายาจากนักสื่อมวลชนว่า เท่งเที่ยงถึง.

ดู รายนามรองนายกรัฐมนตรีไทยและบุญเท่ง ทองสวัสดิ์

ชุมพล ศิลปอาชา

มพล ศิลปอาชา (6 มิถุนายน พ.ศ. 2483 — 21 มกราคม พ.ศ. 2556) เป็น รองนายกรัฐมนตรี และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา ในรัฐบาลยิ่งลักษณ์ ชินวัตร หัวหน้าพรรคชาติไทยพัฒนา และเคยดำรงตำแหน่งรัฐมนตรีหลายสมัย ตลอดจนตำแหน่งทางการเมืองอื่น ๆ และยังเคยดำรงตำแหน่งนายกสภามหาวิทยาลัยศิลปากร.

ดู รายนามรองนายกรัฐมนตรีไทยและชุมพล ศิลปอาชา

ช่วง เชวงศักดิ์สงคราม

ันเอก ช่วง เชวงศักดิ์สงคราม หรือ หลวงเชวงศักดิ์สงคราม (10 มีนาคม พ.ศ. 2442 - 9 มีนาคม พ.ศ. 2505) นามเดิม ช่วง ขวัญเชิด อดีตรองนายกรัฐมนตรี รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตราธิการ.

ดู รายนามรองนายกรัฐมนตรีไทยและช่วง เชวงศักดิ์สงคราม

ฟื้น รณนภากาศ ฤทธาคนี

อมพลอากาศ ฟื้น รณนภากาศ ฤทธาคนี (21 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2443 - 8 กรกฎาคม พ.ศ. 2530) อดีตผู้บัญชาการทหารอากาศ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงคมนาคม กระทรวงสาธารณสุข รองนายกรัฐมนตรี จอมพลอากาศ ฟื้น รณนภากาศ ฤทธาคนี มีนามเดิมว่า ฟื้น ฤทธาคนี เป็นบุตรของนายฟุ้ง ฤทธาคนีและนางพุดตาน ฤทธาคนี ศึกษาที่โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย เมื่อ..

ดู รายนามรองนายกรัฐมนตรีไทยและฟื้น รณนภากาศ ฤทธาคนี

พรหมินทร์ เลิศสุริย์เดช

นายแพทย์ พรหมินทร์ เลิศสุริย์เดช (เกิด 5 พฤศจิกายน พ.ศ. 2497) อดีตรองนายกรัฐมนตรี อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงพลังงาน และอดีตเลขาธิการนายกรัฐมนตรี ในรัฐบาลของ พ.ต.ท.ดร.ทักษิณ ชินวัตร.

ดู รายนามรองนายกรัฐมนตรีไทยและพรหมินทร์ เลิศสุริย์เดช

พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวรรณไวทยากร กรมหมื่นนราธิปพงศ์ประพันธ์

ตราจารย์ พลตรี พระเจ้าวรวงศ์เธอ กรมหมื่นนราธิปพงศ์ประพันธ์ (25 สิงหาคม พ.ศ. 2434 - 5 กันยายน พ.ศ. 2519) อดีตรองนายกรัฐมนตรี อดีตประธานสมัชชาองค์การสหประชาชาติ และอดีตนายกราชบัณฑิตยสถาน รวมถึงเป็นผู้ร่วมสถาปนาสถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ และทรงเสนอให้คณะรัฐมนตรีจัดตั้งโรงเรียนการเมืองชั้นสูง(เป็นจุดเริ่มต้นแนวคิดการก่อตั้งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และการเมือง) พระปรีชาสามารถในด้านการทูตและการต่างประเทศเป็นที่ยอมรับในระดับโลก และทรงมีชื่อเสียงการบัญญัติศัพท์ในภาษาไทย ทั้งยังทรงเป็นผู้วางกฎเกณฑ์ในการบัญญัติศัพท์ภาษาต่างประเทศด้วยคำบาลีและสันสกฤต สิ้นพระชนม์เมื่อวันที่ 5 กันยายน..

ดู รายนามรองนายกรัฐมนตรีไทยและพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวรรณไวทยากร กรมหมื่นนราธิปพงศ์ประพันธ์

พิชัย รัตตกุล

ัย รัตตกุล (16 กันยายน พ.ศ. 2469 —) เป็น อดีตหัวหน้าพรรคประชาธิปัตย์ คนที่ 4 ระหว่างปี..

ดู รายนามรองนายกรัฐมนตรีไทยและพิชัย รัตตกุล

พิทักษ์ อินทรวิทยนันท์

นายพิทักษ์ อินทรวิทยนันท์ อดีตรองนายกรัฐมนตรี ในรัฐบาลพันตำรวจโททักษิณ ชินวัตร รัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี และรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงการต่างประเท.

ดู รายนามรองนายกรัฐมนตรีไทยและพิทักษ์ อินทรวิทยนันท์

พินิจ จารุสมบัติ

นายพินิจ จารุสมบัติ กรรมการสภามหาวิทยาลัยผู้ทรงคุณวุฒิของมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ อดีตรองนายกรัฐมนตรี อดีตหัวหน้าพรรคเสรีธรรม เคยร่วมต่อสู้กับพรรคคอมมิวนิสต์แห่งประเทศไทย ช่วงหลังเหตุการณ์ 6 ตุลาคม พ.ศ.

ดู รายนามรองนายกรัฐมนตรีไทยและพินิจ จารุสมบัติ

พจน์ สารสิน

น์ สารสิน (25 มีนาคม พ.ศ. 2448 - 28 กันยายน พ.ศ. 2543) นายกรัฐมนตรีคนที่ 9 ของประเทศไทย นายกรัฐมนตรีแห่งราชอาณาจักรไทยที่เป็นพลเรือนในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช, อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงการต่างประเทศ, อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ แต่ภายหลังได้ลาออกเนื่องจากมีความเห็นขัดแย้งกับรัฐบาลเกี่ยวกับการรับรองรัฐบาลเบาได๋ แห่งเวียดนามใต้ และอดีตเอกอัครราชทูตไทยประจำสหรัฐอเมริก.

ดู รายนามรองนายกรัฐมนตรีไทยและพจน์ สารสิน

พงศ์เทพ เทพกาญจนา

งศ์เทพ เทพกาญจนา อดีตรองนายกรัฐมนตรี และอดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ ในรัฐบาลนางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร.

ดู รายนามรองนายกรัฐมนตรีไทยและพงศ์เทพ เทพกาญจนา

พงส์ สารสิน

นายพงส์ สารสิน (เกิด 16 กรกฎาคม พ.ศ. 2470) อดีตรองนายกรัฐมนตรี (2 สมัย) อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดขอนแก่น 2 สมัย และ อดีตเลขาธิการพรรคกิจสังคม.

ดู รายนามรองนายกรัฐมนตรีไทยและพงส์ สารสิน

กร ทัพพะรังสี

นายกร ทัพพะรังสี (14 กันยายน 2488 -) นายกสภามหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา อดีตรองหัวหน้าพรรคประชาราช อดีตรองนายกรัฐมนตรี และรัฐมนตรีหลายกระทรวง เป็นบุตรของ นายอรุณ ทัพพะรังสี (บุตร พระยานราธรหิรัญรัฐ กับคุณหญิงหวาน) และ นางพร้อม ทัพพะรังสี (สกุลเดิม "ชุณหะวัณ" เป็นบุตรีของจอมพลผิน ชุณหะวัณ) เนื่องจากสืบเชื้อสายจากนักการเมืองซอยราชครู ทำให้ได้รับการขนานนามให้เป็น “ทายาทราชครู รุ่นที่ 3” ด้านครอบครัวสมรส กับ ระพีพรรณ ทัพพะรังสี มีบุตรชื่อ กฤตพณ ทัพพะรังสี และ กมลสุทธิ์ ทัพพะรังสี โดย กมลสุทธิ์ ทัพพะรังสี บุตรชายสมรสกับ อุษณา มหากิจศิริ บุตรสาว ประยุทธ มหากิจศิริ ในปี..

ดู รายนามรองนายกรัฐมนตรีไทยและกร ทัพพะรังสี

กอร์ปศักดิ์ สภาวสุ

นายกอร์ปศักดิ์ สภาวสุ เลขาธิการนายกรัฐมนตรี อดีตรองนายกรัฐมนตรีฝ่ายเศรษฐกิจในรัฐบาลของนายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ และรองหัวหน้าพรรคประชาธิปัตย์ เกิดวันที่ 28 มีนาคม พ.ศ.

ดู รายนามรองนายกรัฐมนตรีไทยและกอร์ปศักดิ์ สภาวสุ

กิตติรัตน์ ณ ระนอง

กิตติรัตน์ ณ ระนอง เป็นรองหัวหน้าพรรคเพื่อไทย อดีตรองนายกรัฐมนตรี และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง อดีตประธานกรรมการในคณะกรรมการกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ ในรัฐบาลยิ่งลักษณ์ ชินวัตร อดีตอธิการบดีมหาวิทยาลัยชินวัตร.

ดู รายนามรองนายกรัฐมนตรีไทยและกิตติรัตน์ ณ ระนอง

มั่น พัธโนทัย

มั่น พัธโนทัย (21 มกราคม พ.ศ. 2484 -) อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงการคลัง ในรัฐบาลนายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ อดีตรองนายกรัฐมนตรี และอดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ในรัฐบาลนายสมชาย วงศ์สวั.

ดู รายนามรองนายกรัฐมนตรีไทยและมั่น พัธโนทัย

มานะ รัตนโกเศศ

ลเอกมานะ รัตนโกเศศ (16 กันยายน พ.ศ. 2468 - 1 มกราคม พ.ศ. 2559) อดีตรองนายกรัฐมนตรี อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ และเป็นอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดนครพนม 3 สมั.

ดู รายนามรองนายกรัฐมนตรีไทยและมานะ รัตนโกเศศ

มิ่งขวัญ แสงสุวรรณ

นายมิ่งขวัญ แสงสุวรรณ อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร พรรคเพื่อไทย อดีตหัวหน้าทีมเศรษฐกิจ พรรคพลังประชาชน อดีตรองนายกรัฐมนตรี อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรม อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงพาณิชย์ อดีตกรรมการผู้อำนวยการใหญ่ บริษัท อสมท จำกัด (มหาชน) คนแรก และผู้อำนวยการองค์การสื่อสารมวลชนแห่งประเทศไทย คนสุดท้.

ดู รายนามรองนายกรัฐมนตรีไทยและมิ่งขวัญ แสงสุวรรณ

มุนี มหาสันทนะ เวชยันตรังสฤษฏ์

ลอากาศโท มุนี มหาสันทนะ เวชยันตรังสฤษฏ์ (นามเดิม: มุนี มหาสันทนะ; 29 มีนาคม พ.ศ. 2436 - พ.ศ. 2528) ราชบัณฑิตกิตติมศักดิ์ อดีตผู้บัญชาการทหารอากาศคนแรกของกองทัพอากาศไทย อดีตรองนายกรัฐมนตรี อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการสำนักนายกรัฐมนตรี, รัฐมนตรีว่าการกระทรวงพาณิชย์, กระทรวงศึกษาธิการ, กระทรวงอุตสาหกรรม และอดีตอธิการบดีจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย พลอากาศโท มุนี มหาสันทนะ เวชยันตรังสฤษฏ์ มีนามเดิมว่า มุนี มหาสันทนะ ศึกษาที่โรงเรียนราชวิทยาลัย สมัยสายสวลี จบการศึกษาจากโรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย เมื่อ..

ดู รายนามรองนายกรัฐมนตรีไทยและมุนี มหาสันทนะ เวชยันตรังสฤษฏ์

มีชัย ฤชุพันธุ์

มีชัย ฤชุพันธุ์ ราชบัณฑิตกิตติมศักดิ์ ประธานคณะกรรมการร่างรัฐธรรมนูญ (กรธ.) สมาชิกคณะรักษาความสงบแห่งชาติคนเดียวที่เป็นพลเรือน (ไม่ได้เป็นทหารหรือตำรวจ) รักษาการนายกรัฐมนตรีคนแรกของประเทศไทย นายกสภามหาวิทยาลัยราชภัฏราชนครินทร์ อดีตประธานรัฐสภา ประธานวุฒิสภา และ รองนายกรัฐมนตรี ผู้เชี่ยวชาญด้านกฎหมายรัฐธรรมนูญ เป็นผู้ก่อตั้งสำนักงานกฎหมายมีชัย ฤชุพันธุ์ สมรสกับคุณหญิงอัมพร (เสนีวงศ์ ณ อยุธยา) ฤชุพันธุ์ (ถึงแก่อนิจกรรม) มีบุตรี 2 คน คือ นางมยุระ ช่วงโชติ และ นางมธุรส โลจายะ หลังเหตุการณ์พฤษภาทมิฬ พลเอกสุจินดา คราประยูร ประกาศลาออกจากตำแหน่งนายกรัฐมนตรี นายมีชัย ฤชุพันธุ์ ซึ่งเป็นรองนายกรัฐมนตรี ในขณะนั้น ได้รับการคัดเลือกจากคณะรัฐมนตรีให้เป็นรักษาการนายกรัฐมนตรี จึงทำให้ นายมีชัย ฤชุพันธุ์ เป็นผู้ที่เคยดำรงตำแหน่งประมุขของทั้งฝ่ายบริหาร (รักษาการนายกรัฐมนตรี) และฝ่ายนิติบัญญัติ (ประธานรัฐสภา).

ดู รายนามรองนายกรัฐมนตรีไทยและมีชัย ฤชุพันธุ์

มนตรี พงษ์พานิช

นายมนตรี พงษ์พานิช (9 พ.ย. 2486 - 12 มิ.ย. 2543) อดีตรองนายกรัฐมนตรี และรัฐมนตรีว่าการหลายกระทรวง อาทิ กระทรวงพาณิชย์ กระทรวงคมนาคม กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ และกระทรวงสาธารณสุข และเป็นผู้อนุมัติ "โครงการโฮปเวลล์" เมื่อปี..

ดู รายนามรองนายกรัฐมนตรีไทยและมนตรี พงษ์พานิช

ยิ่งลักษณ์ ชินวัตร

งลักษณ์ ชินวัตร เกิดวันที่ 21 มิถุนายน..

ดู รายนามรองนายกรัฐมนตรีไทยและยิ่งลักษณ์ ชินวัตร

ยุทธศักดิ์ ศศิประภา

ลเอก พลเรือเอก พลอากาศเอก ยุทธศักดิ์ ศศิประภา อดีตสมาชิกสภาขับเคลื่อนการปฏิรูปประเทศ ประธานสมาพันธ์กีฬาแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงกลาโหม อดีตที่ปรึกษานายกรัฐมนตรี (ยิ่งลักษณ์ ชินวัตร) อดีตรองนายกรัฐมนตรี ฝ่ายความมั่นคง อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม ในรัฐบาลยิ่งลักษณ์ สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร พรรคเพื่อไทย อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงกลาโหม ในรัฐบาลทักษิณ อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร พรรคไทยรักไทย และอดีตปลัดกระทรวงกลาโหม โดยสื่อมวลชนมักเรียกว่า "บิ๊กอ็อด".

ดู รายนามรองนายกรัฐมนตรีไทยและยุทธศักดิ์ ศศิประภา

ยุคล ลิ้มแหลมทอง

นายสัตวแพทย์ ยุคล ลิ้มแหลมทอง กรรมการสภามหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ อดีตรองนายกรัฐมนตรี และอดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ในรัฐบาลนางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร (ครม.ยิ่งลักษณ์ 3) และเป็นอดีตปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ.

ดู รายนามรองนายกรัฐมนตรีไทยและยุคล ลิ้มแหลมทอง

ยงยุทธ วิชัยดิษฐ

งยุทธ วิชัยดิษฐ อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร ระบบบัญชีรายชื่อ และอดีตหัวหน้าพรรคเพื่อไทย อดีตรองนายกรัฐมนตรี อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย อดีตปลัดกระทรวงมหาดไทย อดีตอธิบดีกรมที่ดิน อดีตประธานกรรมการการไฟฟ้านครหลวง อดีตประธานกรรมการการประปานครหลวง อดีตประธานกรรมการตรวจสอบของสำนักงานสลากกินแบ่งรัฐบาล และอดีตที่ปรึกษารัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย 2 สมั.

ดู รายนามรองนายกรัฐมนตรีไทยและยงยุทธ วิชัยดิษฐ

วันมูหะมัดนอร์ มะทา

วันมูหะมัดนอร์ มะทา นักการเมืองมุสลิม แกนนำกลุ่มวาดะห์ อดีตประธานรัฐสภาและประธานสภาผู้แทนราษฎรคนแรกในประวัติศาสตร์ที่เป็นชาวไทยมุสลิม อดีตรองนายกรัฐมนตรี มีชื่อเรียกกันโดยทั่วไปว่า "วันนอร์" เคยดำรงตำแหน่งสำคัญ เช่น ประธานรัฐสภาและประธานสภาผู้แทนราษฎร รองนายกรัฐมนตรี รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย รัฐมนตรีว่าการกระทรวงคมนาคม (2 สมัย) และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ วันมูหะมัดนอร์ มะทา เป็น อดีต..

ดู รายนามรองนายกรัฐมนตรีไทยและวันมูหะมัดนอร์ มะทา

วิษณุ เครืองาม

ตราจารย์กิตติคุณ วิษณุ เครืองาม (15 กันยายน พ.ศ. 2494 -) ราชบัณฑิตและรองนายกรัฐมนตรีฝ่ายกฎหมายในรัฐบาลปัจจุบัน หัวหน้าคณะร่างรัฐธรรมนูญฉบับชั่วคราว พ.ศ.

ดู รายนามรองนายกรัฐมนตรีไทยและวิษณุ เครืองาม

วิโรจน์ เปาอินทร์

ลตำรวจโท วิโรจน์ เปาอินทร์ อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร แบบบัญชีรายชื่อ และรองหัวหน้าพรรคเพื่อไทย อดีตรองนายกรัฐมนตรี ในรัฐบาลของนายชวน หลีกภัย และอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จังหวัดอ่างทอง พรรคชาติไทย และอดีตผู้บัญชาการตำรวจสอบสวนกลาง.

ดู รายนามรองนายกรัฐมนตรีไทยและวิโรจน์ เปาอินทร์

วีรพงษ์ รามางกูร

วีรพงษ์ รามางกูร หรือ ดร.โกร่ง รองนายกรัฐมนตรี ในรัฐบาลของพลเอกชวลิต ยงใจยุทธ และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลังในรัฐบาลของพลเอกชาติชาย ชุณหะวัณ ปัจจุบันดำรงตำแหน่งประธานกรรมการบริษัท ทางด่วนและรถไฟฟ้ากรุงเทพ จำกัด (มหาชน) นอกจากนี้ยังเคยดำรงตำแหน่งประธานคณะกรรมการธนาคารแห่งประเทศไทย อดีตที่ปรึกษาเศรษฐกิจในหลายรัฐบาล อดีตที่ปรึกษานายกรัฐมนตรี ในรัฐบาลพลเอกเปรม ติณสูลานนท์ อดีตสมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ อดีตคณบดีคณะเศรษฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ประธานคณะกรรมการยุทธศาสตร์เพื่อการฟื้นฟูและสร้างอนาคตประเทศ (กยอ.) ในรัฐบาลของนางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร.

ดู รายนามรองนายกรัฐมนตรีไทยและวีรพงษ์ รามางกูร

ศุภชัย พานิชภักดิ์

ัย พานิชภักดิ์ ประธานกรรมการกิตติมศักดิ์ บริษัท เซ็นทรัลพัฒนา จำกัด (มหาชน) กรรมการที่ปรึกษาพรรคประชาธิปัตย์ อดีตเลขาธิการการประชุมสหประชาชาติว่าด้วยการค้าและการพัฒนา หรือ อังก์ถัด (UNCTAD) ที่ปรึกษาผู้ทรงคุณวุฒิของคณะกรรมการเตรียมการยุทธศาสตร์ชาติ ตามคำสั่งนายกรัฐมนตรีที่ 8/2560 ก่อนหน้านั้นเคยรับตำแหน่งเป็นผู้อำนวยการใหญ่องค์การการค้าโลก (WTO) ศุภชัยมีชื่อเรียกย่อ ๆ ที่รู้จักกันทั่วไปว่า ดร.ซุป.

ดู รายนามรองนายกรัฐมนตรีไทยและศุภชัย พานิชภักดิ์

สมชาย วงศ์สวัสดิ์

มชาย วงศ์สวัสดิ์ (31 สิงหาคม พ.ศ. 2490 —) เป็นนายกรัฐมนตรีคนที่ 26 ของประเทศไทย เป็นอดีตรองนายกรัฐมนตรี อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม อดีตผู้พิพากษา อดีตปลัดกระทรวงยุติธรรม อดีตปลัดกระทรวงแรงงาน ในขณะที่สมชายดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีนั้นเขาไม่ได้ปฏิบัติหน้าที่ในทำเนียบรัฐบาล เพราะพันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตยยังคงยึดพื้นที่ไว้ตั้งแต่ในสมัยรัฐบาลนายสมัคร สุนทรเวช โดยใช้สนามบินดอนเมืองเป็นที่ทำการแทน.

ดู รายนามรองนายกรัฐมนตรีไทยและสมชาย วงศ์สวัสดิ์

สมบุญ ระหงษ์

ลอากาศเอกสมบุญ ระหงษ์ (21 พฤษภาคม พ.ศ. 2475 — 23 กันยายน พ.ศ. 2556) อดีตหัวหน้าพรรคชาติไทย อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ และอดีต..

ดู รายนามรองนายกรัฐมนตรีไทยและสมบุญ ระหงษ์

สมพงษ์ อมรวิวัฒน์

นายสมพงษ์ อมรวิวัฒน์ (3 กรกฎาคม พ.ศ. 2484 -) อดีตรองนายกรัฐมนตรี อดีตรัฐมนตรีหลายกระทรวง อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร ระบบสัดส่วน สังกัดพรรคพลังประชาชน อดีตรองหัวหน้าพรรคสามัคคีธรรม และอดีตแกนนำกลุ่ม 16.

ดู รายนามรองนายกรัฐมนตรีไทยและสมพงษ์ อมรวิวัฒน์

สมภพ โหตระกิตย์

ตราจารย์ ดร.

ดู รายนามรองนายกรัฐมนตรีไทยและสมภพ โหตระกิตย์

สมศักดิ์ เทพสุทิน

นายสมศักดิ์ เทพสุทิน แกนนำกลุ่มสามมิตร หรือ กลุ่มวังน้ำยม และ กลุ่มมัชฌิมาเดิม กลุ่มอดีต..

ดู รายนามรองนายกรัฐมนตรีไทยและสมศักดิ์ เทพสุทิน

สมัคร สุนทรเวช

มัคร สุนทรเวช (ชื่อจีน: 李沙馬 Lǐ Shāmǎ; 13 มิถุนายน พ.ศ. 2478 – 24 พฤศจิกายน พ.ศ. 2552) เป็นนายกรัฐมนตรีไทยคนที่ 25 และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม หัวหน้าพรรคพลังประชาชน อดีตผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร และผู้ก่อตั้งพรรคประชากรไทย เกิดที่กรุงเทพมหานคร เป็นนักการเมืองเก่าแก่ ที่มีเสียงพูดและลีลาการพูดเป็นเอกลักษณ์ เคยดำรงตำแหน่งสำคัญมากมาย เช่น รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย รัฐมนตรีว่าการกระทรวงคมนาคม (2 สมัย) ได้ฉายาจากสื่อมวลชนทั่วไปว่า "น้าหมัก" "ออหมัก" หรือ "ชมพู่" (มาจากลักษณะจมูกของสมัคร) "ชาวนา" (จากกรณีกลุ่มงูเห่า) เป็นต้น สมัครเริ่มทำงานหลังจบนิติศาสตร์ ธรรมศาสตร์ เป็นสื่อมวลชนสายการเมือง โดยเขียนบทความ และความคิดเห็น ทางการเมืองแบบไม่ประจำใน หนังสือพิมพ์สยามรัฐ, สยามรัฐสัปดาห์วิจารณ์ และชาวกรุง ตั้งแต..

ดู รายนามรองนายกรัฐมนตรีไทยและสมัคร สุนทรเวช

สมคิด จาตุศรีพิทักษ์

รองศาสตราจารย์ สมคิด จาตุศรีพิทักษ์ ปัจจุบันเป็นรองนายกรัฐมนตรี ในรัฐบาล พล.อ.ประยุทธ์ จันทร์โอชา ประธานกรรมการนโยบายการให้เอกชนร่วมลงทุนในกิจการของรัฐ รองประธานกรรมการในคณะกรรมการส่งเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม (เฉพาะกิจ) กรรมการในคณะกรรมการบริหารราชการแผ่นดินตามกรอบการปฏิรูปประเทศยุทธศาสตร์ชาติ และการสร้างความสามัคคีปรองดอง อดีตรองนายกรัฐมนตรี ดูแลด้านเศรษฐกิจ และอดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงพาณิชย์ ในรัฐบาลของนายกรัฐมนตรี ทักษิณ ชินวัตร และเคยดำรงตำแหน่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลังหลายสมัย และยังเป็นที่ปรึกษาคณะรักษาความสงบแห่งชาติและอดีตสมาชิกคณะรักษาความสงบแห่งชาติตามประกาศคณะรักษาความสงบแห่งชาติที่ 122/2557.

ดู รายนามรองนายกรัฐมนตรีไทยและสมคิด จาตุศรีพิทักษ์

สฤษดิ์ ธนะรัชต์

อมพล สฤษดิ์ ธนะรัชต์ (16 มิถุนายน พ.ศ. 2451 — 8 ธันวาคม พ.ศ. 2506) เป็นนายกรัฐมนตรีไทยคนที่ 11, รัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม, ผู้บัญชาการทหารบกและอธิบดีกรมตำรวจ เป็นผู้ริเริ่มการจัดทำแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ เป็นผู้ก่อตั้งสำนักงบประมาณ เป็นผู้ก่อตั้งธนาคารทหารไทย และบริษัท ทิพยประกันภัย จำกัด เจ้าของคำพูดที่ว่า "พบกันใหม่เมื่อชาติต้องการ" และ "ข้าพเจ้าขอรับผิดชอบแต่เพียงผู้เดียว" พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช มีพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ แต่งตั้ง จอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต์ เป็นผู้รักษาพระนครฝ่ายทหาร ใน วันที่ 16 กันยายน..

ดู รายนามรองนายกรัฐมนตรีไทยและสฤษดิ์ ธนะรัชต์

สวัสดิ์ สวัสดิ์รณชัย สวัสดิเกียรติ

ลโท สวัสดิ์ สวัสดิ์รณชัย สวัสดิเกียรติ อดีตรองนายกรัฐมนตรี, รัฐมนตรีว่าการกระทรวงคมนาคม, รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ, รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงคมนาคม และรัฐมนตรี.

ดู รายนามรองนายกรัฐมนตรีไทยและสวัสดิ์ สวัสดิ์รณชัย สวัสดิเกียรติ

สหัส บัณฑิตกุล

หัส บัณฑิตกุล อดีตรองนายกรัฐมนตรี ในรัฐบาลของนายสมัคร สุนทรเวช อดีตรองผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร และอดีตรองผู้ว่าการการรถไฟแห่งประเทศไท.

ดู รายนามรองนายกรัฐมนตรีไทยและสหัส บัณฑิตกุล

สัญญา ธรรมศักดิ์

ตราจารย์ สัญญา ธรรมศักดิ์ (5 เมษายน พ.ศ. 2450 — 6 มกราคม พ.ศ. 2545) เคยดำรงตำแหน่งประธานศาลฎีกา, คณบดีคณะนิติศาสตร์ และอธิการบดีมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ กรรมการข้าราชการพลเรือนผู้ทรงคุณวุฒิ,ตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ ปลัดกระทรวงยุติธรรมรองประธานสภาร่างรัฐธรรมนูญ, ได้รับการแต่งตั้งเป็นนายกรัฐมนตรี 2 สมัย และได้รับพระราชทานแต่งตั้งเป็นประธานองคมนตรี ถึงแก่อสัญกรรม ณ โรงพยาบาลรามาธิบดี กรุงเทพมหานคร เมื่อวันที่ 6 มกราคม พ.ศ.

ดู รายนามรองนายกรัฐมนตรีไทยและสัญญา ธรรมศักดิ์

สิทธิ เศวตศิลา

ลอากาศเอก สิทธิ เศวตศิลา (7 มกราคม พ.ศ. 2462 - 5 ธันวาคม พ.ศ. 2558) อดีตองคมนตรีในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช อดีตรองนายกรัฐมนตรี, อดีตรัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ และ อดีตเลขาธิการสำนักงานสภาความมั่นคงแห่งชาต.

ดู รายนามรองนายกรัฐมนตรีไทยและสิทธิ เศวตศิลา

สุชัย เจริญรัตนกุล

ตราจารย์ นายแพทย์ สุชัย เจริญรัตนกุล ศาสตราจารย์ภาควิชาอายุรศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล อดีตรองนายกรัฐมนตรี และอดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข ในรัฐบาลของพันตำรวจโท ทักษิณ ชินวัตร.

ดู รายนามรองนายกรัฐมนตรีไทยและสุชัย เจริญรัตนกุล

สุชาติ เชาว์วิศิษฐ

ร้อยเอกสุชาติ เชาว์วิศิษฐ (21 เมษายน พ.ศ. 2483 - 22 ตุลาคม พ.ศ. 2552) อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง.

ดู รายนามรองนายกรัฐมนตรีไทยและสุชาติ เชาว์วิศิษฐ

สุกิจ นิมมานเหมินท์

ตราจารย์ สุกิจ นิมมานเหมินท์ (25 พฤศจิกายน พ.ศ. 2449 — 2 พฤศจิกายน พ.ศ. 2519) อดีตราชบัณฑิต อดีตรองนายกรัฐมนตรี รัฐมนตรีหลายกระทรวง และสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จังหวัดเชียงใหม.

ดู รายนามรองนายกรัฐมนตรีไทยและสุกิจ นิมมานเหมินท์

สุรพงษ์ สืบวงศ์ลี

นายแพทย์สุรพงษ์ สืบวงศ์ลี (2 พฤษภาคม พ.ศ. 2500 —) เป็นที่รู้จักในชื่อเล่นว่า "หมอเลี๊ยบ" อดีตรองนายกรัฐมนตรี อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร เลขาธิการพรรคพลังประชาชน และหนึ่งในกลุ่มคนเดือนตุล.

ดู รายนามรองนายกรัฐมนตรีไทยและสุรพงษ์ สืบวงศ์ลี

สุรพงษ์ โตวิจักษณ์ชัยกุล

รพงษ์ โตวิจักษณ์ชัยกุล อดีตรองนายกรัฐมนตรี และอดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จังหวัดเชียงใหม่ พรรคเพื่อไทย อดีตประธานกรรมาธิการการคลัง การธนาคาร และสถาบันการเงิน สภาผู้แทนราษฎร อดีตประธานที่ปรึกษาศูนย์รักษาความสงบ ในรัฐบาล ยิ่งลักษณ์ ชินวัตร และอดีตกรรมการบริหารพรรคประชาธิปัต.

ดู รายนามรองนายกรัฐมนตรีไทยและสุรพงษ์ โตวิจักษณ์ชัยกุล

สุรยุทธ์ จุลานนท์

ลเอก พลเรือเอก พลอากาศเอก สุรยุทธ์ จุลานนท์ (เกิด 28 สิงหาคม พ.ศ. 2486) องคมนตรี นายกรัฐมนตรีไทยคนที่ 24 จากการแต่งตั้งโดยคณะปฏิรูปการปกครองในระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข (คปค.) ภายหลังเหตุการณ์รัฐประหาร 19 กันยายน พ.ศ.

ดู รายนามรองนายกรัฐมนตรีไทยและสุรยุทธ์ จุลานนท์

สุริยะ จึงรุ่งเรืองกิจ

ริยะ จึงรุ่งเรืองกิจ (10 ธันวาคม พ.ศ. 2497-) อดีตรองนายกรัฐมนตรี รัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรม ในสมัยรัฐบาลของทักษิณ ชินวัตรและเลขาธิการพรรคไทยรักไท.

ดู รายนามรองนายกรัฐมนตรีไทยและสุริยะ จึงรุ่งเรืองกิจ

สุรเกียรติ์ เสถียรไทย

ตราจารย์พิเศษ สุรเกียรติ์ เสถียรไทย อดีตรองหัวหน้าพรรคไทยรักไทย เคยเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร พรรคไทยรักไทย เคยดำรงตำแหน่งรองนายกรัฐมนตรี และ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงต่างประเทศ สมัยรัฐบาลของทักษิณ ชินวัตร รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลังสมัยรัฐบาลบรรหาร ศิลปอาชา และที่ปรึกษานายกรัฐมนตรีสมัยพลเอกชาติชาย ชุณหะวัณ เคยถูกเสนอชื่อเพื่อเป็น เลขาธิการองค์การสหประชาชาติ ในนามของ 10 ประเทศอาเซียนโดยการสนับสนุนของรัฐบาลทักษิณ รวมถึงได้รับการสนับสนุนจาก คปค.เช่นกัน แต่ก็ได้ถอนตัวในเดือนตุลาคม..

ดู รายนามรองนายกรัฐมนตรีไทยและสุรเกียรติ์ เสถียรไทย

สุวัจน์ ลิปตพัลลภ

วัจน์ ลิปตพัลลภ นายกสภามหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา อดีตรองนายกรัฐมนตรี ในรัฐบาลของดร.ทักษิณ ชินวัตร อดีตรัฐมนตรีว่าการทบวงมหาวิทยาลัย และอดีตรัฐมนตรีว่าการหลายกระทรวง เป็นหนึ่งในแกนนำพรรครวมชาติพัฒนา (ปัจจุบันคือ พรรคชาติพัฒนาเพื่อแผ่นดิน) แต่ไม่ได้ลงสมัครรับเลือกตั้งทั่วไป 23 ธันวาคม พ.ศ.

ดู รายนามรองนายกรัฐมนตรีไทยและสุวัจน์ ลิปตพัลลภ

สุวิทย์ คุณกิตติ

นายสุวิทย์ คุณกิตติ (17 ตุลาคม 2500 -) ประธานที่ปรึกษาพรรคกิจสังคม อดีตหัวหน้าพรรคเพื่อแผ่นดิน..ขอนแก่น 7 สมัย อดีตรองนายกรัฐมนตรี เคยดำรงตำแหน่งเป็นรัฐมนตรีในหลายกระทรวงทั้งกระทรวงยุติธรรม กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ กระทรวงวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม กระทรวงศึกษาธิการ กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร กระทรวงอุตสาหกรรม และกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม.

ดู รายนามรองนายกรัฐมนตรีไทยและสุวิทย์ คุณกิตติ

สุจินดา คราประยูร

ลเอก พลเรือเอก พลอากาศเอก สุจินดา คราประยูร (เกิด 6 สิงหาคม พ.ศ. 2476) เป็นอดีตนายกรัฐมนตรีของประเทศไทย รัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม ผู้บัญชาการทหารบก และ ผู้บัญชาการทหารสูง.

ดู รายนามรองนายกรัฐมนตรีไทยและสุจินดา คราประยูร

สุทัศน์ เงินหมื่น

ทัศน์ เงินหมื่น กรรมการที่ปรึกษาพรรคประชาธิปัตย์ อดีตรองนายกรัฐมนตรี และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรม และเป็นบิดาของนายอภิวัฒน์ เงินหมื่น สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จังหวัดอำนาจเจริญ.

ดู รายนามรองนายกรัฐมนตรีไทยและสุทัศน์ เงินหมื่น

สุขวิช รังสิตพล

วิช รังสิตพล อดีตรองนายกรัฐมนตรี และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร กรุงเทพมหานคร สังกัดพรรคความหวังใหม่ และพรรคไทยรักไท.

ดู รายนามรองนายกรัฐมนตรีไทยและสุขวิช รังสิตพล

สุนทร หงส์ลดารมภ์

นทร หงส์ลดารมภ์ (23 สิงหาคม พ.ศ. 2455 - 16 กันยายน พ.ศ. 2548) อดีตรองนายกรัฐมนตรี รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเศรษฐการ รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงพัฒนาการแห่งชาติ เอกอัครราชทูตไทยประจำสหรัฐอเมริกา เลขาธิการคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ และอธิการบดีมหาวิทยาลัยเชียงใหม.

ดู รายนามรองนายกรัฐมนตรีไทยและสุนทร หงส์ลดารมภ์

สุเทพ เทือกสุบรรณ

ทพ เทือกสุบรรณ เป็นประธานมูลนิธิมวลมหาประชาชนเพื่อการปฏิรูปประเทศไทย และ ผู้ก่อตั้งวิทยาลัยอาชีวศึกษาภาวนาโพธิคุณ เป็นอดีตรองนายกรัฐมนตรีในรัฐบาลอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ อดีตเลขาธิการพรรคประชาธิปัตย์ และสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดสุราษฎร์ธานีหลายสมัย เคยดำรงตำแหน่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงคมนาคม และรัฐมนตรีช่วยว่าการหลายกระทรวง จนถึงปี 2554 เป็นเลขาธิการพรรคประชาธิปัตย์ เขาลาออกจากตำแหน่งในเดือนพฤศจิกายน 2556 เป็นเลขาธิการ กปปส.

ดู รายนามรองนายกรัฐมนตรีไทยและสุเทพ เทือกสุบรรณ

สนั่น ขจรประศาสน์

ลตรี สนั่น ขจรประศาสน์ (7 กันยายน พ.ศ. 2478 — 15 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2556) อดีตรองนายกรัฐมนตรี แกนนำพรรคชาติไทยพัฒนา และอดีตเลขาธิการพรรคประชาธิปัตย์ เป็นผู้ก่อตั้ง และเคยดำรงตำแหน่งหัวหน้าพรรคมหาชน เคยดำรงตำแหน่งสำคัญในรัฐบาลเป็น รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย กระทรวงอุตสาหกรรม และกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ มีชื่อที่นิยมเรียกกันทั่วไปว่า ".หนั่น".

ดู รายนามรองนายกรัฐมนตรีไทยและสนั่น ขจรประศาสน์

สนธิ บุญยรัตกลิน

ลเอก สนธิ บุญยรัตกลิน (เกิด 2 ตุลาคม พ.ศ. 2489) อดีตรองนายกรัฐมนตรี ผู้บัญชาการทหารบกของไทยและก็เป็น ผู้บัญชาการทหารบกของไทยคนแรกที่มาจากชาวไทยมุสลิม และอดีตหัวหน้าคณะปฏิรูปการปกครองในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข ในเหตุการณ์ รัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ.

ดู รายนามรองนายกรัฐมนตรีไทยและสนธิ บุญยรัตกลิน

สนธิ บุณยะชัย

ลเรือเอกสนธิ บุณยะชัย (20 มิถุนายน พ.ศ. 2460 - 4 พฤศจิกายน พ.ศ. 2554) อดีตรองนายกรัฐมนตรี (2 สมัย) อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกรุงเทพมหานคร 2 สมัย และ อดีตรองผู้บัญชาการทหารเรือ.

ดู รายนามรองนายกรัฐมนตรีไทยและสนธิ บุณยะชัย

หม่อมราชวงศ์คึกฤทธิ์ ปราโมช

ตราจารย์พิเศษ พลตรี หม่อมราชวงศ์คึกฤทธิ์ ปราโมช (20 เมษายน พ.ศ. 2454 - 9 ตุลาคม พ.ศ. 2538) นักปราชญ์ นักเขียน นักการเมือง และศิลปินแห่งชาติ นับเป็นปูชนียบุคคลท่านหนึ่งของไทย เป็นน้องชายแท้ ๆ ของ หม่อมราชวงศ์เสนีย์ ปราโมช อดีตนายกรัฐมนตรี 4 สมัย สื่อมวลชนจึงนิยมเรียกทั้งคู่ว่า "หม่อมพี่ หม่อมน้อง" นอกจากนี้ หม่อมราชวงศ์คึกฤทธิ์ และ หม่อมราชวงศ์เสนีย์ ยังมีพี่สาวคือ หม่อมราชวงศ์บุญรับ พินิจชนคดี (สมรสกับ พลตำรวจเอกพระพินิจชนคดี หรือ พินิจ อินทรทูต) เมื่อปลายปี..

ดู รายนามรองนายกรัฐมนตรีไทยและหม่อมราชวงศ์คึกฤทธิ์ ปราโมช

หม่อมราชวงศ์ปรีดิยาธร เทวกุล

หม่อมราชวงศ์ปรีดิยาธร เทวกุล (15 กรกฎาคม 2490 -) กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิในคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ อดีตรองนายกรัฐมนตรี อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง อดีตประธานกรรมการนโยบายการให้เอกชนร่วมลงทุนในกิจการของรัฐอดีตประธานกรรมการนโยบายอวกาศแห่งชาติ และอดีตผู้ว่าการธนาคารแห่งประเทศไท.

ดู รายนามรองนายกรัฐมนตรีไทยและหม่อมราชวงศ์ปรีดิยาธร เทวกุล

หม่อมราชวงศ์เกษมสโมสร เกษมศรี

หม่อมราชวงศ์เกษมสโมสร เกษมศรี (9 มีนาคม พ.ศ.2473 -) อดีตรองนายกรัฐมนตรี รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ และเอกอัครราชทูตไทยประจำกรุงปักกิ่ง จาการ์ตา และกรุงวอชิงตัน เป็นบุตรของหม่อมเจ้าสโมสรเกษม เกษมศรี พระโอรสในพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเกษมศรีศุภโยค กรมหมื่นทิวากรวงศ์ประวัติ และหม่อมเจ้าแขไขจรัสศรี เทวกุล พระธิดาในสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเทวัญอุไทยวงศ์ กรมพระยาเทวะวงศ์วโรปการ.

ดู รายนามรองนายกรัฐมนตรีไทยและหม่อมราชวงศ์เกษมสโมสร เกษมศรี

หม่อมราชวงศ์เสนีย์ ปราโมช

ม.ร.ว. เสนีย์ ปราโมช เมื่อครั้งดำรงตำแหน่งเป็นเอกอัครราชทูตไทยประจำสหรัฐอเมริกา ภาพนี้ถ่ายเมื่อ พ.ศ. 2487 ในงานเฉลิมพระชนมพรรษาครบ 19 พรรษา ของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวอานันทมหิดล ที่สหรัฐอเมริกา ศาสตราจารย์ (พิเศษ) หม่อมราชวงศ์เสนีย์ ปราโมช (26 พฤษภาคม พ.ศ.

ดู รายนามรองนายกรัฐมนตรีไทยและหม่อมราชวงศ์เสนีย์ ปราโมช

หลวงยุทธศาสตร์โกศล (ประยูร ยุทธศาสตร์โกศล)

อมพลเรือ หลวงยุทธศาสตร์โกศล หรือ จอมพลเรือ ประยูร ยุทธศาสตร์โกศล อดีตผู้บัญชาการทหารเรือ อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตราธิการ กระทรวงสหกรณ์ กระทรวงวัฒนธรรม และรองนายกรัฐมนตรี จอมพลเรือ หลวงยุทธศาสตร์โกศล มีนามเดิมว่า ประยูร ศาสตระรุจิ ดำรงตำแหน่งผู้บัญชาการทหารเรือ ระหว่างวันที่ 1 ธันวาคม..

ดู รายนามรองนายกรัฐมนตรีไทยและหลวงยุทธศาสตร์โกศล (ประยูร ยุทธศาสตร์โกศล)

อภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ

อภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ หรือชื่อเกิดว่า มาร์ค อภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ (ละติน: Mark Abhisit Vejjajiva) เกิด 3 สิงหาคม..

ดู รายนามรองนายกรัฐมนตรีไทยและอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ

อัมพร จันทรวิจิตร

อัมพร จันทรวิจิตร อดีตรองนายกรัฐมนตรีในรัฐบาลนายธานินทร์ กรัยวิเชียร.

ดู รายนามรองนายกรัฐมนตรีไทยและอัมพร จันทรวิจิตร

อาทิตย์ กำลังเอก

ลเอก พลเรือเอก พลอากาศเอก อาทิตย์ กำลังเอก (31 สิงหาคม พ.ศ. 2468 - 19 มกราคม พ.ศ. 2558) อดีตผู้บัญชาการทหารบก อดีตผู้บัญชาการทหารสูงสุดของไทย อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดเลย และอดีตสมาชิกวุฒิสภา จังหวัดเล.

ดู รายนามรองนายกรัฐมนตรีไทยและอาทิตย์ กำลังเอก

อานันท์ ปันยารชุน

อานันท์ ปันยารชุน (เกิด 9 สิงหาคม พ.ศ. 2475 —) นายกรัฐมนตรีไทย คนที่ 18 และปลัดกระทรวงการต่างประเทศ เอกอัครราชทูตไทยประจำสหประชาชาติ ประเทศแคนาดา สหรัฐอเมริกา และประเทศเยอรมนี ดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรี 2 สมัย หลังรัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ.

ดู รายนามรองนายกรัฐมนตรีไทยและอานันท์ ปันยารชุน

อำนวย วีรวรรณ

ตราจารย์พิเศษ อำนวย วีรวรรณ อดีตหัวหน้าพรรคนำไทย และพรรคมวลชน อดีตรองนายกรัฐมนตรี และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง เป็นบิดาของนายถกลเกียรติ วีรวรรณ เจ้าของธุรกิจทางด้านรายการโทรทัศน.

ดู รายนามรองนายกรัฐมนตรีไทยและอำนวย วีรวรรณ

อดุล อดุลเดชจรัส

ลเอก พลเรือเอก พลอากาศเอก พลตำรวจเอก อดุล อดุลเดชจรัส หรือ หลวงอดุลเดชจรัส (28 มิถุนายน พ.ศ. 2437 - 17 ธันวาคม พ.ศ. 2512) นามเดิม บัตร พึ่งพระคุณ อดีตองคมนตรี รองนายกรัฐมนตรี อธิบดีกรมตำรวจ ผู้บัญชาการทหารบก มีสมญานามว่า "นายพลตาดุ" เป็นหนึ่งในคณะราษฎร ผู้มีส่วนร่วมในการเปลี่ยนแปลงการปกครอง พ.ศ.

ดู รายนามรองนายกรัฐมนตรีไทยและอดุล อดุลเดชจรัส

ผิน ชุณหะวัณ

อมพลผิน ชุณหะวัณ (14 ตุลาคม พ.ศ. 2434 - 26 มกราคม พ.ศ. 2516) เป็นบิดาของพลเอกชาติชาย ชุณหะวัณ เกิดที่ตำบลบางนกแขวก อำเภอบางคนที จังหวัดสมุทรสงคราม เป็นบุตรของนายไข่ และ นางพลับ ชุณหะวัณ ชาวสวนและแพทย์แผนโบราณ มีพี่น้องร่วมบิดามารดาเดียวกัน 8 คน จอมพลผิน ชุณหะวัณ ถึงแก่อสัญกรรมในวันศุกร์ที่ 26 มกราคม..

ดู รายนามรองนายกรัฐมนตรีไทยและผิน ชุณหะวัณ

จาตุรนต์ ฉายแสง

ตุรนต์ ฉายแสง (เกิด 1 มกราคม พ.ศ. 2499) อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ อดีตรองนายกรัฐมนตรี อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรมและรักษาการหัวหน้าพรรคไทยรักไทย เขาได้รับการคัดเลือกจากนิตยสารเอเชียวีคให้เป็น 1 ใน 20 ผู้นำชาติเอเชียที่มีบทบาทโดดเด่นในศตวรรษที่ 20.

ดู รายนามรองนายกรัฐมนตรีไทยและจาตุรนต์ ฉายแสง

จำลอง ศรีเมือง

ลตรี จำลอง ศรีเมือง แกนนำพันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตย อดีตสมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ อดีตรองนายกรัฐมนตรี และผู้ว่าฯ กรุงเทพฯ 2 สมัย ผู้ก่อตั้ง และหัวหน้าพรรคพลังธรรมคนแรก เป็นแกนนำของผู้ชุมนุมในเหตุการณ์ พฤษภาทมิฬ ปี..

ดู รายนามรองนายกรัฐมนตรีไทยและจำลอง ศรีเมือง

ธรรมรักษ์ อิศรางกูร ณ อยุธยา

ลเอก ธรรมรักษ์ อิศรางกูร ณ อยุธยา อดีตรองนายกรัฐมนตรี และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม สมัยรัฐบาลของ พ.ต.ท. ทักษิณ ชินวัตร.

ดู รายนามรองนายกรัฐมนตรีไทยและธรรมรักษ์ อิศรางกูร ณ อยุธยา

ธานินทร์ กรัยวิเชียร

ตราจารย์ (พิเศษ) ธานินทร์ กรัยวิเชียร (5 เมษายน พ.ศ. 2470 —) อดีตองคมนตรี อดีตผู้ปฏิบัติหน้าที่ประธานองคมนตรี และอดีตนายกรัฐมนตรี คนที่ 14 ของไท.

ดู รายนามรองนายกรัฐมนตรีไทยและธานินทร์ กรัยวิเชียร

ถวัลย์ ธำรงนาวาสวัสดิ์

ล.ร.ต.ถวัลย์ ธำรงนาวาสวัสดิ์ (ซ้าย) ขณะเดินสนทนากับ พ.ต.ควง อภัยวงศ์ ในงานเปิดสมาคมนักข่าว นักหนังสือพิมพ์แห่งประเทศไทย เมื่อปี พ.ศ.

ดู รายนามรองนายกรัฐมนตรีไทยและถวัลย์ ธำรงนาวาสวัสดิ์

ถนอม กิตติขจร

อมพล จอมพลเรือ จอมพลอากาศ ถนอม กิตติขจร (11 สิงหาคม พ.ศ. 2454—16 มีนาคม พ.ศ. 2547) เป็น อดีตนายกรัฐมนตรีคนที่ 10 ของประเทศไทย ผู้บัญชาการทหารบก รัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม และ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ ผู้ซึ่งเป็นหัวหน้าคณะรัฐบาลในเหตุการณ์ 14 ตุลา ปี 2516 ซึ่งเป็นเหตุการณ์การประท้วงของ นิสิต นักศึกษา และประชาชน โดยในเหตุการณ์ ทหารได้ใช้อาวุธสงครามเข้าปราบปรามนักศึกษาประชาชนที่ชุมนุมเรียกร้องรัฐธรรมนูญ จนทำให้มีผู้เสียชีวิตเป็นจำนวนมาก เป็นผลให้ จอมพล ถนอม กิตติขจร ต้องประกาศลาออกจากตำแหน่ง และเดินทางออกจากประเทศ พร้อมกับ จอมพล ประภาส จารุเสถียร และ พ.อ.ณรงค์ กิตติขจร ภายหลังเหตุการณ์ จอมพล ถนอม กิตติขจร ก็ได้เดินทางกลับ แล้วบวชเป็นพระสามเณร เป็นชนวนไปสู่การ ขับไล่ ของนักศึกษาธรรมศาสตร์ จนโยงไปสู่เหตุการณ์ 6 ตุลา ปี 2519 ทำให้มีผู้บาดเจ็บ เสียชีวิต และสูญหายจำนวนมาก จอมพล ถนอม กิตติขจร เคยดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีถึง 4 สมัย เป็นระยะเวลาถึง 10 ปี 6 เดือนเศษ และนับจากการเปลี่ยนการปกครอง พ.ศ.

ดู รายนามรองนายกรัฐมนตรีไทยและถนอม กิตติขจร

ถนัด คอมันตร์

.อ.(พิเศษ) ดร.ถนัด คอมันตร์ ขณะกำลังให้สัมภาษณ์วิทยุบีบีซีภาคภาษาไทย พันเอก (พิเศษ) ถนัด คอมันตร์ (9 พฤษภาคม พ.ศ. 2457 – 3 มีนาคม พ.ศ.

ดู รายนามรองนายกรัฐมนตรีไทยและถนัด คอมันตร์

ทวิช กลิ่นประทุม

นายทวิช กลิ่นประทุม เกิดเมื่อวันที่ 9 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2473 เป็นบุตรคนที่ 3 ของนายสมชาย กับนางอรุณี กลิ่นประทุม มีพี่น้อง 4 คน และเป็นอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จังหวัดมหาสารคาม และจังหวัดราชบุรี อดีตหัวหน้าพรรคธรรมสังคม เคยดำรงตำแหน่งรองนายกรัฐมนตรี สมัยรัฐบาลหม่อมราชวงศ์คึกฤทธิ์ ปราโมช เป็นรัฐมนตรีว่าการทบวงมหาวิทยาลัยหลายสมัย รัฐมนตรีว่าการกระทรวงคมนาคม และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เป็นบิดาของนายสรอรรถ กลิ่นประทุม อดีตรัฐมนตรีหลายสมัย นายทวิช เสียชีวิตเมื่อวันที่ 26 กรกฎาคม พ.ศ.

ดู รายนามรองนายกรัฐมนตรีไทยและทวิช กลิ่นประทุม

ทวี จุลละทรัพย์

ลเอก พลเรือเอก พลอากาศเอก ทวี จุลละทรัพย์ (8 สิงหาคม พ.ศ. 2457 - 4 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2539) อดีตผู้ช่วยผู้บัญชาการทหารสูงสุดและผู้บัญชาการทหารสูงสุด อดีตเสนาธิการทหารอากาศ อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงคมนาคม กระทรวงสาธารณสุข กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ อดีตรองนายกรัฐมนตรี อดีตประธานคณะกรรมการโอลิมปิกแห่งประเทศไทย เคยเป็นพระเอกภาพยนตร์ของ กองภาพยนตร์ทหารอากาศ เรื่อง "บ้านไร่นาเรา" เมื่อ..

ดู รายนามรองนายกรัฐมนตรีไทยและทวี จุลละทรัพย์

ทองหยด จิตตวีระ

ทองหยด จิตตวีระ เป็นอดีตรองนายกรัฐมนตรี ในรัฐบาลพลเอกเปรม ติณสูลานนท์ และรัฐบาลพลเอกชาติชาย ชุณหะวัณ เป็นอดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงพาณิชย์ และอดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข และเป็นอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร 2 จังหวัด คือ จังหวัดระนอง และจังหวัดสุพรรณบุรี และอดีตนายกสมาคมสันนิบาทเทศบาลแห่งประเทศไท.

ดู รายนามรองนายกรัฐมนตรีไทยและทองหยด จิตตวีระ

ทักษิณ ชินวัตร

ทักษิณ ชินวัตร (เกิด 26 กรกฎาคม 2492) เป็นนายกรัฐมนตรีไทยคนที่ 23 ดำรงตำแหน่งระหว่างปี 2544 ถึง 2549 และเป็นพี่ชายของยิ่งลักษณ์ ชินวัตร นายกรัฐมนตรีไทยคนที่ 28 เคยเป็นนักธุรกิจโทรคมนาคมและการสื่อสาร ผู้ก่อตั้งกลุ่มบริษัท ชิน คอร์ปอเรชั่น จำกัด (มหาชน) บริษัทโทรคมนาคมและการสื่อสารขนาดใหญ่ที่สุดในประเทศไทย อดีตข้าราชการตำรวจ (ชั้นยศสูงสุดที่ พันตำรวจโท) อดีตเจ้าของและประธานสโมสรฟุตบอลแมนเชสเตอร์ซิตี อดีตที่ปรึกษาทางเศรษฐกิจของรัฐบาลกัมพูชา และ ศาสตราจารย์อาคันตุกะแห่งมหาวิทยาลัยทากุโชกุ มีสัญชาติไทยโดยการเกิด ปัจจุบันถือสัญชาติมอนเตเนโกร ปี 2537 ทักษิณเข้าสู่วงการเมืองสังกัดพรรคพลังธรรม โดยการชักนำของพลตรี จำลอง ศรีเมือง ต่อมาก่อตั้งพรรคไทยรักไทย ในปี 2541 หลังการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรเป็นการทั่วไป พ.ศ.

ดู รายนามรองนายกรัฐมนตรีไทยและทักษิณ ชินวัตร

ณรงค์ วงศ์วรรณ

ณรงค์ วงศ์วรรณ (25 ธันวาคม พ.ศ. 2468 -) หรือเป็นที่รู้จักว่า "พ่อเลี้ยงเมืองแพร่" อดีตรองนายกรัฐมนตรี อดีตรัฐมนตรีหลายกระทรวง และอดีตหัวหน้าพรรคสามัคคีธรรม เป็นหัวหน้าพรรคการเมืองที่เคยได้รับเลือกตั้ง..มากที่สุดในสภาผู้แทนราษฎร แต่หัวหน้าพรรคไม่ได้รับตำแหน่งนายกรัฐมนตรี.

ดู รายนามรองนายกรัฐมนตรีไทยและณรงค์ วงศ์วรรณ

ดิเรก ชัยนาม

นายดิเรก ชัยนาม ศาสตราจารย์ ดิเรก ชัยนาม (18 มกราคม พ.ศ. 2447 - 1 พฤษภาคม พ.ศ. 2510) อดีตเอกอัครราชทูตไทยประจำกรุงโตเกียว กรุงลอนดอน และกรุงบอนน์ รองนายกรัฐมนตรี รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรมและคณบดีคณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ เคยได้รับการเสนอชื่อจากนายปรีดี พนมยงค์ ให้ดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรี แต่ได้ปฏิเสธที่จะรับตำแหน่ง และเคยได้รับการเสนอชื่อจากรัฐบาลไทย ต่อองค์การยูเนสโกให้ประกาศเกียรติคุณเป็นบุคคลสำคัญแห่งโลก แต่ไม่ได้รับพิจารณาเนื่องจากข้อเสนอของรัฐบาลไทยไม่เข้าข่ายที่จะได้รับการพิจารณ.

ดู รายนามรองนายกรัฐมนตรีไทยและดิเรก ชัยนาม

คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 10

อมพลแปลก พิบูลสงคราม นายกรัฐมนตรีคนที่ 3 หัวหน้าคณะรัฐมนตรีคณะที่ 10 คณะรัฐมนตรี คณะที่ 10 ของไทย (7 มีนาคม พ.ศ. 2485 - 1 สิงหาคม พ.ศ.

ดู รายนามรองนายกรัฐมนตรีไทยและคณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 10

คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 13

'''ม.ร.ว. เสนีย์ ปราโมช''' นายกรัฐมนตรีคนที่ 6 หัวหน้าคณะรัฐมนตรีคณะที่ 13 คณะรัฐมนตรี คณะที่ 13 ของไทย (17 กันยายน พ.ศ.

ดู รายนามรองนายกรัฐมนตรีไทยและคณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 13

คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 17

ลเรือตรีถวัลย์ ธำรงนาวาสวัสดิ์''' นายกรัฐมนตรีคนที่ 8 หัวหน้าคณะรัฐมนตรีคณะที่ 17 คณะรัฐมนตรี คณะที่ 17 ของไทย (23 สิงหาคม พ.ศ.

ดู รายนามรองนายกรัฐมนตรีไทยและคณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 17

คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 18

ลเรือตรีถวัลย์ ธำรงนาวาสวัสดิ์''' นายกรัฐมนตรีคนที่ 8 หัวหน้าคณะรัฐมนตรีคณะที่ 18 คณะรัฐมนตรี คณะที่ 18 ของไทย (30 พฤษภาคม พ.ศ.

ดู รายนามรองนายกรัฐมนตรีไทยและคณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 18

คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 22

อมพลแปลก พิบูลสงคราม''' นายกรัฐมนตรีคนที่ 3 หัวหน้าคณะรัฐมนตรีคณะที่ 22 คณะรัฐมนตรี คณะที่ 22 ของไทย (25 มิถุนายน พ.ศ.

ดู รายนามรองนายกรัฐมนตรีไทยและคณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 22

คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 23

อมพลแปลก พิบูลสงคราม''' นายกรัฐมนตรีคนที่ 3 หัวหน้าคณะรัฐมนตรีคณะที่ 23 คณะรัฐมนตรี คณะที่ 23 ของไทย (29 พฤศจิกายน พ.ศ.

ดู รายนามรองนายกรัฐมนตรีไทยและคณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 23

คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 24

อมพลแปลก พิบูลสงคราม''' นายกรัฐมนตรีคนที่ 3 หัวหน้าคณะรัฐมนตรีคณะที่ 24 คณะรัฐมนตรี คณะที่ 24 ของไทย (6 ธันวาคม พ.ศ.

ดู รายนามรองนายกรัฐมนตรีไทยและคณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 24

คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 25

อมพลแปลก พิบูลสงคราม''' นายกรัฐมนตรีคนที่ 3 หัวหน้าคณะรัฐมนตรีคณะที่ 25 คณะรัฐมนตรี คณะที่ 25 ของไทย (24 มีนาคม พ.ศ.

ดู รายนามรองนายกรัฐมนตรีไทยและคณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 25

คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 26

อมพลแปลก พิบูลสงคราม''' นายกรัฐมนตรีคนที่ 3 หัวหน้าคณะรัฐมนตรีคณะที่ 26 คณะรัฐมนตรีคณะที่ 26 ของไทย (21 มีนาคม พ.ศ.

ดู รายนามรองนายกรัฐมนตรีไทยและคณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 26

คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 28

ณะรัฐมนตรี คณะที่ 28 ของไทย (1 มกราคม พ.ศ. 2501 - 20 ตุลาคม พ.ศ. 2501) พลโท ถนอม กิตติขจร เป็นนายกรัฐมนตรี ประกาศพระบรมราชโองการ เมื่อวันที่ 1 มกราคม 2501 พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ทรงลงพระปรมาภิไธยในประกาศ พลเอก พระประจนปัจจนึก ประธานสภาผู้แทนราษฎรเป็นผู้ลงนามรับสนองพระบรมราชโองการ.

ดู รายนามรองนายกรัฐมนตรีไทยและคณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 28

คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 29

ณะรัฐมนตรี คณะที่ 29 (9 กุมภาพันธ์ 2502 - 8 ธันวาคม 2506) จอมพล สฤษดิ์ ธนะรัชต์ นายกรัฐมนตรีคนที่ 11 หัวหน้าคณะรัฐมนตรีคณะที่ 29 จอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต์ เป็นนายกรัฐมนตรี ประกาศพระบรมราชโองการ เมื่อวันที่ 9 กุมภาพันธ์ 2502 พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ทรงลงพระปรมาภิไธยในประกาศ พลเอกสุทธิ์ สุทธิสารรณกร ประธานสภาร่างรัฐธรรมนูญเป็นผู้ลงนามรับสนองพระบรมราชโองการ และในวันที่ 10 กุมภาพันธ์ 2502 ได้มีพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ แต่งตั้งคณะรัฐมนตรี.

ดู รายนามรองนายกรัฐมนตรีไทยและคณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 29

คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 30

ลเอกถนอม กิตติขจร''' นายกรัฐมนตรีคนที่ 10 หัวหน้าคณะรัฐมนตรีคณะที่ 30 คณะรัฐมนตรี คณะที่ 30 ของไทย (9 ธันวาคม พ.ศ.

ดู รายนามรองนายกรัฐมนตรีไทยและคณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 30

คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 31

ณะรัฐมนตรี คณะที่ 31 ของไทย (9 มีนาคม พ.ศ. 2512 - 17 พฤศจิกายน พ.ศ. 2514) จอมพลถนอม กิตติขจร เป็นนายกรัฐมนตรี ประกาศพระบรมราชโองการ เมื่อวันที่ 7 มีนาคม พ.ศ.

ดู รายนามรองนายกรัฐมนตรีไทยและคณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 31

คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 32

ณะรัฐมนตรี คณะที่ 32 ของไทย (18 ธันวาคม พ.ศ. 2515 - 14 ตุลาคม พ.ศ. 2516) จอมพลถนอม กิตติขจร เป็น นายกรัฐมนตรี ประกาศพระบรมราชโองการ เมื่อวันที่ 18 ธันวาคม..

ดู รายนามรองนายกรัฐมนตรีไทยและคณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 32

คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 33

นายกรัฐมนตรีและคณะรัฐมนตรีเข้าเฝ้าฯ ถวายสัตย์ปฏิญาณ ในเวลา 16.00 น. ของวันที่ 16 ตุลาคม พ.ศ. 2516 ที่พระตำหนักจิตรลดารโหฐาน คณะรัฐมนตรี คณะที่ 33 ของไทย (14 ตุลาคม พ.ศ.

ดู รายนามรองนายกรัฐมนตรีไทยและคณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 33

คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 34

ณะรัฐมนตรี คณะที่ 34 ของไทย (27 พฤษภาคม พ.ศ. 2517 - 14 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2518) นายสัญญา ธรรมศักดิ์ เป็นนายกรัฐมนตรี สืบต่อเป็นสมัยที่ 2 ประกาศพระบรมราชโองการ ลงวันที่ 27 พฤษภาคม..

ดู รายนามรองนายกรัฐมนตรีไทยและคณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 34

คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 35

'''ม.ร.ว. เสนีย์ ปราโมช''' นายกรัฐมนตรีคนที่ 6 หัวหน้าคณะรัฐมนตรีคณะที่ 35 สีเขียวคือจำนวนสมาชิกฝ่ายรัฐบาล สีแดงคือจำนวนสมาชิกฝ่ายค้านรัฐบาล การจัดตั้งรัฐบาล คณะรัฐมนตรี คณะที่ 35 สีเขียวคือจำนวนฝ่ายรัฐบาล และ สีแดงคือจำนวนฝ่ายค้านในสภา คณะรัฐมนตรีคณะที่ 35 (15 กุมภาพันธ์ พ.ศ.

ดู รายนามรองนายกรัฐมนตรีไทยและคณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 35

คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 36

หม่อมราชวงศ์คึกฤทธิ์ ปราโมช''' นายกรัฐมนตรีคนที่ 13 หัวหน้าคณะรัฐมนตรีคณะที่ 36 ม.ร.ว.คึกฤทธิ์ ปราโมช นายกรัฐมนตรีนำคณะรัฐมนตรีเข้าเฝ้าฯ เพื่อถวายสัตย์ปฏิญาณ ที่พระตำหนักจิตรลดารโหฐาน คณะรัฐมนตรี คณะที่ 36 ของไทย (14 มีนาคม พ.ศ.

ดู รายนามรองนายกรัฐมนตรีไทยและคณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 36

คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 37

'''ม.ร.ว. เสนีย์ ปราโมช''' นายกรัฐมนตรีคนที่ 6 หัวหน้าคณะรัฐมนตรีคณะที่ 37 คณะรัฐมนตรี คณะที่ 37 ของไทย (20 เมษายน พ.ศ.

ดู รายนามรองนายกรัฐมนตรีไทยและคณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 37

คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 38

'''ม.ร.ว. เสนีย์ ปราโมช''' นายกรัฐมนตรีคนที่ 6 หัวหน้าคณะรัฐมนตรีคณะที่ 35 ม.ร.ว.เสนีย์ ปราโมช นายกรัฐมนตรี นำคณะรัฐมนตรีคณะที่ 38 เข้าเฝ้าฯ เพื่อถวายสัตย์ปฏิญาณ ที่พระตำหนักจิตรลดารโหฐาน คณะรัฐมนตรี คณะที่ 38 ของไทย (25 กันยายน พ.ศ.

ดู รายนามรองนายกรัฐมนตรีไทยและคณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 38

คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 39

นายธานินทร์ กรัยวิเชียร''' นายกรัฐมนตรีคนที่ 14 หัวหน้าคณะรัฐมนตรีคณะที่ 39 คณะรัฐมนตรี คณะที่ 39 ของไทย (8 ตุลาคม พ.ศ.

ดู รายนามรองนายกรัฐมนตรีไทยและคณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 39

คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 40

ลเอกเกรียงศักดิ์ ชมะนันทน์''' นายกรัฐมนตรีคนที่ 15 หัวหน้าคณะรัฐมนตรีคณะที่ 40 คณะรัฐมนตรี คณะที่ 40 ของไทย (11 พฤศจิกายน พ.ศ.

ดู รายนามรองนายกรัฐมนตรีไทยและคณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 40

คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 41

ลเอกเกรียงศักดิ์ ชมะนันทน์''' นายกรัฐมนตรีคนที่ 15 หัวหน้าคณะรัฐมนตรีคณะที่ 41 คณะรัฐมนตรี คณะที่ 41 ของไทย (12 พฤษภาคม พ.ศ.

ดู รายนามรองนายกรัฐมนตรีไทยและคณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 41

คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 42

ลเอกเปรม ติณสูลานนท์''' นายกรัฐมนตรีคนที่ 16 หัวหน้าคณะรัฐมนตรีคณะที่ 42 คณะรัฐมนตรี คณะที่ 42 (3 มีนาคม 2523 - 19 มีนาคม 2526) พลเอกเปรม ติณสูลานนท์ เป็น นายกรัฐมนตรี ประกาศพระบรมราชโองการเมื่อวันที่ 3 มีนาคม..

ดู รายนามรองนายกรัฐมนตรีไทยและคณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 42

คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 43

ลเอกเปรม ติณสูลานนท์''' นายกรัฐมนตรีคนที่ 16 หัวหน้าคณะรัฐมนตรีคณะที่ 43 คณะรัฐมนตรี คณะที่ 43 ของไทย (30 เมษายน พ.ศ.

ดู รายนามรองนายกรัฐมนตรีไทยและคณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 43

คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 44

ณะรัฐมนตรี คณะที่ 44 ของไทย (5 สิงหาคม พ.ศ. 2529 - 3 สิงหาคม พ.ศ. 2531) พลเอกเปรม ติณสูลานนท์ เป็นนายกรัฐมนตรี ประกาศพระบรมราชโองการ เมื่อวันที่ 5 สิงหาคม..

ดู รายนามรองนายกรัฐมนตรีไทยและคณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 44

คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 45

ณะรัฐมนตรี คณะที่ 45 ของไทย (4 สิงหาคม พ.ศ. 2531 - 9 ธันวาคม พ.ศ. 2533) พลตรีชาติชาย ชุณหะวัณ (ยศในขณะนั้น) เป็นนายกรัฐมนตรี ประกาศพระบรมราชโองการ เมื่อวันที่ 4 สิงหาคม..

ดู รายนามรองนายกรัฐมนตรีไทยและคณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 45

คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 46

ลตรีชาติชาย ชุณหะวัณ''' นายกรัฐมนตรีคนที่ 17 หัวหน้าคณะรัฐมนตรีคณะที่ 46 คณะรัฐมนตรี คณะที่ 46 ของไทย (9 ธันวาคม พ.ศ.

ดู รายนามรองนายกรัฐมนตรีไทยและคณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 46

คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 47

ณะรัฐมนตรี คณะที่ 47 ของไทย (2 มีนาคม พ.ศ. 2534 - 22 มีนาคม พ.ศ. 2535) นายอานันท์ ปันยารชุน เป็น นายกรัฐมนตรี ประกาศพระบรมราชโองการ เมื่อวันที่ 2 มีนาคม..

ดู รายนามรองนายกรัฐมนตรีไทยและคณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 47

คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 48

ลเอกสุจินดา คราประยูร''' นายกรัฐมนตรีคนที่ 19 หัวหน้าคณะรัฐมนตรีคณะที่ 48 คณะรัฐมนตรี คณะที่ 48 ของไทย (7 เมษายน พ.ศ.

ดู รายนามรองนายกรัฐมนตรีไทยและคณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 48

คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 49

นายอานันท์ ปันยารชุน''' นายกรัฐมนตรีคนที่ 18 หัวหน้าคณะรัฐมนตรีคณะที่ 49 คณะรัฐมนตรีคณะที่ 49 (10 มิถุนายน 2535-23 กันยายน 2535) นายอานันท์ ปันยารชุน เป็นนายกรัฐมนตรี ประกาศพระบรมราชโองการ เมื่อวันที่ 10 มิถุนายน 2535 พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ทรงลงพระปรมาภิไธยในประกาศ นายอาทิตย์ อุไรรัตน์ ประธานสภาผู้แทนราษฎรเป็นผู้ลงนามรับสนองพระบรมราชโองการ และในวันที่ 18 มิถุนายน 2535 ได้มีพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ แต่งตั้งคณะรัฐมนตรี.

ดู รายนามรองนายกรัฐมนตรีไทยและคณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 49

คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 50

ณะรัฐมนตรี คณะที่ 50 ของไทย (23 กันยายน พ.ศ. 2535 - 13 กรกฎาคม พ.ศ. 2538) ชวน หลีกภัย เป็น นายกรัฐมนตรี ประกาศพระบรมราชโองการ เมื่อวันที่ 23 กันยายน 2535 พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ทรงลงพระปรมาภิไธยในประกาศนายมารุต บุนนาค ประธานสภาผู้แทนราษฎร เป็นผู้ลงนามรับสนองพระบรมราชโองการ.

ดู รายนามรองนายกรัฐมนตรีไทยและคณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 50

คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 51

นายบรรหาร ศิลปอาชา''' นายกรัฐมนตรีคนที่ 21 หัวหน้าคณะรัฐมนตรีคณะที่ 51 คณะรัฐมนตรี คณะที่ 51 ของไทย (13 กรกฎาคม พ.ศ.

ดู รายนามรองนายกรัฐมนตรีไทยและคณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 51

คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 52

ลเอกชวลิต ยงใจยุทธ''' นายกรัฐมนตรีคนที่ 22 หัวหน้าคณะรัฐมนตรีคณะที่ 52 คณะรัฐมนตรี คณะที่ 52 ของไทย (25 พฤศจิกายน พ.ศ.

ดู รายนามรองนายกรัฐมนตรีไทยและคณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 52

คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 53

นายชวน หลีกภัย นายกรัฐมนตรีคนที่ 20 หัวหน้าคณะรัฐมนตรีคณะที่ 53 คณะรัฐมนตรีคณะที่ 53 (14 พฤศจิกายน 2540 - 9 พฤศจิกายน 2543) นายชวน หลีกภัย เป็นนายกรัฐมนตรี ประกาศพระบรมราชโองการ เมื่อวันที่ 9 พฤศจิกายน 2540 พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ทรงลงพระปรมาภิไธยในประกาศ นายวันมูหะมัดนอร์ มะทา ประธานสภาผู้แทนราษฎรเป็นผู้ลงนามรับสนองพระบรมราชโองการ.

ดู รายนามรองนายกรัฐมนตรีไทยและคณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 53

คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 54

ันตำรวจโท ทักษิณ ชินวัตร (ยศขณะนั้น)นายกรัฐมนตรีคนที่ 23หัวหน้าคณะรัฐมนตรีคณะที่ 54 คณะรัฐมนตรีคณะที่ 54 (17 กุมภาพันธ์ พ.ศ.

ดู รายนามรองนายกรัฐมนตรีไทยและคณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 54

คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 55

ณะรัฐมนตรีคณะที่ 55 (11 มีนาคม พ.ศ. 2548 - 19 กันยายน พ.ศ. 2549) พันตำรวจโท ทักษิณ ชินวัตร (ยศขณะนั้น) เป็นนายกรัฐมนตรี ประกาศพระบรมราชโองการ เมื่อวันที่ 9 มีนาคม 2548 พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ทรงลงพระปรมาภิไธยในประกาศ นายโภคิน พลกุล ประธานสภาผู้แทนราษฎรเป็นผู้ลงนามรับสนองพระบรมราชโองการ และในวันที่ 11 มีนาคม 2548 ได้มีพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ แต่งตั้งคณะรัฐมนตรี.

ดู รายนามรองนายกรัฐมนตรีไทยและคณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 55

คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 56

รัฐบาลพลเรือน ที่ตั้งขึ้นภายหลังเหตุการณ์รัฐประหาร เมื่อวันที่ 19 กันยายน..

ดู รายนามรองนายกรัฐมนตรีไทยและคณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 56

คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 57

ณะรัฐมนตรีคณะที่ 57 (6 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2551 - 18 กันยายน พ.ศ. 2551) นายสมัคร สุนทรเวช เป็นนายกรัฐมนตรี ประกาศพระบรมราชโองการ เมื่อวันที่ 29 มกราคม 2551 พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ทรงลงพระปรมาภิไธยในประกาศ โดยมีนายยงยุทธ ติยะไพรัช ประธานสภาผู้แทนราษฎรเป็นผู้ลงนามรับสนองพระบรมราชโองการ และในวันที่ 6 กุมภาพันธ์ 2551 ได้มีพระบรมราชโองการโปรดเกล้าโปรดกระหม่อม แต่งตั้งคณะรัฐมนตรี โดยมี นายสมัคร สุนทรเวช นายกรัฐมนตรี เป็นผู้รับสนองพระบรมราชโองการ.

ดู รายนามรองนายกรัฐมนตรีไทยและคณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 57

คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 58

ณะรัฐมนตรีคณะที่ 58 (24 กันยายน พ.ศ. 2551 - 19 ธันวาคม พ.ศ. 2551) หรือที่รู้จักกันในชื่อ คณะรัฐมนตรีสมชาย (ครม.สมชาย 1) นายสมชาย วงศ์สวัสดิ์ เป็นนายกรัฐมนตรี ตามประกาศพระบรมราชโองการ เมื่อวันที่ 18 กันยายน พ.ศ.

ดู รายนามรองนายกรัฐมนตรีไทยและคณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 58

คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 59

ณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 59 (20 ธันวาคม พ.ศ. 2551 - 9 สิงหาคม พ.ศ. 2554) มีนายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ เป็นนายกรัฐมนตรี ตามประกาศพระบรมราชโองการ เมื่อวันที่ 17 ธันวาคม พ.ศ.

ดู รายนามรองนายกรัฐมนตรีไทยและคณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 59

คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 60

ณะรัฐมนตรีคณะที่ 60 (9 สิงหาคม พ.ศ. 2554 — 22 พฤษภาคม พ.ศ. 2557) เป็นคณะรัฐมนตรีไทย ซึ่งจัดตั้งขึ้นตาม ประกาศแต่งตั้งรัฐมนตรี ลงวันที่ 9 สิงหาคม 2554 ภายหลังการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไปเมื่อวันที่ 3 กรกฎาคม 2554 และการแต่งตั้ง ยิ่งลักษณ์ ชินวัตร เป็นนายกรัฐมนตรี ตาม ประกาศแต่งตั้งนายกรัฐมนตรี ลงวันที่ 5 สิงหาคม 2554 โดยลำดับ คณะรัฐมนตรีคณะนี้สิ้นสุดลง เมื่อนายกรัฐมนตรียิ่งลักษณ์ ชินวัตร ประกาศยุบสภาผู้แทนราษฎร เมื่อวันที่ 9 ธันวาคม..

ดู รายนามรองนายกรัฐมนตรีไทยและคณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 60

คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 61

ณะรัฐมนตรีคณะที่ 61 (30 สิงหาคม พ.ศ. 2557 — ปัจจุบัน) คณะรัฐมนตรีไทย ซึ่งจัดตั้งขึ้นตาม พระบรมราชโองการประกาศแต่งตั้งรัฐมนตรี ลงวันที่ 31 สิงหาคม 2557 http://www.ratchakitcha.soc.go.th/RKJ/announce/answer.jsp?id.

ดู รายนามรองนายกรัฐมนตรีไทยและคณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 61

ฉัตรชัย สาริกัลยะ

ลเอก ฉัตรชัย สาริกัลยะ รองนายกรัฐมนตรี ประธานกรรมการส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการแห่งชาติ ประธานกรรมการผู้สูงอายุแห่งชาติ อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ประธานคณะกรรมการจัดรูปที่ดินกลาง ประธานคณะกรรมการส่งเสริมและพัฒนาระบบเกษตรพันธสัญญาที่เป็นธรรมประธานคณะกรรมการส่งเสริมและพัฒนาระบบเกษตรพันธสัญญาที่เป็นธรรมประธานคณะอนุกรรมการร่วมจัดทำยุทธศาสตร์สินค้าเกษตรเป็นรายพืชเศรษฐกิจ 4 สินค้า ประธานกรรมการคณะกรรมการกองทุนฟื้นฟูและพัฒนาเกษตรกรเฉพาะกิจ อดีตประธานคณะกรรมการขับเคลื่อนการแก้ไขปัญหาจังหวัดชายแดนภาคใต้ รองหัวหน้าฝ่ายเศรษฐกิจคณะรักษาความสงบแห่งชาติ (คสช.) และเป็นอดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงพาณิชย์ อดีตประธานคณะกรรมการพิจารณาการทุ่มตลาดและการอุดหนุน อดีตรองผู้บัญชาการทหารบก อดีตผู้ช่วยผู้บัญชาการทหารบก อดีตเจ้ากรมการทหารสื่อสาร และอดีตผู้อำนวยการสถานีวิทยุโทรทัศน์กองทัพบก.

ดู รายนามรองนายกรัฐมนตรีไทยและฉัตรชัย สาริกัลยะ

ประชา พรหมนอก

ลตำรวจเอก ประชา พรหมนอก อดีตรองนายกรัฐมนตรี(ฝ่ายความมั่นคง) และอดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรมในสมัยรัฐบาลยิ่งลักษณ์ ชินวัตร สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร พรรคเพื่อไทย อดีตผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรม และอดีตหัวหน้าพรรคเพื่อแผ่นดิน เป็นนายตำรวจมือปราบมีฉายาว่า "อินทรีอีสาน" เนื่องจากเป็นชาวจังหวัดนครราชสีมา เป็นทั้งอธิบดีกรมตำรวจคนสุดท้ายและผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติคนแรก เนื่องจากมีตำแหน่งสูงสุดในช่วงที่ปรับเปลี่ยนสถานะของกรมตำรวจเป็นสำนักงานตำรวจแห่งชาต.

ดู รายนามรองนายกรัฐมนตรีไทยและประชา พรหมนอก

ประกอบ หุตะสิงห์

144x144px ศาสตราจารย์ ประกอบ หุตะสิงห์ (พ.ศ. 2455 - 28 กรกฎาคม พ.ศ. 2537) อดีตประธานศาลฎีกา รัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรม รองนายกรัฐมนตรี นายกสภามหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ และองคมนตรีไทย ประกอบ หุตะสิงห์ เป็นบุตรของพระยาสรรพกิจเกษตรการ กับคุณหญิง ศวง สรรพกิจ เขาเข้าศึกษาระดับชั้นมัธยมศึกษาที่ โรงเรียนวัดสุทธิวราราม และ เป็นนักเรียนไทยรุ่นแรกๆ ที่ไปศึกษาด้านนิติศาสตร์ จากประเทศเยอรมัน เมื่อ..

ดู รายนามรองนายกรัฐมนตรีไทยและประกอบ หุตะสิงห์

ประภาส จารุเสถียร

อมพล จอมพลเรือ จอมพลอากาศ พลตำรวจเอก ประภาส จารุเสถียร (5 ธันวาคม พ.ศ. 2455 — 18 สิงหาคม พ.ศ. 2540) อดีตรองนายกรัฐมนตรี, อดีตผู้บัญชาการทหารบก, อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย, อดีตอธิบดีกรมตำรวจ และอดีตอธิการบดีจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลั.

ดู รายนามรองนายกรัฐมนตรีไทยและประภาส จารุเสถียร

ประมวล สภาวสุ

นายประมวล สภาวสุ อดีตรองนายกรัฐมนตรี รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลังและกระทรวงอุตสาหกรรม เกิดวันที่ 29 พฤศจิกายน พ.ศ.

ดู รายนามรองนายกรัฐมนตรีไทยและประมวล สภาวสุ

ประมาณ อดิเรกสาร

ลเอก พลตำรวจเอก ประมาณ อดิเรกสาร (31 ธันวาคม พ.ศ. 2456 - 20 สิงหาคม พ.ศ. 2553) นักการเมืองไทย อดีตรองนายกรัฐมนตรี รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย กระทรวงอุตสาหกรรม กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เคยเป็นสมาชิกพรรคเสรีมนังคศิลา เมื่อ..

ดู รายนามรองนายกรัฐมนตรีไทยและประมาณ อดิเรกสาร

ประยุทธ์ จันทร์โอชา

ลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา (ชื่อเล่น: ตู่, เกิด 21 มีนาคม พ.ศ. 2497) เป็นนายทหารเกษียณอายุราชการชาวไทย ปัจจุบันเป็นหัวหน้าคณะรักษาความสงบแห่งชาติ คณะทหารผู้ยึดอำนาจการปกครองในรัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ.

ดู รายนามรองนายกรัฐมนตรีไทยและประยุทธ์ จันทร์โอชา

ประวิตร วงษ์สุวรรณ

ลเอก ประวิตร วงษ์สุวรรณ (เกิด 11 สิงหาคม พ.ศ. 2488) เป็นรองนายกรัฐมนตรีฝ่ายความมั่นคงและรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหมตั้งแต่ปี 2557 รองหัวหน้าและประธานคณะที่ปรึกษาคณะรักษาความสงบแห่งชาติ อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม ในรัฐบาลนายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ และอดีตผู้บัญชาการทหารบก.

ดู รายนามรองนายกรัฐมนตรีไทยและประวิตร วงษ์สุวรรณ

ประสิทธิ์ กาญจนวัฒน์

นายประสิทธิ์ กาญจนวัฒน์ (20 มิถุนายน พ.ศ. 2458 - 14 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2542) เป็นอดีตประธานรัฐสภาและประธานสภาผู้แทนราษฎรไทย อดีตรองนายกรัฐมนตรี อดีตรัฐมนตรีหลายกระทรวง และเป็นอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดฉะเชิงเทรา 5 สมัย เจ้าของฉายา โค้วตงหมง และเจ้าของวลี ยุ่งตายห.

ดู รายนามรองนายกรัฐมนตรีไทยและประสิทธิ์ กาญจนวัฒน์

ประจวบ สุนทรางกูร

ลเอก พลตำรวจเอก ประจวบ สุนทรางกูร อดีตอธิบดีกรมตำรวจ อดีตรองนายกรัฐมนตรี อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไท.

ดู รายนามรองนายกรัฐมนตรีไทยและประจวบ สุนทรางกูร

ประจิน จั่นตอง

ลอากาศเอก ประจิน จั่นตอง (7 มีนาคม พ.ศ. 2497 —) เป็นรองนายกรัฐมนตรี และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรม กรรมการในคณะกรรมการบริหารราชการแผ่นดินตามกรอบการปฏิรูปประเทศยุทธศาสตร์ชาติ และการสร้างความสามัคคีปรองดอง รองประธานกรรมการในคณะกรรมการส่งเสริมและพัฒนาระบบเกษตรพันธสัญญา อดีตรักษาราชการแทนรัฐมนตรีว่าการกระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม อดีต ผู้บัญชาการทหารอากาศ ลำดับที่ 22 โดยมีพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ แต่งตั้งนายทหาร ณ วันที่ 19 กันยายน..

ดู รายนามรองนายกรัฐมนตรีไทยและประจิน จั่นตอง

ปลอดประสพ สุรัสวดี

ปลอดประสพ สุรัสวดี (เกิด: 3 มีนาคม พ.ศ. 2488) อดีตรองนายกรัฐมนตรี และอดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี อดีตที่ปรึกษาศูนย์รักษาความสงบ ในรัฐบาลของ ยิ่งลักษณ์ ชินวัตร และรองหัวหน้าพรรคเพื่อไทย อดีตอธิบดีกรมประมง อดีตอธิบดีกรมป่าไม้ อดีตอธิบดีกรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง อดีตปลัดกระทรวงกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม อดีตผู้อำนวยการเชียงใหม่ไนท์ซาฟารี และศูนย์เตือนภัยพิบัติแห่งชาต.

ดู รายนามรองนายกรัฐมนตรีไทยและปลอดประสพ สุรัสวดี

ปองพล อดิเรกสาร

ปองพล อดิเรกสาร เป็นอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร รองนายกรัฐมนตรี และรัฐมนตรีหลายกระทรวง เกิดวันที่ 23 มีนาคม พ.ศ.

ดู รายนามรองนายกรัฐมนตรีไทยและปองพล อดิเรกสาร

ปัญจะ เกสรทอง

นายปัญจะ เกสรทอง อดีตประธานสภาผู้แทนราษฎร อดีตรองนายกรัฐมนตรี อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ และ อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดเพชรบูรณ.

ดู รายนามรองนายกรัฐมนตรีไทยและปัญจะ เกสรทอง

ปุระชัย เปี่ยมสมบูรณ์

ตราจารย์ ร้อยตำรวจเอก ปุระชัย เปี่ยมสมบูรณ์ (เกิด 1 สิงหาคม พ.ศ. 2493) สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร แบบบัญชีรายชื่อ สังกัดพรรครักษ์สันติ อดีตสมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ ผู้เชี่ยวชาญด้านอาชญาวิทยา และเป็นประธานคณะกรรมการข้าราชการตำรวจ (ก.ตร.) อดีตอธิการบดี สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ เป็นผู้ก่อตั้งมหาวิทยาลัยชินวัตร ชีวิตส่วนตัวสมรสกับ ผู้ช่วยศาสตราจารย์สมศรี เปี่ยมสมบูรณ์ มีบุตร-ธิดารวม 3 คน.

ดู รายนามรองนายกรัฐมนตรีไทยและปุระชัย เปี่ยมสมบูรณ์

นายวรการบัญชา (บุญเกิด สุตันตานนท์)

ันเอก นายวรการบัญชา (บุญเกิด สุตันตานนท์) อดีตประธานวุฒิสภา, รองนายกรัฐมนตรี, รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ, รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเศรษฐการ, รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง.

ดู รายนามรองนายกรัฐมนตรีไทยและนายวรการบัญชา (บุญเกิด สุตันตานนท์)

นิวัฒน์ธำรง บุญทรงไพศาล

นิวัฒน์ธำรง บุญทรงไพศาล (เดิมชื่อ นิวัฒน์ บุญทรง) เป็นอดีตรองนายกรัฐมนตรี ผู้รักษาการในตำแหน่งนายกรัฐมนตรี, อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงพาณิชย์, อดีตรัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี, อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร พรรคเพื่อไทย, อดีตประธานกรรมการบริหาร บริษัท ไอทีวี จำกัด (มหาชน) และอดีตรองประธานกรรมการบริหาร ฝ่ายภาพลักษณ์ และกิจกรรมสัมพันธ์ กลุ่มบริษัท ชิน คอร์ปอเรชั่น จำกัด (มหาชน).

ดู รายนามรองนายกรัฐมนตรีไทยและนิวัฒน์ธำรง บุญทรงไพศาล

แปลก พิบูลสงคราม

งครามอินโดจีน พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เมื่อครั้งผนวชทรงรับบาตรจากจอมพล ป. นายกรัฐมนตรีในขณะนั้น จอมพล จอมพลเรือ จอมพลอากาศ แปลก พิบูลสงคราม (14 กรกฎาคม พ.ศ.

ดู รายนามรองนายกรัฐมนตรีไทยและแปลก พิบูลสงคราม

โกวิท วัฒนะ

ลตำรวจเอก โกวิท วัฒนะ (11 มีนาคม พ.ศ. 2490 —) อดีตรองนายกรัฐมนตรี ในรัฐบาลของนางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย อดีตผู้บัญชาการสำนักงานตำรวจแห่งชาต.

ดู รายนามรองนายกรัฐมนตรีไทยและโกวิท วัฒนะ

โกศล ไกรฤกษ์

นายโกศล ไกรฤกษ์ (10 เมษายน พ.ศ. 2469 - 2 กรกฎาคม พ.ศ. 2547) อดีตรองนายกรัฐมนตรี อดีตรัฐมนตรีหลายกระทรวง อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดพิษณุโลก 5 สมัย และ อดีตเลขาธิการพรรคกิจสังคม กับ พรรคประชากรไท.

ดู รายนามรองนายกรัฐมนตรีไทยและโกศล ไกรฤกษ์

โภคิน พลกุล

รองศาสตราจารย์ ดร.

ดู รายนามรองนายกรัฐมนตรีไทยและโภคิน พลกุล

โอฬาร ไชยประวัติ

อฬาร ไชยประวัติ อดีตประธานผู้แทนการค้าไทย และอดีตที่ปรึกษานายกรัฐมนตรี (ยิ่งลักษณ์ ชินวัตร) อดีตรองนายกรัฐมนตรี เป็นนักการเมืองสังกัดพรรคเพื่อไทย ในสมัยรัฐบาลสมชาย วงศ์สวัสดิ์ ดร.โอฬารเป็นเหตุสำคัญในคำพิพากษาของศาลปกครองสูงสุดเพราะมีผลประโยชน์ทับซ้อนกรณีการแปรรูป บม.

ดู รายนามรองนายกรัฐมนตรีไทยและโอฬาร ไชยประวัติ

โฆสิต ปั้นเปี่ยมรัษฎ์

นายโฆสิต ปั้นเปี่ยมรัษฎ์ อดีตรองนายกรัฐมนตรี และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรม และรักษาการรัฐมนตรีว่าการกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร อดีตเลขาธิการนายกรัฐมนตรี (พลเอกสุจินดา คราประยูร) อดีตรัฐมนตรีอีกหลายสมัย และอดีตประธานกรรมการบริหารธนาคารกรุงเท.

ดู รายนามรองนายกรัฐมนตรีไทยและโฆสิต ปั้นเปี่ยมรัษฎ์

ไพบูลย์ วัฒนศิริธรรม

ูลย์ วัฒนศิริธรรม (24 มีนาคม พ.ศ. 2484 — 9 เมษายน พ.ศ. 2555) อดีตรองนายกรัฐมนตรี และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ ใน รัฐบาลของพลเอกสุรยุทธ์ จุลานนท์ และอดีตผู้อำนวยการธนาคารออมสิน.

ดู รายนามรองนายกรัฐมนตรีไทยและไพบูลย์ วัฒนศิริธรรม

ไตรรงค์ สุวรรณคีรี

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ไตรรงค์ สุวรรณคีรี รองนายกรัฐมนตรีด้านเศรษฐกิจ ในรัฐบาลนายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ รองหัวหน้าพรรคประชาธิปัตย์ และอดีต..

ดู รายนามรองนายกรัฐมนตรีไทยและไตรรงค์ สุวรรณคีรี

เกรียงศักดิ์ ชมะนันทน์

ลเอก พลเรือเอก พลอากาศเอก เกรียงศักดิ์ ชมะนันทน์ (17 ธันวาคม พ.ศ. 2460 - 23 ธันวาคม พ.ศ. 2546) อดีตนายกรัฐมนตรี รัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง ผู้บัญชาการทหารสูง.

ดู รายนามรองนายกรัฐมนตรีไทยและเกรียงศักดิ์ ชมะนันทน์

เกษม สุวรรณกุล

ตราจารย์กิตติคุณ เกษม สุวรรณกุล กรรมการกฤษฎีกา เป็นอดีตรองนายกรัฐมนตรี อดีตรัฐมนตรีว่าการทบวงมหาวิทยาลัย อดีตอธิการบดีจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย อดีตนายกสภามหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ และอดีตนายกสภามหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ และยังเคยดำรงตำแหน่งนายกสภามหาวิทยาลัยศิลปากร.

ดู รายนามรองนายกรัฐมนตรีไทยและเกษม สุวรรณกุล

เภา สารสิน

ลตำรวจเอก เภา สารสิน (18 กรกฎาคม พ.ศ. 2472 - 7 มีนาคม พ.ศ. 2556) อดีตรองนายกรัฐมนตรี, อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย และอดีตอธิบดีกรมตำรวจ ในระหว่างปี..

ดู รายนามรองนายกรัฐมนตรีไทยและเภา สารสิน

เล็ก แนวมาลี

ลเอก นายกองใหญ่ เล็ก แนวมาลี อดีตรองนายกรัฐมนตรี อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย และอดีตสมาชิกวุฒิสภาไท.

ดู รายนามรองนายกรัฐมนตรีไทยและเล็ก แนวมาลี

เสริม ณ นคร

ลเอก พลเรือเอก พลอากาศเอก เสริม ณ นคร อดีตผู้บัญชาการทหารบก, ผู้บัญชาการทหารสูงสุดและอดีตรองนายกรัฐมนตรี เจ้าของฉายา "นายพลแก้มแดง".

ดู รายนามรองนายกรัฐมนตรีไทยและเสริม ณ นคร

เสวตร เปี่ยมพงศ์สานต์

นายเสวตร เปี่ยมพงศ์สานต์ อดีตรองนายกรัฐมนตรี และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง เกิดเมื่อวันที่ 26 กุมภาพันธ์ พ.ศ.

ดู รายนามรองนายกรัฐมนตรีไทยและเสวตร เปี่ยมพงศ์สานต์

เสนาะ อูนากูล

นาะ อูนากูล (24 กรกฎาคม พ.ศ. 2474 -) เป็นกรรมการทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์ อดีตรองนายกรัฐมนตรีในรัฐบาลนายอานันท์ ปันยารชุน อดีตผู้ว่าการธนาคารแห่งประเทศไทย และอดีตเลขาธิการคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาต.

ดู รายนามรองนายกรัฐมนตรีไทยและเสนาะ อูนากูล

เทียนชัย ศิริสัมพันธ์

ลเอก เทียนชัย สิริสัมพันธ์ อดีตรองนายกรัฐมนตรี อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ และอดีตหัวหน้าพรรคราษฎร.

ดู รายนามรองนายกรัฐมนตรีไทยและเทียนชัย ศิริสัมพันธ์

เดช บุญ-หลง

ตราจารย์พิเศษเดช บุญ-หลง อดีตรองนายกรัฐมนตรี อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงแรงงานและสวัสดิการสังคม อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงคมนาคม อดีตเลขาธิการนายกรัฐมนตรี (นายบรรหาร ศิลปอาชา).

ดู รายนามรองนายกรัฐมนตรีไทยและเดช บุญ-หลง

เดือน บุนนาค

ตราจารย์ เดือน บุนนาค ราชบัณฑิตกิตติมศักดิ์ อดีตรองนายกรัฐมนตรี อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงพาณิชย์ อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ รองประธานสภาผู้แทนราษฎร ผู้ร่วมก่อตั้ง เลขาธิการ และรักษาการผู้ประศาสน์การมหาวิทยาลัยวิชาธรรมศาสตร์และการเมือง คณบดีคณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี และคณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ หัวหน้าพรรคสหชีพ มีผลงานที่สำคัญระหว่างปี..

ดู รายนามรองนายกรัฐมนตรีไทยและเดือน บุนนาค

เฉลิม อยู่บำรุง

ร้อยตำรวจเอก เฉลิม อยู่บำรุง นักการเมืองไทย สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรฝั่งธนบุรีหลายสมัย อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงแรงงาน อดีตรองนายกรัฐมนตรีและสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบบัญชีรายชื่อ สังกัดพรรคเพื่อไทย อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย รัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรม รัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี และหัวหน้าพรรคมวลชน ระหว่างวันที่ 21 มกราคม 2557 ถึง 18 มีนาคม 2557 เขาเป็นผู้อำนวยการศูนย์รักษาความสงบ ตามคำสั่งคำสั่งที่ พิเศษ 1/2557 เรื่องจัดตั้งศูนย์รักษาความสงบ โดย ยิ่งลักษณ์ ชินวัตร.

ดู รายนามรองนายกรัฐมนตรีไทยและเฉลิม อยู่บำรุง

เฉลิมพันธ์ ศรีวิกรม์

นายเฉลิมพันธ์ ศรีวิกรม์ อดีตนักการเมืองและนักธุรกิจชาวไทยที่มีชื่อเสียง เคยดำรงตำแหน่งรองนายกรัฐมนตรี ในรัฐบาลของพลเอกชาติชาย ชุณหะวัณ และอดีตเลขาธิการพรรคประชาธิปัตย์ พรรคเอกภาพ รวมถึงเป็นรองหัวหน้าพรรคสามัคคีธรรม.

ดู รายนามรองนายกรัฐมนตรีไทยและเฉลิมพันธ์ ศรีวิกรม์

เปรม ติณสูลานนท์

ลเอก พลเรือเอก พลอากาศเอก เปรม ติณสูลานนท์ ประธานองคมนตรี รัฐบุรุษ อดีตผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ในสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร และนายกรัฐมนตรีไทยคนที่ 16 ดำรงตำแหน่ง 3 สมัย ระหว่างปี..

ดู รายนามรองนายกรัฐมนตรีไทยและเปรม ติณสูลานนท์

หรือที่รู้จักกันในชื่อ รายนามรองนายกรัฐมนตรีรายนามรองนายกรัฐมนตรีของประเทศไทยรายนามรองนายกรัฐมนตรีของไทย

สหัส บัณฑิตกุลสัญญา ธรรมศักดิ์สิทธิ เศวตศิลาสุชัย เจริญรัตนกุลสุชาติ เชาว์วิศิษฐสุกิจ นิมมานเหมินท์สุรพงษ์ สืบวงศ์ลีสุรพงษ์ โตวิจักษณ์ชัยกุลสุรยุทธ์ จุลานนท์สุริยะ จึงรุ่งเรืองกิจสุรเกียรติ์ เสถียรไทยสุวัจน์ ลิปตพัลลภสุวิทย์ คุณกิตติสุจินดา คราประยูรสุทัศน์ เงินหมื่นสุขวิช รังสิตพลสุนทร หงส์ลดารมภ์สุเทพ เทือกสุบรรณสนั่น ขจรประศาสน์สนธิ บุญยรัตกลินสนธิ บุณยะชัยหม่อมราชวงศ์คึกฤทธิ์ ปราโมชหม่อมราชวงศ์ปรีดิยาธร เทวกุลหม่อมราชวงศ์เกษมสโมสร เกษมศรีหม่อมราชวงศ์เสนีย์ ปราโมชหลวงยุทธศาสตร์โกศล (ประยูร ยุทธศาสตร์โกศล)อภิสิทธิ์ เวชชาชีวะอัมพร จันทรวิจิตรอาทิตย์ กำลังเอกอานันท์ ปันยารชุนอำนวย วีรวรรณอดุล อดุลเดชจรัสผิน ชุณหะวัณจาตุรนต์ ฉายแสงจำลอง ศรีเมืองธรรมรักษ์ อิศรางกูร ณ อยุธยาธานินทร์ กรัยวิเชียรถวัลย์ ธำรงนาวาสวัสดิ์ถนอม กิตติขจรถนัด คอมันตร์ทวิช กลิ่นประทุมทวี จุลละทรัพย์ทองหยด จิตตวีระทักษิณ ชินวัตรณรงค์ วงศ์วรรณดิเรก ชัยนามคณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 10คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 13คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 17คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 18คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 22คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 23คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 24คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 25คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 26คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 28คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 29คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 30คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 31คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 32คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 33คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 34คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 35คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 36คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 37คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 38คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 39คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 40คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 41คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 42คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 43คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 44คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 45คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 46คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 47คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 48คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 49คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 50คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 51คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 52คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 53คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 54คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 55คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 56คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 57คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 58คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 59คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 60คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 61ฉัตรชัย สาริกัลยะประชา พรหมนอกประกอบ หุตะสิงห์ประภาส จารุเสถียรประมวล สภาวสุประมาณ อดิเรกสารประยุทธ์ จันทร์โอชาประวิตร วงษ์สุวรรณประสิทธิ์ กาญจนวัฒน์ประจวบ สุนทรางกูรประจิน จั่นตองปลอดประสพ สุรัสวดีปองพล อดิเรกสารปัญจะ เกสรทองปุระชัย เปี่ยมสมบูรณ์นายวรการบัญชา (บุญเกิด สุตันตานนท์)นิวัฒน์ธำรง บุญทรงไพศาลแปลก พิบูลสงครามโกวิท วัฒนะโกศล ไกรฤกษ์โภคิน พลกุลโอฬาร ไชยประวัติโฆสิต ปั้นเปี่ยมรัษฎ์ไพบูลย์ วัฒนศิริธรรมไตรรงค์ สุวรรณคีรีเกรียงศักดิ์ ชมะนันทน์เกษม สุวรรณกุลเภา สารสินเล็ก แนวมาลีเสริม ณ นครเสวตร เปี่ยมพงศ์สานต์เสนาะ อูนากูลเทียนชัย ศิริสัมพันธ์เดช บุญ-หลงเดือน บุนนาคเฉลิม อยู่บำรุงเฉลิมพันธ์ ศรีวิกรม์เปรม ติณสูลานนท์