สารบัญ
121 ความสัมพันธ์: บรรหาร ศิลปอาชาชวรัตน์ ชาญวีรกูลชวลิต ยงใจยุทธชัย ชิดชอบชาติชาย ชุณหะวัณช่อง 9 เอ็มคอตเอชดีพ.ศ. 2490พ.ศ. 2524พ.ศ. 2529พ.ศ. 2533พ.ศ. 2538พ.ศ. 2539พ.ศ. 2540พ.ศ. 2544พ.ศ. 2550พ.ศ. 2551พ.ศ. 2552พ.ศ. 2553พ.ศ. 2554พ.ศ. 2556พ.ศ. 2557พรรคชาติไทยพรรคพลังประชาชนพรรคมวลชนพรรคมัชฌิมาธิปไตยพรรคความหวังใหม่พรรคเพื่อไทยพล เริงประเสริฐวิทย์กบฏยังเติร์กกระทรวงการคลัง (ประเทศไทย)กระทรวงมหาดไทย (ประเทศไทย)กระทรวงยุติธรรม (ประเทศไทย)กรุงเทพมหานครกอล์ฟกองอาสารักษาดินแดนกองปราบปรามการลงมติเลือกนายกรัฐมนตรีไทย กันยายน พ.ศ. 2551การลงมติเลือกนายกรัฐมนตรีไทย มกราคม พ.ศ. 2551การอภิปรายไม่ไว้วางใจการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2550การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2557การเลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2547มหาวิทยาลัยรามคำแหงมนต์ชัย พันธุ์คงชื่นยิ่งลักษณ์ ชินวัตรยุทธศักดิ์ ศศิประภายงยุทธ วิชัยดิษฐรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทยของไทยรัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรมของไทยรัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุขของไทย... ขยายดัชนี (71 มากกว่า) »
- ตำรวจชาวไทย
- นักการเมืองพรรคเพื่อไทย
- บุคคลจากมหาวิทยาลัยรามคำแหง
- ผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมืองในกรุงเทพมหานคร
- รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทยไทย
- รัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรมไทย
บรรหาร ศิลปอาชา
รรหาร ศิลปอาชา (19 สิงหาคม พ.ศ. 2475 – 23 เมษายน พ.ศ. 2559) เป็นนักการเมืองชาวไทย ดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีไทยคนที่ 21 ประธานกรรมการมูลนิธิบรรหาร-แจ่มใส ศิลปอาชา ประธานที่ปรึกษาพรรคชาติไทยพัฒนา อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดสุพรรณบุรี 11 สมัย อดีตนายกสภามหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา อดีตนายกสภาสถาบันการพลศึกษา อดีตกรรมการผู้จัดการ บริษัท สหศรีชัยก่อสร้าง จำกัด และอดีตหัวหน้าพรรคชาติไทย ทั้งเป็นพี่ชายของชุมพล ศิลปอาชา อดีตรองนายกรัฐมนตรี.
ดู เฉลิม อยู่บำรุงและบรรหาร ศิลปอาชา
ชวรัตน์ ชาญวีรกูล
วรัตน์ ชาญวีรกูล อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย อดีตหัวหน้าพรรคภูมิใจไทย อดีตรองนายกรัฐมนตรีในรัฐบาลนายสมชาย วงศ์สวัสดิ์ เป็นผู้ปฏิบัติหน้าที่แทนนายกรัฐมนตรีนับตั้งแต่วันที่ 2 ธันวาคม พ.ศ.
ดู เฉลิม อยู่บำรุงและชวรัตน์ ชาญวีรกูล
ชวลิต ยงใจยุทธ
ลเอก พลเรือเอก พลอากาศเอก ชวลิต ยงใจยุทธ (15 พฤษภาคม พ.ศ. 2475 —) เป็นนายกรัฐมนตรีของประเทศไทย คนที่ 22 อดีตรองนายกรัฐมนตรี อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงแรงงานและสวัสดิการสังคม อดีตผู้บัญชาการทหารบกและอดีดรักษาการผู้บัญชาการทหารสูงสุด เป็นเจ้าของสมญา "ขงเบ้งแห่งกองทัพบก" เคยได้รับการแต่งตั้งให้เป็น สมาชิกวุฒิสภา ขณะดำรงตำแหน่งทางทหาร เป็นผู้ก่อตั้ง และหัวหน้า พรรคความหวังใหม่ คนแรก และเป็นอดีต..หลายสมัย มีคะแนนเสียงหนาแน่นในจังหวัดนครพนม สื่อมวลชนและประชาชนทั่วไป เรียก พล.อ.ชวลิต ว่า "บิ๊กจิ๋ว" และในพื้นที่ภาคอีสาน เรียก พล.อ.ชวลิต ว่า "พ่อใหญ่จิ๋ว" นอกจากนี้แล้วยังมีอีกฉายาหนึ่งว่า "จิ๋วหวานเจี๊ยบ" จากการมีบุคลิกพูดจาอ่อนนิ่ม นุ่มนวล.
ดู เฉลิม อยู่บำรุงและชวลิต ยงใจยุทธ
ชัย ชิดชอบ
ัย ชิดชอบ (5 เมษายน พ.ศ. 2471 —) เป็นสมาชิกสภาขับเคลื่อนการปฏิรูปประเทศ อดีตสมาชิกสภาปฏิรูปแห่งชาติ อดีตประธานรัฐสภา และอดีตประธานสภาผู้แทนราษฎร อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบสัดส่วน พรรคภูมิใจไทย ได้รับเลือกเป็นตัวแทนพรรคพลังประชาชน ในการเลือกประธานสภาผู้แทนราษฎรแทนนายยงยุทธ ติยะไพรัช ที่โดนใบแดง ก่อนหน้านี้เป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร (ส.ส.)หลายสมัย และสมาชิกวุฒิสภา(ส.ว.)จังหวัดบุรีรัม.
ดู เฉลิม อยู่บำรุงและชัย ชิดชอบ
ชาติชาย ชุณหะวัณ
ลเอก พลเรือเอก พลอากาศเอก ชาติชาย ชุณหะวัณ (5 เมษายน พ.ศ. 2463 — 6 พฤษภาคม พ.ศ. 2541) เป็นนายกรัฐมนตรีไทยคนที่ 17 และเคยดำรงตำแหน่งรองนายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรีในหลายกระทรวงคือ กระทรวงการต่างประเทศ กระทรวงอุตสาหกรรม และ กระทรวงกลาโหม พลเอกชาติชาย เป็นผู้ก่อตั้งพรรคการเมือง 2 พรรค และได้ดำรงตำแหน่งหัวหน้าพรรค คือ พรรคชาติไทย และ พรรคชาติพัฒน.
ดู เฉลิม อยู่บำรุงและชาติชาย ชุณหะวัณ
ช่อง 9 เอ็มคอตเอชดี
นีโทรทัศน์ช่อง 9 เอ็มคอตเอชดี (Channel 9 MCOT HD; ชื่อเดิม: สถานีโทรทัศน์ไทยทีวีช่อง 4 บางขุนพรหม, สถานีโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 9 บางลำพู, สถานีโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 9 อ.ส.ม.ท., สถานีโทรทัศน์โมเดิร์นไนน์ทีวี) เป็นสถานีโทรทัศน์ภาคพื้นดิน (Terrestrial Television) แห่งแรกของประเทศไทย ของบริษัท อสมท จำกัด (มหาชน) เริ่มแพร่ภาพเป็นปฐมฤกษ์ เมื่อวันที่ 24 มิถุนายน พ.ศ.
ดู เฉลิม อยู่บำรุงและช่อง 9 เอ็มคอตเอชดี
พ.ศ. 2490
ทธศักราช 2490 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1947.
ดู เฉลิม อยู่บำรุงและพ.ศ. 2490
พ.ศ. 2524
ทธศักราช 2524 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1981 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดี ตามปฏิทินเกรกอเรียน.
ดู เฉลิม อยู่บำรุงและพ.ศ. 2524
พ.ศ. 2529
ทธศักราช 2529 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1986 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพุธตามปฏิทินเกรกอเรียน.
ดู เฉลิม อยู่บำรุงและพ.ศ. 2529
พ.ศ. 2533
ทธศักราช 2533 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1990 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.
ดู เฉลิม อยู่บำรุงและพ.ศ. 2533
พ.ศ. 2538
ทธศักราช 2538 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1995 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.
ดู เฉลิม อยู่บำรุงและพ.ศ. 2538
พ.ศ. 2539
ทธศักราช 2539 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1996 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.
ดู เฉลิม อยู่บำรุงและพ.ศ. 2539
พ.ศ. 2540
ทธศักราช 2540 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1997 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพุธตามปฏิทินเกรกอเรียน.
ดู เฉลิม อยู่บำรุงและพ.ศ. 2540
พ.ศ. 2544
ทธศักราช 2544 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2001 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.
ดู เฉลิม อยู่บำรุงและพ.ศ. 2544
พ.ศ. 2550
ทธศักราช 2550 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2007 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.
ดู เฉลิม อยู่บำรุงและพ.ศ. 2550
พ.ศ. 2551
ทธศักราช 2551 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2008 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคารตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.
ดู เฉลิม อยู่บำรุงและพ.ศ. 2551
พ.ศ. 2552
ทธศักราช 2552 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2009 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดีตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็นปีสุดท้ายในคริสต์ทศวรรษ 2000.
ดู เฉลิม อยู่บำรุงและพ.ศ. 2552
พ.ศ. 2553
ทธศักราช 2553 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2010 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันศุกร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็นปีแรกในคริสต์ทศวรรษที่ 2010.
ดู เฉลิม อยู่บำรุงและพ.ศ. 2553
พ.ศ. 2554
ทธศักราช 2554 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2011 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.
ดู เฉลิม อยู่บำรุงและพ.ศ. 2554
พ.ศ. 2556
ทธศักราช 2556 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2013 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคารตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.
ดู เฉลิม อยู่บำรุงและพ.ศ. 2556
พ.ศ. 2557
ทธศักราช 2557 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2014 วันแรกของปีตรงกับวันพุธตามปฏิทินเกรกอเรียน นับเป็นปีที่ 2014 ตามกำหนดสากลศักราช และปีที่ 2557 ตามกำหนดพุทธศักร.
ดู เฉลิม อยู่บำรุงและพ.ศ. 2557
พรรคชาติไทย
รรคชาติไทย (Chart Thai Party) เป็นอดีตพรรคการเมืองในประเทศไทย เคยมีบทบาททางการเมืองระดับชาติช่วงปี..
ดู เฉลิม อยู่บำรุงและพรรคชาติไทย
พรรคพลังประชาชน
อาจหมายถึง.
ดู เฉลิม อยู่บำรุงและพรรคพลังประชาชน
พรรคมวลชน
รรคมวลชน (Mass Party) เป็นพรรคการเมืองในอดีตของประเทศไทย จดทะเบียนก่อตั้งพรรคอย่างเป็นทางการกับกระทรวงมหาดไทยเมื่อวันที่ 13 มิถุนายน พ.ศ.
ดู เฉลิม อยู่บำรุงและพรรคมวลชน
พรรคมัชฌิมาธิปไตย
รรคมัชฌิมาธิปไตย (Neutral Democratic Party; ชื่อเดิม: พรรคมัชฌิมา) เป็นพรรคการเมืองที่ก่อตั้งโดยกลุ่มมัชฌิมา ซึ่งนำโดยนางอนงค์วรรณ เทพสุทิน (ภรรยานายสมศักดิ์ เทพสุทิน) และกลุ่มนายประชัย เลี่ยวไพรัตน์ อดีตเลขาธิการพรรคประชาราช มีนโยบายรวม 42 ข้อ โดยนโยบายหลัก ๆ ได้แก่ ขุดบ่อน้ำทั้งประเทศ 9 ล้านบ่อ, ลดค่าโดยสารรถไฟฟ้าตลอดสาย เหลือเพียง 15 บาทเป็นระยะเวลา 10 ปี, ประกันราคาพืชผลทางการเกษตรในราคาที่สูง, เรียนฟรีจนถึงปริญญาตรี เพื่อสำหรับการเลือกตั้งในปลายปี พ.ศ.
ดู เฉลิม อยู่บำรุงและพรรคมัชฌิมาธิปไตย
พรรคความหวังใหม่
ัญลักษณ์พรรคความหวังใหม่แบบเดิม พรรคความหวังใหม่ (New Aspiration Party; ย่อว่า ควม.) เป็นพรรคการเมืองหนึ่งในประเทศไทย เคยมีบทบาททางการเมืองระดับประเทศระหว่างปี..
ดู เฉลิม อยู่บำรุงและพรรคความหวังใหม่
พรรคเพื่อไทย
รรคเพื่อไทย (ย่อว่า: พท. Pheu Thai Party) จดทะเบียนจัดตั้ง เมื่อวันที่ 20 กันยายน พ.ศ. 2550 โดยมี นายบัณจงศักดิ์ วงศ์รัตนวรรณ เป็นหัวหน้าพรรคคนแรก และ นายโอฬาร กิจเลิศไพโรจน์ เป็นเลขาธิการพรรคคนแรก สำนักงานใหญ่ของพรรค ตั้งอยู่ที่ 1770 อาคารไอเอฟซีที ถนนเพชรบุรีตัดใหม่ แขวงบางกะปิ เขตห้วยขวาง กรุงเทพมหานคร รหัสไปรษณีย์ 10310 ซึ่งเป็นที่ทำการเดิมของพรรคไทยรักไทย และพรรคพลังประชาชน (ย้ายมาจากอาคารนวสร ถนนพระรามที่ 3 แขวงบางคอแหลม เขตบางคอแหลม กรุงเทพมหานคร และ 626 อาคาร บีบีดี บิลดิง ซอยจินดาถวิล ถนนพระรามที่ 4 แขวงมหาพฤฒาราม เขตบางรัก กรุงเทพมหานคร 10500) และสำนักงานสาขาพรรคแห่งแรก ตั้งอยู่ที่จังหวัดพิจิตร ซึ่งเป็นสาขาพรรคพลังประชาชนเดิม.
ดู เฉลิม อยู่บำรุงและพรรคเพื่อไทย
พล เริงประเสริฐวิทย์
ันเอก พล เริงประเสริฐวิทย์ (1 พฤศจิกายน พ.ศ. 2473 - 24 พฤศจิกายน พ.ศ. 2539) อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงคมนาคม อดีตรัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี และ อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดอุทัยธานี.
ดู เฉลิม อยู่บำรุงและพล เริงประเสริฐวิทย์
กบฏยังเติร์ก
กบฏยังเติร์ก หรือ กบฏเมษาฮาวาย เป็นความพยายามรัฐประหารระหว่างวันที่ 1-3 เมษายน..
ดู เฉลิม อยู่บำรุงและกบฏยังเติร์ก
กระทรวงการคลัง (ประเทศไทย)
กระทรวงการคลัง (Ministry of Finance) เป็นหน่วยงานราชการไทยประเภทกระทรวง ทำหน้าที่เกี่ยวกับการเงินของแผ่นดิน การภาษีอากร การรัษฎากร กิจการเกี่ยวกับที่ดินราชพัสดุ กิจการอันกฎหมายบัญญัติให้เป็นการผูกขาดของรัฐ กิจการหารายได้ซึ่งรัฐมีอำนาจดำเนินการได้แต่เพียงผู้ เดียวตามกฎหมายและไม่อยู่ในอำนาจหน้าที่ของกระทรวง ทบวง กรมอื่น และกิจการซึ่งจะเป็นสัญญาผูกพันต่อเมื่อรัฐบาลได้ให้อำนาจหรือสัตยาบัน รวมทั้งการค้ำประกันหนี้ของส่วนราชการและองค์การรัฐ สถาบันการเงินและรัฐวิสาหก.
ดู เฉลิม อยู่บำรุงและกระทรวงการคลัง (ประเทศไทย)
กระทรวงมหาดไทย (ประเทศไทย)
กระทรวงมหาดไทย มีอำนาจหน้าที่เกี่ยวกับการบำบัดทุกข์บำรุงสุข การรักษาความสงบเรียบร้อยของประชาชน การอำนวยความเป็นธรรมของสังคม การส่งเสริมและพัฒนาการเมืองการปกครอง การพัฒนาการบริหารราชการส่วนภูมิภาค การปกครองท้องที่ การส่งเสริมการปกครองท้องถิ่นและพัฒนาชุมชน การทะเบียนราษฎร ความมั่นคงภายใน กิจการสาธารณภัย และการพัฒนาเมืองและราชการอื่นตามที่มีกฎหมายกำหนดให้เป็นอำนาจหน้าที่ของกระทรวงมหาดไทยหรือส่วนราชการที่สังกัดกระทรวงมหาดไท.
ดู เฉลิม อยู่บำรุงและกระทรวงมหาดไทย (ประเทศไทย)
กระทรวงยุติธรรม (ประเทศไทย)
กระทรวงยุติธรรม (Ministry of Justice) เป็นกระทรวงหนึ่งในประเทศไทยก่อตั้งเมื่อ 25 มีนาคม พ.ศ. 2434 เดิมใช้ชื่อว่ากระทรวงยุตติธรรมและมีการเปลี่ยนชื่อเป็นกระทรวงยุติธรรมในวันที่ 12 มีนาคม..
ดู เฉลิม อยู่บำรุงและกระทรวงยุติธรรม (ประเทศไทย)
กรุงเทพมหานคร
กรุงเทพมหานคร เป็นเมืองหลวงและนครที่มีประชากรมากที่สุดของประเทศไทย เป็นศูนย์กลางการปกครอง การศึกษา การคมนาคมขนส่ง การเงินการธนาคาร การพาณิชย์ การสื่อสาร และความเจริญของประเทศ เป็นเมืองที่มีชื่อยาวที่สุดในโลก ตั้งอยู่บนสามเหลี่ยมปากแม่น้ำเจ้าพระยา มีแม่น้ำเจ้าพระยาไหลผ่านและแบ่งเมืองออกเป็น 2 ฝั่ง คือ ฝั่งพระนครและฝั่งธนบุรี กรุงเทพมหานครมีพื้นที่ทั้งหมด 1,568.737 ตร.กม.
ดู เฉลิม อยู่บำรุงและกรุงเทพมหานคร
กอล์ฟ
ลูกกอล์ฟและหลุมกอล์ฟ กอล์ฟ คือกีฬาหรือเกมประเภทบอลชนิดหนึ่ง ซึ่งผู้เล่นใช้ไม้หลายชนิดตีลูกบอลให้ลงหลุม จากกฎของกอล์ฟ ระบุว่า "กีฬากอล์ฟประกอบด้วยการเล่นลูกใดลูกหนึ่งด้วยไม้กอล์ฟจากแท่นตั้งทีไปลงหลุมโดยการสโตรคหนึ่งครั้งหรือหลายครั้งต่อเนื่องกันตามกฎข้อบังคับ" กอล์ฟเป็นหนึ่งในกีฬาประเภทบอลเพียงไม่กี่ชนิดที่ไม่มีอาณาเขตการเล่นที่แน่นอน (สนามกอล์ฟแต่ละแห่งสามารถมีรูปร่างและขนาดต่างกัน) ต้นกำเนิดของกอล์ฟนั้นยังเป็นที่ถกเถียงกันอยู่ ระหว่างเนเธอร์แลนด์ สกอตแลนด์ และจีน โดยมีการเล่นกอล์ฟมาแล้วอย่างน้อยห้าศตวรรษในหมู่เกาะบริเตน กอล์ฟในรูปแบบปัจจุบันได้มีการเล่นในสกอตแลนด์ตั้งแต่พ.ศ.
กองอาสารักษาดินแดน
กองอาสารักษาดินแดน (คำย่อ: อส., Volunteer Defense Corps; VDC) เป็นกองกำลังกึ่งทหาร ทำหน้าที่รักษาความสงบร่วมกับพนักงานฝ่ายปกครองหรือตำรวจ ปราบปรามผู้กระทำผิดกฎหมาย การเทิดทูนและพิทักษ์รักษาไว้ซึ่งสถาบันพระมหากษัตริย์ การจัดระเบียบสังคม การบริการประชาชน การส่งเสริมการท่องเที่ยว รวมถึงรักษาความปลอดภัยในสถานที่สำคัญ และการคมนาคม และเป็นกำลังสำรองส่วนหนึ่งที่พร้อมจะเพิ่มเติมและสนับสนุนกำลังทหารได้เมื่อมีการร้องขอทั้งในยามปกติและยามศึกสงคราม กองอาสารักษาดินแดนสังกัดกรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย มีรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทยเป็นผู้บัญชาการโดยตำแหน่งhttp://asa.dopa.go.th/line1.pdf และประธานกรรมการ.
ดู เฉลิม อยู่บำรุงและกองอาสารักษาดินแดน
กองปราบปราม
กองบังคับการปราบปราม (Crime Suppression Division) เป็นหน่วยงานในสังกัดของสำนักงานตำรวจแห่งชาติ อยู่ภายใต้บังคับบัญชาของกองบัญชาการตำรวจสอบสวนกลาง (บช.ก.) มีหน้าที่เกี่ยวกับการสืบสวนสอบสวน ป้องกัน และปราบปราม ทั่วประเทศไทย ทั้งในกรุงเทพและต่างจังหวัด ยกเว้นคดีที่เกี่ยวกับการทุจริตและประพฤติมิชอบในวงราชการ, คดีเกี่ยวกับการท่องเที่ยว และความผิดทางเศรษฐกิจโดยตรง กองบังคับการปราบปรามก่อตั้งขึ้นเมื่อ พ.ศ.
ดู เฉลิม อยู่บำรุงและกองปราบปราม
การลงมติเลือกนายกรัฐมนตรีไทย กันยายน พ.ศ. 2551
นายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ และนายสมชาย วงศ์สวัสดิ์ การลงมติเลือกนายกรัฐมนตรีไทย ในเดือนกันยายน พ.ศ. 2551 เป็นการลงมติของสภาผู้แทนราษฎร เมื่อวันที่ 17 กันยายน..
ดู เฉลิม อยู่บำรุงและการลงมติเลือกนายกรัฐมนตรีไทย กันยายน พ.ศ. 2551
การลงมติเลือกนายกรัฐมนตรีไทย มกราคม พ.ศ. 2551
นายสมัคร สุนทรเวช และนายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ การลงมติเลือกนายกรัฐมนตรีไทย ในเดือนมกราคม พ.ศ. 2551 เป็นการลงมติของสภาผู้แทนราษฎร เมื่อวันที่ 28 มกราคม พ.ศ.
ดู เฉลิม อยู่บำรุงและการลงมติเลือกนายกรัฐมนตรีไทย มกราคม พ.ศ. 2551
การอภิปรายไม่ไว้วางใจ
การอภิปรายไม่ไว้วางใจ คือ การอภิปรายของสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร (โดยมากเป็นสมาชิกฝ่ายค้าน) กระทำเมื่อเห็นว่าการทำงานของรัฐมนตรีหรือคณะรัฐมนตรีไม่เป็นที่พอใจ ในกรณีนี้สมาชิกมีสิทธิเข้าชื่อเสนอญัตติไม่ไว้วางใจ ถือเป็นวิธีการหนึ่งในการควบคุมและตรวจสอบการทำงานของรัฐบาล วิธีอื่นนอกจากนี้ ได้แก่ การตั้งกระทู้ถาม การแสดงบัญชีรายการทรัพย์สินและหนี้สิน การถอดถอนจากตำแหน่ง การอภิปรายไม่ไว้วางใจเป็นวิธีที่เห็นผลชัดเจนที่สุด มีผลกระทบต่อความมั่นคงของรัฐบาลมากที่สุด และยังเป็นการคานอำนาจของฝ่ายบริหาร (รัฐบาล) โดยฝ่ายนิติบัญญัติ (รัฐสภา) ที่ชัดเจนและได้ผลดีที่สุดด้วย การอภิปรายไม่ไว้วางใจเป็นไปตามหลักการที่ว่า "ฝ่ายบริหารจะอยู่ได้ก็โดยความไว้วางใจของฝ่ายนิติบัญญัติ" ดังนั้นการอภิปรายไม่ไว้วางใจจะมีขึ้นก็ต่อเมื่อรัฐสภาเห็นว่ารัฐมนตรีหรือคณะรัฐมนตรีไม่ควรแก่การไว้วางใจให้ปฏิบัติหน้าที่ต่อไป ซึ่งอาจเกิดจากการตัดสินใจผิดพลาด การใช้อำนาจหน้าที่ในทางมิชอบ เป็นต้น.
ดู เฉลิม อยู่บำรุงและการอภิปรายไม่ไว้วางใจ
การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2550
การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป..
ดู เฉลิม อยู่บำรุงและการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2550
การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2557
การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป..
ดู เฉลิม อยู่บำรุงและการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2557
การเลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2547
การเลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร..
ดู เฉลิม อยู่บำรุงและการเลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2547
มหาวิทยาลัยรามคำแหง
มหาวิทยาลัยรามคำแหง (Ramkhamhaeng University; ชื่อย่อ: ม.ร. - RU) เป็นมหาวิทยาลัยรัฐและมหาวิทยาลัยตลาดวิชาแห่งเดียวในประเทศไทย ซึ่งรับบุคคลเข้าศึกษาโดยไม่สอบคัดเลือกและไม่จำกัดจำนวน ทำการเรียนการสอนแบบตลาดวิชา คือมีการเรียนการสอนในชั้นเรียนเช่นเดียวกับมหาวิทยาลัยปกติ แต่ไม่บังคับเข้าชั้นเรียน อันเป็นระบบเดียวกันกับมหาวิทยาลัยวิชาธรรมศาสตร์และการเมืองในอดีต มหาวิทยาลัยรามคำแหงเป็นหนึ่งในสถาบันการศึกษาชั้นนำของประเทศไทย และมีชื่อเสียงในด้านนิติศาสตร์และรัฐศาสตร์อย่างมาก.
ดู เฉลิม อยู่บำรุงและมหาวิทยาลัยรามคำแหง
มนต์ชัย พันธุ์คงชื่น
ลตำรวจเอกมนต์ชัย พันธุ์คงชื่น (2 กันยายน พ.ศ. 2464 - 9 สิงหาคม พ.ศ. 2559) อดีตอธิบดีกรมตำรวจ และอดีตผู้บัญชาการตำรวจนครบาล.
ดู เฉลิม อยู่บำรุงและมนต์ชัย พันธุ์คงชื่น
ยิ่งลักษณ์ ชินวัตร
งลักษณ์ ชินวัตร เกิดวันที่ 21 มิถุนายน..
ดู เฉลิม อยู่บำรุงและยิ่งลักษณ์ ชินวัตร
ยุทธศักดิ์ ศศิประภา
ลเอก พลเรือเอก พลอากาศเอก ยุทธศักดิ์ ศศิประภา อดีตสมาชิกสภาขับเคลื่อนการปฏิรูปประเทศ ประธานสมาพันธ์กีฬาแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงกลาโหม อดีตที่ปรึกษานายกรัฐมนตรี (ยิ่งลักษณ์ ชินวัตร) อดีตรองนายกรัฐมนตรี ฝ่ายความมั่นคง อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม ในรัฐบาลยิ่งลักษณ์ สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร พรรคเพื่อไทย อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงกลาโหม ในรัฐบาลทักษิณ อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร พรรคไทยรักไทย และอดีตปลัดกระทรวงกลาโหม โดยสื่อมวลชนมักเรียกว่า "บิ๊กอ็อด".
ดู เฉลิม อยู่บำรุงและยุทธศักดิ์ ศศิประภา
ยงยุทธ วิชัยดิษฐ
งยุทธ วิชัยดิษฐ อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร ระบบบัญชีรายชื่อ และอดีตหัวหน้าพรรคเพื่อไทย อดีตรองนายกรัฐมนตรี อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย อดีตปลัดกระทรวงมหาดไทย อดีตอธิบดีกรมที่ดิน อดีตประธานกรรมการการไฟฟ้านครหลวง อดีตประธานกรรมการการประปานครหลวง อดีตประธานกรรมการตรวจสอบของสำนักงานสลากกินแบ่งรัฐบาล และอดีตที่ปรึกษารัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย 2 สมั.
ดู เฉลิม อยู่บำรุงและยงยุทธ วิชัยดิษฐ
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทยของไทย
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย เป็นตำแหน่งหัวหน้าส่วนราชการของ กระทรวงมหาดไทย โดยตำแหน่งนี้มีขึ้นตั้งแต่ปี พ.ศ.
ดู เฉลิม อยู่บำรุงและรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทยของไทย
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรมของไทย
รายพระนาม รายนามเสนาบดีและรัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรม.
ดู เฉลิม อยู่บำรุงและรัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรมของไทย
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุขของไทย
รายนามรัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข ของไท.
ดู เฉลิม อยู่บำรุงและรัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุขของไทย
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงแรงงานของไทย
รายนามรัฐมนตรีว่าการกระทรวงแรงงาน และกระทรวงแรงงานและสวัสดิการสังคม.
ดู เฉลิม อยู่บำรุงและรัฐมนตรีว่าการกระทรวงแรงงานของไทย
รัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรีไทย
รายนามรัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรีของไท.
ดู เฉลิม อยู่บำรุงและรัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรีไทย
รัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2549
รัฐประหารในประเทศไท..
ดู เฉลิม อยู่บำรุงและรัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2549
รายชื่อเขตของกรุงเทพมหานคร
ต (district หรือ khet) เป็นชื่อเรียกหน่วยการปกครองทางมหาดไทย อยู่ระดับเดียวกับอำเภอซึ่งอยู่รองจากจังหวัด แต่ใช้เฉพาะในกรุงเทพมหานครซึ่งไม่มีสถานะเป็นจังหวัด ในแต่ละเขตแบ่งออกเป็นแขวง.
ดู เฉลิม อยู่บำรุงและรายชื่อเขตของกรุงเทพมหานคร
รายนามรองนายกรัฐมนตรีไทย
รองนายกรัฐมนตรี หมวดหมู่:รายนามบุคคล.
ดู เฉลิม อยู่บำรุงและรายนามรองนายกรัฐมนตรีไทย
รายนามผู้นำฝ่ายค้านในสภาผู้แทนราษฎรไทย
ผู้นำฝ่ายค้านในสภาผู้แทนราษฎร เป็นผู้นำของสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรพรรคฝ่ายค้าน โดยผู้นำฝ่ายค้านในสภาผู้แทนราษฎรมีหน้าที่สำคัญคือการตรวจสอบการทำงานของรัฐบาล ในรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 ภายหลังที่คณะรัฐมนตรีเข้าบริหารราชการแผ่นดินแล้ว พระมหากษัตริย์จะทรงแต่งตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรผู้เป็นหัวหน้าพรรคการเมืองในสภาผู้แทนราษฎรที่สมาชิกในสังกัดของพรรคตนมิได้ดำรงตำแหน่งรัฐมนตรี และมีจำนวนมากที่สุดในบรรดาพรรคการเมืองที่สมาชิกในสังกัดมิได้ดำรงตำแหน่งรัฐมนตรี แต่ไม่น้อยกว่าหนึ่งในห้าของจำนวนสมาชิกทั้งหมดเท่าที่มีอยู่ของสภาผู้แทนราษฎรในขณะแต่งตั้ง เป็นผู้นำฝ่ายค้านในสภาผู้แทนราษฎร ในกรณีที่ไม่มีพรรคการเมืองใดในสภาผู้แทนราษฎรมีลักษณะที่กำหนด สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรผู้เป็นหัวหน้าพรรคการเมืองซึ่งได้รับเสียงสนับสนุนข้างมากจากสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรในพรรคการเมืองที่สมาชิกในสังกัดของพรรคนั้นมิได้ดำรงตำแหน่งรัฐมนตรี เป็นผู้นำฝ่ายค้านในสภาผู้แทนราษฎร ในกรณีที่มีเสียงสนับสนุนเท่ากันให้ใช้วิธีจับสลาก ประธานสภาผู้แทนราษฎรเป็นผู้ลงนามรับสนองพระบรมราชโองการแต่งตั้งผู้นำฝ่ายค้านในสภาผู้แทนราษฎร ปัจจุบันยังไม่มีผู้ดำรงตำแหน่งผู้นำฝ่ายค้านในสภาผู้แทนราษฎร เนื่องจากการรัฐประหาร โดย คณะรักษาความสงบแห่งชาต.
ดู เฉลิม อยู่บำรุงและรายนามผู้นำฝ่ายค้านในสภาผู้แทนราษฎรไทย
วัน อยู่บำรุง
วัน อยู่บำรุง ชื่อเดิม วันเฉลิม อยู่บำรุง เกิดวันที่ 12 สิงหาคม พ.ศ. 2517 เป็นที่ปรึกษารัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงคมนาคม โดยได้รับการแต่งตั้ง ณ วันที่ 2 พฤศจิกายน..
ดู เฉลิม อยู่บำรุงและวัน อยู่บำรุง
วิทยา แก้วภราดัย
นายวิทยา แก้วภราดัย (5 มกราคม 2498 -; ชื่อเล่น: น้อย) อดีตสมาชิกสภาขับเคลื่อนการปฏิรูปประเทศ อดีตประธานวิปรัฐบาล อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข รองหัวหน้าพรรคประชาธิปัตย์ แล..นครศรีธรรมราช หลายสมัย สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรี สาขานิติศาสตรบัณฑิต จาก จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ขณะเรียนปี 4 นายวิทยาเป็นหนึ่งในนิสิตที่เข้าร่วมการชุมนุมที่มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ และได้รับบาดเจ็บถูกยิงที่ขาในเหตุการณ์ 6 ตุล..
ดู เฉลิม อยู่บำรุงและวิทยา แก้วภราดัย
ศาลรัฐธรรมนูญ
ลรัฐธรรมนูญ (constitutional court) เป็นศาลสูงที่มีอำนาจพิจารณาพิพากษาเกี่ยวกับกฎหมายรัฐธรรมนูญ โดยมีอำนาจหลักที่จะวินิจฉัยว่า กฎหมายใดมีปัญหาเรื่องความชอบด้วยรัฐธรรมนูญหรือไม่ เช่น ขัดกับสิทธิและเสรีภาพตามที่รัฐธรรมนูญรับรองไว้หรือไม่ ในหลาย ๆ ประเทศ ไม่จัดตั้งศาลรัฐธรรมนูญเป็นเอกเทศ และศาลยุติธรรมตามธรรมดาจะรับคดีดังกล่าวเอง นอกจากนี้ ในหลาย ๆ ประเทศก็ไม่เรียกองค์กรนี้ว่า "ศาลรัฐธรรมนูญ" และบางประเทศก็เรียกศาลยุติธรรมว่า ศาลรัฐธรรมนูญ เช่น ศาลสูงสุดแห่งสหรัฐอเมริกาได้ชื่อว่าเป็น "ศาลรัฐธรรมนูญที่เก่าแก่ที่สุดในโลก" เพราะเป็นศาลแรกในโลกที่วินิจฉัยความชอบด้วยรัฐธรรมนูญของกฎหมายต่าง ๆ (คดีระหว่างมาร์บิวรีกับเมดิสัน) แม้ว่าในประเทศสหรัฐอเมริกาจะไม่จัดตั้งศาลรัฐธรรมนูญเป็นการเฉพาะก็ตาม ส่วนประเทศที่สถาปนาศาลรัฐธรรมนูญอย่างเอกเทศเป็นแห่งแรกของโลกนั้น คือ ประเทศออสเตรีย ซึ่งดำเนินการใน..
ดู เฉลิม อยู่บำรุงและศาลรัฐธรรมนูญ
ศาสนาพุทธ
ระพุทธศาสนา หรือ ศาสนาพุทธ (buddhasāsana พุทฺธสาสนา, buddhaśāsana พุทธศาสนา) เป็นศาสนาที่มีพระพุทธเจ้าเป็นศาสดา มีพระธรรมที่พระองค์ตรัสรู้ชอบด้วยพระองค์เอง และตรัสสอนไว้เป็นหลักคำสอนสำคัญ มีพระสงฆ์ (ภิกษุ ภิกษุณี) สาวกผู้ตัดสินใจออกบวชเพื่อศึกษาปฏิบัติตนตามคำสั่งสอน ธรรม-วินัย ของพระบรมศาสดา เพื่อบรรลุสู่จุดหมายคือพระนิพพาน และสร้างสังฆะ เป็นชุมชนเพื่อสืบทอดคำสอนของพระบรมศาสดา รวมเรียกว่า พระรัตนตรัย นอกจากนี้ในพระพุทธศาสนา ยังประกอบคำสอนสำหรับการดำรงชีวิตที่ดีงาม สำหรับผู้ที่ยังไม่ออกบวช (คฤหัสถ์ - อุบาสก และอุบาสิกา) ซึ่งหากรวมประเภทบุคคลที่ที่นับถือและศึกษาปฏิบัติตนตามคำสั่งสอนของพระบรมศาสดา แล้วจะจำแนกได้เป็น 4 ประเภท คือ ภิกษุ ภิกษุณี อุบาสก อุบาสิกา หรือที่เรียกว่า พุทธบริษัท 4 ศาสนาพุทธเป็นศาสนาอเทวนิยม ปฏิเสธการมีอยู่ของพระเป็นเจ้าหรือพระผู้สร้าง และเชื่อในศักยภาพของมนุษย์ ว่าทุกคนสามารถพัฒนาจิตใจ ไปสู่ความเป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ได้ ด้วยความเพียรของตน กล่าวคือ ศาสนาพุทธ สอนให้มนุษย์บันดาลชีวิตของตนเอง ด้วยผลแห่งการกระทำของตน ตาม กฎแห่งกรรม มิได้มาจากการอ้อนวอนขอจากพระเป็นเจ้าและสิ่งศักดิ์สิทธิ์นอกกายพระไตรปิฎก เล่มที่ ๒๕ พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๑๗ ขุททกนิกาย ขุททกปาฐะ-ธรรมบท-อุทาน-อิติวุตตกะ-สุตตนิบาต คาถาธรรมบท อัตตวรรคที่ ๑.
ดู เฉลิม อยู่บำรุงและศาสนาพุทธ
สภาผู้แทนราษฎร
ผู้แทนราษฎร เป็นหน่วยหนึ่งในกระบวนการนิติบัญญัติ โดยทั่วไปมักเป็นสภาล่างในระบบสภาคู.
ดู เฉลิม อยู่บำรุงและสภาผู้แทนราษฎร
สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 23
มาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 23 (23 ธันวาคม พ.ศ. 2550 - 10 พฤษภาคม พ.ศ. 2554) เป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรของประเทศไทย มีจำนวนสมาชิกทั้งสิ้น 480 คน โดยมาจากการเลือกตั้งแบบแบ่งเขต 400 คน และการเลือกตั้งแบบสัดส่วน 80 คน ซึ่งมีการเลือกตั้งเมื่อวันที่ 23 ธันวาคม..
ดู เฉลิม อยู่บำรุงและสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 23
สมชาย วงศ์สวัสดิ์
มชาย วงศ์สวัสดิ์ (31 สิงหาคม พ.ศ. 2490 —) เป็นนายกรัฐมนตรีคนที่ 26 ของประเทศไทย เป็นอดีตรองนายกรัฐมนตรี อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม อดีตผู้พิพากษา อดีตปลัดกระทรวงยุติธรรม อดีตปลัดกระทรวงแรงงาน ในขณะที่สมชายดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีนั้นเขาไม่ได้ปฏิบัติหน้าที่ในทำเนียบรัฐบาล เพราะพันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตยยังคงยึดพื้นที่ไว้ตั้งแต่ในสมัยรัฐบาลนายสมัคร สุนทรเวช โดยใช้สนามบินดอนเมืองเป็นที่ทำการแทน.
ดู เฉลิม อยู่บำรุงและสมชาย วงศ์สวัสดิ์
สมัคร สุนทรเวช
มัคร สุนทรเวช (ชื่อจีน: 李沙馬 Lǐ Shāmǎ; 13 มิถุนายน พ.ศ. 2478 – 24 พฤศจิกายน พ.ศ. 2552) เป็นนายกรัฐมนตรีไทยคนที่ 25 และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม หัวหน้าพรรคพลังประชาชน อดีตผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร และผู้ก่อตั้งพรรคประชากรไทย เกิดที่กรุงเทพมหานคร เป็นนักการเมืองเก่าแก่ ที่มีเสียงพูดและลีลาการพูดเป็นเอกลักษณ์ เคยดำรงตำแหน่งสำคัญมากมาย เช่น รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย รัฐมนตรีว่าการกระทรวงคมนาคม (2 สมัย) ได้ฉายาจากสื่อมวลชนทั่วไปว่า "น้าหมัก" "ออหมัก" หรือ "ชมพู่" (มาจากลักษณะจมูกของสมัคร) "ชาวนา" (จากกรณีกลุ่มงูเห่า) เป็นต้น สมัครเริ่มทำงานหลังจบนิติศาสตร์ ธรรมศาสตร์ เป็นสื่อมวลชนสายการเมือง โดยเขียนบทความ และความคิดเห็น ทางการเมืองแบบไม่ประจำใน หนังสือพิมพ์สยามรัฐ, สยามรัฐสัปดาห์วิจารณ์ และชาวกรุง ตั้งแต..
ดู เฉลิม อยู่บำรุงและสมัคร สุนทรเวช
สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร
มาชิกสภาผู้แทนราษฎร หรือ..
ดู เฉลิม อยู่บำรุงและสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร
สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกรุงเทพมหานคร
มาชิกสภาผู้แทนราษฎรกรุงเทพมหานคร มี 33 เขตการเลือกตั้ง (ปี พ.ศ. 2554) และมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขตได้ 33 คน จากทั้งหมด 375 คนทั่วประเทศในสภาผู้แทนราษฎรไท.
ดู เฉลิม อยู่บำรุงและสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกรุงเทพมหานคร
สำนักนายกรัฐมนตรี
ำนักนายกรัฐมนตรี (Prime Minister's Office) เป็นสำนักงานประจำสำหรับนายกรัฐมนตรีของแต่ละประเทศ เช่น.
ดู เฉลิม อยู่บำรุงและสำนักนายกรัฐมนตรี
สุรยุทธ์ จุลานนท์
ลเอก พลเรือเอก พลอากาศเอก สุรยุทธ์ จุลานนท์ (เกิด 28 สิงหาคม พ.ศ. 2486) องคมนตรี นายกรัฐมนตรีไทยคนที่ 24 จากการแต่งตั้งโดยคณะปฏิรูปการปกครองในระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข (คปค.) ภายหลังเหตุการณ์รัฐประหาร 19 กันยายน พ.ศ.
ดู เฉลิม อยู่บำรุงและสุรยุทธ์ จุลานนท์
สุรศักดิ์ กาญจนรัตน์
ลเอก สุรศักดิ์ กาญจนรัตน์ เป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม และรองประธานกรรมการคณะกรรมการนโยบายป่าไม้แห่งชาติ ในรัฐบาล พลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงแรงงาน อดีตรักษาราชการแทนรัฐมนตรีว่าการกระทรวงแรงงานในรัฐบาลของพลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา และนายทหารพิเศษ ประจำกรมนายเรือรักษาพระองค์ โรงเรียนนายเรือ และประจำกรมนักเรียนนายเรืออากาศรักษาพระองค์ อดีตปลัดกระทรวงกลาโหม และอดีตเจ้ากรมกิจการพลเรือนทหารบก มีชื่อเล่นว่า "เต่า" หรือที่บรรดาสื่อมวลชนเรียกว่า "บิ๊กเต่า".
ดู เฉลิม อยู่บำรุงและสุรศักดิ์ กาญจนรัตน์
สุทัศน์ เงินหมื่น
ทัศน์ เงินหมื่น กรรมการที่ปรึกษาพรรคประชาธิปัตย์ อดีตรองนายกรัฐมนตรี และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรม และเป็นบิดาของนายอภิวัฒน์ เงินหมื่น สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จังหวัดอำนาจเจริญ.
ดู เฉลิม อยู่บำรุงและสุทัศน์ เงินหมื่น
อภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ
อภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ หรือชื่อเกิดว่า มาร์ค อภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ (ละติน: Mark Abhisit Vejjajiva) เกิด 3 สิงหาคม..
ดู เฉลิม อยู่บำรุงและอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ
อสมท
ริษัท อสมท จำกัด (มหาชน) (MCOT Public Company Limited; ชื่อย่อ: บมจ.อสมท, MCOT PCL.) เป็นรัฐวิสาหกิจในรูปบริษัทมหาชนจำกัด และเป็นกิจการสื่อสารมวลชน ภายใต้การกำกับของรัฐบาลไทย โดยสำนักนายกรัฐมนตรี ประกอบธุรกิจสื่อสารมวลชน อันประกอบด้วย กิจการวิทยุโทรทัศน์ แพร่ภาพออกอากาศตลอด 24 ชั่วโมง จากสถานีแม่ข่ายในกรุงเทพมหานคร ไปยังสถานีเครือข่ายในภูมิภาค 53 สถานี มีพื้นที่ให้บริการครอบคลุมเกือบทั่วประเทศไทย กิจการวิทยุกระจายเสียง ส่งกระจายเสียงด้วยระบบเอฟเอ็ม ทั้งในส่วนกลาง และส่วนภูมิภาค จำนวน 53 สถานี และในระบบเอเอ็ม ในส่วนกลาง 2 สถานี สำนักข่าวไทย ดำเนินการผลิต รวบรวม จัดเก็บ และวิเคราะห์ข่าวสาร ทั้งทางสื่อโทรทัศน์ และวิทยุกระจายเสียง รวมไปถึงสื่ออิเล็กทรอนิกส์ โดยที่ทำการส่วนกลางในปัจจุบัน ตั้งอยู่เลขที่ 63/1 ถนนพระราม 9 แขวงห้วยขวาง เขตห้วยขวาง กรุงเทพมหานคร.
อุทกภัยในประเทศไทย พ.ศ. 2554
อุทกภัยในประเทศไท..
ดู เฉลิม อยู่บำรุงและอุทกภัยในประเทศไทย พ.ศ. 2554
จังหวัดสมุทรปราการ
ังหวัดสมุทรปราการ เป็นจังหวัดหนึ่งในภาคกลางของประเทศไทย และยังเป็นจังหวัดในเขตปริมณฑลของกรุงเทพมหานคร จัดตั้งขึ้นครั้งล่าสุดโดย พระราชบัญญัติจัดตั้งจังหวัดสมุทรปราการ จังหวัดนนทบุรี จังหวัดสมุทรสาคร และจังหวัดนครนายก พุทธศักราช 2489 ซึ่งมีผลใช้บังคับตั้งแต่วันที่ 9 พฤษภาคม พ.ศ.
ดู เฉลิม อยู่บำรุงและจังหวัดสมุทรปราการ
จังหวัดนนทบุรี
ังหวัดนนทบุรี เป็นจังหวัดหนึ่งในภาคกลางของประเทศไทย จัดตั้งขึ้นครั้งล่าสุดโดยพระราชบัญญัติจัดตั้งจังหวัดสมุทรปราการ จังหวัดนนทบุรี จังหวัดสมุทรสาคร และจังหวัดนครนายก พุทธศักราช 2489 ซึ่งมีผลใช้บังคับตั้งแต่วันที่ 9 พฤษภาคม..
ดู เฉลิม อยู่บำรุงและจังหวัดนนทบุรี
ธาริต เพ็งดิษฐ์
ริต เพ็งดิษฐ์ อดีตที่ปรึกษาประจำสำนักนายกรัฐมนตรี เป็นอดีตอธิบดีกรมสอบสวนคดีพิเศษ อดีตเลขาธิการคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตในภาครัฐ อดีตคณะกรรมการสำนักงานบริหารการแปลงสินทรัพย์เป็นทุนอดีตคณะกรรมการบริหารกิจการขององค์การอุตสาหกรรมป่าไม้ และ อดีตอัยการจังหวัดประจำกรม สำนักงานคณะกรรมการอัยการ.
ดู เฉลิม อยู่บำรุงและธาริต เพ็งดิษฐ์
ถวิล เปลี่ยนศรี
วิล เปลี่ยนศรี (5 ธันวาคม พ.ศ. 2496 -) อดีตประธานกรรมการในคณะกรรมการการไฟฟ้าส่วนภูมิภาค ที่ปรึกษาส่วนตัวด้านความมั่นคงของพลเอกประวิตร วงษ์สุวรรณกรรมการในคณะกรรมการวินิจฉัยการเปิดเผยข้อมูลข่าวสารสาขาต่างประเทศและความมั่นคงของประเทศในคณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 61 ภายหลังรัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ.
ดู เฉลิม อยู่บำรุงและถวิล เปลี่ยนศรี
ถนนรัชดาภิเษก
นนรัชดาภิเษก (Thanon Ratchadaphisek) เป็นถนนวงแหวนรอบในของกรุงเทพมหานคร เริ่มจากสะพานข้ามคลองบางกอกใหญ่ ผ่านสะพานกรุงเทพ ตัดผ่านถนนพระรามที่ 3 ถนนสุขุมวิท ถนนเพชรบุรี ถนนพระราม 9 ถนนลาดพร้าว ถนนวิภาวดีรังสิต ถนนประชาชื่น ถนนกรุงเทพฯ-นนทบุรี ข้ามสะพานพระราม 7 เข้าเขตอำเภอบางกรวย จังหวัดนนทบุรี ตัดกับถนนบางกรวย-ไทรน้อย ลอดใต้สะพานพระราม 6 เข้าเขตกรุงเทพมหานคร รวมกับถนนจรัญสนิทวงศ์ และมาบรรจบที่ทางแยกท่าพร.
ดู เฉลิม อยู่บำรุงและถนนรัชดาภิเษก
คณะกรรมการการเลือกตั้ง (ประเทศไทย)
ณะกรรมการการเลือกตั้ง (Election Commission of Thailand) หรือย่อว่า กกต. (ECT) เป็นองค์กรอิสระตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย มีหน้าที่หลักเป็นผู้ควบคุมและดำเนินการจัดหรือจัดให้มีการเลือกตั้งหรือการสรรหาสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร สมาชิกวุฒิสภา สมาชิกสภาท้องถิ่นและผู้บริหารท้องถิ่น แล้วแต่กรณี รวมทั้งการออกเสียงประชามติ ให้เป็นไปโดยสุจริตและเที่ยงธรรม คณะกรรมการการเลือกตั้งมีสำนักงานคณะกรรมการการเลือกตั้งเป็นสำนักงานเลขานุการ.
ดู เฉลิม อยู่บำรุงและคณะกรรมการการเลือกตั้ง (ประเทศไทย)
คณะรัฐมนตรี
ณะรัฐมนตรี (council of ministers หรือ cabinet) มีอำนาจหน้าที่บริหารราชการแผ่นดิน ให้เป็นไปตามนโยบายที่ได้แถลงไว้ต่อรัฐสภา ตามรัฐธรรมนูญ และกฎหมาย อันประกอบด้วย หัวหน้าคณะ 1 คน ซึ่งมักเรียกว่า นายกรัฐมนตรี และรัฐมนตรีอื่น ตามจำนวนที่กำหนดไว้ในรัฐธรรมนูญ หรือกฎหมายที่เกี่ยวข้อง.
ดู เฉลิม อยู่บำรุงและคณะรัฐมนตรี
คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 57
ณะรัฐมนตรีคณะที่ 57 (6 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2551 - 18 กันยายน พ.ศ. 2551) นายสมัคร สุนทรเวช เป็นนายกรัฐมนตรี ประกาศพระบรมราชโองการ เมื่อวันที่ 29 มกราคม 2551 พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ทรงลงพระปรมาภิไธยในประกาศ โดยมีนายยงยุทธ ติยะไพรัช ประธานสภาผู้แทนราษฎรเป็นผู้ลงนามรับสนองพระบรมราชโองการ และในวันที่ 6 กุมภาพันธ์ 2551 ได้มีพระบรมราชโองการโปรดเกล้าโปรดกระหม่อม แต่งตั้งคณะรัฐมนตรี โดยมี นายสมัคร สุนทรเวช นายกรัฐมนตรี เป็นผู้รับสนองพระบรมราชโองการ.
ดู เฉลิม อยู่บำรุงและคณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 57
คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 58
ณะรัฐมนตรีคณะที่ 58 (24 กันยายน พ.ศ. 2551 - 19 ธันวาคม พ.ศ. 2551) หรือที่รู้จักกันในชื่อ คณะรัฐมนตรีสมชาย (ครม.สมชาย 1) นายสมชาย วงศ์สวัสดิ์ เป็นนายกรัฐมนตรี ตามประกาศพระบรมราชโองการ เมื่อวันที่ 18 กันยายน พ.ศ.
ดู เฉลิม อยู่บำรุงและคณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 58
คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 60
ณะรัฐมนตรีคณะที่ 60 (9 สิงหาคม พ.ศ. 2554 — 22 พฤษภาคม พ.ศ. 2557) เป็นคณะรัฐมนตรีไทย ซึ่งจัดตั้งขึ้นตาม ประกาศแต่งตั้งรัฐมนตรี ลงวันที่ 9 สิงหาคม 2554 ภายหลังการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไปเมื่อวันที่ 3 กรกฎาคม 2554 และการแต่งตั้ง ยิ่งลักษณ์ ชินวัตร เป็นนายกรัฐมนตรี ตาม ประกาศแต่งตั้งนายกรัฐมนตรี ลงวันที่ 5 สิงหาคม 2554 โดยลำดับ คณะรัฐมนตรีคณะนี้สิ้นสุดลง เมื่อนายกรัฐมนตรียิ่งลักษณ์ ชินวัตร ประกาศยุบสภาผู้แทนราษฎร เมื่อวันที่ 9 ธันวาคม..
ดู เฉลิม อยู่บำรุงและคณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 60
คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง
ณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง เป็นส่วนราชการไทยระดับคณะวิชา สังกัดมหาวิทยาลัยรามคำแหง กระทรวงศึกษาธิการ โดยจัดตั้งขึ้นพร้อมกับมหาวิทยาลัยรามคำแหงอาศัยข้อบังคับและพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยรามคำแหง มีบทบาทสำคัญเกี่ยวกับการเมืองการปกครองของประเทศไทยในอดีตและต่อเนื่องมาจนถึงปัจจุบัน ได้ตอบสนองความต้องการของคนในสังคมด้วยการเปิดโอกาสทางการศึกษาเพื่อผลิตบัณฑิตที่มีความรู้อย่างมีคุณธรรมเพื่อนำความรู้ที่ได้ไปใช้ในการพัฒนาประเทศให้เจริญก้าวหน้าต่อไป ปัจจุบันคงเปิดดำเนินการและมีพัฒนาการอย่างต่อเนื่องเพื่อให้เกิดผลตอบรับที่ดีและการปรับตัวเพื่อเข้าสู่ประชาคมอาเซียน.
ดู เฉลิม อยู่บำรุงและคณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง
คดียุบพรรคการเมือง พ.ศ. 2551
ียุบพรรคการเมือง พ.ศ. 2551 เป็นคดีที่เป็นคดีที่พรรคชาติไทย พรรคมัชฌิมาธิปไตยพรรคพลังประชาชน (2 ใบแดง) ถูกฟ้องเป็นจำเลยอันเนื่องมาจากกรณีทุจริตการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรในประเทศไทย พ.ศ.
ดู เฉลิม อยู่บำรุงและคดียุบพรรคการเมือง พ.ศ. 2551
ประชา พรหมนอก
ลตำรวจเอก ประชา พรหมนอก อดีตรองนายกรัฐมนตรี(ฝ่ายความมั่นคง) และอดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรมในสมัยรัฐบาลยิ่งลักษณ์ ชินวัตร สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร พรรคเพื่อไทย อดีตผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรม และอดีตหัวหน้าพรรคเพื่อแผ่นดิน เป็นนายตำรวจมือปราบมีฉายาว่า "อินทรีอีสาน" เนื่องจากเป็นชาวจังหวัดนครราชสีมา เป็นทั้งอธิบดีกรมตำรวจคนสุดท้ายและผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติคนแรก เนื่องจากมีตำแหน่งสูงสุดในช่วงที่ปรับเปลี่ยนสถานะของกรมตำรวจเป็นสำนักงานตำรวจแห่งชาต.
ดู เฉลิม อยู่บำรุงและประชา พรหมนอก
ประชาทรรศน์ (แก้ความกำกวม)
ประชาทรรศน์ สามารถหมายถึง.
ดู เฉลิม อยู่บำรุงและประชาทรรศน์ (แก้ความกำกวม)
ประสงค์ บูรณ์พงศ์
นายแพทย์ประสงค์ บูรณ์พงศ์ อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงแรงงานและสวัสดิการสังคม อดีตรัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี และอดีตรองหัวหน้าพรรคพลังประชาชน.
ดู เฉลิม อยู่บำรุงและประสงค์ บูรณ์พงศ์
ประดิษฐ์ ภัทรประสิทธิ์
นายประดิษฐ์ ภัทรประสิทธิ์ ประธานคณะกรรมการบริษัท ไทย แอ็กโกร เอ็กซเชนจ์ จำกัด (ตลาดไท) อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร แบบบัญชีรายชื่อ สังกัดพรรคชาติไทยพัฒนา อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงการคลัง อดีตเลขาธิการพรรครวมชาติพัฒนาและพรรคประชาธิปัตย์ และ สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดพิจิตร 4 สมั.
ดู เฉลิม อยู่บำรุงและประดิษฐ์ ภัทรประสิทธิ์
ประเทศสวีเดน
วีเดน (Sweden; สฺแวรฺแย) หรือชื่อทางการคือ ราชอาณาจักรสวีเดน (Kingdom of Sweden) เป็นประเทศกลุ่มนอร์ดิกตั้งอยู่บนคาบสมุทรสแกนดิเนเวีย ในยุโรปเหนือ เขตแดนทางตะวันตกจรดประเทศนอร์เวย์ ทางตะวันออกเฉียงเหนือจรดประเทศฟินแลนด์ และช่องแคบ สแกเกอร์แรก (Skagerrak) ทางตะวันตกเฉียงใต้จรดช่องแคบแคทีแกต (Kattegat) และทางตะวันออกจรดทะเลบอลติก และอ่าวบอทเนีย มีกรุงสต็อกโฮล์มเป็นเมืองหลวง ประเทศสวีเดนมีประชากรที่เบาบาง เว้นแต่ในเขตเมืองใหญ่ พื้นที่ส่วนใหญ่ของประเทศประกอบด้วยป่าไม้ และภูเขาสูง หลังจากสิ้นสุดยุคไวกิง สวีเดนกลายเป็นส่วนหนึ่งของสหภาพคาลมาร์ ร่วมกับเดนมาร์กและนอร์เวย์ (ในช่วงเวลานี้ ฟินแลนด์เป็นส่วนหนึ่งของราชอาณาจักรสวีเดน) สวีเดนได้ออกจากสหภาพในช่วงต้นคริสต์ศตวรรษที่ 16 และได้รบสู้กับประเทศเพื่อนบ้านเป็นเวลาหลายปี โดยเฉพาะรัสเซีย และเดนมาร์กกับนอร์เวย์ที่ยังเป็นสหภาพอยู่ ซึ่งไม่ยอมรับการที่สวีเดนออกจากสหภาพ ในคริสศตวรรษที่ 17 สวีเดนได้ขยายเขตด้วยสงครามและกลายเป็นมหาอำนาจด้วยขนาด 2 เท่าของปัจจุบัน ถึง..
ดู เฉลิม อยู่บำรุงและประเทศสวีเดน
ประเทศไทย
ประเทศไทย มีชื่ออย่างเป็นทางราชการว่า ราชอาณาจักรไทย เป็นรัฐชาติอันตั้งอยู่ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เดิมมีชื่อว่า "สยาม" รัฐบาลประกาศเปลี่ยนชื่อเป็นประเทศไทยอย่างเป็นทางการตั้งแต่ปี 2482 ประเทศไทยมีขนาดใหญ่เป็นอันดับที่ 50 ของโลก มีเนื้อที่ 513,115 ตารางกิโลเมตร และมีประชากรมากเป็นอันดับที่ 20 ของโลก คือ ประมาณ 66 ล้านคน กรุงเทพมหานครเป็นศูนย์กลางการบริหารราชการแผ่นดินและนครใหญ่สุดของประเทศ และการปกครองส่วนภูมิภาค จัดระเบียบเป็น 76 จังหวัด แม้จะมีการสถาปนาระบอบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญและประชาธิปไตยระบบรัฐสภาในปี 2475 แต่กองทัพยังมีบทบาทในการเมืองไทยสูง ล่าสุด เกิดรัฐประหารเมื่อวันที่ 22 พฤษภาคม 2557 และมีการปกครองแบบเผด็จการทหารนับแต่นั้น พบหลักฐานการอยู่อาศัยอย่างต่อเนื่องในอาณาเขตประเทศไทยปัจจุบันตั้งแต่ 20,000 ปีก่อนคริสตกาล ชาวไทเริ่มอพยพเข้าสู่บริเวณนี้ในคริสต์ศตวรรษที่ 11 แล้วเข้ามาตั้งแว่นแคว้นต่าง ๆ ที่สำคัญได้แก่ อาณาจักรสุโขทัย อาณาจักรล้านนาและอาณาจักรอยุธยา นักประวัติศาสตร์มักถือว่าอาณาจักรสุโขทัยเป็นจุดเริ่มต้นของประวัติศาสตร์ไทย ต่อมาอาณาจักรอยุธยาค่อย ๆ เรืองอำนาจมากขึ้นจนเป็นมหาอำนาจในภูมิภาคในปลายคริสต์ศตวรรษที่ 14 การติดต่อกับชาติตะวันตกเริ่มด้วยผู้แทนทางทูตชาวโปรตุเกสในปี 2054 อาณาจักรรุ่งเรืองอย่างมากในรัชกาลสมเด็จพระนารายณ์มหาราช (ครองราชย์ปี 2199–2231) แต่หลังจากนั้นค่อย ๆ เสื่อมอำนาจโดยมีสาเหตุส่วนหนึ่งจากการผลัดแผ่นดินที่มีการนองเลือดหลายรัชกาล จนสุดท้ายกรุงศรีอยุธยาถูกทำลายสิ้นเชิงในปี 2310 สมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรีทรงรวบรวมแผ่นดินที่แตกออกเป็นก๊กต่าง ๆ และสถาปนาอาณาจักรธนบุรีที่มีอายุ 15 ปี ความวุ่นวายในช่วงปลายอาณาจักรนำไปสู่การสำเร็จโทษพระองค์โดยพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช ปฐมราชวงศ์จักรีแห่งกรุงรัตนโกสินทร์ ช่วงต้นกรุงรัตนโกสินทร์ ประเทศเผชิญภัยคุกคามจากชาติใกล้เคียง แต่หลังรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวเป็นต้นมา ชาติตะวันตกเริ่มมีอิทธิพลในภูมิภาคเป็นอย่างมาก นำไปสู่การเข้าเป็นภาคีแห่งสนธิสัญญาไม่เป็นธรรมหลายฉบับ กระนั้น สยามไม่ตกเป็นอาณานิคมของตะวันตกชาติใด มีการปรับให้สยามทันสมัยและรวมอำนาจปกครองในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (ครองราชย์ปี 2411–53) สยามเข้าร่วมกับฝ่ายสัมพันธมิตรในสงครามโลกครั้งที่หนึ่งในปี 2460; ในปี 2475 เกิดการปฏิวัติเปลี่ยนแปลงการปกครองสู่ระบอบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญโดยไม่เสียเลือดเนื้อ คณะราษฎรมีบทบาทนำทางการเมือง และในพุทธทศวรรษ 2480 นายกรัฐมนตรี จอมพล แปลก พิบูลสงคราม ดำเนินนโยบายชาตินิยมเข้มข้น ระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง ไทยเข้ากับฝ่ายอักษะ แต่ฝ่ายสัมพันธมิตรส่วนใหญ่ไม่ยอมรับการประกาศสงคราม ในช่วงสงครามเย็น ประเทศไทยเป็นพันธมิตรกับสหรัฐซึ่งสนับสนุนรัฐบาลทหารมาก รัฐประหารที่มีจอมพล สฤษดิ์ ธนะรัชต์เป็นหัวหน้าคณะในปี 2500 ทำให้คณะราษฎรหมดอำนาจ รัฐบาลฟื้นฟูพระราชอำนาจและมีมาตรการต่อต้านคอมมิวนิสต์ในภูมิภาค ผลของเหตุการณ์ 14 ตุลา 2516 ทำให้เกิดประชาธิปไตยระบบรัฐสภาช่วงสั้น ๆ ประเทศไทยมีนายกรัฐมนตรีจากการเลือกตั้งครั้งแรกในปี 2531 หลังพุทธทศวรรษ 2540 มีวิกฤตการเมืองระหว่างฝ่ายที่สนับสนุนและต่อต้านอดีตนายกรัฐมนตรีทักษิณ ชินวัตรมาจนปัจจุบัน รวมทั้งเกิดรัฐประหารสองครั้ง โดยครั้งล่าสุดเกิดในปี 2557 รัฐธรรมนูญฉบับปัจจุบันเป็นฉบับที่ 20 ประกาศใช้เมื่อวันที่ 6 เมษายน 2560 หลังมีการลงประชามติรับร่างเมื่อหนึ่งปีก่อน ประเทศไทยเป็นสมาชิกสหประชาชาติ เอเปก อีกทั้งเป็นร่วมผู้ก่อตั้งอาเซียน ประเทศไทยเป็นพันธมิตรของสหรัฐตั้งแต่สนธิสัญญาซีโต้ในปี 2497 ถือเป็นประเทศอำนาจนำภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และประเทศอำนาจปานกลางในเวทีโลก ประเทศไทยเป็นประเทศที่มีรายได้ปานกลาง-สูงและประเทศอุตสาหกรรมใหม่ มีรายได้หลักจากภาคอุตสาหกรรมและบริการ การเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจทำให้มีการอพยพเข้าสู่เมืองในคริสต์ศตวรรษที่ 20 ตามประมาณการในปี 2560 จีดีพีของประเทศไทยมีมูลค่าราว 432,898 ล้านดอลลาร์สหรัฐ นับว่าเศรษฐกิจไทยเป็นเศรษฐกิจใหญ่สุดเป็นอันดับ 2 ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และใหญ่เป็นอันดับที่ 26 ของโลก.
ดู เฉลิม อยู่บำรุงและประเทศไทย
ประเทศเดนมาร์ก
นมาร์ก (Denmark; แดนมาก) (Danmark) หรือชื่อทางการคือ ราชอาณาจักรเดนมาร์ก เป็นประเทศกลุ่มนอร์ดิก มีแผ่นดินหลักตั้งอยู่บนคาบสมุทรจัตแลนด์ ทางทิศเหนือของประเทศเยอรมนี ซึ่งเป็นเพื่อนบ้านทางบกเพียงประเทศเดียว ทางทิศใต้ของประเทศนอร์เวย์ และตะวันตกเฉียงใต้ของประเทศสวีเดน มีพรมแดนจรดทะเลเหนือและทะเลบอลติก เดนมาร์กมีดินแดนนอกชายฝั่งห่างไกลออกไปสองแห่ง คือหมู่เกาะแฟโรและกรีนแลนด์ ซึ่งแต่ละแห่งมีอำนาจปกครองตนเอง เดนมาร์กเป็นประเทศองค์ประกอบที่มีการปกครองระบอบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญและเป็นส่วนหนึ่งของสหภาพยุโรป แต่ยังไม่เข้าร่วมใช้สกุลเงินยูโร เดนมาร์กเป็นสมาชิกรุ่นก่อตั้งขององค์การสนธิสัญญาป้องกันแอตแลนติกเหนือ.
ดู เฉลิม อยู่บำรุงและประเทศเดนมาร์ก
ปริญญาตรี
ปริญญาตรี หรือ ปริญญาบัณฑิต เป็นระดับการศึกษาย่อยในการอุดมศึกษา ต่อเนื่องจากชั้นมัธยมศึกษา คำว่า ตรี หมายถึง ชั้นที่สาม (ใช้เกี่ยวกับลำดับชั้นหรือขั้นของยศตำแหน่ง คุณภาพ หรือ วิทยฐานะ ต่ำกว่า โท สูงกว่า จัตวา) ระดับปริญญาตรี โดยทั่วไปเวลาสี่ปี แต่สามารถช่วง 2-6 ปีขึ้นอยู่กับภูมิภาคของโลก.
ดู เฉลิม อยู่บำรุงและปริญญาตรี
ปริญญาโท
ปริญญาโท (master's degree) เป็นปริญญาที่ให้แก่บุคคลซึ่งผ่านการศึกษาซึ่งแสดงความชำนาญหรือภาพรวมระดับสูง (high-order overview) ของสาขาการศึกษาหรือแขนงการประกอบวิชาชีพเฉพาะ ในขอบเขตที่ศึกษา ผู้ได้รับปริญญาโทถือว่ามีความรู้สูงในหัวข้อทฤษฎีและประยุกต์กลุ่มชำนัญพิเศษ ทักษะการวิเคราะห์ การประเมินเชิงวิจารณ์หรือการประยุกต์ทางวิชาชีพระดับสูง และความสามารถแก้ไขปัญหาซับซ้อนและคิดอย่างเคร่งครัดและเป็นอิสระ หมวดหมู่:ระดับปริญญา หมวดหมู่:ปริญญาโท.
ปริญญาเอก
ปริญญาเอก (doctorate) เป็นปริญญาวิชาการหรือวิชาชีพซึ่งในประเทศส่วนใหญ่ให้ผู้ถือมีคุณสมบัติสอนในระดับมหาวิทยาลัยในสาขาเฉพาะของปริญญานั้น หรือทำงานในวิชาชีพเฉพาะ ในบางประเทศ ปริญญาสูงสุดในสาขาหนึ่ง ๆ เรียก ปริญญาสูงสุด (terminal degree) คำว่า "doctorate" มาจากภาษาละติน docere หมายถึง "สอน".
ดู เฉลิม อยู่บำรุงและปริญญาเอก
นายกรัฐมนตรี
นายกรัฐมนตรี เป็นตำแหน่งผู้นำของรัฐบาล เป็นตำแหน่งสูงสุด โดยมีพระมหากษัตริย์หรือประธานาธิบดีเป็นประมุขแห่งรัฐ บางประเทศยังต้องเลือกประธานาธิบดีแล้วแต่งตั้งนายกรัฐมนตรีหรือบางประเทศอาจจะให้กษัตริย์เป็นผู้แต่งตั้งก็ได้ แต่ในระบบสาธารณรัฐแบบประธานาธิบดีจะไม่มีนายกรัฐมนตรี เช่น สหรัฐอเมริกา บราซิล เป็นต้น รองนายกรัฐมนตรี เป็นผู้ที่จะปฏิบัติหน้าที่แทนนายกรัฐมนตรี ในขณะที่นายกรัฐมนตรีมีเหตุทำให้ไม่สามารถปฏิบัติหน้าที่ได้ หรือมีหน้าที่อื่นให้ปฏิบัติ เช่น เดินทางไปประชุมที่ต่างประเทศ ลาราชการ พ้นจากตำแหน่ง เป็นต้น.
ดู เฉลิม อยู่บำรุงและนายกรัฐมนตรี
แนวร่วมประชาธิปไตยต่อต้านเผด็จการแห่งชาติ
แนวร่วมประชาธิปไตยต่อต้านเผด็จการแห่งชาติ (ชื่อย่อ: นปช.; United Front of Democracy Against Dictatorship; UDD) มีชื่อเดิมว่า แนวร่วมประชาธิปไตยขับไล่เผด็จการ (ชื่อย่อ: นปก.; Democratic Alliance Against Dictatorship: DAAD) เป็นกลุ่มเคลื่อนไหวทางการเมืองในประเทศไทย ซึ่งมีความเกี่ยวข้องกับ ดร.
ดู เฉลิม อยู่บำรุงและแนวร่วมประชาธิปไตยต่อต้านเผด็จการแห่งชาติ
โกวิท วัฒนะ
ลตำรวจเอก โกวิท วัฒนะ (11 มีนาคม พ.ศ. 2490 —) อดีตรองนายกรัฐมนตรี ในรัฐบาลของนางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย อดีตผู้บัญชาการสำนักงานตำรวจแห่งชาต.
ดู เฉลิม อยู่บำรุงและโกวิท วัฒนะ
ไสว พัฒโน
ว พัฒโน อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรม อดีตรองประธานสภาผู้แทนราษฎรไทย อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงมหาดไทย และกระทรวงคมนาคม และเป็นอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดสงขลา 8 สมั.
ดู เฉลิม อยู่บำรุงและไสว พัฒโน
เอแบคโพล
ำนักวิจัยเอแบคโพลล์ ก่อตั้งเมื่อปี 2538 เป็นองค์กรที่ทำหน้าที่สำรวจ วิจัย ข้อมูลทางสถิติ โดยเริ่มต้นจากการที่ให้นักศึกษามหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ ทำโพลมาตั้งแต่ปี 2536 เพื่อนำเสนอผลสำรวจต่อสื่อมวลชน เช่น วิจัยการทำงานของกรมศุลกากร การท่าอากาศยานฯ หลังจากที่เกิดเอแบคโพลล์ขึ้นมา จึงเปิดสำนักวิจัย มีออฟฟิสโดยได้รับงบประมาณของมหาวิทยาลัยเพียง 2 แสนบาท ในช่วงแรก จากเริ่มแรกที่มีทีมงานนักศึกษา 2-3 คน ปัจจุบันมีพนักงานถึง 300-400 คนที่ทำงานประจำ โครงสร้างขององค์กร มีพนักงานประจำโครงการ,พนักงานประจำเอแบคโพล และ เจ้าหน้าที่ประจำมหาวิทยาลัย โดยในส่วนเจ้าหน้าที่โครงการเก็บข้อมูล เป็นนักศึกษาจากสถาบันต่าง ๆ 90% ในปี 2545 รัฐบาลส่งตำรวจทหารไปตรวจค้นสำนักวิจัยเอแบคโพลล์ โดยนำเอกสารไปตรวจสอบโดยอ้างว่า มีการวิจัยด้วยอคติหรือไม.
เผดิมชัย สะสมทรัพย์
ผดิมชัย สะสมทรัพย์ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงแรงงาน ในรัฐบาลของนางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงคมนาคม ในรัฐบาลของนายชวน หลีกภัย (2) และสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จังหวัดนครปฐมหลายสมั.
ดู เฉลิม อยู่บำรุงและเผดิมชัย สะสมทรัพย์
เทพชัย หย่อง
ทพชัย หย่อง เทพชัย หย่อง ประธานกรรมการและประธานเจ้าหน้าที่บริหารบริษัท เนชั่น มัลติมีเดีย กรุ๊ป จำกัด (มหาชน)ประธานสมาพันธ์นักหนังสือพิมพ์แห่งประเทศไทย ประธานกรรมการบริษัท เนชั่น บรอดแคสติ้ง คอร์ปอเรชั่น จำกัด (มหาชน) กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิในคณะกรรมการบริหารศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธรอดีตผู้อำนวยการองค์การกระจายเสียงและแพร่ภาพสาธารณะแห่งประเทศไทยและสถานีโทรทัศน์ไทยพีบีเอสคนแรก อดีตบรรณาธิการเครือเนชั่น อดีตพิธีกรร่วมรายการ สยามเช้านี้ อดีตผู้อำนวยการฝ่ายข่าวไอทีวี โดยเป็นผู้ประกาศข่าวสถานีโทรทัศน์ไอทีวี คู่แรกร่วมกับกิตติ สิงหาปั.
ดู เฉลิม อยู่บำรุงและเทพชัย หย่อง
เขตบางบอน
ตบางบอน เป็น 1 ใน 50 เขตการปกครองหลักของกรุงเทพมหานคร อยู่ในกลุ่มเขตกรุงธนใต้ สภาพทั่วไปทางด้านตะวันออกของเขตเป็นแหล่งที่อยู่อาศัยหนาแน่นน้อยและหนาแน่นปานกลาง โดยมีย่านการค้าและเขตอุตสาหกรรมภายในพื้นที่ ส่วนทางด้านตะวันตกเป็นแหล่งที่อยู่อาศัยหนาแน่นน้อยและเขตเกษตรกรรม.
ดู เฉลิม อยู่บำรุงและเขตบางบอน
เขตภาษีเจริญ
ตภาษีเจริญ เป็น 1 ใน 50 เขตการปกครองของกรุงเทพมหานคร อยู่ในกลุ่มเขตกรุงธนใต้ สภาพโดยทั่วไปมีลักษณะกึ่งชนบทกึ่งชุมชนเมือง แต่ในพื้นที่เนื่องจากมีการขยายตัวของระบบสาธารณูปโภค (โดยเฉพาะด้านการคมนาคม) จึงเกิดการเปลี่ยนแปลงจากชุมชนเกษตรเป็นชุมชนเมืองมากขึ้น.
ดู เฉลิม อยู่บำรุงและเขตภาษีเจริญ
เปรม ติณสูลานนท์
ลเอก พลเรือเอก พลอากาศเอก เปรม ติณสูลานนท์ ประธานองคมนตรี รัฐบุรุษ อดีตผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ในสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร และนายกรัฐมนตรีไทยคนที่ 16 ดำรงตำแหน่ง 3 สมัย ระหว่างปี..
ดู เฉลิม อยู่บำรุงและเปรม ติณสูลานนท์
10 มิถุนายน
วันที่ 10 มิถุนายน เป็นวันที่ 161 ของปี (วันที่ 162 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 204 วันในปีนั้น.
ดู เฉลิม อยู่บำรุงและ10 มิถุนายน
11 สิงหาคม
วันที่ 11 สิงหาคม เป็นวันที่ 223 ของปี (วันที่ 224 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 142 วันในปีนั้น.
ดู เฉลิม อยู่บำรุงและ11 สิงหาคม
12 มกราคม
วันที่ 12 มกราคม เป็นวันที่ 12 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 353 วันในปีนั้น (354 วันในปีอธิกสุรทิน).
ดู เฉลิม อยู่บำรุงและ12 มกราคม
13 กรกฎาคม
วันที่ 13 กรกฎาคม เป็นวันที่ 194 ของปี (วันที่ 195 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 171 วันในปีนั้น.
ดู เฉลิม อยู่บำรุงและ13 กรกฎาคม
2 สิงหาคม
วันที่ 2 สิงหาคม เป็นวันที่ 214 ของปี (วันที่ 215 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 151 วันในปีนั้น.
ดู เฉลิม อยู่บำรุงและ2 สิงหาคม
2 ธันวาคม
วันที่ 2 ธันวาคม เป็นวันที่ 336 ของปี (วันที่ 337 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 29 วันในปีนั้น.
ดู เฉลิม อยู่บำรุงและ2 ธันวาคม
21 ตุลาคม
วันที่ 21 ตุลาคม เป็นวันที่ 294 ของปี (วันที่ 295 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 71 วันในปีนั้น.
ดู เฉลิม อยู่บำรุงและ21 ตุลาคม
22 พฤศจิกายน
วันที่ 22 พฤศจิกายน เป็นวันที่ 326 ของปี (วันที่ 327 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 39 วันในปีนั้น.
ดู เฉลิม อยู่บำรุงและ22 พฤศจิกายน
23 มีนาคม
วันที่ 23 มีนาคม เป็นวันที่ 82 ของปี (วันที่ 83 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 283 วันในปีนั้น.
ดู เฉลิม อยู่บำรุงและ23 มีนาคม
24 พฤศจิกายน
วันที่ 24 พฤศจิกายน เป็นวันที่ 328 ของปี (วันที่ 329 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 37 วันในปีนั้น.
ดู เฉลิม อยู่บำรุงและ24 พฤศจิกายน
24 กันยายน
วันที่ 24 กันยายน เป็นวันที่ 267 ของปี (วันที่ 268 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 98 วันในปีนั้น.
ดู เฉลิม อยู่บำรุงและ24 กันยายน
30 มิถุนายน
วันที่ 30 มิถุนายน เป็นวันที่ 181 ของปี (วันที่ 182 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 184 วันในปีนั้น.
ดู เฉลิม อยู่บำรุงและ30 มิถุนายน
31 พฤษภาคม
วันที่ 31 พฤษภาคม เป็นวันที่ 151 ของปี (วันที่ 152 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 214 วันในปีนั้น.
ดู เฉลิม อยู่บำรุงและ31 พฤษภาคม
5 ตุลาคม
วันที่ 5 ตุลาคม เป็นวันที่ 278 ของปี (วันที่ 279 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 87 วันในปีนั้น.
6 กุมภาพันธ์
วันที่ 6 กุมภาพันธ์ เป็นวันที่ 37 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 328 วันในปีนั้น (329 วันในปีอธิกสุรทิน).
ดู เฉลิม อยู่บำรุงและ6 กุมภาพันธ์
7 พฤษภาคม
วันที่ 7 พฤษภาคม เป็นวันที่ 127 ของปี (วันที่ 128 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 238 วันในปีนั้น.
ดู เฉลิม อยู่บำรุงและ7 พฤษภาคม
ดูเพิ่มเติม
ตำรวจชาวไทย
- จักรทิพย์ ชัยจินดา
- จำเริญ ทรงกิตรัตน์
- ชิดชัย วรรณสถิตย์
- ทักษิณ ชินวัตร
- พงศพัศ พงษ์เจริญ
- พงศ์พัฒน์ ฉายาพันธุ์
- พุ่ม เจนเซน
- ยอดรัก สลักใจ
- วิจารณ์ พลฤทธิ์
- วิชัย สังข์ประไพ
- ศรีสะเกษ ศ.รุ่งวิสัย
- สมยศ พุ่มพันธุ์ม่วง
- สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี
- อนันต์ ฉายแสง
- เกียรติศักดิ์ เสนาเมือง
- เฉลิม อยู่บำรุง
- เผ่า ศรียานนท์
- เภา สารสิน
- เสรีพิศุทธ์ เตมียเวส
- แทมมารีน ธนสุกาญจน์
- โกวิท วัฒนะ
นักการเมืองพรรคเพื่อไทย
- การุณ โหสกุล
- กิตติรัตน์ ณ ระนอง
- ก่อแก้ว พิกุลทอง
- จตุพร พรหมพันธุ์
- จารุพงศ์ เรืองสุวรรณ
- ชลน่าน ศรีแก้ว
- ชวลิต ยงใจยุทธ
- ณัฐวุฒิ ใสยเกื้อ
- ธีระชัย ภูวนาถนรานุบาล
- นิวัฒน์ธำรง บุญทรงไพศาล
- ประชา ประสพดี
- ปานปรีย์ พหิทธานุกร
- พงศพัศ พงษ์เจริญ
- พรพิมล ธรรมสาร
- พัลลภ ปิ่นมณี
- ยงยุทธ วิชัยดิษฐ
- ยิ่งลักษณ์ ชินวัตร
- ยุรนันท์ ภมรมนตรี
- วรวีร์ มะกูดี
- วิชาญ มีนชัยนันท์
- สมพงษ์ อมรวิวัฒน์
- สมศักดิ์ เกียรติสุรนนท์
- สมศักดิ์ ใจแคล้ว
- สุชาติ ธาดาธำรงเวช
- สุดารัตน์ เกยุราพันธุ์
- สุรพงษ์ โตวิจักษณ์ชัยกุล
- สุรวิทย์ คนสมบูรณ์
- อภิวันท์ วิริยะชัย
- เฉลิม อยู่บำรุง
- เมืองชัย กิตติเกษม
- เสนาะ เทียนทอง
- เหวง โตจิราการ
- แพทองธาร ชินวัตร
บุคคลจากมหาวิทยาลัยรามคำแหง
- กฤษ ศรีฟ้า
- กวิยณัฎฐ์ แฮร์มันน์
- ทัช ณ ตะกั่วทุ่ง
- ธรรพ์ณธร ปาลกะวงศ์ ณ อยุธยา
- ฝนทิพย์ วัชรตระกูล
- ยุทธ อังกินันทน์
- หลุยส์ เฮสดาร์ซัน
- อนุชา นาคาศัย
- เจิมมาศ จึงเลิศศิริ
- เฉลิม อยู่บำรุง
- เทพไท เสนพงศ์
- เมลดา สุศรี
ผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมืองในกรุงเทพมหานคร
- กอบกาญจน์ วัฒนวรางกูร
- กันตธีร์ ศุภมงคล
- การุณ โหสกุล
- จำลอง ศรีเมือง
- ชวรัตน์ ชาญวีรกูล
- ชัชชาติ สิทธิพันธุ์
- ชาติชาย ชุณหะวัณ
- ชูวิทย์ กมลวิศิษฎ์
- ธนาธร จึงรุ่งเรืองกิจ
- ประวิตร วงษ์สุวรรณ
- พจน์ สารสิน
- พระยามโนปกรณ์นิติธาดา (ก้อน หุตะสิงห์)
- พิชัย รัตตกุล
- มารุต บุนนาค
- มิ่งขวัญ แสงสุวรรณ์
- วิชาญ มีนชัยนันท์
- ศิริโชค โสภา
- สฤษดิ์ ธนะรัชต์
- สุริยะ จึงรุ่งเรืองกิจ
- สุรเกียรติ์ เสถียรไทย
- สุวิทย์ เมษินทรีย์
- หม่อมราชวงศ์สุขุมพันธุ์ บริพัตร
- อนุทิน ชาญวีรกูล
- อรรชกา สีบุญเรือง
- อุตตม สาวนายน
- เจิมมาศ จึงเลิศศิริ
- เจ้าพระยาบดินทรเดชา (สิงห์ สิงหเสนี)
- เฉลิม อยู่บำรุง
- ไกรศักดิ์ ชุณหะวัณ
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทยไทย
- คงศักดิ์ วันทนา
- ควง อภัยวงศ์
- จารุพงศ์ เรืองสุวรรณ
- ชวรัตน์ ชาญวีรกูล
- ชวลิต ยงใจยุทธ
- ชิดชัย วรรณสถิตย์
- ถวัลย์ ธำรงนาวาสวัสดิ์
- ทวี บุณยเกตุ
- บรรหาร ศิลปอาชา
- บัญญัติ บรรทัดฐาน
- ประภาส จารุเสถียร
- ประมาณ อดิเรกสาร
- ปรีดี พนมยงค์
- พระยาพหลพลพยุหเสนา (พจน์ พหลโยธิน)
- ยงยุทธ วิชัยดิษฐ
- วันมูหะมัดนอร์ มะทา
- สนั่น ขจรประศาสน์
- สมัคร สุนทรเวช
- สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาดำรงราชานุภาพ
- สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าบริพัตรสุขุมพันธุ์ กรมพระนครสวรรค์วรพินิต
- สุรยุทธ์ จุลานนท์
- หม่อมราชวงศ์คึกฤทธิ์ ปราโมช
- หม่อมราชวงศ์เสนีย์ ปราโมช
- อนุพงษ์ เผ่าจินดา
- อิสระพงศ์ หนุนภักดี
- เกรียงศักดิ์ ชมะนันทน์
- เจ้าพระยายมราช (ปั้น สุขุม)
- เฉลิม อยู่บำรุง
- เผ่า ศรียานนท์
- เภา สารสิน
- เสนาะ เทียนทอง
- แปลก พิบูลสงคราม
- โกวิท วัฒนะ
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรมไทย
- จาตุรนต์ ฉายแสง
- ชวน หลีกภัย
- ชิดชัย วรรณสถิตย์
- ดิเรก ชัยนาม
- ถวัลย์ ธำรงนาวาสวัสดิ์
- ประจิน จั่นตอง
- พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหลวงพิชิตปรีชากร
- พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหลวงราชบุรีดิเรกฤทธิ์
- สมพงษ์ อมรวิวัฒน์
- สมศักดิ์ เกียรติสุรนนท์
- สมศักดิ์ เทพสุทิน
- สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระสวัสดิวัดนวิศิษฎ์
- สุวพันธุ์ ตันยุวรรธนะ
- สุวัจน์ ลิปตพัลลภ
- หม่อมราชวงศ์เสนีย์ ปราโมช
- เฉลิม อยู่บำรุง
หรือที่รู้จักกันในชื่อ ร.ต.อ.เฉลิม อยู่บำรุงเหลิม