โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

พรรคเพื่อไทย

ดัชนี พรรคเพื่อไทย

รรคเพื่อไทย (ย่อว่า: พท. Pheu Thai Party) จดทะเบียนจัดตั้ง เมื่อวันที่ 20 กันยายน พ.ศ. 2550 โดยมี นายบัณจงศักดิ์ วงศ์รัตนวรรณ เป็นหัวหน้าพรรคคนแรก และ นายโอฬาร กิจเลิศไพโรจน์ เป็นเลขาธิการพรรคคนแรก สำนักงานใหญ่ของพรรค ตั้งอยู่ที่ 1770 อาคารไอเอฟซีที ถนนเพชรบุรีตัดใหม่ แขวงบางกะปิ เขตห้วยขวาง กรุงเทพมหานคร รหัสไปรษณีย์ 10310 ซึ่งเป็นที่ทำการเดิมของพรรคไทยรักไทย และพรรคพลังประชาชน (ย้ายมาจากอาคารนวสร ถนนพระรามที่ 3 แขวงบางคอแหลม เขตบางคอแหลม กรุงเทพมหานคร และ 626 อาคาร บีบีดี บิลดิง ซอยจินดาถวิล ถนนพระรามที่ 4 แขวงมหาพฤฒาราม เขตบางรัก กรุงเทพมหานคร 10500) และสำนักงานสาขาพรรคแห่งแรก ตั้งอยู่ที่จังหวัดพิจิตร ซึ่งเป็นสาขาพรรคพลังประชาชนเดิม.

148 ความสัมพันธ์: ชลน่าน ศรีแก้วชวรัตน์ ชาญวีรกูลชวลิต วิชยสุทธิ์บัญญัติ บรรทัดฐานชัจจ์ กุลดิลกบัณจงศักดิ์ วงศ์รัตนวรรณชาติบุญจง วงศ์ไตรรัตน์พ.ศ. 2476พ.ศ. 2485พ.ศ. 2489พ.ศ. 2495พ.ศ. 2496พ.ศ. 2502พ.ศ. 2505พ.ศ. 2506พ.ศ. 2514พ.ศ. 2550พ.ศ. 2551พ.ศ. 2552พ.ศ. 2553พ.ศ. 2554พ.ศ. 2555พ.ศ. 2556พรรคชาติพัฒนา (พ.ศ. 2550)พรรคชาติไทยพัฒนาพรรคพลังประชาชนพรรคประชาราชพรรคไทยรักไทยพรรคเพื่อแผ่นดินพร้อมพงศ์ นพฤทธิ์พงศพัศ พงษ์เจริญพงศกร อรรณนพพรกรมที่ดินกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ (ประเทศไทย)กระทรวงยุติธรรม (ประเทศไทย)กระทรวงคมนาคม (ประเทศไทย)กระทรวงแรงงาน (ประเทศไทย)กรุงเทพมหานครกรณ์ จาติกวณิชกษิต ภิรมย์การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2554การเลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2552การเลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2556กิตติรัตน์ ณ ระนองกิตติศักดิ์ หัตถสงเคราะห์ฐิติมา ฉายแสงภูมิธรรม เวชยชัยมิ่งขวัญ แสงสุวรรณ...ยิ่งลักษณ์ ชินวัตรยุรนันท์ ภมรมนตรียงยุทธ วิชัยดิษฐรหัสไปรษณีย์รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงมหาดไทยของไทยรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลังของไทยรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทยของไทยรัฐมนตรีว่าการกระทรวงคมนาคมของไทยรัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรีไทยราชกิจจานุเบกษารายนามปลัดกระทรวงมหาดไทยแห่งราชอาณาจักรไทยวรวีร์ มะกูดีวันอาทิตย์วิชาญ มีนชัยนันท์วิสาระดี เตชะธีราวัฒน์วิทยา บุรณศิริวิโรจน์ เปาอินทร์ศักดา นพสิทธิ์สภาผู้แทนราษฎรสภาผู้แทนราษฎรไทยสมชาย เพศประเสริฐสมศักดิ์ เกียรติสุรนนท์สมโภช สายเทพสันติ พร้อมพัฒน์สุชาติ ธาดาธำรงเวชสุพล ฟองงามสุรพงษ์ โตวิจักษณ์ชัยกุลสุณีย์ เหลืองวิจิตรสุเมธ โพธิ์มณีสีขาวสีน้ำเงินสีแดงสง่า ธนสงวนวงศ์อภิชาต สุขัคคานนท์อภิสิทธิ์ เวชชาชีวะอรุณลักษณ์ กิจเลิศไพโรจน์อักษรย่ออักษรไทยอนุรักษ์ บุญศลอนุตตมา อมรวิวัฒน์ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครจังหวัดพิจิตรจารุพงศ์ เรืองสุวรรณจิรายุ ห่วงทรัพย์ธงชาติไทยถนนพระรามที่ 3ถนนพระรามที่ 4ถนนเพชรบุรีทวีศักดิ์ อนรรฆพันธ์ทนุศักดิ์ เล็กอุทัยดนุพร ปุณณกันต์คณวัฒน์ วศินสังวรคณะกรรมการการเลือกตั้ง (ประเทศไทย)ประชา พรหมนอกประชา ประสพดีประยุทธ์ ศิริพานิชย์ประดิษฐ์ ภัทรประสิทธิ์ประเสริฐ จันทรรวงทองปรีชาพล พงษ์พานิชปลอดประสพ สุรัสวดีปานปรีย์ พหิทธานุกรนายกรัฐมนตรีโอฬาร กิจเลิศไพโรจน์ไทยสยามเชษฐา ฐานะจาโรเกรียง กัลป์ตินันท์เสนาะ เทียนทองเอกธนัช อินทร์รอดเอ็มไทยเขตบางรักเขตบางคอแหลมเขตห้วยขวางเฉลิม อยู่บำรุง14 กันยายน14 มิถุนายน15 กรกฎาคม15 กันยายน15 กุมภาพันธ์15 สิงหาคม19 พฤศจิกายน20 กันยายน20 มีนาคม20 เมษายน21 กันยายน21 ตุลาคม25 พฤศจิกายน26 เมษายน27 สิงหาคม3 พฤษภาคม3 กรกฎาคม30 ธันวาคม30 ตุลาคม4 ตุลาคม5 กรกฎาคม5 ธันวาคม7 ธันวาคม8 สิงหาคม8 ตุลาคม ขยายดัชนี (98 มากกว่า) »

ชลน่าน ศรีแก้ว

นายแพทย์ชลน่าน ศรีแก้ว เป็นรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงสาธารณสุข ในรัฐบาลนางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร และเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จังหวัดน่าน เขต 2 สังกัดพรรคเพื่อไทย เคยได้รับการยกย่องเป็น "ดาวเด่นสภาฯ" จากการตั้งฉายานักการเมือง ของสื่อมวลชนประจำปี พ.ศ. 2552.

ใหม่!!: พรรคเพื่อไทยและชลน่าน ศรีแก้ว · ดูเพิ่มเติม »

ชวรัตน์ ชาญวีรกูล

วรัตน์ ชาญวีรกูล อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย อดีตหัวหน้าพรรคภูมิใจไทย อดีตรองนายกรัฐมนตรีในรัฐบาลนายสมชาย วงศ์สวัสดิ์ เป็นผู้ปฏิบัติหน้าที่แทนนายกรัฐมนตรีนับตั้งแต่วันที่ 2 ธันวาคม พ.ศ. 2551 หลังนายสมชายพ้นจากตำแหน่งนายกรัฐมนตรีและถูกตัดสิทธิทางการเมืองจากตำแหน่งกรรมการบริหารพรรคพลังประชาชนเป็นเวลา 5 ปี ด้วยคำพิพากษาศาลรัฐธรรมนูญในคดียุบพรรคการเมือง พ.ศ. 2551.

ใหม่!!: พรรคเพื่อไทยและชวรัตน์ ชาญวีรกูล · ดูเพิ่มเติม »

ชวลิต วิชยสุทธิ์

นายชวลิต วิชยสุทธิ์ เป็นอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบบัญชีรายชื่อ สังกัดพรรคเพื่อไทย เป็นอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดนครพนม 2 สมัย ได้รับเลือกตั้งครั้งแรก ในการเลือกตั้ง..

ใหม่!!: พรรคเพื่อไทยและชวลิต วิชยสุทธิ์ · ดูเพิ่มเติม »

บัญญัติ บรรทัดฐาน

ัญญัติ บรรทัดฐาน กรรมการที่ปรึกษาพรรคประชาธิปัตย์ อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบบัญชีรายชื่อ สังกัดพรรคประชาธิปัตย์ และอดีตหัวหน้าพรรคประชาธิปัต.

ใหม่!!: พรรคเพื่อไทยและบัญญัติ บรรทัดฐาน · ดูเพิ่มเติม »

ชัจจ์ กุลดิลก

ลตำรวจโท นายกองเอก ชัจจ์ กุลดิลก อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงมหาดไทย และอดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงคมนาคม ในรัฐบาลนางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบบัญชีรายชื่อ อดีตรองหัวหน้าพรรคเพื่อไทย เคยดำรงตำแหน่งผู้บัญชาการตำรวจสอบสวนกลาง (บช.ก.) และที่ปรึกษาหนังสือพิมพ์มหาประชาชนฉบับความจริงวันนี้.

ใหม่!!: พรรคเพื่อไทยและชัจจ์ กุลดิลก · ดูเพิ่มเติม »

บัณจงศักดิ์ วงศ์รัตนวรรณ

นายบัณจงศักดิ์ วงศ์รัตนวรรณ อดีตหัวหน้าพรรคเพื่อไทยคนแรก ดำรงตำแหน่งในระหว่างปี พ.ศ. 2550 ถึง พ.ศ. 2551.

ใหม่!!: พรรคเพื่อไทยและบัณจงศักดิ์ วงศ์รัตนวรรณ · ดูเพิ่มเติม »

ชาติ

ติ หมายถึงกลุ่มคนที่มีภาษา วัฒนธรรม และ/หรือ เชื้อชาติ เดียวกันหรือใกล้เคียงกัน ต้องมีจุดร่วมของการเป็นชาติด้วย เช่น มีประวัติศาสตร์ วัฒนธรรมที่สืบต่อกันมา หรือมีเป้าหมายที่ดีสำหรับการรวมเป็นชาติเดียวกัน.

ใหม่!!: พรรคเพื่อไทยและชาติ · ดูเพิ่มเติม »

บุญจง วงศ์ไตรรัตน์

นายกองเอกบุญจง วงศ์ไตรรัตน์ (เกิด: 14 มกราคม 2504–ปัจจุบัน) อดีตรองหัวหน้าพรรคภูมิใจไทย คนที่ 1 อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงมหาดไทย ในรัฐบาลของนายอภิสิทธิ์ เวชชาชีว.

ใหม่!!: พรรคเพื่อไทยและบุญจง วงศ์ไตรรัตน์ · ดูเพิ่มเติม »

พ (พาน) เป็นพยัญชนะ ตัวที่ 30 ในบรรดาพยัญชนะ 44 ตัวของอักษรไทย ในลำดับถัดจาก ฝ (ฝา) และก่อนหน้า ฟ (ฟัน) จัดอยู่ในกลุ่มอักษรต่ำ ในระบบไตรยางศ์ มีชื่อเรียกกำกับว่า “พ พาน” อักษร พ เป็นได้ทั้งพยัญชนะต้น ให้เสียง /pʰ/ และพยัญชนะสะกด ให้เสียง /p̚/ หมวดหมู่:อักษรไทย.

ใหม่!!: พรรคเพื่อไทยและพ · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2476

ทธศักราช 2476 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1933.

ใหม่!!: พรรคเพื่อไทยและพ.ศ. 2476 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2485

ทธศักราช 2485 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1942 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดีตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ใหม่!!: พรรคเพื่อไทยและพ.ศ. 2485 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2489

ทธศักราช 2489 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1946 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคารตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: พรรคเพื่อไทยและพ.ศ. 2489 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2495

ทธศักราช 2495 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1952.

ใหม่!!: พรรคเพื่อไทยและพ.ศ. 2495 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2496

ทธศักราช 2496 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1953 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดี ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: พรรคเพื่อไทยและพ.ศ. 2496 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2502

ทธศักราช 2502 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1959 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดี ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: พรรคเพื่อไทยและพ.ศ. 2502 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2505

ทธศักราช 2505 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1962 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ใหม่!!: พรรคเพื่อไทยและพ.ศ. 2505 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2506

ทธศักราช 2506 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1963 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคารตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: พรรคเพื่อไทยและพ.ศ. 2506 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2514

ทธศักราช 2514 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1971 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันศุกร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: พรรคเพื่อไทยและพ.ศ. 2514 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2550

ทธศักราช 2550 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2007 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ใหม่!!: พรรคเพื่อไทยและพ.ศ. 2550 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2551

ทธศักราช 2551 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2008 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคารตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ใหม่!!: พรรคเพื่อไทยและพ.ศ. 2551 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2552

ทธศักราช 2552 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2009 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดีตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็นปีสุดท้ายในคริสต์ทศวรรษ 2000.

ใหม่!!: พรรคเพื่อไทยและพ.ศ. 2552 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2553

ทธศักราช 2553 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2010 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันศุกร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็นปีแรกในคริสต์ทศวรรษที่ 2010.

ใหม่!!: พรรคเพื่อไทยและพ.ศ. 2553 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2554

ทธศักราช 2554 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2011 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ใหม่!!: พรรคเพื่อไทยและพ.ศ. 2554 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2555

ทธศักราช 2555 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2012 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็นปีมะโรง จัตวาศก จุลศักราช 1374 (วันที่ 15 เมษายน เป็นวันเถลิงศก) สมัชชาใหญ่แห่งสหประชาชาติประกาศให้..

ใหม่!!: พรรคเพื่อไทยและพ.ศ. 2555 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2556

ทธศักราช 2556 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2013 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคารตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ใหม่!!: พรรคเพื่อไทยและพ.ศ. 2556 · ดูเพิ่มเติม »

พรรคชาติพัฒนา (พ.ศ. 2550)

รรคชาติพัฒนา หรือในชื่อเดิมว่า รวมชาติพัฒนา และ รวมใจไทยชาติพัฒนา และ ชาติพัฒนาเพื่อแผ่นดิน เป็นพรรคการเมืองที่ก่อตั้งขึ้นในปี พ.ศ. 2550 โดยสมาชิกส่วนใหญ่เป็นสมาชิกจากพรรคการเมืองที่เคยมีอยู่แล้ว อาทิ กลุ่มของนายสุวัจน์ ลิปตพัลลภ เป็นต้น จัดตั้งเป็นพรรคการเมืองโดยรวม กลุ่มรวมใจไทย เข้ากับ พรรคชาติพัฒนา มีบุคคลสำคัญทางการเมืองหลายคนเข้าร่วม เช่น นายประดิษฐ์ ภัทรประสิทธิ์, ดร.พิจิตต รัตตกุล, รศ.ดร.เอนก เหล่าธรรมทัศน์, นายอุทัย พิมพ์ใจชน, นายสมคิด จาตุศรีพิทักษ์ เป็นต้น ในวันที่ 15 ตุลาคม..

ใหม่!!: พรรคเพื่อไทยและพรรคชาติพัฒนา (พ.ศ. 2550) · ดูเพิ่มเติม »

พรรคชาติไทยพัฒนา

รรคชาติไทยพัฒนา (Chartthaipattana Party) ก่อตั้งเมื่อ 18 เมษายน พ.ศ. 2551 โดยมีนายกฤต รัตนคามินี เป็นหัวหน้าพรรคคนแรก ต่อมานายชุมพล ศิลปอาชา ได้รับเลือกเป็นหัวหน้าพรรค นายพันธุ์เทพ สุลีสถิร เป็นเลขาธิการพรรค และนายวัชระ กรรณิการ์ เป็นโฆษกพรรค กระทั่งในปี..

ใหม่!!: พรรคเพื่อไทยและพรรคชาติไทยพัฒนา · ดูเพิ่มเติม »

พรรคพลังประชาชน

อาจหมายถึง.

ใหม่!!: พรรคเพื่อไทยและพรรคพลังประชาชน · ดูเพิ่มเติม »

พรรคประชาราช

รรคประชาราช (Royal People Party, ย่อว่า: ปชร.) เป็นพรรคการเมืองที่ก่อตั้งโดยนายเสนาะ เทียนทอง เพื่อที่จะดำเนินงานทางการเมืองหลังลาออกมาจากพรรคไทยรักไทย ได้รับอนุมัติจากคณะกรรมการการเลือกตั้งให้ตั้งเป็นพรรคเมื่อวันที่ 10 มกราคม..

ใหม่!!: พรรคเพื่อไทยและพรรคประชาราช · ดูเพิ่มเติม »

พรรคไทยรักไทย

รรคไทยรักไทย จดทะเบียนก่อตั้งเมื่อวันที่ 14 กรกฎาคม พ.ศ. 2541 เป็นพรรคการเมืองแรกที่ก่อตั้งขึ้นภายใต้ รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540 โดยมีผู้ร่วมก่อตั้ง 23 คน นำโดย ดร.ทักษิณ ชินวัตร ปัจจุบันพรรคไทยรักไทย ถูกยุบตามคำวินิจฉัยใน คดียุบพรรค มีหัวหน้าพรรคคนสุดท้ายคือ จาตุรนต์ ฉายแสง พรรคไทยรักไทยมีสมาชิกพรรคที่แจ้งต่อนายทะเบียนพรรคการเมือง ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2548 ถึงประมาณ 14 ล้านคน (14,394,404 คน) พรรคไทยรักไทย เป็นพรรคการเมืองแรก ที่ผู้สมัครได้รับเลือกตั้ง เป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เกินกึ่งหนึ่งของจำนวน..ทั้งหมด ในการเลือกตั้งทั่วไป พ.ศ. 2548 โดยได้รับการเลือกตั้งถึง 376 ที่นั่ง จากจำนวนที่นั่งในสภาผู้แทนราษฎร 500 ที่นั่ง เอาชนะพรรคคู่แข่งคือ พรรคประชาธิปัตย์ที่ได้เพียง 96 ที่นั่ง ทำให้เป็นพรรคการเมืองแรก ที่สามารถจัดตั้งรัฐบาลพรรคเดียวได้สำเร็จ การบริหารงานของ พรรคไทยรักไทย เป็นที่รับทราบโดยทั่วไป ในการเน้นนโยบายประชานิยมผ่านโครงการต่างๆ ที่เคยหาเสียงไว้ เช่น โครงการกองทุนหมู่บ้าน โครงการ 30 บาทรักษาทุกโรค โครงการพักชำระหนี้เกษตรกร โครงการหนึ่งตำบลหนึ่งผลิตภัณฑ์ และ บ้านเอื้ออาทร แต่หลายโครงการมีปัญหาในการดำเนินการ และมีคำถามเรื่องความโปร่งใส และความพร้อมตรวจสอบ พรรคไทยรักไทย ถูกตุลาการรัฐธรรมนูญวินิจฉัยให้ยุบพรรค ด้วยมติเอกฉันท์ 9 ต่อ 0 เสียง เมื่อวันที่ 30 พฤษภาคม พ.ศ. 2550 และ กรรมการบริหารพรรคไทยรักไทย ถูกวินิจฉัยเพิกถอนสิทธิ์ทางการเมือง เป็นเวลา 5 ปี ด้วยมติ 6 ต่อ 3 เสียง.

ใหม่!!: พรรคเพื่อไทยและพรรคไทยรักไทย · ดูเพิ่มเติม »

พรรคเพื่อแผ่นดิน

รถหาเสียงของพรรคเพื่อแผ่นดิน ที่จังหวัดเชียงใหม่ ในการเลือกตั้งปี พ.ศ. 2550 พรรคเพื่อแผ่นดิน เป็นพรรคการเมืองไทยซึ่งก่อตั้งในกลางปี พ.ศ. 2550 มีนายสุวิทย์ คุณกิตติ เป็นหัวหน้าพรรคคนแรก ในช่วงก่อตั้ง นายสุวิทย์ คุณกิตติ เป็นหัวหน้าพรรคคนแรก ยุทธศาสตร์หาเสียงของพรรคคือ "นำรอยยิ้มกลับสู่สังคมไทย" มีอดีต..ภาคอีสานเป็นสมาชิก เช่น กลุ่มของพินิจ จารุสมบัติ ปรีชา เลาหพงศ์ชนะ วัฒนา อัศวเหม โสภณ เพชรสว่าง กลุ่มอดีต..

ใหม่!!: พรรคเพื่อไทยและพรรคเพื่อแผ่นดิน · ดูเพิ่มเติม »

พร้อมพงศ์ นพฤทธิ์

ร.พร้อมพงศ์ นพฤทธิ์ (ชื่อเดิม: นพพร ชื่อเล่น: ตั้ม) สำเนาจาก หนังสือพิมพ์ไทยรัฐ, 12 เมษายน 2550 อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร แบบบัญชีรายชื่อ โฆษกพรรคเพื่อไทย อดีตโฆษกกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ อดีตโฆษกกระทรวงวัฒนธรรม อดีตที่ปรึกษารัฐมนตรีว่าการกระทรวงวัฒนธรรม และอดีตนักแสดง.

ใหม่!!: พรรคเพื่อไทยและพร้อมพงศ์ นพฤทธิ์ · ดูเพิ่มเติม »

พงศพัศ พงษ์เจริญ

ลตำรวจเอก พงศพัศ พงษ์เจริญ สมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ อดีตกรรมการอื่นในคณะกรรมการธนาคารอาคารสงเคราะห์ อดีตรองผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติ, อดีตเลขาธิการคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามยาเสพติด (ป.ป.ส.) และประธานคณะอนุกรรมการ กลั่นกรองการกระทำความผิด เกี่ยวกับยาเสพติดในสถานประกอบการ ในเขตกรุงเทพมหานคร, อดีตที่ปรึกษาสัญญาบัตร 10 (สบ 10) ฝ่ายความมั่นคงและกิจการพิเศษ สำนักงานตำรวจแห่งชาติ, อดีตโฆษกสำนักงานตำรวจแห่งชาติ และอดีตผู้ช่วยผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติ เป็นผู้แทนพรรคเพื่อไทย ในการลงสมัครเข้ารับการเลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2556 อดีตที่ปรึกษาการแก้ไขสถานการณ์ฉุกเฉิน ในรัฐบาล ยิ่งลักษณ์ ชินวัตร.

ใหม่!!: พรรคเพื่อไทยและพงศพัศ พงษ์เจริญ · ดูเพิ่มเติม »

พงศกร อรรณนพพร

นายพงศกร อรรณนพพร รองหัวหน้าพรรคเพื่อไทย อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงศึกษาธิการ ในรัฐบาลของนายสมัคร สุนทรเวช สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จังหวัดขอนแก่น 4 สมั.

ใหม่!!: พรรคเพื่อไทยและพงศกร อรรณนพพร · ดูเพิ่มเติม »

กรมที่ดิน

กรมที่ดิน เป็นหน่วยงานระดับกรม สังกัดกระทรวงมหาดไทย เป็นหน่วยงานที่ดำเนินงานออกหนังสือแสดงสิทธิในที่ดินให้ราษฎรและให้บริการจดทะเบียนสิทธิและนิติกรรมเกี่ยวกับที่ดิน และอสังหาริมทรัพย์อย่างอื่น รวมถึงการจัดที่ทำกินให้ประชาชนตามประมวลกฎหมายที่ดิน.

ใหม่!!: พรรคเพื่อไทยและกรมที่ดิน · ดูเพิ่มเติม »

กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ (ประเทศไทย)

กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ (Ministry of Social Development and Human Security) เป็นหน่วยงานราชการไทยประเภทกระทรวง ทำหน้าที่เกี่ยวกับการพัฒนาสังคม การสร้างความเป็นธรรมและความเสมอภาคในสังคม การส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพและความมั่นคงในชีวิต สถาบันครอบครัวและชุมชน.

ใหม่!!: พรรคเพื่อไทยและกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ (ประเทศไทย) · ดูเพิ่มเติม »

กระทรวงยุติธรรม (ประเทศไทย)

กระทรวงยุติธรรม (Ministry of Justice) เป็นกระทรวงหนึ่งในประเทศไทยก่อตั้งเมื่อ 25 มีนาคม พ.ศ. 2434 เดิมใช้ชื่อว่ากระทรวงยุตติธรรมและมีการเปลี่ยนชื่อเป็นกระทรวงยุติธรรมในวันที่ 12 มีนาคม..

ใหม่!!: พรรคเพื่อไทยและกระทรวงยุติธรรม (ประเทศไทย) · ดูเพิ่มเติม »

กระทรวงคมนาคม (ประเทศไทย)

กระทรวงคมนาคม (Ministry of Transport) เป็นหน่วยงานราชการไทยประเภทกระทรวง มีหน้าที่ยกระดับการให้บริการประชาชน ของระบบโครงสร้างพื้นฐาน และบริการคมนาคมขนส่ง ให้มีความคุ้มค่าและทั่วถึง ทำให้ระบบคมนาคมขนส่ง มีความปลอดภัย มีผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมน้อย และส่งเสริมคุณภาพชีวิต ผสานและเชื่อมโยง โครงข่ายระบบขนส่งมวลชน ระบบขนส่งสาธารณะ ทั้งคนและสินค้า และขยายโอกาสการเดินทางสัญจร อย่างเสมอภาคโดยทั่วถึงกัน.

ใหม่!!: พรรคเพื่อไทยและกระทรวงคมนาคม (ประเทศไทย) · ดูเพิ่มเติม »

กระทรวงแรงงาน (ประเทศไทย)

กระทรวงแรงงาน (Ministry of Labour) เป็นหน่วยงานระดับกระทรวงของประเทศไทย เดิมคือ กระทรวงแรงงานและสวัสดิการสังคม.

ใหม่!!: พรรคเพื่อไทยและกระทรวงแรงงาน (ประเทศไทย) · ดูเพิ่มเติม »

กรุงเทพมหานคร

กรุงเทพมหานคร เป็นเมืองหลวงและนครที่มีประชากรมากที่สุดของประเทศไทย เป็นศูนย์กลางการปกครอง การศึกษา การคมนาคมขนส่ง การเงินการธนาคาร การพาณิชย์ การสื่อสาร และความเจริญของประเทศ เป็นเมืองที่มีชื่อยาวที่สุดในโลก ตั้งอยู่บนสามเหลี่ยมปากแม่น้ำเจ้าพระยา มีแม่น้ำเจ้าพระยาไหลผ่านและแบ่งเมืองออกเป็น 2 ฝั่ง คือ ฝั่งพระนครและฝั่งธนบุรี กรุงเทพมหานครมีพื้นที่ทั้งหมด 1,568.737 ตร.กม.

ใหม่!!: พรรคเพื่อไทยและกรุงเทพมหานคร · ดูเพิ่มเติม »

กรณ์ จาติกวณิช

กรณ์ จาติกวณิช (เกิด: 19 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2507) เป็นอดีตรองหัวหน้าพรรคประชาธิปัตย์ และ อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง เนื่องจากรูปร่างที่สูงถึง 193 เซนติเมตร ทำให้ได้สมญานามจากสื่อมวลชนว่า "หล่อโย่ง" ซึ่งตั้งให้เข้าชุดกับอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ หัวหน้าพรรคประชาธิปัตย์ ที่มีสมญานาม "หล่อใหญ่" และสมาชิกพรรครุ่นใหม่คนอื่นๆ เช่น อภิรักษ์ โกษะโยธิน อดีตผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร รองหัวหน้าพรรคประชาธิปัตย์ ที่ได้รับสมญานามว่า "หล่อเล็ก" และหม่อมหลวงอภิมงคล โสณกุล ที่ได้รับสมญานามว่า "หล่อจิ๋ว" ต้นปี..

ใหม่!!: พรรคเพื่อไทยและกรณ์ จาติกวณิช · ดูเพิ่มเติม »

กษิต ภิรมย์

นายกษิต ภิรมย์ อดีตสมาชิกสภาขับเคลื่อนการปฏิรูปประเทศ อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ อดีตรองนายกรัฐมนตรีเงา พรรคประชาธิปัตย์ อดีตเอกอัครราชทูตไทยในหลายประเทศ เกิดวันที่ 15 ธันวาคม พ.ศ. 2487 เป็นบุตรชายของ ศาสตราจารย์พลเรือตรีสมภพ ภิรมย์ ศิลปินแห่งชาติ สาขาทัศนศิลป์ (สถาปัตยกรรม) อดีตอธิบดีกรมศิลปากร และอดีตคณบดีคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร และมหาวิทยาลัยศรีปทุม กับ นางจุนเจือ ภิรมย์ (สกุลเดิม "มุสิกะภุมมะ") นายกษิตสำเร็จการศึกษา ปริญญาตรีสาขาวิเทศสัมพันธ์ (International Affairs) จาก มหาวิทยาลัยจอร์จทาวน์ (Georgetown University) สหรัฐอเมริกา รุ่นเดียวกับประธานาธิบดี บิล คลินตัน แห่งสหรัฐอเมริกา และประธานาธิบดี กลอเรีย อาร์โรโย แห่งฟิลิปปินส์ และ ศึกษาต่อ สาขาความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ (International Relations) ที่ Institute of Social Studies เนเธอร์แลนด์ ก่อนเข้ารับราชการในกระทรวงการต่างประเทศ ยาวนานกว่า 30 ปี เคยดำรงตำแหน่งเอกอัครราชทูตไทยในหลายประเทศ โดยตำแหน่งสุดท้ายก่อนการเกษียณอายุราชการ คือ เอกอัครราชทูต ณ กรุงวอชิงตัน ดีซี สหรัฐอเมริกา ระหว่างการรับราชการที่กระทรวงการต่างประเทศ นายกษิตได้รับการทาบทามจาก นายสุเทพ เทือกสุบรรณ เพื่อนร่วมรุ่นรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ของน้องชายของนายกษิต ให้เข้าร่วมในคณะทำงานของ นายชวน หลีกภัย ขณะดำรงตำแหน่ง รมว.พาณิชย์ และ รมว.เกษตรและสหกรณ์ และมี นายสุเทพ เทือกสุบรรณ เป็นเลขานุการรัฐมนตรี โดยนายกษิตได้รับมอบหมายให้ดูแลการติดต่อกับต่างประเทศ และการต้อนรับบุคคลสำคัญจากต่างประเทศ ในช่วงที.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร รับตำแหน่งนายกรัฐมนตรีในปี..

ใหม่!!: พรรคเพื่อไทยและกษิต ภิรมย์ · ดูเพิ่มเติม »

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2554

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป..

ใหม่!!: พรรคเพื่อไทยและการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2554 · ดูเพิ่มเติม »

การเลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2552

ปสเตอร์รณรงค์ให้ไปใช้สิทธิ์เลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร ในวันที่ 11 มกราคม พ.ศ. 2552 การเลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร..

ใหม่!!: พรรคเพื่อไทยและการเลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2552 · ดูเพิ่มเติม »

การเลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2556

การเลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร..

ใหม่!!: พรรคเพื่อไทยและการเลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2556 · ดูเพิ่มเติม »

กิตติรัตน์ ณ ระนอง

กิตติรัตน์ ณ ระนอง เป็นรองหัวหน้าพรรคเพื่อไทย อดีตรองนายกรัฐมนตรี และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง อดีตประธานกรรมการในคณะกรรมการกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ ในรัฐบาลยิ่งลักษณ์ ชินวัตร อดีตอธิการบดีมหาวิทยาลัยชินวัตร.

ใหม่!!: พรรคเพื่อไทยและกิตติรัตน์ ณ ระนอง · ดูเพิ่มเติม »

กิตติศักดิ์ หัตถสงเคราะห์

นายกิตติศักดิ์ หัตถสงเคราะห์ อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงคมนาคม ในรัฐบาลของนางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร เป็นอดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม และอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดอุดรธานี.

ใหม่!!: พรรคเพื่อไทยและกิตติศักดิ์ หัตถสงเคราะห์ · ดูเพิ่มเติม »

ฐิติมา ฉายแสง

ติมา ฉายแสง เลขานุการรัฐมนตรีว่าการกระทรวงคมนาคม อดีตรองเลขาธิการนายกรัฐมนตรีฝ่ายการเมือง อดีตโฆษกประจำสำนักนายกรัฐมนตรี อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จังหวัดฉะเชิงเทรา สังกัดพรรคเพื่อไทย และเป็นน้องสาวของจาตุรนต์ ฉายแสง.

ใหม่!!: พรรคเพื่อไทยและฐิติมา ฉายแสง · ดูเพิ่มเติม »

ภูมิธรรม เวชยชัย

นายภูมิธรรม เวชยชัย เลขาธิการพรรคเพื่อไทย กรรมการในคณะกรรมการพัฒนาพรรคการเมืองเพื่อการปฎิรูปประเทศตามรัฐธรรมนูญ ตามคำสั่งคณะกรรมการการเลือกตั้งที่ 14/2560 เป็นอดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงคมนาคม ในรัฐบาลของทักษิณ ชินวัตร และอดีตรองเลขาธิการพรรคไทยรักไท.

ใหม่!!: พรรคเพื่อไทยและภูมิธรรม เวชยชัย · ดูเพิ่มเติม »

มิ่งขวัญ แสงสุวรรณ

นายมิ่งขวัญ แสงสุวรรณ อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร พรรคเพื่อไทย อดีตหัวหน้าทีมเศรษฐกิจ พรรคพลังประชาชน อดีตรองนายกรัฐมนตรี อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรม อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงพาณิชย์ อดีตกรรมการผู้อำนวยการใหญ่ บริษัท อสมท จำกัด (มหาชน) คนแรก และผู้อำนวยการองค์การสื่อสารมวลชนแห่งประเทศไทย คนสุดท้.

ใหม่!!: พรรคเพื่อไทยและมิ่งขวัญ แสงสุวรรณ · ดูเพิ่มเติม »

ยิ่งลักษณ์ ชินวัตร

งลักษณ์ ชินวัตร เกิดวันที่ 21 มิถุนายน..

ใหม่!!: พรรคเพื่อไทยและยิ่งลักษณ์ ชินวัตร · ดูเพิ่มเติม »

ยุรนันท์ ภมรมนตรี

รนันท์ ภมรมนตรี หรือ แซม เป็นอดีตนักแสดง พิธีกรรายการโทรทัศน์ นักร้อง และอดีตผู้สมัครรับเลือกตั้งเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรชาวไทย เกิดเมื่อวันที่ 2 มกราคม พ.ศ. 2506 ที่จังหวัด กรุงเทพมหานคร โดยมีผลงานการแสดงทั้งภาพยนตร์และละครที่โดดเด่น อาทิ ปีกมาร คู่กับ นาถยา แดงบุหงา, สวรรค์เบี่ยง คู่กับ มนฤดี ยมาภัย, มายาตวัน คู่กับ ชฎาพร รัตนากร เป็นต้น.

ใหม่!!: พรรคเพื่อไทยและยุรนันท์ ภมรมนตรี · ดูเพิ่มเติม »

ยงยุทธ วิชัยดิษฐ

งยุทธ วิชัยดิษฐ อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร ระบบบัญชีรายชื่อ และอดีตหัวหน้าพรรคเพื่อไทย อดีตรองนายกรัฐมนตรี อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย อดีตปลัดกระทรวงมหาดไทย อดีตอธิบดีกรมที่ดิน อดีตประธานกรรมการการไฟฟ้านครหลวง อดีตประธานกรรมการการประปานครหลวง อดีตประธานกรรมการตรวจสอบของสำนักงานสลากกินแบ่งรัฐบาล และอดีตที่ปรึกษารัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย 2 สมั.

ใหม่!!: พรรคเพื่อไทยและยงยุทธ วิชัยดิษฐ · ดูเพิ่มเติม »

รหัสไปรษณีย์

รหัสไปรษณีย์ เป็นรหัสที่ทางไปรษณีย์ใช้ในการคัดแยกจดหมายเพื่อความสะดวกรวดเร็ว ซึ่งปลายทางแต่ละพื้นที่จะมีการกำหนดรหัสแตกต่างกัน รหัสที่ใช้จะแตกต่างกันไปในแต่ละประเทศ สหรัฐอเมริกาจะใช้ตัวอักษรย่อของรัฐสองตัวตามด้วยตัวเลขห้าหลัก เช่น CA 90210 ที่เรียกว่า ZIP code ส่วนประเทศไทยใช้ตัวเลข 5 หลัก ชาติแรกที่ใช้รหัสไปรษณีย์คือประเทศเยอรมนี เมื่อคริสต์ทศวรรษ 1960.

ใหม่!!: พรรคเพื่อไทยและรหัสไปรษณีย์ · ดูเพิ่มเติม »

รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงมหาดไทยของไทย

รายนามรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงมหาดไท.

ใหม่!!: พรรคเพื่อไทยและรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงมหาดไทยของไทย · ดูเพิ่มเติม »

รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลังของไทย

รายนามเสนาบดีว่าการกรมพระคลังมหาสมบัติ, เสนาบดีว่าการกระทรวงพระคลังมหาสมบัติ และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลังของไท.

ใหม่!!: พรรคเพื่อไทยและรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลังของไทย · ดูเพิ่มเติม »

รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทยของไทย

รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย เป็นตำแหน่งหัวหน้าส่วนราชการของ กระทรวงมหาดไทย โดยตำแหน่งนี้มีขึ้นตั้งแต่ปี พ.ศ. 2435 ในสมัย พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว โดยในช่วงนั้น เรียกตำแหน่งนี้ว่า เสนาบดีกระทรวงมหาดไทย จนกระทั่งหลังจากเหตุการณ์ การปฏิวัติสยาม พ.ศ. 2475 จึงได้เปลื่ยนชื่อตำแหน่งเป็น รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย จนถึงปัจจุบัน ทั้งนี้ ตั้งแต่ พ.ศ. 2498 เป็นต้นมา รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทยมีฐานะเป็นประธานกรรมการและผู้บัญชาการ กองอาสารักษาดินแดน โดยตำแหน่ง และมียศเป็นนายกองใหญ่ ซึ่งเป็นชั้นยศสูงสุดของกองอาสารักษาดินแดน.

ใหม่!!: พรรคเพื่อไทยและรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทยของไทย · ดูเพิ่มเติม »

รัฐมนตรีว่าการกระทรวงคมนาคมของไทย

รายพระนาม รายนาม เสนาบดีและรัฐมนตรีว่าการกระทรวงคมนาคม.

ใหม่!!: พรรคเพื่อไทยและรัฐมนตรีว่าการกระทรวงคมนาคมของไทย · ดูเพิ่มเติม »

รัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรีไทย

รายนามรัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรีของไท.

ใหม่!!: พรรคเพื่อไทยและรัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรีไทย · ดูเพิ่มเติม »

ราชกิจจานุเบกษา

ราชกิจจานุเบกษา (Royal Thai Government Gazette, เรียกสั้น ๆ ว่า Government Gazette) เป็นหนังสือรวบรวมคำประกาศของทางราชการ โดยเริ่มจัดพิมพ์ขึ้นในสมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 4 เมื่อวันจันทร์ ขึ้น 1 ค่ำ เดือน 5 ปีมะเมีย นพศก จุลศักราช 1219 ตรงกับวันที่ 15 มีนาคม พ.ศ. 2401 นับเป็นเอกสารหลักในการแจ้งประกาศ กฎหมาย และคำสั่งทางราชการให้ประชาชนทราบอย่างเป็นทางการจวบจนปัจจุบันนี้ นับเป็นสิ่งพิมพ์ของไทยที่มีอายุยาวนานที่สุด โดยมีสำนักพิมพ์คณะรัฐมนตรีและราชกิจจานุเบกษา สำนักเลขาธิการคณะรัฐมนตรี เป็นผู้รับผิดชอบจัดพิมพ์และเผยแพร.

ใหม่!!: พรรคเพื่อไทยและราชกิจจานุเบกษา · ดูเพิ่มเติม »

รายนามปลัดกระทรวงมหาดไทยแห่งราชอาณาจักรไทย

ปลัดกระทรวงมหาดไทย เป็นข้าราชการพลเรือนสามัญ ประเภทบริหาร ระดับสูง (นักบริหารระดับ 11 เดิม) เป็นตำแหน่งหัวหน้าส่วนราชการระดับกระทรวงของกระทรวงมหาดไทย ปลัดกระทรวงคนหนึ่งมีอำนาจหน้าที่ ดังนี้.

ใหม่!!: พรรคเพื่อไทยและรายนามปลัดกระทรวงมหาดไทยแห่งราชอาณาจักรไทย · ดูเพิ่มเติม »

วรวีร์ มะกูดี

วรวีร์ มะกูดี (ชื่อเล่น: ยี; เกิด 20 พฤศจิกายน พ.ศ. 2494) นายกสมาคมฟุตบอลแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์ คนที่ 16จาก ไทยรัฐ ที่เป็นชาวไทยมุสลิมคนแรก โดยดำรงตำแหน่งต่อเนื่องเป็นวาระที่ 4 และกรรมการบริหารพรรคเพื่อไท.

ใหม่!!: พรรคเพื่อไทยและวรวีร์ มะกูดี · ดูเพิ่มเติม »

วันอาทิตย์

วันอาทิตย์ เป็นวันในสัปดาห์ที่อยู่ระหว่างวันเสาร์กับวันจันทร์ ตามวัฒนธรรมดั้งเดิมของจูเดโอ-คริสเตียน วันอาทิตย์ถือเป็นวันแรกของสัปดาห์ แต่ต่อมาในช่วงกลางคริสต์ศตวรรษที่ 20 ก็มีการนับให้วันอาทิตย์เป็นวันที่ 7 ของสัปดาห์ (และให้วันจันทร์เป็นวันที่หนึ่งแทน) ตามที่ระบุไว้ใน ISO 8601 อย่างไรก็ตามในบางวัฒนธรรมยังกำหนดให้วันอาทิตย์เป็นวันแรกของสัปดาห์อยู.

ใหม่!!: พรรคเพื่อไทยและวันอาทิตย์ · ดูเพิ่มเติม »

วิชาญ มีนชัยนันท์

นายวิชาญ มีนชัยนาน.

ใหม่!!: พรรคเพื่อไทยและวิชาญ มีนชัยนันท์ · ดูเพิ่มเติม »

วิสาระดี เตชะธีราวัฒน์

วิสาระดี เตชะธีราวัฒน์ อดีตรองโฆษกพรรคเพื่อไทย และสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จังหวัดเชียงร.

ใหม่!!: พรรคเพื่อไทยและวิสาระดี เตชะธีราวัฒน์ · ดูเพิ่มเติม »

วิทยา บุรณศิริ

วิทยา บุรณศิริ อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข ในคณะรัฐมนตรีคณะที่ 60 ของไทย สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดพระนครศรีอยุธยา พรรคเพื่อไทย อดีตรองหัวหน้าพรรคเพื่อไทย และอดีตประธานคณะกรรมการประสานงานพรรคร่วมรัฐบาล.

ใหม่!!: พรรคเพื่อไทยและวิทยา บุรณศิริ · ดูเพิ่มเติม »

วิโรจน์ เปาอินทร์

ลตำรวจโท วิโรจน์ เปาอินทร์ อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร แบบบัญชีรายชื่อ และรองหัวหน้าพรรคเพื่อไทย อดีตรองนายกรัฐมนตรี ในรัฐบาลของนายชวน หลีกภัย และอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จังหวัดอ่างทอง พรรคชาติไทย และอดีตผู้บัญชาการตำรวจสอบสวนกลาง.

ใหม่!!: พรรคเพื่อไทยและวิโรจน์ เปาอินทร์ · ดูเพิ่มเติม »

ศักดา นพสิทธิ์

นายศักดา นพสิทธิ์ เป็นนักโทษและประธานแนวร่วมประชาธิปไตยต่อต้านเผด็จการแห่งชาติ (นปช.) จังหวัดชลบุรี และเป็นอดีตโฆษกพรรคเพื่อไท.

ใหม่!!: พรรคเพื่อไทยและศักดา นพสิทธิ์ · ดูเพิ่มเติม »

สภาผู้แทนราษฎร

ผู้แทนราษฎร เป็นหน่วยหนึ่งในกระบวนการนิติบัญญัติ โดยทั่วไปมักเป็นสภาล่างในระบบสภาคู.

ใหม่!!: พรรคเพื่อไทยและสภาผู้แทนราษฎร · ดูเพิ่มเติม »

สภาผู้แทนราษฎรไทย

ผู้แทนราษฎรไทย ประกอบด้วยสมาชิกซึ่งมาจากการเลือกตั้งโดยตรงทั้งหมด 500 คน และแบ่งการได้มาออกเป็นการเลือกตั้งแบบแบ่งเขตเลือกตั้งในแต่ละจังหวัด จำนวน 350 คน และแบบบัญชีรายชื่อของพรรคการเมือง โดยให้เขตประเทศเป็นเขตเลือกตั้ง จำนวน 150 คน ซึ่งหลักเกณฑ์และวิธีการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรตามรูปแบบนี้ เป็นไปตามบทบัญญัติรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560 ทั้งนี้อายุของสภาผู้แทนราษฎรมีกำหนดคราวละ 4 ปี นับแต่วันเลือกตั้ง สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรย่อมเป็นผู้แทนปวงชนชาวไทยไม่อยู่ในความผูกมัดแห่งอาณัติมอบหมาย หรือความครอบงำใดๆ และต้องปฏิบัติหน้าที่ด้วยความซื่อสัตย์สุจริต เพื่อประโยชน์ส่วนรวมของประเทศชาติและความผาสุกของประชาชนโดยรวม โดยปราศจากการขัดกันแห่งผลประโยชน์ สภาผู้แทนราษฎรมีหน้าที่โดยตรงในทางนิติบัญญัติ ซึ่งร่างพระราชบัญญัติ หรือร่างพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญ จะตราขึ้นเป็นกฎหมายได้ ก็ด้วยคำแนะนำและยินยอมของรัฐสภา ซึ่งประกอบด้วยสภาผู้แทนราษฎรและวุฒิสภา และยังมีอำนาจควบคุมการบริหารราชการแผ่นดินด้วย เช่น การให้ความเห็นชอบบุคคลซึ่งสมควรได้รับแต่งตั้งเป็นนายกรัฐมนตรี การตั้งกระทู้ถาม และการเสนอญัตติขอให้เปิดอภิปรายทั่วไปเพื่อลงมติไม่ไว้วางใจนายกรัฐมนตรีหรือรัฐมนตรี ทั้งนี้ เป็นไปตามการปกครองระบอบประชาธิปไตยระบบรัฐสภา ปัจจุบันสภานิติบัญญัติแห่งชาติทำหน้าที่แทนสภาผู้แทนราษฎร จนถึงวันก่อนวันเปิดประชุมสภาผู้แทนราษฎรที่มาจากการเลือกตั้งครั้งแรกตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560.

ใหม่!!: พรรคเพื่อไทยและสภาผู้แทนราษฎรไทย · ดูเพิ่มเติม »

สมชาย เพศประเสริฐ

ันตำรวจโท สมชาย เพศประเสริฐ อดีตรองหัวหน้าพรรคเพื่อไทย (แกนนำกลุ่มอีสานพัฒนา) อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จังหวัดนครราชสีมา อดีตรองโฆษกประจำสำนักนายกรัฐมนตรี อดีตเลขานุการรัฐมนตรีกระทรวงวิทยาศาสตร์และสิ่งแวดล้อม และอดีตโฆษกกระทรวงมหาดไท.

ใหม่!!: พรรคเพื่อไทยและสมชาย เพศประเสริฐ · ดูเพิ่มเติม »

สมศักดิ์ เกียรติสุรนนท์

นายสมศักดิ์ เกียรติสุรนนท์ (27 มิถุนายน 2497 —) อดีตประธานรัฐสภา และประธานสภาผู้แทนราษฎร รองหัวหน้าพรรคเพื่อไทย แกนนำกลุ่มขุนค้อน ประธานสภาสถาบันพระปกเกล้า สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดขอนแก่น พรรคเพื่อไทย อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรม และอดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงวัฒนธรรม.

ใหม่!!: พรรคเพื่อไทยและสมศักดิ์ เกียรติสุรนนท์ · ดูเพิ่มเติม »

สมโภช สายเทพ

นายสมโภช สายเทพ (เกิด 7 เมษายน พ.ศ. 2525) เป็นอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดลำปาง เขต 1 ได้รับการเลือกตั้งเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรครั้งแรกในปี พ.ศ. 2552 (การเลือกตั้งซ่อม) สังกัดพรรคเพื่อไท.

ใหม่!!: พรรคเพื่อไทยและสมโภช สายเทพ · ดูเพิ่มเติม »

สันติ พร้อมพัฒน์

ันติ พร้อมพัฒน์ อดีตรัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร พรรคเพื่อไทยแบบบัญชีรายชื่อ และอดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงคมนาคม ในรัฐบาลของนายสมัคร สุนทรเวช และรัฐบาลของนายสมชาย วงศ์สวั.

ใหม่!!: พรรคเพื่อไทยและสันติ พร้อมพัฒน์ · ดูเพิ่มเติม »

สุชาติ ธาดาธำรงเวช

ตราจารย์ สุชาติ ธาดาธำรงเวช อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร แบบบัญชีรายชื่อ อดีตหัวหน้าพรรคเพื่อไทย อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงการคลัง อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการศึกษาธิการ อดีตอาจารย์คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง ศาสตราจารย์ ดร.สุชาติ ธาดาธำรงเวช เกิดวันที่ 8 สิงหาคม พ.ศ. 2495 จบการศึกษาระดับมัธยมศึกษาที่ โรงเรียนวัดนวลนรดิศ รุ่นที่ 77 เลขประจำตัว 8293 จบการศึกษาเศรษฐศาสตรบัณฑิต (เกียรตินิยมดี) มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ปริญญาโทเศรษฐศาสตร์ The London School of Economics and Political Science สหราชอาณาจักร ปริญญาเอกเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยแมคมาสเตอร์ ประเทศแคนาดา ประกาศนียบัตรเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยอีสต์แองเกลีย(University of East Anglia) สหราชอาณาจักร ปริญญาบัตรหลักสูตรวิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร ภาครัฐร่วมเอกชนรุ่นที่ 1 วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร ศาสตราจารย์ ดร.สุชาติ ธาดาธำรงเวช สมรสกับนางวัชรี ธาดาธำรงเวช (สกุลเดิม พิพัฒน์ประทานพร) นักวิชาการพาณิชย์เชี่ยวชาญ กรมเจรจาการค้าระหว่างประเทศ มีบุตร 2 คน คือ นายกรกฎ จัสติน ธาดาธำรงเวช และนางสาวอรณิชา ธาดาธำรงเว.

ใหม่!!: พรรคเพื่อไทยและสุชาติ ธาดาธำรงเวช · ดูเพิ่มเติม »

สุพล ฟองงาม

นายกองเอก สุพล ฟองงาม อดีตเลขาธิการพรรคเพื่อไทย อดีตรัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี และอดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงมหาดไทย เป็นหนึ่งในอดีตแกนนำแนวร่วมเผด็จการเพื่อประชาธิปไตยในภาคอีสาน เกิดเมื่อวันที่ 5 กรกฎาคม พ.ศ. 2505 เป็นบุตรของ นายสุบิน และนางกัน ฟองงามเป็นแกนนำกลุ่มชักธงรบ แนวร่วมประชาธิปไตยต่อต้านเผด็จการแห่งชาติ จังหวัดอุบลราชธานี ร่วมกับ นายชูวิทย์ พิทักษ์พรพัลลภเป็นหนึ่งในผู้ที่ศูนย์อำนวยการแก้ไขสถานการณ์ฉุกเฉินออกหมายเรียกเนื่องจากอาจมีส่วนรู้เห็นกับการเผาสถานที่ราชการ(ศาลากลางจังหวัดอุบลราชธานี ฯลฯ)ในขณะนั้น.

ใหม่!!: พรรคเพื่อไทยและสุพล ฟองงาม · ดูเพิ่มเติม »

สุรพงษ์ โตวิจักษณ์ชัยกุล

รพงษ์ โตวิจักษณ์ชัยกุล อดีตรองนายกรัฐมนตรี และอดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จังหวัดเชียงใหม่ พรรคเพื่อไทย อดีตประธานกรรมาธิการการคลัง การธนาคาร และสถาบันการเงิน สภาผู้แทนราษฎร อดีตประธานที่ปรึกษาศูนย์รักษาความสงบ ในรัฐบาล ยิ่งลักษณ์ ชินวัตร และอดีตกรรมการบริหารพรรคประชาธิปัต.

ใหม่!!: พรรคเพื่อไทยและสุรพงษ์ โตวิจักษณ์ชัยกุล · ดูเพิ่มเติม »

สุณีย์ เหลืองวิจิตร

นางสาวสุณีย์ เหลืองวิจิตร อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบบัญชีรายชื่อ สังกัดพรรคเพื่อไทย และเป็นอดีตเลขาธิการพรรคเพื่อไทย ในระหว่างปี พ.ศ. 2551 ถึง พ.ศ. 2553.

ใหม่!!: พรรคเพื่อไทยและสุณีย์ เหลืองวิจิตร · ดูเพิ่มเติม »

สุเมธ โพธิ์มณี

ลอากาศเอก สุเมธ โพธิ์มณี รองหัวหน้าพรรคเพื่อไทย อดีตผู้ทรงคุณวุฒิพิเศษ สำนักงานปลัดกระทรวงกลาโหม และเป็นนักเรียนเตรียมทหารรุ่นที่ 10 รุ่นเดียวกันกั.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร.

ใหม่!!: พรรคเพื่อไทยและสุเมธ โพธิ์มณี · ดูเพิ่มเติม »

สีขาว

ีขาว คือ โทนสี หรือ การรับรู้ที่เกิดจากแสงไปกระตุ้นเซลล์สีรูปกรวยทั้ง 3 แบบในดวงตาของมนุษย์ในปริมาณที่เกือบจะเท่ากันและมีความสว่างสูงสุดเมื่อเทียบกับสิ่งแวดล้อมรอบข้าง สีขาว เป็นสีที่เกิดจากการรวมความเข้มของแสงสเปกตรัมที่มองเห็นได้ เป็นสีที่เต็มไปด้วยความสว่าง แต่ไม่มีสีสัน แหล่งกำเนิดของแสงสีขาวมีอยู่หลายแหล่ง เช่น ดวงอาทิตย์ในเวลากลางวัน, หลอดไฟแบบไส้, หลอดไฟแบบฟลูออเรสเซนท์ และหลอด LED สีขาว สีขาวยังมีความพิเศษอยู่อีกอย่างหนึ่ง ก็คือ เป็นสีที่เกิดจากการผสมกันระหว่างแสงสีปฐมภูมิ ซึ่งได้แก่ สีแดง, เขียว และน้ำเงิน (RGB) โดยเรียกกระบวนการนี้ว่า การผสมแสงสี (additive mixing) ซึ่งพบได้ทั่วไปในเทคโนโลยีการแสดงผล แสงสีขาวที่สะท้อนออกมาจากวัตถุจะสามารถมองเห็นได้ก็ต่อเมื่อไม่มีสเปกตรัมของแสงส่วนไหนที่สะท้อนมากกว่าส่วนอื่นๆและวัตถุที่สะท้อนแสงนั้นมีมุมตกกระทบที่เหมาะสมที่จะทำให้เกิดการกระจัดกระจายของแสง (diffusion) ได้.

ใหม่!!: พรรคเพื่อไทยและสีขาว · ดูเพิ่มเติม »

สีน้ำเงิน

ีน้ำเงิน เป็นหนึ่งในแม่สี ทั้งแม่สีทางแสง และทางวัตถุธาตุ เป็นแม่สีที่มีความยาวคลื่นต่ำที่สุด แสงสีน้ำเงินมีบริเวณช่วงคลื่นระหว่าง 440-490 นาโนเมตร เป็นสีที่ใกล้เคียงกับสีฟ้าและสีกรมท่า และถือเป็น 1 ในแม่สีร่วมกับ สีแดง และสีเขียว สีน้ำเงิน เป็นสีในกลุ่มสีโทนเย็น สีน้ำเงินเป็นสีที่สร้างความสุขุมเยือกเย็น หนักแน่นและละเอียดรอบคอบ ใช้ในการสร้างแรงบันดาลใจและการแสดงออกทางศิลปะได้ดีอีกด้วย ขณะที่สีฟ้าให้ความรู้สึกแบบเดียวกับสีเขียว คือ สบายตา ให้ความรู้สึกเป็นอิสระ ปลอดโปร่ง โล่งใจ ลดความร้อนรุ่มกระวนกระวายใจลงได้.

ใหม่!!: พรรคเพื่อไทยและสีน้ำเงิน · ดูเพิ่มเติม »

สีแดง

ีแดง คือสีมีความถี่ของแสงที่ต่ำที่สุด ที่ตามนุษย์สามารถแยกแยะได้ แสงสีแดงมีบริเวณช่วงคลื่นระหว่าง 630-760 นาโนเมตร สีแดงเป็นสีอย่างสีเลือดหรือสีชาด, ใช้ประกอบสิ่งต่าง ๆ บางอย่างโดยอนุโลมตามลักษณะสี เป็นชื่อเรียกเฉพาะ เช่น มดแดง ผ้าแดง จัดเป็น 1 ในแม่สี 3 สี ร่วมกับสีเขียว, สีน้ำเงิน.

ใหม่!!: พรรคเพื่อไทยและสีแดง · ดูเพิ่มเติม »

สง่า ธนสงวนวงศ์

นายสง่า ธนสงวนวงศ์ (เกิด 1 มกราคม พ.ศ. 2499) อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดชลบุรี 5 สมั.

ใหม่!!: พรรคเพื่อไทยและสง่า ธนสงวนวงศ์ · ดูเพิ่มเติม »

อภิชาต สุขัคคานนท์

นายอภิชาต สุขัคคานนท์ (เกิด 25 พฤศจิกายน พ.ศ. 2488) กรรมการในคณะกรรมการร่างรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (ยกร่าง พ.ศ. 2558) ประธานกรรมการการเลือกตั้ง (กกต.) รับผิดชอบงานด้านบริหารกลาง อดีตประธานแผนกคดีสิ่งแวดล้อมในศาลฎีกา อดีตประธานศาลอุทธรณ์ภาค 9 อดีตผู้พิพากษาหัวหน้าคณะในศาลฎีก.

ใหม่!!: พรรคเพื่อไทยและอภิชาต สุขัคคานนท์ · ดูเพิ่มเติม »

อภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ

อภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ หรือชื่อเกิดว่า มาร์ค อภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ (ละติน: Mark Abhisit Vejjajiva) เกิด 3 สิงหาคม..

ใหม่!!: พรรคเพื่อไทยและอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ · ดูเพิ่มเติม »

อรุณลักษณ์ กิจเลิศไพโรจน์

นางอรุณลักษณ์ กิจเลิศไพโรจน์ (เกิด 9 พฤศจิกายน พ.ศ. 2495) สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดสมุทรปราการ เขต 1 ได้รับการเลือกตั้งเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรครั้งแรกในปี พ.ศ. 2552 (การเลือกตั้งซ่อม) สังกัดพรรคเพื่อไทย จนถึงปัจจุบัน.

ใหม่!!: พรรคเพื่อไทยและอรุณลักษณ์ กิจเลิศไพโรจน์ · ดูเพิ่มเติม »

อักษรย่อ

อักษรย่อ หรือ คำย่อ หรือ รัสพจน์ เป็นการนำอักษรบางตัวในคำหนึ่งๆ ใช้เรียกแทนคำเต็ม โดยมากจะเป็นพยัญชนะ อาจใส่จุดหรือไม่ใส่หลังอักษรนั้นๆ นิยมนำอักษรต้นพยางค์ แต่บางครั้งก็มีการใช้อักษรท้ายพยางค์ก็มี และบางครั้งอักษรย่อก็สามารถอ่านได้เป็นพยางค์ใหม่ ในภาษาไทย เมื่ออักษรย่อมีตั้งแต่ 2 ตัวขึ้นไป จะใส่จุดที่ตัวสุดท้ายเพียงจุดเดียว (ไม่ใส่ทีละอักษร) ยกเว้นบางตัวที่เคยมีใช้กันมาก่อนจนเป็นที่ยอมรับแล้ว เช่น น..

ใหม่!!: พรรคเพื่อไทยและอักษรย่อ · ดูเพิ่มเติม »

อักษรไทย

อักษรไทย เป็นอักษรที่ใช้เขียนภาษาไทย และภาษากลุ่มน้อยอื่น ๆ ในประเทศไทย มีพยัญชนะ 44 รูป สระ 21 รูป วรรณยุกต์ 4 รูป และเครื่องหมายอื่น ๆ อีกจำนวนหนึ่ง พยัญชนะไทยจะเรียงตัวไปตามแนวนอน จากซ้ายไปขวา ส่วนสระจะอยู่หน้า บน ล่าง และหลังพยัญชนะประกอบคำแล้วแต่ชนิดของสระ อักษรไทยไม่มีการแยกอักษรตัวใหญ่หรืออักษรตัวเล็กอย่างอักษรโรมัน และไม่มีการเว้นวรรคระหว่างคำ เมื่อจบหนึ่งประโยคจะลงท้ายด้วยการเว้นวรรค กับมีเครื่องหมายวรรคตอนจำนวนหนึ่ง ภาษาไทยมีตัวเลขเป็นของตัวเอง แต่นิยมใช้เลขอารบิกเป็นส่วนใหญ่ในชีวิตประจำวัน.

ใหม่!!: พรรคเพื่อไทยและอักษรไทย · ดูเพิ่มเติม »

อนุรักษ์ บุญศล

นางอนุรักษ์ บุญศล (เกิด 16 มีนาคม พ.ศ. 2507) สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดสกลนคร เขต 3 ได้รับการเลือกตั้งเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรครั้งแรกในปี พ.ศ. 2552 สังกัดพรรคเพื่อไท.

ใหม่!!: พรรคเพื่อไทยและอนุรักษ์ บุญศล · ดูเพิ่มเติม »

อนุตตมา อมรวิวัฒน์

นางสาวอนุตตมา อมรวิวัฒน์ (ชื่อเล่น จิ๊บ) รักษาการรองโฆษกพรรคเพื่อไทย อดีตรองโฆษกประจำสำนักนายกรัฐมนตรี ในรัฐบาลของนางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร เป็นอดีตผู้สมัครสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร กรุงเทพมหานคร เขต 7 และเป็นบุตรสาวของพลตำรวจเอก สมบัติ อมรวิวัฒน์ (น้องชายของนายสมพงษ์ อมรวิวัฒน์).

ใหม่!!: พรรคเพื่อไทยและอนุตตมา อมรวิวัฒน์ · ดูเพิ่มเติม »

ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร

ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร เป็นตำแหน่งหัวหน้าฝ่ายบริหารขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นรูปแบบพิเศษ กรุงเทพมหานคร เมืองหลวงของประเทศไทย มีที่มาจากการเลือกตั้งโดยตรง มีวาระการดำรงตำแหน่งคราวละสี่ปี แต่ในปัจจุบันหัวหน้าคณะรักษาความสงบแห่งชาติ มีคำสั่งแต่งตั้งอัศวิน ขวัญเมือง เป็นผู้ว่าราชการคนปัจจุบัน ตั้งแต่วันที่ 18 ตุลาคม พ.ศ. 2559 เป็นต้นไป โดยกำหนดให้ดำรงตำแหน่งจนกว่าจะมีการเลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครหรือคณะรักษาความสงบแห่งชาติมีคําสั่งเปลี่ยนแปลงเป็นประการอื่น.

ใหม่!!: พรรคเพื่อไทยและผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดพิจิตร

ังหวัดพิจิตร เป็นจังหวัดหนึ่งที่ตั้งอยู่ทางภาคกลางตอนบนระหว่างจังหวัดนครสวรรค์กับจังหวัดพิษณุโลก มีพื้นที่ประมาณ 4,531 ตารางกิโลเมตร มีประชากรในปี..

ใหม่!!: พรรคเพื่อไทยและจังหวัดพิจิตร · ดูเพิ่มเติม »

จารุพงศ์ เรืองสุวรรณ

รุพงศ์ เรืองสุวรรณ (15 สิงหาคม พ.ศ. 2489 —) เป็นอดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงคมนาคม ในรัฐบาลนางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร เป็นอดีตหัวหน้าพรรคเพื่อไทย อดีตเลขาธิการพรรคเพื่อไทย อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร พรรคเพื่อไทย และอดีตที่ปรึกษาศูนย์รักษาความสงบ ในรัฐบาล ยิ่งลักษณ์ ชินวัตร เคยรับราชการในตำแหน่งปลัดกระทรวงยุติธรรม ปลัดกระทรวงแรงงาน และนายอำเภอหลายอำเภอ ปัจจุบันเป็นเลขาธิการองค์กรเสรีไทยเพื่อสิทธิมนุษยชนและประชาธิปไต.

ใหม่!!: พรรคเพื่อไทยและจารุพงศ์ เรืองสุวรรณ · ดูเพิ่มเติม »

จิรายุ ห่วงทรัพย์

นายจิรายุ ห่วงทรัพย์ อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกรุงเทพมหานคร เขต 18 (เขตคลองสามวา) สังกัดพรรคเพื่อไทย อดีตรองโฆษกพรรคเพื่อไทย อดีตผู้ประกาศข่าวสถานีวิทยุโทรทัศน์แห่งประเทศไทย (เอ็นบีที) สถานีโทรทัศน์ทีไอทีวี และสถานีโทรทัศน์ไอทีวี.

ใหม่!!: พรรคเพื่อไทยและจิรายุ ห่วงทรัพย์ · ดูเพิ่มเติม »

ธงชาติไทย

งชาติไทย หรือเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า ธงไตรรงค์ มีลักษณะเป็นธงสี่เหลี่ยมผืนผ้า ใช้สีหลักในธง 3 สี คือ สีแดง ขาว และสีน้ำเงินขาบ ภายในแบ่งเป็นแถบ 5 แถบ แถบในสุดสีน้ำเงิน ถัดมาด้านนอกทั้งด้านบนและล่างเป็นสีขาวและสีแดงตามลำดับ แถบสีน้ำเงินมีขนาดใหญ่กว่าแถบสีอื่นเป็น 2 เท่า ความหมายสำคัญของธงไตรรงค์นั้นหมายถึงสถาบันหลักทั้งสามของประเทศไทย คือ ชาติ (สีแดง) ศาสนา (สีขาว) และพระมหากษัตริย์ (สีน้ำเงิน) สีทั้งสามนี้เองคือที่มาของการเรียกชื่อธงนี้ว่าธงไตรรงค์ (ไตร.

ใหม่!!: พรรคเพื่อไทยและธงชาติไทย · ดูเพิ่มเติม »

ถนนพระรามที่ 3

ถนนพระรามที่ 3 ช่วงวัดคลองภูมิ ถนนพระรามที่ 3 (Thanon Rama III) เป็นถนนเลียบแม่น้ำเจ้าพระยาในกรุงเทพมหานคร มีระยะทางเริ่มตั้งแต่สะพานกรุงเทพในพื้นที่แขวงบางคอแหลม เขตบางคอแหลม ไปทางทิศตะวันออกเฉียงใต้ ตัดกับถนนเจริญกรุง (แยกถนนตก) ข้ามคลองวัดจันทร์ในเข้าสู่พื้นที่แขวงบางโคล่ ไปทางทิศตะวันออก ตัดกับถนนเจริญราษฎร์ (แยกเจริญราษฎร์) ข้ามคลองบางมะนาว ตัดกับถนนรัชดาภิเษก (แยกพระรามที่ 3-รัชดา) เข้าสู่พื้นที่แขวงบางโพงพาง เขตยานนาวา ไปทางทิศตะวันออกเฉียงใต้ ตัดกับถนนสาธุประดิษฐ์ (แยกสาธุประดิษฐ์) โค้งไปทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือ ข้ามคลองใหม่เข้าสู่พื้นที่แขวงช่องนนทรี ไปทางทิศเหนือ ตัดกับถนนยานนาวา (แยกพระรามที่ 3-ยานนาวา) ถนนวงแหวนอุตสาหกรรม (แยกพระรามที่ 3-สะพานภูมิพล 1 และสะพานภูมิพล 2) ถนนนราธิวาสราชนครินทร์ (แยกพระรามที่ 3-นราธิวาส หรือแยกช่องนนทรี) และถนนนางลิ้นจี่ (แยกนางลิ้นจี่) ไปทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือ ตัดกับถนนเชื้อเพลิงและทางรถไฟเก่าสายช่องนนทรีเข้าสู่พื้นที่แขวงคลองเตย เขตคลองเตย และไปสิ้นสุดที่แยก ณ ระนอง (จุดตัดกับถนนสุนทรโกษาและถนน ณ ระนอง) ถนนพระรามที่ 3 ก่อนวิกฤติเศรษฐกิจ ปี 2540 รัฐบาลในสมัยนั้นได้วางแผนให้ถนนพระรามที่ 3 เป็นถนนธุรกิจแห่งใหม่ของกรุงเทพฯ แทนที่ถนนสีลม ซึ่งประสบปัญหาแออัดและการจราจรติดขัดมาก ในช่วงนั้นเจ้าของธุรกิจหลายๆที่ จึงมองว่าเป็นทำเลทองแห่งใหม่ บางธนาคารและบริษัทย้ายสำนักงานใหญ่มาอยู่ที่ถนนพระรามที่ 3 แห่งนี้ รัฐบาลได้วางนโยบายพร้อมปรับปรุงระบบสาธารณูปโภค พร้อมขยายถนนจาก 4 ช่องทางจราจรไปและกลับ เป็นถนน 8 ช่องจราจรไปและกลับ พร้อมกับถมคลองที่ขนานกับถนน ซึ่งก่อนหน้าที่จะใช้ชื่อว่าถนนพระรามที่ 3 ถนนพระรามที่ 3 ที่เห็นในปัจจุบันใช้ชื่อว่า ถนนรัชดาภิเษก ซึ่งเป็นชื่อถนนที่ตั้งขึ้นเพื่อเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช ในโอกาสพระราชพิธีรัชดาภิเษก เป็นชื่อถนนในโครงการตัดถนนใหม่ของถนนวงแหวนรอบใน นอกจากนี้ ถนนพระรามที่ 3 (ช่วงตั้งแต่แยกถนนสาธุประดิษฐ์ยาวไปถึงแยก นางลิ้นจี่) มีมาแต่เดิมแล้วโดยมีชื่อเป็นทางการว่าถนนนางลิ้นจี่ตอนปลาย หรือประชาชนจะนิยมเรียกว่า ถนนเลียบแม่น้ำเจ้าพระยา เมื่อมีโครงการทำถนนวงแหวนรอบใน จึงมีการตัดถนนเพิ่มเติม(แยกสาธุประดิษฐ์ยาวไปถึงแยกถนนตก) ใช้ชื่อว่าถนนรัชดาภิเษก เมื่อมีโครงการสร้างถนนเศรษฐกิจแห่งใหม่ของกรุงเทพฯ จึงถือโอกาสเปลี่ยนชื่อถนนใหม่เป็น ถนนพระรามที่ 3 ซึ่งถนนพระรามที่ 3 เป็นถนนที่ตั้งชื่อเพื่อเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว เหตุที่คณะรัฐมนตรีมีมติเห็นชอบให้ตั้งชื่อว่า ถนนพระรามที่ 3 เพราะพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงสนพระราชหฤทัยและทรงพระปรีชาสามารถในด้านการค้าตั้งแต่ยังดำรงพระอิสริยยศพระเจ้าลูกยาเธอ กรมหมื่นเจษฎาบดินทร์ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย ถนนเลียบแม่น้ำเจ้าพระยาในอดีตมีเรือกำปั่นบรรทุกสินค้าล่องในลำน้ำช่วงนี้มาจอดเป็นแถวตั้งแต่ถนนตกจนถึงหน้าพระบรมมหาราชวัง และแม้แต่ทุกวันนี้ก็ยังคงป็นที่จอดเรือสินค้าและเป็นที่ขนถ่ายสินค้า จึงตั้งชื่อถนนสายนี้ว่า "ถนนพระรามที่ 3" ซึ่งเป็นชื่อที่เหมาะสมเพราะวางแผนให้ถนนแห่งนี้เป็นถนนเศรษฐกิจการค้า หมวดหมู่:ถนนในเขตยานนาวา หมวดหมู่:ถนนในเขตบางคอแหลม หมวดหมู่:ถนนในเขตคลองเตย หมวดหมู่:สถานที่ที่ตั้งชื่อตามพระนามของพระบรมวงศานุวงศ์ไทย หมวดหมู่:ถนนในกรุงเทพมหานคร.

ใหม่!!: พรรคเพื่อไทยและถนนพระรามที่ 3 · ดูเพิ่มเติม »

ถนนพระรามที่ 4

นนพระรามที่ 4 ช่วงสวนลุมพินี ถนนพระรามที่ 4 (Thanon Rama IV) เป็นถนนในกรุงเทพมหานคร เริ่มตั้งแต่ทางแยกหมอมี (แยกจากถนนเจริญกรุง) ข้ามคลองผดุงกรุงเกษมที่สะพานเจริญสวัสดิ์ ผ่านสถานีหัวลำโพง สามย่าน ไปบรรจบถนนสุขุมวิท.

ใหม่!!: พรรคเพื่อไทยและถนนพระรามที่ 4 · ดูเพิ่มเติม »

ถนนเพชรบุรี

นนเพชรบุรีช่วงแยกประตูน้ำบริเวณหน้าห้างแพลทินัมแฟชันมอลล์ ถนนเพชรบุรีตัดใหม่ ช่วงหน้าโรงเรียนเซนต์ดอมินิก ถนนเพชรบุรี (Thanon Phetchaburi) เป็นเส้นทางจราจรสำคัญสายหนึ่งในกรุงเทพมหานคร.

ใหม่!!: พรรคเพื่อไทยและถนนเพชรบุรี · ดูเพิ่มเติม »

ทวีศักดิ์ อนรรฆพันธ์

นายทวีศักดิ์ อนรรฆพันธ์ อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร แบบบัญชีรายชื่อ สังกัดพรรคเพื่อไทย เป็นอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดเพชรบูรณ์ 2 สมัย ปัจจุบันเป็นเหรัญญิกพรรคเพื่อไท.

ใหม่!!: พรรคเพื่อไทยและทวีศักดิ์ อนรรฆพันธ์ · ดูเพิ่มเติม »

ทนุศักดิ์ เล็กอุทัย

นายทนุศักดิ์ เล็กอุทัย (เกิด 14 มิถุนายน พ.ศ. 2500) อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงการคลังในรัฐบาลนางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรอุตรดิตถ์ เขต 3 ได้รับการเลือกตั้งเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรครั้งแรกในปี พ.ศ. 2539 ในสังกัดพรรคประชากรไทย ปัจจุบันสังกัดพรรคเพื่อไท.

ใหม่!!: พรรคเพื่อไทยและทนุศักดิ์ เล็กอุทัย · ดูเพิ่มเติม »

ดนุพร ปุณณกันต์

นุพร ปุณณกันต์ (เกิด 3 กันยายน พ.ศ. 2514) อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร ระบบบัญชีรายชื่อ และรองเลขาธิการพรรคเพื่อไทย กรรมการผู้จัดการบริษัททูทเวนตี้ทรี จำกัด เป็นอดีตรองโฆษกประจำสำนักนายกรัฐมนตรีใน ครม.ทักษิณ 2 อดีตที่ปรึกษารัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข และเป็นอดีตนักแสดงที่มีชื่อเสียง.

ใหม่!!: พรรคเพื่อไทยและดนุพร ปุณณกันต์ · ดูเพิ่มเติม »

คณวัฒน์ วศินสังวร

นายคณวัฒน์ วศินสังวร อดีตรองหัวหน้าพรรคเพื่อไทย และทีมเศรษฐกิจพรรคเพื่อไทย อดีตประธานอนุกรรมการจัดเตรียมข้อมูลศูนย์ปฏิบัติการนายกรัฐมนตรี อดีตเลขานุการรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง และอดีตที่ปรึกษารัฐมนตรีหลายกระทรวง.

ใหม่!!: พรรคเพื่อไทยและคณวัฒน์ วศินสังวร · ดูเพิ่มเติม »

คณะกรรมการการเลือกตั้ง (ประเทศไทย)

ณะกรรมการการเลือกตั้ง (Election Commission of Thailand) หรือย่อว่า กกต. (ECT) เป็นองค์กรอิสระตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย มีหน้าที่หลักเป็นผู้ควบคุมและดำเนินการจัดหรือจัดให้มีการเลือกตั้งหรือการสรรหาสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร สมาชิกวุฒิสภา สมาชิกสภาท้องถิ่นและผู้บริหารท้องถิ่น แล้วแต่กรณี รวมทั้งการออกเสียงประชามติ ให้เป็นไปโดยสุจริตและเที่ยงธรรม คณะกรรมการการเลือกตั้งมีสำนักงานคณะกรรมการการเลือกตั้งเป็นสำนักงานเลขานุการ.

ใหม่!!: พรรคเพื่อไทยและคณะกรรมการการเลือกตั้ง (ประเทศไทย) · ดูเพิ่มเติม »

ประชา พรหมนอก

ลตำรวจเอก ประชา พรหมนอก อดีตรองนายกรัฐมนตรี(ฝ่ายความมั่นคง) และอดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรมในสมัยรัฐบาลยิ่งลักษณ์ ชินวัตร สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร พรรคเพื่อไทย อดีตผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรม และอดีตหัวหน้าพรรคเพื่อแผ่นดิน เป็นนายตำรวจมือปราบมีฉายาว่า "อินทรีอีสาน" เนื่องจากเป็นชาวจังหวัดนครราชสีมา เป็นทั้งอธิบดีกรมตำรวจคนสุดท้ายและผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติคนแรก เนื่องจากมีตำแหน่งสูงสุดในช่วงที่ปรับเปลี่ยนสถานะของกรมตำรวจเป็นสำนักงานตำรวจแห่งชาต.

ใหม่!!: พรรคเพื่อไทยและประชา พรหมนอก · ดูเพิ่มเติม »

ประชา ประสพดี

ประชา ประสพดี (เกิด 31 ตุลาคม พ.ศ. 2503) อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงมหาดไทย อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดสมุทรปราการ เขต 7 ได้รับการเลือกตั้งเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรครั้งแรกในปี พ.ศ. 2544 ในสังกัดพรรคไทยรักไทย ปัจจุบันสังกัดพรรคเพื่อไท.

ใหม่!!: พรรคเพื่อไทยและประชา ประสพดี · ดูเพิ่มเติม »

ประยุทธ์ ศิริพานิชย์

นายประยุทธ์ ศิริพานิชย์ อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงแรงงานและสวัสดิการสังคม สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร พรรคเพื่อไทย จังหวัดมหาสารคาม และได้รับการแต่งตั้งเป็นรองหัวหน้าพรรคเพื่อไทย ในเดือนกันยายน..

ใหม่!!: พรรคเพื่อไทยและประยุทธ์ ศิริพานิชย์ · ดูเพิ่มเติม »

ประดิษฐ์ ภัทรประสิทธิ์

นายประดิษฐ์ ภัทรประสิทธิ์ ประธานคณะกรรมการบริษัท ไทย แอ็กโกร เอ็กซเชนจ์ จำกัด (ตลาดไท) อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร แบบบัญชีรายชื่อ สังกัดพรรคชาติไทยพัฒนา อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงการคลัง อดีตเลขาธิการพรรครวมชาติพัฒนาและพรรคประชาธิปัตย์ และ สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดพิจิตร 4 สมั.

ใหม่!!: พรรคเพื่อไทยและประดิษฐ์ ภัทรประสิทธิ์ · ดูเพิ่มเติม »

ประเสริฐ จันทรรวงทอง

นายประเสริฐ จันทรรวงทอง เป็นรองโฆษกพรรคเพื่อไทย สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดนครราชสีมา พรรคเพื่อไทย และอดีตสมาชิกสภาจังหวัดนครราชสีมา 2 สมั.

ใหม่!!: พรรคเพื่อไทยและประเสริฐ จันทรรวงทอง · ดูเพิ่มเติม »

ปรีชาพล พงษ์พานิช

ร้อยโทปรีชาพล พงษ์พานิช (15 กันยายน 2523 -) อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จังหวัดขอนแก่น พรรคเพื่อไทย และอดีตประธานคณะกรรมาธิการการสื่อสารและโทรคมนาคม.

ใหม่!!: พรรคเพื่อไทยและปรีชาพล พงษ์พานิช · ดูเพิ่มเติม »

ปลอดประสพ สุรัสวดี

ปลอดประสพ สุรัสวดี (เกิด: 3 มีนาคม พ.ศ. 2488) อดีตรองนายกรัฐมนตรี และอดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี อดีตที่ปรึกษาศูนย์รักษาความสงบ ในรัฐบาลของ ยิ่งลักษณ์ ชินวัตร และรองหัวหน้าพรรคเพื่อไทย อดีตอธิบดีกรมประมง อดีตอธิบดีกรมป่าไม้ อดีตอธิบดีกรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง อดีตปลัดกระทรวงกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม อดีตผู้อำนวยการเชียงใหม่ไนท์ซาฟารี และศูนย์เตือนภัยพิบัติแห่งชาต.

ใหม่!!: พรรคเพื่อไทยและปลอดประสพ สุรัสวดี · ดูเพิ่มเติม »

ปานปรีย์ พหิทธานุกร

ร.ปานปรีย์ พหิทธานุกร อดีตรองหัวหน้าพรรคเพื่อไทย อดีตผู้แทนการค้าไทย ในช่วงรัฐบาลของพันตำรวจโททักษิณ ชินวัตร และอดีตที่ปรึกษารองนายกรัฐมนตรี (นายแพทย์สุรพงษ์ สืบวงศ์ลี).

ใหม่!!: พรรคเพื่อไทยและปานปรีย์ พหิทธานุกร · ดูเพิ่มเติม »

นายกรัฐมนตรี

นายกรัฐมนตรี เป็นตำแหน่งผู้นำของรัฐบาล เป็นตำแหน่งสูงสุด โดยมีพระมหากษัตริย์หรือประธานาธิบดีเป็นประมุขแห่งรัฐ บางประเทศยังต้องเลือกประธานาธิบดีแล้วแต่งตั้งนายกรัฐมนตรีหรือบางประเทศอาจจะให้กษัตริย์เป็นผู้แต่งตั้งก็ได้ แต่ในระบบสาธารณรัฐแบบประธานาธิบดีจะไม่มีนายกรัฐมนตรี เช่น สหรัฐอเมริกา บราซิล เป็นต้น รองนายกรัฐมนตรี เป็นผู้ที่จะปฏิบัติหน้าที่แทนนายกรัฐมนตรี ในขณะที่นายกรัฐมนตรีมีเหตุทำให้ไม่สามารถปฏิบัติหน้าที่ได้ หรือมีหน้าที่อื่นให้ปฏิบัติ เช่น เดินทางไปประชุมที่ต่างประเทศ ลาราชการ พ้นจากตำแหน่ง เป็นต้น.

ใหม่!!: พรรคเพื่อไทยและนายกรัฐมนตรี · ดูเพิ่มเติม »

โอฬาร กิจเลิศไพโรจน์

นายโอฬาร กิจเลิศไพโรจน์ อดีตเลขาธิการพรรคเพื่อไทยคนแรก ดำรงตำแหน่งในระหว่างปี พ.ศ. 2550 ถึง พ.ศ. 2551.

ใหม่!!: พรรคเพื่อไทยและโอฬาร กิจเลิศไพโรจน์ · ดูเพิ่มเติม »

ไทยสยาม

ทยสยาม (Thai Siam) โดยทั่วไปหมายถึง คือกลุ่มชาติพันธุ์ซึ่งพูดภาษาไทยกลาง หรือมี เชื้อชาติไทยสยามผสมอยู่ ส่วนใหญ่อาศัยอยู่ในประเทศไทย และอาศัยกระจายอยู่ในประเทศอื่นทั่วโลก โดยคนไทยส่วนใหญ่นับถือศาสนาพุทธ รองลงมาคือ ศาสนาอิสลาม และ ศาสนาคริสต์ ในความหมายทางชาติพันธุ์ ใช้เฉพาะเจาะจงถึงคนไทยภาคกลาง หรือเดิมเรียกว่า ชาวสยาม แต่ในความหมายมุมกว้าง สามารถหมายความครอบคลุมถึง กลุ่มชาติพันธุ์ไทย อื่นๆ ทั้งนอกและในราชอาณาจักร เช่น ไทยโคราช ไทยอีสาน ไทยโยเดีย หรือ ไทยเกาะกง เช่นกัน.

ใหม่!!: พรรคเพื่อไทยและไทยสยาม · ดูเพิ่มเติม »

เชษฐา ฐานะจาโร

ลเอกเชษฐา ฐานะจาโร (23 สิงหาคม พ.ศ. 2481 —) ประธานที่ปรึกษาพรรคเพื่อไทย อดีตหัวหน้าพรรครวมใจไทยชาติพัฒนา อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม อดีตผู้บัญชาการทหารบก และอดีตแม่ทัพภาคที่ 1.

ใหม่!!: พรรคเพื่อไทยและเชษฐา ฐานะจาโร · ดูเพิ่มเติม »

เกรียง กัลป์ตินันท์

นายเกรียง กัลป์ตินันท์ เป็นอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดอุบลราชธานี อดีตสมาชิกบ้านเลขที่ 111 ปัจจุบันเป็นรองหัวหน้าพรรคเพื่อไท.

ใหม่!!: พรรคเพื่อไทยและเกรียง กัลป์ตินันท์ · ดูเพิ่มเติม »

เสนาะ เทียนทอง

นายกองใหญ่ เสนาะ เทียนทอง (1 เมษายน พ.ศ. 2477 —) อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร แบบบัญชีรายชื่อ สังกัดพรรคเพื่อไทย อดีตหัวหน้าพรรคประชาราช ผู้นำ..

ใหม่!!: พรรคเพื่อไทยและเสนาะ เทียนทอง · ดูเพิ่มเติม »

เอกธนัช อินทร์รอด

นายเอกธนัช อินทร์รอด (ชื่อเดิม: คมสัน ชื่อเล่น: คม) เป็นอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบบัญชีรายชื่อ นายทะเบียนพรรคเพื่อไทย อดีตเลขานุการรัฐมนตรีว่าการกระทรวงพลังงาน.

ใหม่!!: พรรคเพื่อไทยและเอกธนัช อินทร์รอด · ดูเพิ่มเติม »

เอ็มไทย

อ็มไทย (mthai.com) เป็นเว็บท่าและเว็บบอร์ดของประเทศไทย เริ่มให้บริการประมาณปี..

ใหม่!!: พรรคเพื่อไทยและเอ็มไทย · ดูเพิ่มเติม »

เขตบางรัก

ตบางรัก เป็น 1 ใน 50 เขตการปกครองของกรุงเทพมหานคร อยู่ในกลุ่มเขตลุมพินี ซึ่งถือเป็นเขตศูนย์กลางธุรกิจ การค้า การบริการ และการทูต.

ใหม่!!: พรรคเพื่อไทยและเขตบางรัก · ดูเพิ่มเติม »

เขตบางคอแหลม

ตบางคอแหลม เป็น 1 ใน 50 เขตการปกครองของกรุงเทพมหานคร อยู่ในกลุ่มเขตกรุงเทพใต้ สภาพโดยทั่วไปเป็นแหล่งที่อยู่อาศัยหนาแน่นมาก.

ใหม่!!: พรรคเพื่อไทยและเขตบางคอแหลม · ดูเพิ่มเติม »

เขตห้วยขวาง

ตห้วยขวาง เป็น 1 ใน 50 เขตการปกครองของกรุงเทพมหานคร อยู่ในกลุ่มเขตกรุงเทพกลาง ถือเป็นแหล่งการค้า การบริการ และแหล่งที่อยู่อาศัยหนาแน่นมาก.

ใหม่!!: พรรคเพื่อไทยและเขตห้วยขวาง · ดูเพิ่มเติม »

เฉลิม อยู่บำรุง

ร้อยตำรวจเอก เฉลิม อยู่บำรุง นักการเมืองไทย สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรฝั่งธนบุรีหลายสมัย อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงแรงงาน อดีตรองนายกรัฐมนตรีและสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบบัญชีรายชื่อ สังกัดพรรคเพื่อไทย อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย รัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรม รัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี และหัวหน้าพรรคมวลชน ระหว่างวันที่ 21 มกราคม 2557 ถึง 18 มีนาคม 2557 เขาเป็นผู้อำนวยการศูนย์รักษาความสงบ ตามคำสั่งคำสั่งที่ พิเศษ 1/2557 เรื่องจัดตั้งศูนย์รักษาความสงบ โดย ยิ่งลักษณ์ ชินวัตร.

ใหม่!!: พรรคเพื่อไทยและเฉลิม อยู่บำรุง · ดูเพิ่มเติม »

14 กันยายน

วันที่ 14 กันยายน เป็นวันที่ 257 ของปี (วันที่ 258 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 108 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พรรคเพื่อไทยและ14 กันยายน · ดูเพิ่มเติม »

14 มิถุนายน

วันที่ 14 มิถุนายน เป็นวันที่ 165 ของปี (วันที่ 166 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 200 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พรรคเพื่อไทยและ14 มิถุนายน · ดูเพิ่มเติม »

15 กรกฎาคม

วันที่ 15 กรกฎาคม เป็นวันที่ 196 ของปี (วันที่ 197 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 169 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พรรคเพื่อไทยและ15 กรกฎาคม · ดูเพิ่มเติม »

15 กันยายน

วันที่ 15 ก.. เป็นวันที่ 258 ของปี (วันที่ 259 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 107 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พรรคเพื่อไทยและ15 กันยายน · ดูเพิ่มเติม »

15 กุมภาพันธ์

วันที่ 15 กุมภาพันธ์ เป็นวันที่ 46 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 319 วันในปีนั้น (320 วันในปีอธิกสุรทิน).

ใหม่!!: พรรคเพื่อไทยและ15 กุมภาพันธ์ · ดูเพิ่มเติม »

15 สิงหาคม

วันที่ 15 สิงหาคม เป็นวันที่ 227 ของปี (วันที่ 228 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 138 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พรรคเพื่อไทยและ15 สิงหาคม · ดูเพิ่มเติม »

19 พฤศจิกายน

วันที่ 19 พฤศจิกายน เป็นวันที่ 323 ของปี (วันที่ 324 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 42 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พรรคเพื่อไทยและ19 พฤศจิกายน · ดูเพิ่มเติม »

20 กันยายน

วันที่ 20 กันยายน เป็นวันที่ 263 ของปี (วันที่ 264 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 102 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พรรคเพื่อไทยและ20 กันยายน · ดูเพิ่มเติม »

20 มีนาคม

วันที่ 20 มีนาคม เป็นวันที่ 79 ของปี (วันที่ 80 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 286 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พรรคเพื่อไทยและ20 มีนาคม · ดูเพิ่มเติม »

20 เมษายน

วันที่ 20 เมษายน เป็นวันที่ 110 ของปี (วันที่ 111 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 255 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พรรคเพื่อไทยและ20 เมษายน · ดูเพิ่มเติม »

21 กันยายน

วันที่ 21 กันยายน เป็นวันที่ 264 ของปี (วันที่ 265 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 101 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พรรคเพื่อไทยและ21 กันยายน · ดูเพิ่มเติม »

21 ตุลาคม

วันที่ 21 ตุลาคม เป็นวันที่ 294 ของปี (วันที่ 295 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 71 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พรรคเพื่อไทยและ21 ตุลาคม · ดูเพิ่มเติม »

25 พฤศจิกายน

วันที่ 25 พฤศจิกายน เป็นวันที่ 329 ของปี (วันที่ 330 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 36 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พรรคเพื่อไทยและ25 พฤศจิกายน · ดูเพิ่มเติม »

26 เมษายน

วันที่ 26 เมษายน เป็นวันที่ 116 ของปี (วันที่ 117 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 249 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พรรคเพื่อไทยและ26 เมษายน · ดูเพิ่มเติม »

27 สิงหาคม

วันที่ 27 สิงหาคม เป็นวันที่ 239 ของปี (วันที่ 240 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 126 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พรรคเพื่อไทยและ27 สิงหาคม · ดูเพิ่มเติม »

3 พฤษภาคม

วันที่ 3 พฤษภาคม เป็นวันที่ 123 ของปี (วันที่ 124 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 242 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พรรคเพื่อไทยและ3 พฤษภาคม · ดูเพิ่มเติม »

3 กรกฎาคม

วันที่ 3 กรกฎาคม เป็นวันที่ 184 ของปี (วันที่ 185 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 181 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พรรคเพื่อไทยและ3 กรกฎาคม · ดูเพิ่มเติม »

30 ธันวาคม

วันที่ 30 ธันวาคม เป็นวันที่ 364 ของปี (วันที่ 365 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 1 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พรรคเพื่อไทยและ30 ธันวาคม · ดูเพิ่มเติม »

30 ตุลาคม

วันที่ 30 ตุลาคม เป็นวันที่ 303 ของปี (วันที่ 304 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 62 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พรรคเพื่อไทยและ30 ตุลาคม · ดูเพิ่มเติม »

4 ตุลาคม

วันที่ 4 ตุลาคม เป็นวันที่ 277 ของปี (วันที่ 278 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 88 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พรรคเพื่อไทยและ4 ตุลาคม · ดูเพิ่มเติม »

5 กรกฎาคม

วันที่ 5 กรกฎาคม เป็นวันที่ 186 ของปี (วันที่ 187 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 179 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พรรคเพื่อไทยและ5 กรกฎาคม · ดูเพิ่มเติม »

5 ธันวาคม

วันที่ 5 ธันวาคม เป็นวันที่ 339 ของปี (วันที่ 340 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 26 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พรรคเพื่อไทยและ5 ธันวาคม · ดูเพิ่มเติม »

7 ธันวาคม

วันที่ 7 ธันวาคม เป็นวันที่ 341 ของปี (วันที่ 342 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 24 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พรรคเพื่อไทยและ7 ธันวาคม · ดูเพิ่มเติม »

8 สิงหาคม

วันที่ 8 สิงหาคม เป็นวันที่ 220 ของปี (วันที่ 221 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 145 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พรรคเพื่อไทยและ8 สิงหาคม · ดูเพิ่มเติม »

8 ตุลาคม

วันที่ 8 ตุลาคม เป็นวันที่ 281 ของปี (วันที่ 282 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 84 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พรรคเพื่อไทยและ8 ตุลาคม · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

รายนามหัวหน้าพรรคเพื่อไทยรายนามเลขาธิการพรรคเพื่อไทยเพื่อไทย

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »