โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ดาวน์โหลด
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

พระบรมมหาราชวัง

ดัชนี พระบรมมหาราชวัง

ระบรมมหาราชวัง หรือพระราชวังพระนคร เป็นที่ประทับของพระมหากษัตริย์สมัยรัตนโกสินทร์ ตั้งแต่รัชสมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราชจนถึงรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ตั้งอยู่ที่แขวงพระบรมมหาราชวัง เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร ปัจจุบัน พระบรมมหาราชวังเป็นสถานที่ท่องเที่ยวที่ได้รับความนิยมมากเป็นอันดับที่ 16 ของโลก โดยมีผู้เข้าเยี่ยมชมในปี พ.ศ. 2549 เป็นจำนวนถึง 8,995,000 คน.

75 ความสัมพันธ์: ชาวจีนพ.ศ. 2325พ.ศ. 2326พ.ศ. 2328พ.ศ. 2549พระบรมวงศานุวงศ์พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราชพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชพระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล พระอัฐมรามาธิบดินทรพระบาทสมเด็จพระปิ่นเกล้าเจ้าอยู่หัวพระพุทธมหามณีรัตนปฏิมากรพระพุทธรัตนสถานพระมหากษัตริย์พระมหามณเฑียรพระราชวังบวรสถานมงคลพระราชอาสน์พระอภิเนาว์นิเวศน์พระที่นั่งบรมพิมานพระที่นั่งบรมราชสถิตยมโหฬารพระที่นั่งพิมานรัตยาพระที่นั่งมูลสถานบรมอาสน์พระที่นั่งราชฤดีพระที่นั่งสมมติเทวราชอุปบัติพระที่นั่งสุทไธสวรรยปราสาทพระที่นั่งสนามจันทร์พระที่นั่งอมรินทรวินิจฉัยมไหยสูรยพิมานพระที่นั่งอาภรณ์ภิโมกข์ปราสาทพระที่นั่งจักรพรรดิพิมานพระที่นั่งจักรีมหาปราสาทพระที่นั่งดุสิตมหาปราสาทพระที่นั่งดุสิตาภิรมย์พระที่นั่งไชยชุมพลพระที่นั่งไพศาลทักษิณพิธีราชาภิเษกกรมราชเลขานุการในพระองค์กระทรวงกลาโหม (ประเทศไทย)กรุงเทพมหานครรัตนโกสินทร์ (แก้ความกำกวม)ราชวงศ์จักรีวัดพระศรีรัตนศาสดารามวัดพระศรีสรรเพชญ์วัดพระเชตุพนวิมลมังคลารามราชวรมหาวิหารวัดจักรวรรดิราชาวาสวรมหาวิหารวัดปทุมคงคาราชวรวิหารวัง...วังหน้าศาลาสหทัยสมาคมศาลาเครื่องราชอิสริยยศ เครื่องราชอิสริยาภรณ์ และเหรียญกษาปณ์สวนศิวาลัยสำนักพระราชวังสำนักงานราชบัณฑิตยสภาสำเพ็งหมู่พระมหาปราสาทหมู่พระที่นั่งจักรีมหาปราสาทหอพระสุราลัยพิมานหอพระธาตุมณเฑียรหอศาสตราคมหอประชุมกองทัพเรืออาณาจักรอยุธยาอาณาจักรธนบุรีทูลกระหม่อมหญิงอุบลรัตนราชกัญญา สิริวัฒนาพรรณวดีท้องสนามหลวงประตูพระบรมมหาราชวังประเทศจีนประเทศไทยแม่น้ำเจ้าพระยาเขตพระราชฐานชั้นใน (พระบรมมหาราชวัง)เขตพระนคร13 มิถุนายน6 เมษายน ขยายดัชนี (25 มากกว่า) »

ชาวจีน

รูปวาดในกรุงปักกิ่งแสดงถึงชนเผ่าทั้ง 56 ของจีน ชาวจีน อาจหมายถึง.

ใหม่!!: พระบรมมหาราชวังและชาวจีน · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2325

ทธศักราช 2325 ตรงกับคริสต์ศักราช 1782 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคาร ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ตามปฏิทินจูเลียน.

ใหม่!!: พระบรมมหาราชวังและพ.ศ. 2325 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2326

ทธศักราช 2326 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: พระบรมมหาราชวังและพ.ศ. 2326 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2328

ทธศักราช 2328 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: พระบรมมหาราชวังและพ.ศ. 2328 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2549

ทธศักราช 2549 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2006 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ใหม่!!: พระบรมมหาราชวังและพ.ศ. 2549 · ดูเพิ่มเติม »

พระบรมวงศานุวงศ์

ระบรมวงศานุวงศ์ในรัชกาลที่ 9 ภายในงานฉลองสิริราชสมบัติครบ 60 ปี พระบรมวงศานุวงศ์ หมายถึง พระประยูรญาติใหญ่น้อยทั้งหมดทุกราชสกุลของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว โดยประกอบด้วย 2 คำ คือ.

ใหม่!!: พระบรมมหาราชวังและพระบรมวงศานุวงศ์ · ดูเพิ่มเติม »

พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช

ระบาทสมเด็จพระปรโมรุราชามหาจักรีบรมนารถ พระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก (พระราชสมภพ 20 มีนาคม พ.ศ. 2279 — สวรรคต 7 กันยายน พ.ศ. 2352) เป็นพระมหากษัตริย์ไทยรัชกาลที่ 1 ในราชวงศ์จักรี เสด็จพระราชสมภพเมื่อวันพุธ เดือน 4 แรม 5 ค่ำ ปีมะโรงอัฐศก เวลา 3 ยาม ตรงกับวันที่ 20 มีนาคม..

ใหม่!!: พระบรมมหาราชวังและพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช · ดูเพิ่มเติม »

พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย

งเรือหลวงในรัชกาลที่ 2 พระบาทสมเด็จพระบรมราชพงษเชษฐมเหศวรสุนทร พระพุทธเลิศหล้านภาลัย (พระราชสมภพ 24 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2310 - สวรรคต 21 กรกฎาคม พ.ศ. 2367 ครองราชย์ 7 กันยายน พ.ศ. 2352 - 21 กรกฎาคม พ.ศ. 2367) พระมหากษัตริย์ไทยรัชกาลที่ 2 ในราชวงศ์จักรี มีพระนามเดิมว่า ฉิม (สมเด็จพระเจ้าลูกยาเธอ เจ้าฟ้ากรมหลวงอิศรสุนทร) พระราชสมภพเมื่อวันพุธ ขึ้น 7 ค่ำ เดือน 4 ปีกุน เวลาเช้า 5 ยาม ซึ่งตรงกับวันที่ 24 กุมภาพัน..

ใหม่!!: พระบรมมหาราชวังและพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย · ดูเพิ่มเติม »

พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว

ระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาวชิราวุธฯ พระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว หรือ พระบาทสมเด็จพระรามาธิบดีศรีสินทรมหาวชิราวุธ พระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว (1 มกราคม พ.ศ. 2423 – 26 พฤศจิกายน พ.ศ. 2468) เป็นพระมหากษัตริย์ไทยรัชกาลที่ 6 ในราชวงศ์จักรี เสด็จพระราชสมภพเมื่อวันเสาร์ เดือนยี่ ขึ้น 2 ค่ำ ปีมะโรง ตรงกับวันที่ 1 มกราคม..

ใหม่!!: พระบรมมหาราชวังและพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว · ดูเพิ่มเติม »

พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว

งชาติสยามในรัชกาลที่ 4 ธงช้างเผือก พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหามงกุฎ พระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (พระราชสมภพ 18 ตุลาคม พ.ศ. 2347 - สวรรคต 1 ตุลาคม พ.ศ. 2411) พระมหากษัตริย์ไทยรัชกาลที่ 4 แห่งราชวงศ์จักรี มีพระนามเดิมว่า "เจ้าฟ้ามงกุฎ" เสด็จพระราชสมภพในวันพฤหัสบดี ขึ้น 14 ค่ำ เดือน 11 ปีชวด ตรงกับวันที่ 18 ตุลาคม พ.ศ. 2347 ในรัชสมัย รัชกาลที่ 1 ณ นิวาสสถานพระราชวังพระราชนิเวศน์ พระราชวังเดิม ด้านใต้ของวัดอรุณราชวรารามอ.

ใหม่!!: พระบรมมหาราชวังและพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว · ดูเพิ่มเติม »

พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว

ระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาจุฬาลงกรณ์ พระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว  (20 กันยายน พ.ศ. 2396 – 23 ตุลาคม พ.ศ. 2453) เป็นพระมหากษัตริย์สยาม รัชกาลที่ 5 แห่งราชวงศ์จักรี เสด็จพระราชสมภพเมื่อวันอังคาร เดือน 10 แรม 3 ค่ำ ปีฉลู ตรงกับวันที่ 20 กันยายน..

ใหม่!!: พระบรมมหาราชวังและพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว · ดูเพิ่มเติม »

พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว

ระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาประชาธิปก พระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว (8 พฤศจิกายน พ.ศ. 2436 — 30 พฤษภาคม พ.ศ. 2484) เป็นพระมหากษัตริย์สยาม รัชกาลที่ 7 ในราชวงศ์จักรี เสด็จพระราชสมภพเมื่อวันพุธ แรม 14 ค่ำ เดือน 11 ปีมะเส็ง เวลา 12.25 น. หรือตรงกับวันที่ 8 พฤศจิกายน..

ใหม่!!: พระบรมมหาราชวังและพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว · ดูเพิ่มเติม »

พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช

ระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช (5 ธันวาคม พ.ศ. 2470 — 13 ตุลาคม พ.ศ. 2559) เป็นพระมหากษัตริย์ไทย รัชกาลที่ 9 แห่งราชวงศ์จักรี เสด็จสู่พระราชสมบัติตั้งแต่วันที่ 9 มิถุนายน..

ใหม่!!: พระบรมมหาราชวังและพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช · ดูเพิ่มเติม »

พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล พระอัฐมรามาธิบดินทร

ระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล พระอัฐมรามาธิบดินทร (20 กันยายน พ.ศ. 2468 – 9 มิถุนายน พ.ศ. 2489) เป็นพระโอรสในสมเด็จพระเจ้าน้องยาเธอ เจ้าฟ้ามหิดลอดุลยเดช กรมขุนสงขลานครินทร์ (ภายหลังดำรงพระอิสริยยศเป็นสมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก) และหม่อมสังวาลย์ (ภายหลังดำรงพระยศเป็นสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี) มีพระเชษฐภคินีและพระอนุชาร่วมพระชนกชนนีอีก 2 พระองค์ ได้แก่ สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ และสมเด็จพระเจ้าน้องยาเธอ เจ้าฟ้าภูมิพลอดุลยเดช (ภายหลังทรงขึ้นครองราชสมบัติเป็นพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช) พระองค์เสด็จขึ้นทรงราชย์เป็นพระมหากษัตริย์รัชกาลที่ 8 แห่งราชวงศ์จักรี เมื่อวันที่ 2 มีนาคม..

ใหม่!!: พระบรมมหาราชวังและพระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล พระอัฐมรามาธิบดินทร · ดูเพิ่มเติม »

พระบาทสมเด็จพระปิ่นเกล้าเจ้าอยู่หัว

ระบาทสมเด็จพระปวเรนทราเมศมหิศเรศรังสรรค์ พระปิ่นเกล้าเจ้าอยู่หัว เป็นสมเด็จพระอนุชาธิราชในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวรัชกาลที่ 4 ทรงได้รับพระบวรราชาภิเษกเป็นพระมหากษัตริย์พระองค์ที่ 2 รองจากพระบรมเชษฐา สูงศักดิ์กว่า "วังหน้า" กรมพระราชวังบวรสถานมงคล (พระมหาอุปราช)พระองค์ใดในอดีต เมื่อวันอาทิตย์ที่ 25 พฤษภาคม พ.ศ. 2394 เมื่อมีพระชนมายุได้ 43 พรรษ.

ใหม่!!: พระบรมมหาราชวังและพระบาทสมเด็จพระปิ่นเกล้าเจ้าอยู่หัว · ดูเพิ่มเติม »

พระพุทธมหามณีรัตนปฏิมากร

ระพุทธมหามณีรัตนปฏิมากร หรือ พระแก้วมรกต เป็นพระพุทธรูปคู่บ้านคู่เมืองของประเทศไทย ปัจจุบันประดิษฐานอยู่ในวัดพระศรีรัตนศาสดาราม (หรือ วัดพระแก้ว) ในพระบรมมหาราชวัง กรุงเทพมหานคร พระแก้วมรกตเป็นพระพุทธรูปที่แกะสลักจากหยกอ่อนเนไฟรต์สีเขียวดังมรกต เป็นพระพุทธรูปสกุลศิลปะก่อนเชียงแสนถึงศิลปะเชียงแสน หลักฐานที่ตรงกันระบุว่าพบครั้งแรก ประดิษฐานอยู่ในเจดีย์วัดป่าญะ ตำบลเวียง เมืองเชียงราย (ปัจจุบันคือวัดพระแก้ว เชียงราย อำเภอเมืองเชียงราย) ในปี พ.ศ. 1977 (หรือ ค.ศ. 1434) ฟ้าได้ผ่าลงองค์พระเจดีย์จนพังทลายลง จึงพบพระพุทธรูปพอกปูนลงรักปิดทอง จึงได้นำไปไว้ในวิหาร ต่อมาปูนบริเวณพระนาสิกเกิดกระเทาะออก เห็นเป็นเนื้อมรกต จึงกระเทาะปูนออกทั้งองค์ เห็นเป็นเนื้อหยกสีมรกตทั้งองค์ หลังจากนั้น พระเจ้าสามฝั่งแกนแห่งเชียงใหม่ทราบข่าวการค้นพบพระพุทธรูปนี้ จึงเชิญมาประดิษฐานที่เชียงใหม่ แต่ช้างทรงพระแก้วมรกตกลับไม่เดินทางไปยังเชียงใหม่ แต่ไปทางลำปางหากช้างนั้นมีพระแก้วมรกตอยู่บนหลังช้าง เชียงใหม่เห็นว่าลำปางก็อยู่ในอาณาจักรล้านนาจึงนำไปไว้ที่วัดพระแก้วดอนเต้า ถึงสมัยพระเจ้าติโลกราช ได้เชิญพระแก้วมรกตมายังเชียงใหม่ สร้างปราสาทประดิษฐานไว้แต่ถูกฟ้าผ่าหลายครั้ง ครั้นเมื่อพระเจ้าไชยเชษฐาแห่งล้านช้างซึ่งเป็นญาติกับราชวงศ์ล้านนามาครองเมืองเชียงใหม่ เมื่อพระเจ้าไชยเชษฐาเสด็จกลับหลวงพระบาง ก็เชิญพระแก้วมรกตไปด้วยพร้อมกับพระพุทธสิหิงค์ ทางเชียงใหม่ขอคืนก็ได้แต่พระพุทธสิหิงค์ เมื่อล้านช้างย้ายเมืองหลวงจากหลวงพระบางมาเวียงจันทน์ก็เชิญพระแก้วมรกตลงมาด้วย ต่อมาสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช ทรงสถาปนากรุงธนบุรีขึ้นเป็นเมืองหลวง พระองค์ได้ทรงอัญเชิญพระแก้วมรกต และพระบาง มาจากอาณาจักรล้านช้างเวียงจันทน์ (ลาว) ในครั้งนั้นประดิษฐานไว้ที่วัดอรุณราชวราราม ต่อมาเมื่อสิ้นรัชสมัยของพระองค์ พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช ทรงอัญเชิญพระพุทธมหามณีรัตนปฏิมากรลงบุษบกในเรือพระที่นั่ง เสด็จข้ามฝั่งแม่น้ำเจ้าพระยา มาประดิษฐานยังวัดพระศรีรัตนศาสดาราม จนถึงปัจจุบัน ส่วนพระบางได้คืนให้แก่ลาว.

ใหม่!!: พระบรมมหาราชวังและพระพุทธมหามณีรัตนปฏิมากร · ดูเพิ่มเติม »

พระพุทธรัตนสถาน

ระพุทธรัตนสถาน พระพุทธรัตนสถาน เป็นหนึ่งในอาคารบริเวณสวนศิวาลัย ในพระบรมมหาราชวัง เดิมมีฐานะเป็น พระอุโบสถ สำหรับฝ่ายใน (โดยที่วัดพระศรีรัตนศาสดาราม มีพระอุโบสถสำหรับฝ่ายหน้า) มีพระพุทธบุษยรัตน์จักรพรรดิพิมลมณีมัย เป็นพระประธาน ภายหลังยุบพัทธสีมาลง และได้อัญเชิญพระพุทธบุษยรัตน์ฯ และพระพุทธรูปอื่นๆ ไปไว้ยังพระที่นั่งอัมพรสถาน พระราชวังดุสิต.

ใหม่!!: พระบรมมหาราชวังและพระพุทธรัตนสถาน · ดูเพิ่มเติม »

พระมหากษัตริย์

กษัตริย์ หรือ พระมหากษัตริย์ คือประมุขหรือผู้ปกครองสูงสุดของรัฐ ในระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์หรือในราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญ ปัจจุบันพระมหากษัตริย์ในระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์มีน้อยมากซึ่งส่วนใหญ่เป็นประเทศขนาดเล็ก พระมหากษัตริย์เป็นได้ด้วยการสืบสันตติวงศ์หรือโดยการยึดอำนาจจากพระมหากษัตริย์พระองค์เดิมแล้วปราบดาภิเษกตนเองขึ้นเป็นพระมหากษัตริย์ การสืบสันตติวงศ์ของพระมหากษัตริย์จะสืบทอดต่อกันมาโดยเชื้อพระวงศ์ เรียกว่าพระราชวงศ์ เมื่อสิ้นสุดการสืบทอดโดยเชื้อพระวงศ์ด้วยเหตุใดเหตุหนึ่ง พระมหากษัตริย์พระองค์ใหม่จะเป็นตันพระราชวงศ์ใหม่ หรือเป็นผู้สถาปนาพระราชวงศ์ พระมหากษัตริย์อาจมีคำเรียกแตกต่างกัน เช่น พระราชาธิบดี พระจักรพรรดิ พระราชา เจ้ามหาชีวิต เป็นต้น กษัตริย์ ในสังคมฮินดู ยังหมายถึงวรรณะที่ 2 จาก 4 วรรณะ คือวรรณะพราหมณ์ วรรณะกษัตริย์ วรรณะแพศย์ และวรรณะศูทร.

ใหม่!!: พระบรมมหาราชวังและพระมหากษัตริย์ · ดูเพิ่มเติม »

พระมหามณเฑียร

ระมหามณเฑียร เป็นหมู่พระที่นั่งภายในพระบรมมหาราชวังโดยพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้สร้างขึ้นในปี พ.ศ. 2325 เพื่อทรงใช้เป็นที่ประทับและเป็นพระราชพิธีมณฑลในพระราชพิธีปราบดาภิเษก เดิมเป็นพระที่นั่งขนาดใหญ่เชื่อมต่อกัน 3 องค์ ชื่อว่า "พระที่นั่งจักรพรรดิพิมาน" ต่อมา พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัวได้พระราชทานนามพระที่นั่งใหม่สำหรับแต่ละองค์โดยเป็นนามที่คล้องจองกัน ได่แก่ พระที่นั่งจักรพรรดิพิมาน พระที่นั่งไพศาลทักษิณ พระที่นั่งอมรินทรวินิจฉัยมไหสูรยพิมาน ปัจจุบัน พระมหามณเฑียรได้ใช้เป็นพระราชพิธีมณฑลสำหรับประกอบพระราชพิธีบรมราชาภิเษกและพระราชพิธีสำคัญอื่น ๆ ในพระมหากษัตริย์ทุกรัชกาลในราชวงศ์จักรีสืบเนื่องกันม.

ใหม่!!: พระบรมมหาราชวังและพระมหามณเฑียร · ดูเพิ่มเติม »

พระราชวังบวรสถานมงคล

ระราชวังบวรสถานมงคล หรือ พระบวรราชวัง ตั้งอยู่ที่เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร เป็นพระราชวังที่ประทับของกรมพระราชวังบวรสถานมงคลหรือวังหน้า สมเด็จพระบวรราชเจ้ามหาสุรสิงหนาทซึ่งทรงดำรงพระอิสริยยศกรมพระราชวังบวรสถานมงคลพระองค์แรกแห่งกรุงรัตนโกสินทร์โปรดให้สร้างขึ้น โดยเริ่มสร้างพร้อม ๆ กับพระบรมมหาราชวังใน พ.ศ. 2325 การก่อสร้างพระราชวังแห่งนี้ใช้พื้นที่ตั้งแต่ทิศเหนือของวัดสลัก (ปัจจุบันคือวัดมหาธาตุยุวราชรังสฤษฎิ์ราชวรมหาวิหาร) ขึ้นไปจรดคลองคูเมืองเดิม และได้ทำผาติกรรมที่ดินส่วนหนึ่งทางด้านเหนือของวัดสลัก เข้ามาเป็นเขตพระราชวังบวรสถานมงคลด้วย อาณาเขตของพระราชวังบวรสถานมงคลเดิมกว้างขวางมาก แต่ปัจจุบันได้ดัดแปลงส่วนหนึ่งเป็นสนามหลวง และถนน และเป็นที่ตั้งของสถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์ โรงละครแห่งชาติ พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติพระนคร และมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร.

ใหม่!!: พระบรมมหาราชวังและพระราชวังบวรสถานมงคล · ดูเพิ่มเติม »

พระราชอาสน์

ระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ประทับ ณ พระที่นั่งพุดตานกาญจนสิงหาสน์ ใต้พระนพปฎลมหาเศวตฉัตร ในพระที่นั่งอมรินทร์วินิจฉัย พระบรมมหาราชวัง พระราชอาสน์ เป็นราชภัณฑ์ที่คู่องค์พระมหากษัตริย์ไทยมาตั้งแต่สมัยโบราณ.

ใหม่!!: พระบรมมหาราชวังและพระราชอาสน์ · ดูเพิ่มเติม »

พระอภิเนาว์นิเวศน์

ระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงฉายภาพ ณ พระอภิเนาว์นิเวศน์ พระอภิเนาว์นิเวศน์ เป็นพระราชมนเทียร (เรือนหลวง) ที่พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้สร้างขึ้นภายในพระบรมมหาราชวัง โดยทรงเลือกบริเวณที่เรียกว่า "สวนขวา" เป็นที่จัดสร้างพระราชมนเทียรขึ้นใหม่ สร้างในรูปแบบสถาปัตยกรรมของชาติตะวันตก ทั้งนี้เพื่อจะใช้เป็นที่ต้อนรับแขกบ้านแขกเมื่อและเป็นที่แสดงเครื่องบรรณาการที่ประเทศแถบยุโรปส่งมาถวาย และเป็นพระเกียรติยศของพระองค์อีกประการหนึ่ง พระราชมนเทียรแห่งนี้เป็นสถานที่สำคัญในรัชสมัยของพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เนื่องจากใช้เป็นที่ประทับ ออกว่าราชการ และต้อนรับแขกบ้านแขกเมืองของพระองค์ ประกอบด้วย พระที่นั่ง 8 องค์ และหอ 3 หอ รวมทั้งหมด 11 หลัง แต่การตั้งนามพระที่นั่งและอาคารต่าง ๆ นั้น ได้รวมเอานามพระที่นั่งสุทไธสวรรย์ปราสาทและพระที่นั่งไชยชุมพลเข้ามาเป็นหมู่พระที่นั่งเดียวกันด้วย เมื่อสิ้นรัชกาลแล้ว พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวก็มิได้ประทับ ณ หมู่พระอภิเนาว์นิเวศน์ ประกอบกับพระราชมนเทียรแห่งนี้สร้างด้วยเครื่องไม้ประกอบอิฐ ปูนเป็นหลัก เมื่อเวลาผ่านไปจึงผุกร่อนจนต้องรื้อลงเกือบทั้งหมดและปรับพื้นที่เป็นสวนดังเช่นปัจจุบัน อย่างไรก็ตาม นามของพระที่นั่งภายในพระอภิเนาว์นิเวศน์บางองค์ก็นำไปใช้เป็นนามพระที่นั่งองค์ต่าง ๆ ในภายหลัง เช่น พระที่นั่งอนันตสมาคม ภายในพระราชวังดุสิต, พระที่นั่งบรมพิมาน ภายในพระบรมมหาราชวัง เป็นต้น.

ใหม่!!: พระบรมมหาราชวังและพระอภิเนาว์นิเวศน์ · ดูเพิ่มเติม »

พระที่นั่งบรมพิมาน

ระที่นั่งบรมพิมาน พระที่นั่งบรมพิมาน เดิมชื่อ พระที่นั่งภานุมาศจำรูญ เป็นพระที่นั่งอยู่ในพระบรมมหาราชวัง ทางด้านใต้ของวัดพระศรีรัตนศาสดาราม อยู่เหนือสวนศิวาลัย บริเวณคลังสรรพาวุธเดิม พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว โปรดเกล้าฯ ให้สร้างขึ้นเพื่อพระราชทาน สมเด็จพระบรมโอรสาธิราช เจ้าฟ้ามหาวชิรุณหิศ สยามมกุฎราชกุมาร แต่เจ้าฟ้ามหาวชิรุณหิศ เสด็จสวรรคตเสียก่อน จึงพระราชทานให้เป็นที่ประทับของ สมเด็จพระบรมโอรสาธิราช เจ้าฟ้ามหาวชิราวุธ (พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว) เมื่อพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว เสด็จขึ้นครองราชย์จึงเสด็จมาประทับเป็นครั้งคราว ในปี..

ใหม่!!: พระบรมมหาราชวังและพระที่นั่งบรมพิมาน · ดูเพิ่มเติม »

พระที่นั่งบรมราชสถิตยมโหฬาร

ระที่นั่งบรมราชสถิตยมโหฬาร ในพระบรมมหาราชวัง เป็นพระที่นั่งองค์ใหม่ตั้งอยู่ทางทิศใต้ของพระที่นั่งจักรีมหาปราสาท ในเขตพระราชฐานชั้นใน สร้างขึ้นในสมัยพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช มีลักษณะเป็นพระที่นั่ง ๒ องค์สร้างซ้อนกัน คือ พระที่นั่งบรมราชสถิตยมโหฬาร และพระที่นั่งเทวารัณยสถาน อันเป็นรูปแบบหนึ่งของพระที่นั่งหรือที่เสด็จออกมหาสมาคม ซึ่งตั้งแต่สมัยรัชกาลที่ ๕ เป็นต้นมา นิยมสร้างพระที่นั่งเป็นหมู่แบ่งตามห้องที่ใช้ประโยชน์ และพระราชทานนามแต่ละห้องว่าพระที่นั่งเหมือนกัน โดย พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว พระราชทานกระแสพระราชดำริประกอบการออกแบบก่อสร้างสรุปได้ว่า ควรจัดให้มีห้องสำหรับพระราชทานเลี้ยง เพื่อเป็นเกียรติแก่ประมุขของนานาประเทศที่เขามาเยี่ยมประเทศไทย บางครั้งจำเป็นต้องเชิญพระราชวงศ์ องคมนตรี คณะรัฐบาล ข้าราชการฝ่ายทหารและพลเรือน คณะทูตานุทูต และบรรดาผู้เกี่ยวข้องโดยทั่วถึง ซึ่งจะต้องให้สามารถจัดเลี้ยงได้ระหว่าง ๒๐๐ – ๒๕๐ คน เริ่มดำเนินการก่อสร้างเมื่อ..

ใหม่!!: พระบรมมหาราชวังและพระที่นั่งบรมราชสถิตยมโหฬาร · ดูเพิ่มเติม »

พระที่นั่งพิมานรัตยา

ระที่นั่งพิมานรัตยา พระที่นั่งพิมานรัตยา เป็นพระที่นั่งก่ออิฐถือปูน ทาสีขาว ยกพื้นสูง มีเสาลอยรับหลังคาโดยรอบ พระที่นั่งองค์นี้เชื่อมต่อกับพระที่นั่งดุสิตมหาปราสาทด้วยห้องโถงที่เรียกว่า "มุขกระสัน" ลักษณะเป็นห้องโถงยาวทอดยาวไปทางทิศใต้ เป็นพระที่นั่งยกสูง มีระเบียง 3 ด้าน คือ ด้านทิศตะวันออก ตะวันตกและด้านทิศใต้ รอบระเบียงเป็นเสาราย มีหลังคาเป็นชั้นลด 3 ชั้น ทรงไทยมุงด้วย กระเบื้องเคลือบสี มีช่อฟ้า ใบระกา หางหงส์ประดับ หน้าบันจำหลักรูปพระพรหมทรงหงส์ ซุ้มพระทวารเป็นซุ้มเรือนแก้วลายดอกพุดตาน และซุ้มพระบัญชรเป็นซุ้มทรงบันแถลง ปิดทองประดับกระจก.

ใหม่!!: พระบรมมหาราชวังและพระที่นั่งพิมานรัตยา · ดูเพิ่มเติม »

พระที่นั่งมูลสถานบรมอาสน์

ระที่นั่งมูลสถานบรมอาสน์ เป็นพระที่นั่งตึก2ชั้นศิลปกรรมแบบยุโรปโดยพระที่นั่งองค์นี้สร้างเชื่อมต่อกับพระที่นั่งจักรีมหาปราสาททางด้านทิศตะวันออก โดยมีชื่อเรียกว่าห้องโต๊ะ ใช้สำหรับประกอบพระราชพิธีสำคัญๆต่างๆและใช้สำหรับพระราชทานเลี้ยงรับรอง.

ใหม่!!: พระบรมมหาราชวังและพระที่นั่งมูลสถานบรมอาสน์ · ดูเพิ่มเติม »

พระที่นั่งราชฤดี

ระที่นั่งราชฤดี ภายในหมู่พระมหามณเฑียร พระที่นั่งราชฤดี ก่อสร้างขึ้นหลายครั้ง ตั้งอยู่ที่ชานชาลาทางด้านทิศตะวันออกของพระที่นั่งอมรินทรวินิจฉัยมไหยสูรยพิมาน องค์แรก พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวโปรดเกล้าฯ ให้สร้างเป็นที่ประทับว่าราชการ เป็นตึกอย่างฝรั่งสองชั้น ภายในโถงตอนกลางยกพื้นสูง มีพระแท่นองค์ประธานอยู่ระหว่างเสา มีประตูรับเสด็จขึ้น หมู่พระมหามณเฑียรจากพระที่นั่งองค์นี้ทางหอพระสุราลัยพิมาน โปรดเกล้าฯ ให้เป็นที่จัดแสดงสิ่งของนานาชาติ ส่งเข้ามาถวายมาเป็นพระราชไมตรีมาตั้งให้ทูตานุทูต พระราชอาคันตุกะ ตลอดจนข้าราชละอองธุลีพระบาทได้ชม ถือได้ว่าพระที่นั่งองค์นี้ เป็นต้นกำเนิดพิพิธภัณฑสถานแห่งแรกของไทย เมื่อสร้างพระที่นั่งประพาสพิพิธภัณฑ์ในพระอภิเนาว์นิเวศน์ จึงย้ายของไปไว้ที่พระที่นั่งประพาสพิพิธภัณฑ์แทน เมื่อพระที่นั่งราชฤดีทรุดโทรมมาก พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวจึงโปรดเกล้าฯ ให้รื้อแล้วปลูกเป็นเก๋งจีน ครั้นเมื่อทรุดโทรมอีก จึงให้รื้อไป และนำนามพระที่นั่งที่ไปพระราชทานเป็นนามพระที่นั่งโถงในพระราชวังดุสิตแทน หลังจากนั้น พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวโปรดเกล้าฯ ให้สร้างพระที่นั่งขึ้นใหม่ในบริเวณพระที่นั่งราชฤดีเดิม สำหรับสรงน้ำในพระราชพิธีต่าง ๆ พระราชทานนามว่า "พระที่นั่งจันทรทิพโยภาส" ต่อมา ได้มีประกาศพระบรมราชโองการ เมื่อวันที่ 2 เมษายน..

ใหม่!!: พระบรมมหาราชวังและพระที่นั่งราชฤดี · ดูเพิ่มเติม »

พระที่นั่งสมมติเทวราชอุปบัติ

ระที่นั่งสมมติเทวราชอุปบัติ พระที่นั่งองค์นี้อยู่ต่อกับท้องพระโรงกลางของหมู่พระที่นั่งจักรีมหาปราสาททางทิศตะวันตก ที่เฉลียงด้านหน้าพระที่นั่งองค์นี้มีอ่างน้ำพุซึ่งเรียกกันมาแต่เดิมว่า “ อ่างแก้ว “ นามของพระที่นั่งองค์นี้มีความหมายว่า “ เป็นที่ซึ่งพระองค์ เสด็จพระราชสมภพ “ เนื่องจาก พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ได้พระราชสมภพ ณ พระที่นั่งแห่งนี้ต่อมาใน..

ใหม่!!: พระบรมมหาราชวังและพระที่นั่งสมมติเทวราชอุปบัติ · ดูเพิ่มเติม »

พระที่นั่งสุทไธสวรรยปราสาท

ระที่นั่งสุทไธสวรรยปราสาท เป็นพระที่นั่งที่ตั้งอยู่บนกำแพงพระบรมมหาราชวังด้านทิศตะวันออก ระหว่างประตูเทวาพิทักษ์ กับประตูศักดิ์ไชยสิทธิ์ ซึพระที่นั่งองค์นี้พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกทรงสร้างขึ้นเมื่อ..

ใหม่!!: พระบรมมหาราชวังและพระที่นั่งสุทไธสวรรยปราสาท · ดูเพิ่มเติม »

พระที่นั่งสนามจันทร์

ระที่นั่งสนามจันทร์ พระที่นั่งสนามจันทร์ ตั้งอยู่ทางทิศตะวันตกของพระที่นั่งอมรินทรวินิจฉัยมไหยสูรยพิมาน รัชกาลที่ 2 โปรดเกล้าฯ ให้สร้างเป็นที่ประทับสำราญพระอริยาบถ ทรงงานช่างตามที่โปรดปรานเป็นนิจ บางครั้งเป็นที่เสด็จออกขุนนาง แทนการเสด็จออกที่พระที่นั่งอมรินทรวินิจฉัยมไหสูรยพิมาน เป็นสถานที่สำหรับกรมพระราชวังบวรสถานมงคล หรือวังหน้าประทับพักก่อนเข้าเฝ้าฯ ในห้องพระโรง เนื่องจากพระที่นั่งสนามจันทร์ ตั้งอยู่ทางทิศเหนือของหอพระธาตุมณเฑียร อันเป็นที่ประดิษฐานพระโกศพระบรมอัฐิ จึงโปรดเกล้าฯ ให้ตั้งเครื่องนมัสการ สำหรับถวายบังคมพระบรมอัฐิในการพระราชพิธีถือน้ำพระพิพัฒน์สัตยา ณ พระที่นั่งสนามจันทร์อีกแห่งหนึ่งด้วย รัชกาลที่ 4 ทรงนับถือว่าพระที่นั่งองค์นี้ เสมือนพระแท่นราชบัลลังก์ในพระชนกนาถ จึงห้ามไม่ให้ผู้ที่ไม่มีกิจหน้าที่ขึ้นไปบนพระที่นั่งองค์นี้ ลักษณะเป็นพระที่นั่งพลับพลาโถงไม้ขนาดเล็ก ตั้งลอยอยู่กับพื้นที่ เคลื่อนย้ายได้ หลังคามุงกระเบื้องดินเผาเคลือบสี ประัดับช่อฟ้า ใบระกา หางหงส์ ลงรักปิดทองประดับกระจก ในประธานขององค์พระที่นั่งยกพื้นสูง มีชานไม้รอบพื้นประธาน ไม้ที่ทำพื้นประธานขององค์พระที่นั่งเป็นไม้สักขนาดกว้างแผ่นเดียว มีสัดส่วนงดงาม ยักย้ายต่อกันไปทุกช่อง เฉพาะลายเพดานเขียนลายทอง เป็นลายดอกพุดตาลลก้านแย่งแบบต่างๆ กล่าวกันมาว่าเป็นฝีพระหัตถ์ของรัชกาลที่ 2 ด้านหลังพระที่นั่งสนามจันทร์ รัชกาลที่ 5 โปรดเกล้าฯ ให้สร้างแอ่งแก้วเอาไว้.

ใหม่!!: พระบรมมหาราชวังและพระที่นั่งสนามจันทร์ · ดูเพิ่มเติม »

พระที่นั่งอมรินทรวินิจฉัยมไหยสูรยพิมาน

ระที่นั่งอมรินทรวินิจฉัย พระที่นั่งอมรินทรวินิจฉัยมไหยสูรยพิมาน หรือ พระที่นั่งอมรินทรวินิจฉัย เป็นพระที่นั่งอยู่ในหมู่พระมหามณเฑียร ในพระบรมมหาราชวัง อยู่ทางทิศเหนือ ติดกับพระที่นั่งไพศาลทักษิณ มีกำแพงแก้วล้อมด้านทิศเหนือและทิศตะวันตก อยู่ในพระราชฐานชั้นกลาง ใช้เป็นท้องพระโรงสำหรับเสด็จออกฝ่ายหน้า เป็นที่เสด็จออกว่าราชการ บางคราวก็ใช้เป็นที่ทรงบำเพ็ญพระราชกุศล และเป็นที่เสด็จออกมหาสมาคมในพระราชพิธีเฉลิมพระชนมพรรษาของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวและสมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีน.

ใหม่!!: พระบรมมหาราชวังและพระที่นั่งอมรินทรวินิจฉัยมไหยสูรยพิมาน · ดูเพิ่มเติม »

พระที่นั่งอาภรณ์ภิโมกข์ปราสาท

ระที่นั่งอาภรณ์ภิโมกข์ปราสาท เป็นพระที่นั่งโถงทรงปราสาทจตุรมุขประกอบเครื่องยอดบุษบก โดยมุขรี(ด้านยาว)สั้นกว่ามุขด้านสกัด(ด้านกว้าง)มีเชิงเทินเกยเทียบพระยานคานหาม ตั้งอยู่ระหว่าง พระที่นั่งจักรีมหาปราสาท และ พระที่นั่งดุสิตมหาปราสาท ด้านหน้าพระที่นั่งราชกรันยสภา สร้างขึ้นโดยพระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหามงกุฎ พระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ภายในพระบรมมหาราชวังชั้นกลาง เดิมทีใช้เป็นที่ประกอบพระราชพิธีโสกันต์(โกนจุก) และยังเคยใช้เป็นที่ประทับเกยเสด็จบนพระราชยานคานหามด้วย นอกจากนี้ ความสวยงามด้วยสถาปัตยกรรมไทยแท้นี้ ได้รับการยกย่องให้เป็นศิลปกรรมประจำชาติแขนงหนึ่งในหลายๆแขนง ที่เรียกกันว่า ศาลาไทย พระที่นั่งแห่งนี้พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้สร้างขึ้นโดยจำลองขึ้น มีชื่อว่า พระที่นั่งไอศวรรย์ทิพยอาสน์ ตั้งอยู่ใน พระราชวังบางปะอิน จังหวัดพระนครศรีอยุธยา อีกด้ว.

ใหม่!!: พระบรมมหาราชวังและพระที่นั่งอาภรณ์ภิโมกข์ปราสาท · ดูเพิ่มเติม »

พระที่นั่งจักรพรรดิพิมาน

ระที่นั่งจักรพรรดิพิมาน พระที่นั่งจักรพรรดิพิมาน เป็นพระที่นั่งองค์ประธาน ของหมู่พระมหามณเฑียร มีความสำคัญเป็นพระราชพิธีมณฑล "พระราชพิธีขึ้นเฉลิมพระราชมณเฑียร" ในพระราชพิธีบรมราชาภิเษก พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย และพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว ประทับที่พระที่นั่งองค์นี้เป็นการถาวร รัชกาลต่อๆมาประทับเป็นเวลาสั้นๆ ตามกำหนดพระราชพิธี ลักษณะพระที่นั่ง เป็นสถาปัตยกรรมไทย 3 หลังแฝด ชั้นเดียว ก่ออิฐปูน ยกฐานสูง เรียงจากทิศตะวันออกไปทิศตะวันตก องค์กลางใหญ่ องค์ขนาบสองข้างมีขนาดเท่ากัน แต่ละองค์มีพระทวารเชื่อม หลังคามุงกระเบื้องเคลือบสี ตกแต่ง ช่อฟ้า ใบระกา หางหงส์ ประดับกระจกสีทอง หน้าบันจำหลักไม้เป็นรูปสมเด็จพระอมรินทราราชในบุษบก พระทวารและพระบัญชรทำซุ้มบันแถลง เป็นลายนาคสามเศียรสองชั้น ประสมซุ้ม รูปไข่ลายดอกเบญจมาศ ระเบียงรอบมีชานตั้งเสานางเรียงรองรับชายคา พระที่นั่งองค์ตะวันออก เป็นที่พระบรรทมของพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช ภายในกั้นด้วยพระฉากดาดทองบุตาด ด้านเหนือประดิษฐานพระแท่นบรรจถรณ์ ด้านใต้เป็นห้องทรงเครื่อง ตั้งพระแท่นราชอาสน์ทอดเครื่องสรงพระพักตร์ เครื่องพระสำอางค์ ทั้งสองส่วนกางกั้นด้วยพระนพปฎลมหาเศวตฉัตร พระที่นั่งองค์นี้เป็นที่สวรรคตของ พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย และพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว พระแท่นราชบรรจถรณ์ พระที่นั่งองค์กลาง เป็นโถงมีพระทวาร และอัฒจันทร์ลงไปมุขกระสันด้านเหนือ เป็นท้องพระโรงหน้า เชื่อมต่อกับพระที่นั่งไพศาลทักษิณ ทางลงสู่ท้องพระโรงหน้ามีเกยลา ซึ่งรัชกาลที่ 4 สร้างขึ้นสำหรับเสด็จออกแขกเมืองฝ่ายใน ด้านใต้เป็นอัฒจันทร์จากพระทวารไปท้องพระโรงใน ลักษณะเป็นห้องโถงยาว ขนาบด้วยพระปรัศว์ซ้ายขวา ที่รัชกาลที่ 6 ทรงยกขึ้นเป็นพระที่นั่งเทพสถานพิลาส พระที่นั่งเทพอาสน์พิไล พระที่นั่งองค์ตะวันตก เป็นโถง สำหรับทรงพระบำเพ็ญพระราชกุศลส่วนพระองค์ เมื่อปลายรัชกาลที่ 3 พระองค์ประชวร โปรดเกล้าฯให้ตั้งพระแท่นบรรทมสำหรับประทับ และเสด็จสวรรคต ณ พระที่นั่งองค์นี้ ปัจจุบันเป็นที่ประดิษฐานเครื่องสิริราชกกุธภัณฑ์ และพระแสงนานาชน.

ใหม่!!: พระบรมมหาราชวังและพระที่นั่งจักรพรรดิพิมาน · ดูเพิ่มเติม »

พระที่นั่งจักรีมหาปราสาท

ระที่นั่งจักรีมหาปราสาท เป็นพระที่นั่งในหมู่พระที่นั่งจักรีมหาปราสาท ภายในพระบรมมหาราชวัง โดยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้สร้างขึ้นเมื่อ..

ใหม่!!: พระบรมมหาราชวังและพระที่นั่งจักรีมหาปราสาท · ดูเพิ่มเติม »

พระที่นั่งดุสิตมหาปราสาท

ระที่นั่งดุสิตมหาปราสาท เป็นพระที่นั่งองค์ประธานของหมู่พระมหาปราสาท ใน พระบรมมหาราชวัง ตั้งอยู่ในเขตพระราชฐานชั้นกลาง ทางทิศตะวันตกของพระที่นั่งจักรีมหาปราสาท มีพระที่นั่งพิมานรัตยา พระปรัศว์ซ้าย พระปรัศว์ขวา และ เรือนบริวาร หรือ เรือนจันทร์ ต่อเนื่องทางด้านหลังในเขตพระราชฐานชั้นใน พระที่นั่งองค์นี้ได้รับยกย่องว่าเป็นสถาปัตยกรรมชั้นเอกของกรุงรัตนโกสินทร์ และเป็นพระที่นั่งทรงไทยแท้องค์เดียว ในพระบรมมหาราชวัง โดยเฉพาะเรือนยอดพระมหาปราสาท (กุฎาคาร) มีรูปทรงต้องด้วยศิลปะลักษณะอันวิจิตรงดงาม.

ใหม่!!: พระบรมมหาราชวังและพระที่นั่งดุสิตมหาปราสาท · ดูเพิ่มเติม »

พระที่นั่งดุสิตาภิรมย์

ระที่นั่งดุสิตาภิรมย์ สร้างในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช ตั้งอยู่ริมกำแพงทางด้านทิศะวันตกเฉัยงเหนือของพระที่นั่งอมรินทรวินิจฉัยมไหยสูรยพิมาน เป็นพลับพลาโถงเสาไม้ลักษณะเป็นอาคารทรงไทย ชั้นเดียวยกพื้นสูง บันไดอยู่ในกำแพงแก้วด้านทิศตะวันออก ภายในยกพื้นตอนกลางสูง มีพระแท่นองค์ประธานอยู่ระหว่างเสาลายทอง หลังคามุงกระเบื้องดินเผาเคลือบสี ประดับช่อฟ้า ใบระกา หางหงส์ ประดับกระจก หน้าบันไม้จำหลักรูปเทวดายืนแท่น พระหัตถ์ขวาทรงพระขรรค์ พระหัตถ์ซ้ายทรงตรี ล้อมรอบด้วยลายกระหนกก้านขดเทพพนม พื้นปิดกระจกสี ลายจำหลักลงรักปิดทอง ผนังภายนอกเขียนลายกระหนกก้านแย่งหน้าสิงห์ ผนังภายในเขียนเป็นภาพในสรวงสวรรค์ ด้านทิศเหนือเป็นเกยประทับพระคชาธาร ด้านทิศตะวันตกเป็นเกยประทับพระราชยาน ในสมัยรัชกาลที่ ๓ โปรดเกล้าฯให้แก้ผนังเป็นผนังก่ออิฐฉาบปูนและเขียนสีภายนอกภายใน รัชกาลที่ ๔ โปรดเกล้าฯ ย้ายเกยประทับพระราชยานจากทิศตะวันออกไปทิศเนือ และย้ายเกยพระคชาธารไปไว้ด้านทิศตะวันออก พระที่นั่งองค์นี้สร้างเป็นพลับพลาเปลื้องเครื่อง ในโอกาสเสด็จพระราชดำเนินขึ้นทรงพระคชาธารหรือทรงพระราชยาน เสด็จฯโดยกระบวนพยุหยาตรา บางโอกาสเป็นพิธีมณฑลในการพระราชพิธีต่าง.

ใหม่!!: พระบรมมหาราชวังและพระที่นั่งดุสิตาภิรมย์ · ดูเพิ่มเติม »

พระที่นั่งไชยชุมพล

ระที่นั่งไชยชุมพล พระที่นั่งไชยชุมพล ตั้งอยู่บนกำแพงพระบรมมหาราชวังด้านตะวันออก ฝั่งถนนสนามไชย ตรงกับพระอุโบสถวัดพระศรีรัตนศาสดาราม เป็นพระที่นั่งพลับพลาชั้นเดียว กว้าง.๗๕ เมตร ยาว.๗๐ เมตร หลังคามุงกระเบื้องตะกั่วลดหลั่น ๒ ชั้นประดับด้วยช่อฟ้า ใบระกา และหางหงส์ พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว โปรดให้สร้างขึ้นเพื่อใช้เป็นที่ประทับในการทอดพระเนตรกระบวนแห่พระยาชิงช้าในพระราชพิธีตรียัมปวาย และใช้ทอดพระเนตรตรวจตราการฝึกทหาร นอกจากนี้ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยุ่หัวยังโปรดเกล้าฯ ให้ประกอบพระราชพิธีสังเวยพระสยามเทวาธิราชและสังเวยเทพยดา ณ พระที่นั่งองค์นี้ ในปี..

ใหม่!!: พระบรมมหาราชวังและพระที่นั่งไชยชุมพล · ดูเพิ่มเติม »

พระที่นั่งไพศาลทักษิณ

ระที่นั่งไพศาลทักษิณ ในรัชสมัยรัชกาลที่ 1 เป็นส่วนหนึ่งของพระที่นั่งจักรพรรดิพิมาน รัชกาลที่ 1 ประทับทรงพระสำราญ เสวยพระกระยาหาร และประกอบพระราชานุกิจ บางโอกาสโปรดเกล้าฯให้ พระบรมวงศ์ ข้าราชบริพารชั้นผู้ใหญ่เข้าเฝ้าทูลละอองธุลีพระบาท และบำเพ็ญพระราชกุศลภายใน แม้เมื่อปลายรัชกาลทรงพระประชวรได้ประทับบรรทมที่พระที่นั่งองค์นี้ ตลอดทรงว่าราชการ โดยให้ข้าราชการเข้าเฝ้าอยู่ที่ชานชาลา ข้างพระที่นั่งอมรินทรวินิจฉัยมไหยสูรยพิมาน และเสด็จสวรรคตที่พระที่นั่งองค์นี้ รัชกาลที่ 2 ทรงตั้งการพระราชพิธีบรมราชาภิเษก ณ พระที่นั่งองค์นี้ อันเป็นพระราชพิธีสืบมาจวบจนปัจจุบันว่า พระมหากษัตริย์แห่งราชวงศ์จักรีทุกพระองค์ ณ พระที่นั่งองค์นี้ และยังทรงตั้งพระที่นั่งอัฐทิศอุทุมพรราชอาสน์และพระที่นั่งภัทรบิฐ อันเป็นพระที่นั่งสำหรับพระราชพิธีบรมราชาภิเษกตามโบราณราชประเพณี รัชกาลที่ 4 ทรงสร้างเทวรูปเพื่อปกปักษ์รักษา กรุงรัตนโกสินทร์ พระราชทานนามว่า "พระสยามเทวาธิราช" ประดิษฐานไว้ในพระวิมานซุ้มเรือนแก้วกลางผนังด้านทิศเหนือ เป็นปูชนียวัตถสำคัญคู่บ้านคู่เมือง ลักษณะเป็นอาคารทรงไทยก่ออิฐถือปูน ผนังภายนอกฉาบปูนเรียบทาสีขาว ตั้งอยู่ระหว่างท้องพระโรงหน้าพระที่นั่งจักรพรรดิพิมาน และพระที่นั่งอมรินทรวินิจฉัยมไหยสูรยพิมาน ลักษณะเป็นพระที่นั่งโถงยาว 11 ห้อง (ช่วงเสา) ทอดยาวจากทิศตะวันออกไปทิศตะวันตก ยกพื้นสูงสองเมตร ด้านที่ติดต่อกับท้องพระโรงหน้าเป็นคูหาเปิดโล่ง มีอัฒจันทร์ทางขึ้นลงตอนกลาง และที่เฉลียงชั้นลดของสองปีก ด้านที่เชื่อมกับพระที่นั่งอมรินทรวินิจฉัยมไหยสูรยพิมาน มีผนังกั้น มีประตูตรงกลางเรียกว่า "พระทวารเทวราชมเหศวร" เป็นทางเฉพาะของพระมหากษัตริย์สำหรับเสด็จ สองข้างมีพระทวารเทวราชมเหศวร มีพระบัญชร 10 ช่อง เฉพาะด้านที่เปิดออกสู่พระที่นั่งอมรินทรวินิจฉัยมไหยสูรยพิมาน และลานภายนอกประดับเป็นซุ้มบันแถลง นอกนั้นเป็นเรือนแก้วลายดอกเบญจมาศ หลังคามุงกระเบื้องดินเผาเคลือบสี ประดับช่อฟ้า ใบระกา หางหงส์ นาคสะดุ้ง ปิดทองประดับกระจกสีทอง หน้าบันจำหลักไม้ รูปสมเด็จพระอมรินทราธิราชประทับในวิมานปราสาทสามยอด พื้นกระจกสีน้ำเงินประกอบลายก้านขดหัวนาค ผนังด้านทิศตะวันออก มีพระทวารเสด็จฯ ออกไปยังหอพระสุราลัยพิมาน ช่วงบนเขียนภาพเทพเจ้าสวรรค์ชั้นดาวดึงส์ 32 องค์ ช่วงล่างระหว่างพระทวารเขียนภาพพระนารายณ์ปางต่าง ๆ ผนังด้านทิศตะวันตก มีพระทวารเสด็จออกไปยังหอพระธาตุมณเฑียร ช่วงบนเขียนภาพเทพชุมนุม เหล่าเทวดาบนวิมาน ช่วงล่างเขียนภาพพระนารายณ์ปางต่าง ๆ หน้าพระทวารประดิษฐานพระที่นั่งภัทรบิฐ พระราชอาสน์ทอดอยู่ภายใต้นพปฎลมหาเศวตฉัตร กลางผนังด้านทิศเหนือ เป็นพระวิมานสำหรับ พระสยามเทวาธิราช ประดิษฐานอยู่ภายใต้ซุ้มเรือนแก้ว เบื้องหน้าตั้งโต๊ะหมู่บูชาแบบจีนพร้อมเครื่องสักการบู.

ใหม่!!: พระบรมมหาราชวังและพระที่นั่งไพศาลทักษิณ · ดูเพิ่มเติม »

พิธีราชาภิเษก

น ดาร์ก'' (''Jeanne d'Arc'') พ.ศ. 2429-2433 โดยฌูลส์ เออแฌน เลอเนิปเวอ พิธีราชาภิเษก (coronation) เป็นเป็นพิธีการเพื่อสถาปนาพระมหากษัตริย์ และ/หรือ คู่อภิเษกซึ่งมีพระราชอำนาจ อย่างเป็นทางการ เกี่ยวข้องกับการวางมงกุฎบนพระเศียรของพระองค์หรือการนำเสนอเครื่องราชกกุธภัณฑ์รายการอื่น โดยพิธีการนี้อาจหมายรวมถึง การตรัสคำปฏิญาณพิเศษโดยกษัตริย์ การแสดงคารวะจากคนในบังคับ ของผู้ปกครองใหม่ และการแสดงพิธีกรรมอื่น ซึ่งมีความสำคัญพิเศษต่อชาตินั้น.

ใหม่!!: พระบรมมหาราชวังและพิธีราชาภิเษก · ดูเพิ่มเติม »

กรมราชเลขานุการในพระองค์

กรมราชเลขานุการในพระองค์ (เดิมคือ สำนักราชเลขาธิการ) เป็นหน่วยงานราชการในสังกัด สำนักพระราชวัง ซึ่งมีหน้าที่เกี่ยวกับการเลขานุการในองค์ พระมหากษัตริย์ เกี่ยวกับงานหนังสือที่หน่วยราชการ เอกชนและบุคคลทั่วไปส่งเข้ามา เพื่อขอให้นำความขึ้นกราบบังคมทูลพระกรุณา ขอพระราชทานพระบรมราชานุญาต พระบรมราชวินิจฉัยและพระมหากรุณา แล้วแต่กรณี รวมทั้งทำหน้าที่รับพระราชทานพระราชดำริและพระราชดำรัส เพื่อเชิญไปยังหน่วยงานและบุคคลที่เกี่ยวข้อง มีบทบาทเป็นผู้ประสานงานระหว่างพระมหากษัตริย์กับรัฐบาล และหน่วยงานต่าง ๆ ทั้งภาครัฐหรือเอกชนและบุคคลทั่วไป ทั้งที่เป็นราชการแผ่นดินและการส่วนพระองค์ ก่อตั้งขึ้นในรัชสมัย พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ในตอนนั้นเรียกว่าออฟฟิศไปรเวตสิเกรตารีหลวง หรือกรมราชเลขาธิการ.

ใหม่!!: พระบรมมหาราชวังและกรมราชเลขานุการในพระองค์ · ดูเพิ่มเติม »

กระทรวงกลาโหม (ประเทศไทย)

กระทรวงกลาโหม (Ministry of Defence) เป็นหน่วยงานราชการไทยประเภทกระทรวง มีหน้าที่ป้องกันประเทศ เพิ่มขีดความสามารถ และรักษาผลประโยชน์ของชาติ สร้างความร่วมมือด้านความมั่นคงกับประเทศเพื่อนบ้าน ประเทศในกลุ่มอาเซียน และมิตรประเทศ เพื่อลดความหวาดระแวงสร้างสันติภาพ ให้ความสำคัญในการตอบสนองนโยบายเร่งด่วนของคณะรัฐมนตรี ที่เกี่ยวข้องกับการดำเนินการของกระทรวงกลาโหม ตลอดจนภารกิจอื่นตามที่ได้รับมอบหมายเป็นการเฉพาะ และมีหน้าที่พิทักษ์รักษาสถาบันพระมหากษัตริย์ ทั้งในฐานะที่พระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุขของประเทศ และทรงดำรงตำแหน่งจอมทัพไทย รวมทั้งสนับสนุนการดำเนินการตามพระราชประสง.

ใหม่!!: พระบรมมหาราชวังและกระทรวงกลาโหม (ประเทศไทย) · ดูเพิ่มเติม »

กรุงเทพมหานคร

กรุงเทพมหานคร เป็นเมืองหลวงและนครที่มีประชากรมากที่สุดของประเทศไทย เป็นศูนย์กลางการปกครอง การศึกษา การคมนาคมขนส่ง การเงินการธนาคาร การพาณิชย์ การสื่อสาร และความเจริญของประเทศ เป็นเมืองที่มีชื่อยาวที่สุดในโลก ตั้งอยู่บนสามเหลี่ยมปากแม่น้ำเจ้าพระยา มีแม่น้ำเจ้าพระยาไหลผ่านและแบ่งเมืองออกเป็น 2 ฝั่ง คือ ฝั่งพระนครและฝั่งธนบุรี กรุงเทพมหานครมีพื้นที่ทั้งหมด 1,568.737 ตร.กม.

ใหม่!!: พระบรมมหาราชวังและกรุงเทพมหานคร · ดูเพิ่มเติม »

รัตนโกสินทร์ (แก้ความกำกวม)

รัตนโกสินทร์ อาจจะหมายถึง.

ใหม่!!: พระบรมมหาราชวังและรัตนโกสินทร์ (แก้ความกำกวม) · ดูเพิ่มเติม »

ราชวงศ์จักรี

ราชวงศ์จักรี เป็นราชวงศ์ที่ปกครองราชอาณาจักรสยามต่อจากสมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรีจนถึงปัจจุบัน โดยพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช (พระนามเดิม ทองด้วง ทรงสืบเชื้อสายมาจากตระกูลขุนนางในสมัยกรุงศรีอยุธยา) ทรงสถาปนาราชวงศ์โดยการปราบดาภิเษกเมื่อ พ.ศ. 2325 ยุคของราชวงศ์นี้ เรียกว่า "ยุครัตนโกสินทร์".

ใหม่!!: พระบรมมหาราชวังและราชวงศ์จักรี · ดูเพิ่มเติม »

วัดพระศรีรัตนศาสดาราม

วัดพระศรีรัตนศาสดาราม หรือที่เรียกกันทั่วไปว่า วัดพระแก้ว เป็นวัดที่พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราชโปรดเกล้าฯให้สร้างขึ้นในพ.ศ. 2325 เป็นวัดในพระบรมมหาราชวังเช่นเดียวกับวัดพระศรีสรรเพชญ์ ซึ่งเป็นวัดในพระราชวังหลวงในสมัยอยุธยา และมีพระราชประสงค์ให้วัดพระศรีรัตนศาสดารามเป็นที่ประดิษฐาน พระพุทธมหามณีรัตนปฏิมากร หรือพระแก้วมรกต พระคู่บ้านคู่เมืองของแผ่นดินสยามที่พบ ณ วัดป่าเยี้ยะ(ป่าไผ่) จังหวัดเชียงราย และเป็นสถานที่ทรงบำเพ็ญพระราชกุศล วัดพระศรีรัตนศาสดารามเป็นวัดที่ไม่มีพระสงฆ์จำพรรษาอยู่ เพราะมีแต่ส่วนพุทธาวาสไม่มีส่วนสังฆาว.

ใหม่!!: พระบรมมหาราชวังและวัดพระศรีรัตนศาสดาราม · ดูเพิ่มเติม »

วัดพระศรีสรรเพชญ์

right วัดพระศรีสรรเพชญ์ หรือ วัดพระศรีสรรเพชญ เป็นอดีตวัดหลวงประจำพระราชวังโบราณ อยุธยา ตั้งอยู่ที่ตำบลประตูชัย อำเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ทางทิศเหนือของวิหารพระมงคลบพิตรในเขตอุทยานประวัติศาสตร์พระนครศรีอยุธยา สร้างชึ้นราวปี..

ใหม่!!: พระบรมมหาราชวังและวัดพระศรีสรรเพชญ์ · ดูเพิ่มเติม »

วัดพระเชตุพนวิมลมังคลารามราชวรมหาวิหาร

วัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม (/พระ-เชด-ตุ-พน-วิ-มน-มัง-คะ-ลา-ราม/) หรือ วัดโพธิ์ เป็นพระอารามหลวงชั้นเอก ชนิดราชวรมหาวิหาร และเป็นวัดประจำรัชกาลพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช ทั้งยังเปรียบเสมือนเป็นมหาวิทยาลัยแห่งแรกของประเทศด้วย เนื่องจากเป็นที่รวมจารึกสรรพวิชาหลายแขนง และทางยูเนสโกได้ขึ้นทะเบียนเป็นมรดกความทรงจำโลกของภูมิภาคเอเชียแปซิฟิก เมื่อ มีนาคม..

ใหม่!!: พระบรมมหาราชวังและวัดพระเชตุพนวิมลมังคลารามราชวรมหาวิหาร · ดูเพิ่มเติม »

วัดจักรวรรดิราชาวาสวรมหาวิหาร

วัดจักรวรรดิราชาวาสวรมหาวิหาร หรือนิยมเรียกกันสั้น ๆ ว่า วัดจักรวรรดิ หรือ วัดจักรวรรดิราชาวาส เดิมเป็นวัดราษฎร์ ชื่อ วัดนางปลื้ม สร้างสมัยอยุธยา ต่อมาในสมัยรัตนโกสินทร์เรียก วัดสามปลื้ม สันนิษฐานว่าคงมาจากผู้หญิงสามนางร่วมกันสร้าง และอาจด้วยเพราะอยู่ใกล้กับสำเพ็ง หรือสามเพ็ง ทำนองเดียวกับวัดสามจีน หรือวัดไตรมิตรวิทยารามวรวิหาร ที่อยู่ใกล้กัน เจ้าพระยาบดินทรเดชา (สิงห์ สิงหเสนี) ได้บูรณปฏิสังขรณ์วัดขึ้นใหม่ทั้งพระอาราม ประมาณ พ.ศ. 2362 และได้ถวายพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงรับไว้เป็นพระอารามหลวง และพระราชทานนามว่า วัดจักรวรรดิราชาวาสเมื่อประมาณ พ.ศ. 2368 ภายในวัดมีศาลและรูปปั้นเจ้าพระยาบดินทรเดชาอยู่ด้วย โดยช่างปั้นได้ปั้นจากภาพเขียนรูปปั้นของเจ้าพระยาบดินทรเดชาที่สมเด็จพระหริรักษ์รามาธิบดี (นักองค์ด้วง) พระเจ้ากรุงกัมพูชาให้สร้างขึ้นที่เมืองอุดงมีชัย ปัจจุบัน วัดจักรวรรดิราชาวาสวรมหาวิหาร ตั้งอยู่บนถนนจักรวรรดิ แขวงจักรวรรดิ เขตสัมพันธวงศ์ กรุงเทพมหานคร ใกล้กับวัดบพิตรพิมุขวรวิหาร หรือวัดเชิงเลน และเชิงสะพานพระปกเกล้าด้านมุ่งหน้าไปฝั่งธนบุรี จระเข้ขนาดใหญ่ในบ่อเลี้ยงภายในวัด ในวัดแห่งนี้ยังมีจุดเด่นอีกประการคือ มีบ่อเลี้ยงจระเข้ขนาดใหญ่ ซึ่งพระสงฆ์และเด็กวัดช่วยกันดูแล ทั้งนี้เนื่องจากราวปี พ.ศ. 2485 ที่บริเวณวัดที่ติดกับแม่น้ำเจ้าพระยามีเรื่องราวของจระเข้กินคนตัวหนึ่งชื่อ "ไอ้บอดวัดสามปลื้ม" เนื่องจากมีตาข้างหนึ่งบอด แต่ไม่ปรากฏหลักฐานว่าไอ้บอดวัดสามปลื้มนั้นตายลงเมื่อใด หากแต่ตำนานนี้ยังคงอยู่มาจนถึงปัจจุบัน และเป็นที่มาของบ่อเลี้ยงจระเข้ภายในวั.

ใหม่!!: พระบรมมหาราชวังและวัดจักรวรรดิราชาวาสวรมหาวิหาร · ดูเพิ่มเติม »

วัดปทุมคงคาราชวรวิหาร

วัดปทุมคงคาราชวรวิหาร เป็นพระอารามหลวงชั้นโท ชนิดราชวรวิหาร ตั้งอยู่ริมฝั่งแม่น้ำเจ้าพระยา ฝั่งพระนคร ถนนทรงวาดติดต่อกับถนนสำเพ็ง แขวงสัมพันธวงศ์ เขตสัมพันธวงศ์ กรุงเทพมหานคร เดิมชื่อวัดสำเพ็ง ตามชื่อถนนหน้าวัด ต่อมาในสมัยรัชกาลที่ 1 พระราชทานนามใหม่ว่า “วัดปทุมคงคา”.

ใหม่!!: พระบรมมหาราชวังและวัดปทุมคงคาราชวรวิหาร · ดูเพิ่มเติม »

วัง

้านหน้าของพระราชวังดุสิต วัง หรือ พระราชวัง เป็นสิ่งก่อสร้างสำหรับที่อยู่อาศัยขนาดใหญ่โดยเฉพาะที่อยู่อาศัยของประมุขของประเทศหรือผู้นำผู้มีตำแหน่งสูงในหลายประเทศในยุโรปเช่นประเทศฝรั่งเศส และ อิตาลี นอกจากนั้นยังเป็นคำที่ใช้สำหรับสิ่งก่อสร้างที่ใหญ่แต่ไม่จำเป็นต้องใหญ่มากในตัวเมืองที่สร้างสำหรับเจ้านาย หรือผู้มีตระกูล ในปัจจุบันวังหรือพระราชวังหลายแห่งเปลี่ยนไปใช้เป็นพิพิธภัณฑ์หรือสำนักงานรัฐบาล หรือโรงแรม.

ใหม่!!: พระบรมมหาราชวังและวัง · ดูเพิ่มเติม »

วังหน้า

วังหน้า อาจหมายถึง.

ใหม่!!: พระบรมมหาราชวังและวังหน้า · ดูเพิ่มเติม »

ศาลาสหทัยสมาคม

ระโกศพระศพสมเด็จพระนางเจ้าอินทรศักดิศจี พระวรราชชายา ประดิษฐานพระศพ ณ ศาลาสหทัยสมาคมในพระบรมมหาราชวัง ศาลาสหทัยสมาคม เป็นสถานที่พระราชอาคันตุกะซึ่งเสด็จฯ หรือเดินทางมาเยือนประเทศไทยอย่างเป็นทางการ จัดงานเลี้ยงถวายเป็นการตอบแทน และโปรดเกล้าฯ ให้ผู้ได้รับพระมหากรุณาเป็นนาคหลวงทำพิธีปลงผม ก่อนเข้าพระราชพิธีอุปสมบท ณ พระอุโบสถวัดพระศรีรัตนศาสดาราม เป็นสถาปัตยกรรมแบบอาร์กโค้งของฝรั่ง.

ใหม่!!: พระบรมมหาราชวังและศาลาสหทัยสมาคม · ดูเพิ่มเติม »

ศาลาเครื่องราชอิสริยยศ เครื่องราชอิสริยาภรณ์ และเหรียญกษาปณ์

ลาเครื่องราชอิสริยยศ เครื่องราชอิสริยาภรณ์ และเหรียญกษาปณ์ เป็นพิพิธภัณฑ์จัดแสดงเครื่องราชอิสริยยศ เครื่องราชอิสริยาภรณ์และเงินตราไทย ปัจจุบันอยู่ในการกำกับดูแลของสำนักทรัพย์สินมีค่าของแผ่นดิน กรมธนารักษ์ กระทรวงการคลัง ซึ่งมีหน้าที่รับผิดชอบในการดูแลรักษา (อนุรักษ์ จัดเก็บ จัดทำทะเบียน) ทรัพย์สินมีค่าของแผ่นดิน อันได้แก่ เครื่องราชอิสริยยศ เครื่องราชอิสริยาภรณ์ และเงินตราไทย ฯลฯ ให้ปลอดภัยอยู่ในสภาพที่ดีตามหลักการอนุรักษ์ และนำออกจัดแสดงเพื่อเผยแพร่ให้คนไทยได้รับรู้ และเกิดความภาคภูมิใจในมรดกของชาติ รวมทั้งให้ชาวต่างชาติได้รู้จักศิลปวัฒนธรรมที่เป็นเอกลักษณ์ของชาติไทย ศาลาเครื่องราชอิสริยยศ เครื่องราชอิสริยาภรณ์ และเหรียญกษาปณ์ ตั้งอยู่ภายในพระบรมมหาราชวัง บริเวณทางเข้าวัดพระศรีรัตนศาสดาราม และเปิดให้ประชาชนได้เข้าชมทุกวัน ตั้งแต่เวลา 08.30 - 16.00 น.

ใหม่!!: พระบรมมหาราชวังและศาลาเครื่องราชอิสริยยศ เครื่องราชอิสริยาภรณ์ และเหรียญกษาปณ์ · ดูเพิ่มเติม »

สวนศิวาลัย

หมู่พระที่นั่งบริเวณสวนศิวาลัย (พระบรมหาราชวังจำลอง) สวนศิวาลัย หรือ สวนขวา เป็นสวนภายในพระบรมมหาราชวัง ตั้งอยู่ทางด้านทิศตะวันออก ในอดีตเคยเป็นที่ตั้งของพระอภิเนาว์นิเวศน์อันเป็นพระราชมณเฑียรที่ประทับของพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ต่อมาในสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว พระราชมณเฑียรดังกล่าวได้ชำรุดทรุดโทรมจำต้องรื้อถอนไปเกือบหมดสิ้น คงแก่อาคารสำคัญ เช่น พระพุทธรัตนสถาน พระที่นั่งมหิศรปราสาท และได้สร้างพระที่นั่งเพิ่มอีก 2 องค์ คือ พระที่นั่งบรมพิมาน และพระที่นั่งศิวาลัยมหาปราสาท และปรับเป็นสวน ปัจจุบัน เป็นเขตพระราชฐานส่วนพระองค์ในทูลกระหม่อมหญิงอุบลรัตนราชกัญญา สิริวัฒนาพรรณวดี โดยมีพระที่นั่งบรมพิมานเป็นที่ประทับเป็นการถาวรหลังจากทรงนิวัติประเทศไทย และอาคารรับรองด้านหลัง A และ B ใช้เป็นที่ทรงงานในทูลกระหม่อมหญิงอุบลรัตนราชกัญญา สิริวัฒนาพรรณวดี เพื่อเสด็จออกรับบุคคลที่ขอเข้าเฝ้า และใช้เป็นกองงานในพระองค์ทูลกระหม่อมหญิงอุบลรัตนราชกัญญา สิริวัฒนาพรรณวดี.

ใหม่!!: พระบรมมหาราชวังและสวนศิวาลัย · ดูเพิ่มเติม »

สำนักพระราชวัง

ำนักพระราชวัง (Bureau of the Royal Household; BRH) เป็นหน่วยงานของทางราชการมีอำนาจหน้าที่กำกับดูแลและรับผิดชอบในส่วนที่เกี่ยวข้องกับพระราชวัง ตลอดจนดูแลรักษาทรัพย์สินและผลประโยชน์ในองค์ พระมหากษัตริย์ สมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เป็นผู้บังคับบัญชาสำนักพระราชวัง และเลขาธิการพระราชวังเป็นผู้รับผิดชอบในการบริหารราชกิจราชการ.

ใหม่!!: พระบรมมหาราชวังและสำนักพระราชวัง · ดูเพิ่มเติม »

สำนักงานราชบัณฑิตยสภา

ำนักงานราชบัณฑิตยสภา (Office of the Royal Society) หรือชื่อเดิมว่า ราชบัณฑิตยสถาน (the Royal Institute), ข่าวประชาสัมพันธ์ เว็บไซต.

ใหม่!!: พระบรมมหาราชวังและสำนักงานราชบัณฑิตยสภา · ดูเพิ่มเติม »

สำเพ็ง

ตลาดสำเพ็งในปัจจุบัน แผนที่ของเขตสัมพันธวงศ์ (สำเพ็งปรากฏอยู่ในชื่อ Wanit 1 Road หรือ Sampheng Road ซึ่งเริ่มมาจากย่านตลาดน้อย ในขณะที่ส่วนที่เป็นย่านการค้าที่คึกคัก จะเริ่มต้นจากบริเวณถนนราชวงศ์ไปจนสิ้นสุดที่ฝั่งถนนจักรเพชร ในเขตพระนคร) สำเพ็ง หรือ สามเพ็ง (อักษรโรมัน: Sampheng) เป็นย่านการค้าแห่งหนึ่งในกรุงเทพมหานคร ตั้งอยู่ในแขวงจักรวรรดิ เขตสัมพันธวงศ์ อยู่ใกล้กับย่านเยาวราช, ถนนราชวงศ์ และต่อเนื่องไปถึงสะพานหัน, พาหุรัดและวังบูรพา ในพื้นที่แขวงวังบูรพาภิรมย์ เขตพระนคร ทั้งนี้สำเพ็งในปัจจุบัน รู้จักกันดีในชื่ออย่างเป็นทางการว่า ซอยวานิช 1 และในช่วงระหว่างสะพานหันถึงถนนจักรวรรดิเรียกว่า ตรอกหัวเม็ด สำเพ็งเริ่มต้นจากที่พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช องค์ปฐมกษัตริย์แห่งราชวงศ์จักรี ผู้ทรงสถาปนาสร้างกรุงรัตนโกสินทร์ขึ้นที่ฝั่งขวาของแม่น้ำเจ้าพระยา ให้เป็นราชธานีแห่งใหม่แทนที่กรุงธนบุรี ในปี.ศ 2325 โดยมีพระบรมมหาราชวังตั้งขึ้นในพื้นที่ ๆ แต่เดิมเป็นที่ตั้งของชุมชนชาวจีน และโปรดให้ย้ายชุมชนชาวจีนออกไปตั้งถิ่นฐานใหม่นอกประตูพระนครทางทิศตะวันออกเฉียงใต้ ขนานไปกับลำน้ำเจ้าพระยา ตั้งแต่คลองวัดสามปลื้ม (วัดจักรวรรดิราชาวาส) ไปจนถึงคลองสามเพ็ง หรือสำเพ็ง ที่มาของชื่อ "สำเพ็ง" นั้นไม่มีใครทราบว่ามีความหมายว่ากระไร หรือมาจากคำว่าอะไร ได้มีผู้สันนิษฐานไปต่าง ๆ นานา บ้างก็ว่ามาจากคำว่า "สามแพร่ง" หรือมาคำจีนแต้จิ๋วว่า "สามเผง" (อักษรจีน: 三聘; จีนกลางออกเสียง ซั้นผิ่ง) แปลตรงตัวได้ว่า "ศานติทั้งสาม" ซึ่งก็ไม่มีใครทราบความหมายหรือคำแปลที่แท้จริง หรือบ้างก็ว่ามาจากคำว่า "สามปลื้ม" ก็มี ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว กิจการค้าของชาวจีนที่ได้ตั้งถิ่นฐานอยู่ในย่านสำเพ็งเติบโตขึ้นเป็นลำดับ ชาวตะวันตกที่เข้ามาติดต่อการค้ากับสยามประเทศ เรียกขานย่านสำเพ็งว่า "ตลาดจีน" หรือ "Chinese Bazaar" ในบันทึกของมิชชันนารีที่ได้เข้ามาเยี่ยมดูย่านสำเพ็งในปี..

ใหม่!!: พระบรมมหาราชวังและสำเพ็ง · ดูเพิ่มเติม »

หมู่พระมหาปราสาท

หมู่พระมหาปราสาท เป็นหมู่พระที่นั่งภายในพระบรมมหาราชวัง โดยก่อสร้างลักษณะสถาปัตยกรรมไทยแท้ มีทั้งองค์พระมหาปราสาท พระราชมณเฑียร พระปรัศว์ เรือนจันทร์ครบถ้วน ฝีมือก่อสร้างประณีตวิจิตรงดงาม เป็นสิ่งก่อสร้างที่ล้ำค่าอันเป็นเอกลักษณ์ของชาติ หมู่พระมหาปราสาทนี้ มีประวัติศาสตร์ที่แดงขนบธรรมเนียมประเพณี เกี่ยวกับองค์สมเด็จพระมหากษัตริยาธิราชเจ้ายาวนาน.

ใหม่!!: พระบรมมหาราชวังและหมู่พระมหาปราสาท · ดูเพิ่มเติม »

หมู่พระที่นั่งจักรีมหาปราสาท

หมู่พระที่นั่งจักรีมหาปราสาท เป็นหมู่พระที่นั่งที่อยู่ระหว่างพระมหามณเฑียรและหมู่พระมหาปราสาทภายในพระบรมมหาราชวัง ทอดตัวจากทิศเหนือไปทิศใต้ ตั้งอยู่ในเขตพระราชฐานชั้นกลางและเขตพระราชฐานชั้นใน สร้างขึ้นในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวเพื่อใช้เป็นสถานที่ออกว่าราชการและเป็นที่ประทับส่วนพระองค์ เดิมประกอบด้วยหมู่พระที่นั่ง 11 องค์ แต่เนื่องจากพระที่นั่งบางองค์ทรุดโทรมจนยากต่อการบูรณะจึงได้ทำการรื้อลง ปัจจุบัน หมู่พระที่นั่งจักรีมหาปราสาท ประกอบด้วย พระที่นั่ง 5 องค์ ได้แก่ พระที่นั่งจักรีมหาปราสาท เป็นพระที่นั่งองค์เดียวในหมู่พระที่นั่งจักรีมหาปราสาทที่สร้างขึ้นในรัชกาลที่ 5 พระที่นั่งมูลสถานบรมอาสน์ พระที่นั่งสมมติเทวราชอุปบัติ พระที่นั่งบรมราชสถิตยมโหฬาร และพระที่นั่งเทวารัณยสถาน เป็นพระที่นั่งที่รื้อลงและสร้างขึ้นใหม่ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุล.

ใหม่!!: พระบรมมหาราชวังและหมู่พระที่นั่งจักรีมหาปราสาท · ดูเพิ่มเติม »

หอพระสุราลัยพิมาน

ในหอพระสุราลัยพิมาน ภายนอกหอพระสุราลัยพิมาน.

ใหม่!!: พระบรมมหาราชวังและหอพระสุราลัยพิมาน · ดูเพิ่มเติม »

หอพระธาตุมณเฑียร

ในหอพระธาตุมณเฑียร ภายนอกหอพระธาตุมณเฑียร หอพระธาตุมณเฑียร เป็นหนึ่งในสิ่งก่อสร้างภายในพระมหามณเฑียร พระบรมมหาราชวัง ตั้งอยู่ทางทิศตะวันตกของพระที่นั่งไพศาลทักษิณ พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราชโปรดให้สร้างขึ้นเพื่อเป็นที่ประดิษฐานพระบรมอัฐิสมเด็จพระปฐมบรมมหาชนกเป็นปฐม ภายหลังจึงเป็นที่ประดิษฐานพระบรมอัฐิพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 1-3 และพระบรมวงศ์ชั้นสูงหลายพระอง.

ใหม่!!: พระบรมมหาราชวังและหอพระธาตุมณเฑียร · ดูเพิ่มเติม »

หอศาสตราคม

หอศาสตราคม หรือ หอพระปริตร ตั้งอยู่ในกำแพงแก้วด้านทิศตะวันออกเฉียงเหนือของพระที่นั่งอมรินทรวินิจฉัยมไหยสูรยพิมาน ตรงข้ามกับพระที่นั่งดุสิตาภิรมย์ รัชกาลที่ 1 โปรดเกล้าฯ ให้สร้างเห็นพระที่นั่งโถง ลักษณะเดียวกับพระที่นั่งดุสิตาภิรมย์ รัชกาลที่ 4 พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว โปรดเกล้าให้รื้อพระที่นั่งองค์เดิมแล้วสร้างหอศาสตราคม เพื่อให้พระสงฆ์ฝ่ายรามัญนิกาย ทำพิธีสวดพระพุทธมนต์สัตปริตรคาถาเสกน้ำพระพุทธมนต์ สำหรับสรงพระพักต์ และ น้ำสรง ตลอดทั่งประพรมรอบพระมหามณเฑียร ในอดีตเมื่อมีการศึกสงครามได้ประกอบพิธีปลุกเสกเครื่องรางของขลัง เพื่อมอบเป็นขวัญกำลังใจให้แก่ทหารในการรบ ด้วยเหตุนี้จึงเขียนลายเครื่องอาวุธโบราณ ไว้ที่บานประตูหน้าต่างทุกบาน รัชกาลที่ 4 รัชกาลที่ 5 รัชกาลที่ 6 และรัชกาลที่ 7 มีการสวดทำน้ำพระพุทธมนต์ถวายสรง และนิมนต์พระสงฆ์เข้าประพรมน้ำพระพุธมนต์รอบพระมหามณเฑียรทุกวัน ปัจจุบันนิมนต์พระสงฆ์สวดทำน้ำพระพุทธมนต์ และประพรมรอบพระมหามณเฑียรเฉพาะวันธรรมสวนะเท่านั้น ส่วนการถวายน้ำพระพุทธมนต์สำหรับสรง ยังคงถวายทุกวัน ตามโบราณราชประเพณี และเนื่องในโอกาสพระราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา 5 รอบ 5 ธันวาคม..

ใหม่!!: พระบรมมหาราชวังและหอศาสตราคม · ดูเพิ่มเติม »

หอประชุมกองทัพเรือ

หอประชุมกองทัพเรือ (Royal Thai Navy Convention Center) เป็นหอประชุมที่ตั้งอยู่ภายในพื้นที่กรมสารวัตรทหารเรือ และปรับปรุงต่อเติมอาคารราชนาวิกสภา ติดแม่น้ำเจ้าพระยา แขวงวัดอรุณ เขตบางกอกใหญ่ กรุงเทพมหานคร.

ใหม่!!: พระบรมมหาราชวังและหอประชุมกองทัพเรือ · ดูเพิ่มเติม »

อาณาจักรอยุธยา

ำหรับความหมายอื่น ดูที่ อยุธยา ระวังสับสนกับ อโยธยา อาณาจักรอยุธยา เป็นอาณาจักรของชนชาติไทยในลุ่มแม่น้ำเจ้าพระยาในช่วง พ.ศ. 1893 ถึง พ.ศ. 2310 มีกรุงศรีอยุธยาเป็นศูนย์กลางอำนาจหรือราชธานี ทั้งยังมีความสัมพันธ์ทางการค้ากับหลายชาติ จนถือได้ว่าเป็นศูนย์กลางการค้าในระดับนานาชาติ เช่น จีน เวียดนาม อินเดีย ญี่ปุ่น เปอร์เซีย รวมทั้งชาติตะวันตก เช่น โปรตุเกส สเปน เนเธอร์แลนด์ (ฮอลันดา) อังกฤษ และฝรั่งเศส ซึ่งในช่วงเวลาหนึ่งเคยสามารถขยายอาณาเขตประเทศราชถึงรัฐฉานของพม่า อาณาจักรล้านนา มณฑลยูนนาน อาณาจักรล้านช้าง อาณาจักรขอม และคาบสมุทรมลายูในปัจจุบัน.

ใหม่!!: พระบรมมหาราชวังและอาณาจักรอยุธยา · ดูเพิ่มเติม »

อาณาจักรธนบุรี

อาณาจักรธนบุรี เป็นอาณาจักรที่มีระยะเวลาสั้นที่สุดของไทย คือระหว่าง..

ใหม่!!: พระบรมมหาราชวังและอาณาจักรธนบุรี · ดูเพิ่มเติม »

ทูลกระหม่อมหญิงอุบลรัตนราชกัญญา สิริวัฒนาพรรณวดี

ทูลกระหม่อมหญิงอุบลรัตนราชกัญญา สิริวัฒนาพรรณวดี (พระนามเดิม สมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าอุบลรัตนราชกัญญา สิริวัฒนาพรรณวดี; ประสูติ: 5 เมษายน 2494) เป็นพระราชธิดาพระองค์ใหญ่ในพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช กับสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ และเป็นพระเชษฐภคินีพระองค์เดียวในสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร หลังจากทรงสำเร็จการศึกษาในระดับปริญญาตรี ณ สถาบันเทคโนโลยีแมสซาชูเซตส์ ประเทศสหรัฐอเมริกาแล้ว ทรงประกาศลาออกจากฐานันดรศักดิ์เป็นสามัญชน เพื่อเข้าพระพิธีเสกสมรสกับปีเตอร์ แลดด์ เจนเซนในพระบรมหาราชวังตามพระราชประเพณี แล้วเสด็จไปประทับด้วยพระสวามี ณ สหรัฐอเมริกาเมื่อ..

ใหม่!!: พระบรมมหาราชวังและทูลกระหม่อมหญิงอุบลรัตนราชกัญญา สิริวัฒนาพรรณวดี · ดูเพิ่มเติม »

ท้องสนามหลวง

ท้องสนามหลวง ท้องสนามหลวง หรือ สนามหลวง เป็นสนามขนาดใหญ่ ตั้งอยู่ด้านหน้าวัดมหาธาตุยุวราชรังสฤษฎิ์ ระหว่างพระบรมมหาราชวังกับพระราชวังบวรสถานมงคล เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร มีเนื้อที่ 74 ไร่ 63 ตารางวา ปัจจุบันกรมศิลปากรได้ประกาศขึ้นทะเบียนเป็นโบราณสถานสำคัญของชาติ ในราชกิจจานุเบกษา เล่มที่ 94 ตอนที่ 126 ลงวันที่ 13 ธันวาคม..

ใหม่!!: พระบรมมหาราชวังและท้องสนามหลวง · ดูเพิ่มเติม »

ประตูพระบรมมหาราชวัง

ประตูพระบรมมหาราชวัง.

ใหม่!!: พระบรมมหาราชวังและประตูพระบรมมหาราชวัง · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศจีน

ประเทศจีน มีชื่ออย่างเป็นทางการว่า สาธารณรัฐประชาชนจีน (People's Republic of China (PRC)) เป็นรัฐเอกราชในเอเชียตะวันออก เป็นประเทศที่มีประชากรมากที่สุดในโลก กว่า 1,300 ล้านคน เป็นรัฐพรรคการเมืองเดียวปกครองโดยพรรคคอมมิวนิสต์จีน มีเมืองหลวงอยู่ที่กรุงปักกิ่ง ประเทศจีนแบ่งการปกครองออกเป็น 22 มณฑล (ไม่รวมพื้นที่พิพาทไต้หวัน) 5 เขตปกครองตนเอง 4 เทศบาลนคร (ปักกิ่ง เทียนจิน เซี่ยงไฮ้ และฉงชิ่ง) และ 2 เขตบริหารพิเศษ ได้แก่ ฮ่องกงและมาเก๊า ประเทศจีนมีพื้นที่ 9.6 ล้านตารางกิโลเมตร นับเป็นประเทศที่มีพื้นที่ทั้งหมดใหญ่ที่สุดในโลกเป็นอันดับ 3 หรือ 4 แล้วแต่วิธีการวัด ลักษณะภูมิประเทศของจีนมีความหลากหลาย ตั้งแต่ป่าสเต็ปป์และทะเลทรายในพื้นที่แห้งแล้งทางตอนเหนือของประเทศติดกับประเทศมองโกเลียและไซบีเรียของรัสเซีย และป่าฝนกึ่งโซนร้อนในพื้นที่ชื้นทางใต้ซึ่งติดกับเวียดนาม ลาว และพม่า ส่วนภูมิประเทศทางตะวันตกนั้นขรุขระและเป็นที่สูง โดยมีเทือกเขาหิมาลัยและเทือกเขาเทียนชานกั้นเป็นพรมแดนตามธรรมชาติกับประเทศอินเดีย เนปาล และเอเชียกลาง ในทางตรงกันข้าม แนวชายฝั่งด้านตะวันออกของจีนแผ่นดินใหญ่นั้นเป็นที่ราบต่ำ และมีแนวชายฝั่งยาว 14,500 กิโลเมตร (ยาวที่สุดเป็นอันดับที่ 11 ของโลก) ซึ่งติดต่อกับทะเลจีนใต้ทางใต้ และทะเลจีนตะวันออกทางตะวันออก นอกจากนี้ยังมีประเทศที่เป็นเกาะอยู่ใกล้เคียง ได้แก่ เกาหลี และญี่ปุ่น อารยธรรมจีนโบราณ ซึ่งถือว่าเป็นหนึ่งอารยธรรมยุคแรกเริ่มของโลก เจริญรุ่งเรืองในลุ่มแม่น้ำเหลืองอันอุดมสมบูรณ์ ซึ่งไหลผ่านที่ราบลุ่มจีนเหนือ จีนยึดระบบการเมืองแบบราชาธิปไตยหลายสหัสวรรษ จีนรวมกันเป็นปึกแผ่นครั้งแรกในสมัยราชวงศ์ฉินเมื่อ 221 ปีก่อนคริสตกาล ส่วนราชวงศ์สุดท้าย ราชวงศ์ชิง สิ้นสุดลงในปี..

ใหม่!!: พระบรมมหาราชวังและประเทศจีน · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศไทย

ประเทศไทย มีชื่ออย่างเป็นทางราชการว่า ราชอาณาจักรไทย เป็นรัฐชาติอันตั้งอยู่ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เดิมมีชื่อว่า "สยาม" รัฐบาลประกาศเปลี่ยนชื่อเป็นประเทศไทยอย่างเป็นทางการตั้งแต่ปี 2482 ประเทศไทยมีขนาดใหญ่เป็นอันดับที่ 50 ของโลก มีเนื้อที่ 513,115 ตารางกิโลเมตร และมีประชากรมากเป็นอันดับที่ 20 ของโลก คือ ประมาณ 66 ล้านคน กรุงเทพมหานครเป็นศูนย์กลางการบริหารราชการแผ่นดินและนครใหญ่สุดของประเทศ และการปกครองส่วนภูมิภาค จัดระเบียบเป็น 76 จังหวัด แม้จะมีการสถาปนาระบอบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญและประชาธิปไตยระบบรัฐสภาในปี 2475 แต่กองทัพยังมีบทบาทในการเมืองไทยสูง ล่าสุด เกิดรัฐประหารเมื่อวันที่ 22 พฤษภาคม 2557 และมีการปกครองแบบเผด็จการทหารนับแต่นั้น พบหลักฐานการอยู่อาศัยอย่างต่อเนื่องในอาณาเขตประเทศไทยปัจจุบันตั้งแต่ 20,000 ปีก่อนคริสตกาล ชาวไทเริ่มอพยพเข้าสู่บริเวณนี้ในคริสต์ศตวรรษที่ 11 แล้วเข้ามาตั้งแว่นแคว้นต่าง ๆ ที่สำคัญได้แก่ อาณาจักรสุโขทัย อาณาจักรล้านนาและอาณาจักรอยุธยา นักประวัติศาสตร์มักถือว่าอาณาจักรสุโขทัยเป็นจุดเริ่มต้นของประวัติศาสตร์ไทย ต่อมาอาณาจักรอยุธยาค่อย ๆ เรืองอำนาจมากขึ้นจนเป็นมหาอำนาจในภูมิภาคในปลายคริสต์ศตวรรษที่ 14 การติดต่อกับชาติตะวันตกเริ่มด้วยผู้แทนทางทูตชาวโปรตุเกสในปี 2054 อาณาจักรรุ่งเรืองอย่างมากในรัชกาลสมเด็จพระนารายณ์มหาราช (ครองราชย์ปี 2199–2231) แต่หลังจากนั้นค่อย ๆ เสื่อมอำนาจโดยมีสาเหตุส่วนหนึ่งจากการผลัดแผ่นดินที่มีการนองเลือดหลายรัชกาล จนสุดท้ายกรุงศรีอยุธยาถูกทำลายสิ้นเชิงในปี 2310 สมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรีทรงรวบรวมแผ่นดินที่แตกออกเป็นก๊กต่าง ๆ และสถาปนาอาณาจักรธนบุรีที่มีอายุ 15 ปี ความวุ่นวายในช่วงปลายอาณาจักรนำไปสู่การสำเร็จโทษพระองค์โดยพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช ปฐมราชวงศ์จักรีแห่งกรุงรัตนโกสินทร์ ช่วงต้นกรุงรัตนโกสินทร์ ประเทศเผชิญภัยคุกคามจากชาติใกล้เคียง แต่หลังรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวเป็นต้นมา ชาติตะวันตกเริ่มมีอิทธิพลในภูมิภาคเป็นอย่างมาก นำไปสู่การเข้าเป็นภาคีแห่งสนธิสัญญาไม่เป็นธรรมหลายฉบับ กระนั้น สยามไม่ตกเป็นอาณานิคมของตะวันตกชาติใด มีการปรับให้สยามทันสมัยและรวมอำนาจปกครองในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (ครองราชย์ปี 2411–53) สยามเข้าร่วมกับฝ่ายสัมพันธมิตรในสงครามโลกครั้งที่หนึ่งในปี 2460; ในปี 2475 เกิดการปฏิวัติเปลี่ยนแปลงการปกครองสู่ระบอบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญโดยไม่เสียเลือดเนื้อ คณะราษฎรมีบทบาทนำทางการเมือง และในพุทธทศวรรษ 2480 นายกรัฐมนตรี จอมพล แปลก พิบูลสงคราม ดำเนินนโยบายชาตินิยมเข้มข้น ระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง ไทยเข้ากับฝ่ายอักษะ แต่ฝ่ายสัมพันธมิตรส่วนใหญ่ไม่ยอมรับการประกาศสงคราม ในช่วงสงครามเย็น ประเทศไทยเป็นพันธมิตรกับสหรัฐซึ่งสนับสนุนรัฐบาลทหารมาก รัฐประหารที่มีจอมพล สฤษดิ์ ธนะรัชต์เป็นหัวหน้าคณะในปี 2500 ทำให้คณะราษฎรหมดอำนาจ รัฐบาลฟื้นฟูพระราชอำนาจและมีมาตรการต่อต้านคอมมิวนิสต์ในภูมิภาค ผลของเหตุการณ์ 14 ตุลา 2516 ทำให้เกิดประชาธิปไตยระบบรัฐสภาช่วงสั้น ๆ ประเทศไทยมีนายกรัฐมนตรีจากการเลือกตั้งครั้งแรกในปี 2531 หลังพุทธทศวรรษ 2540 มีวิกฤตการเมืองระหว่างฝ่ายที่สนับสนุนและต่อต้านอดีตนายกรัฐมนตรีทักษิณ ชินวัตรมาจนปัจจุบัน รวมทั้งเกิดรัฐประหารสองครั้ง โดยครั้งล่าสุดเกิดในปี 2557 รัฐธรรมนูญฉบับปัจจุบันเป็นฉบับที่ 20 ประกาศใช้เมื่อวันที่ 6 เมษายน 2560 หลังมีการลงประชามติรับร่างเมื่อหนึ่งปีก่อน ประเทศไทยเป็นสมาชิกสหประชาชาติ เอเปก อีกทั้งเป็นร่วมผู้ก่อตั้งอาเซียน ประเทศไทยเป็นพันธมิตรของสหรัฐตั้งแต่สนธิสัญญาซีโต้ในปี 2497 ถือเป็นประเทศอำนาจนำภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และประเทศอำนาจปานกลางในเวทีโลก ประเทศไทยเป็นประเทศที่มีรายได้ปานกลาง-สูงและประเทศอุตสาหกรรมใหม่ มีรายได้หลักจากภาคอุตสาหกรรมและบริการ การเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจทำให้มีการอพยพเข้าสู่เมืองในคริสต์ศตวรรษที่ 20 ตามประมาณการในปี 2560 จีดีพีของประเทศไทยมีมูลค่าราว 432,898 ล้านดอลลาร์สหรัฐ นับว่าเศรษฐกิจไทยเป็นเศรษฐกิจใหญ่สุดเป็นอันดับ 2 ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และใหญ่เป็นอันดับที่ 26 ของโลก.

ใหม่!!: พระบรมมหาราชวังและประเทศไทย · ดูเพิ่มเติม »

แม่น้ำเจ้าพระยา

แม่น้ำเจ้าพระยา เป็นแม่น้ำสายหลักสายหนึ่งของประเทศไทย เกิดจากการรวมตัวของแม่น้ำสายหลัก 2 สายจากภาคเหนือ คือแม่น้ำปิงและแม่น้ำน่าน ที่ตำบลปากน้ำโพ อำเภอเมืองนครสวรรค์ จังหวัดนครสวรรค์ จากนั้นไหลลงไปทางทิศใต้ ผ่านจังหวัดอุทัยธานี ชัยนาท สิงห์บุรี อ่างทอง พระนครศรีอยุธยา ปทุมธานี นนทบุรี และกรุงเทพมหานคร ก่อนออกสู่อ่าวไทยที่ปากน้ำ ซึ่งอยู่ระหว่างเขตตำบลท้ายบ้าน ตำบลบางปูใหม่ อำเภอเมืองสมุทรปราการ และตำบลแหลมฟ้าผ่า อำเภอพระสมุทรเจดีย์ จังหวัดสมุทรปราการ.

ใหม่!!: พระบรมมหาราชวังและแม่น้ำเจ้าพระยา · ดูเพิ่มเติม »

เขตพระราชฐานชั้นใน (พระบรมมหาราชวัง)

ผังบริเวณ ในเขตพระราชฐานชั้นใน เขตพระราชฐานชั้นใน เป็นพื้นที่ที่มีพระตำหนักของเจ้าจอมมารดา พระมเหสี พระชายาต่างๆ เขตนี้ผู้ชายห้ามเข้า หากจะเข้าต้องมีโขลนคอยดูแลอยู่ตลอด ส่วนแถวเต๊ง เป็นตึกแถวยาวที่เคยเป็นกำแพงวังสมัยรัชกาลที่ 1 โดยมีประตูช่องกุดเป็นช่องทางเข้าออกของชาววัง ซึ่งอยู่ใกล้ประตูศรีสุดาวงศ์ ซึ่งเป็นประตูชั้นในที่จะต่อกับแถวเต๊ง บริเวณนั้นมีสวนขวาอันเป็นพระราชอุทยานซึ่งรัชกาลที่ 4 ทรงสร้างเป็นพระอภิเนาว์นิเวศน์ และมีสวนเต่า พวกเจ้านายจะทรงพระสำราญที่นี่ และเวลาไว้พระศพเจ้านายชั้นสูงก็จะไว้ที่หอธรรมสังเวชซึ่งอยู่ทางตะวันตกของพระที่นั่งดุสิตมหาปราสาท.

ใหม่!!: พระบรมมหาราชวังและเขตพระราชฐานชั้นใน (พระบรมมหาราชวัง) · ดูเพิ่มเติม »

เขตพระนคร

ตพระนคร เป็น 1 ใน 50 เขตการปกครองของกรุงเทพมหานคร อยู่ในกลุ่มเขตกรุงเทพกลาง ถือเป็นเขตอนุรักษ์เมืองเก่า แหล่งท่องเที่ยวเชิงประวัติศาสตร์และศิลปวัฒนธรรมทางฝั่งพระนคร เนื่องจากมีสถานที่สำคัญทั้งทางด้านวัฒนธรรมและด้านการเมืองการปกครองตั้งอยู่เป็นจำนวนมาก ซึ่งเขตพระนครเป็นที่ตั้งของเกาะรัตนโกสินทร์ในปัจจุบัน.

ใหม่!!: พระบรมมหาราชวังและเขตพระนคร · ดูเพิ่มเติม »

13 มิถุนายน

วันที่ 13 มิถุนายน เป็นวันที่ 164 ของปี (วันที่ 165 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 201 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พระบรมมหาราชวังและ13 มิถุนายน · ดูเพิ่มเติม »

6 เมษายน

วันที่ 6 เมษายน เป็นวันที่ 96 ของปี (วันที่ 97 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 269 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พระบรมมหาราชวังและ6 เมษายน · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

เขตพระราชฐานชั้นกลาง (พระบรมมหาราชวัง)

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »