โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

ถนนสุขุมวิท

ดัชนี ถนนสุขุมวิท

นนสุขุมวิท (Thanon Sukhumvit) ซึ่งมีระยะทางส่วนใหญ่เป็น ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 3 สายบางนา–หาดเล็ก เป็นหนึ่งในทางหลวงแผ่นดินสายประธานทั้งสี่ของประเทศไทย จุดเริ่มต้นเชื่อมต่อจากถนนเพลินจิต เขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร มีเส้นทางไปตามชายทะเลภาคตะวันออก และสิ้นสุดที่อำเภอคลองใหญ่ จังหวัดตราด ติดต่อกับชายแดนจังหวัดเกาะกง ประเทศกัมพูชา รวมระยะทางยาวทั้งสิ้นประมาณ 488 กิโลเมตร.

142 ความสัมพันธ์: บางปูพ.ศ. 2479พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวพระสุนทรโวหาร (ภู่)พิพิธภัณฑ์ช้างเอราวัณกรมอุตุนิยมวิทยากรมอู่ทหารเรือกรมทางหลวงกรุงเทพมหานครฐานทัพเรือสัตหีบภาคตะวันออก (ประเทศไทย)มหาวิทยาลัยราชภัฏรำไพพรรณีมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชารายชื่อคลองในกรุงเทพมหานครรถไฟฟ้าบีทีเอสรถไฟฟ้าบีทีเอส สายสุขุมวิทวัดธาตุทองวิศวกรรมศาสตร์วิทยาลัยเทคนิคสัตหีบ สถาบันการอาชีวศึกษาภาคตะวันออกสวนนงนุชสหรัฐสถาบันการแพทย์จักรีนฤบดินทร์สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีสถาบันเทคโนโลยีแมสซาชูเซตส์สถานีบางจากสถานีบางนาสถานีพระโขนงสถานีพร้อมพงษ์สถานีสำโรงสถานีอุดมสุขสถานีอ่อนนุชสถานีอโศกสถานีทองหล่อสถานีขนส่งผู้โดยสารกรุงเทพ (เอกมัย)สถานีปุณณวิถีสถานีนานาสถานีแบริ่งสถานีเพลินจิตสถานีเอกมัยหาดจอมเทียนอำเภอบางบ่ออำเภอบางพลีอำเภอบางละมุงอำเภอบางปะกงอำเภอบ่อไร่อำเภอบ้านบึงอำเภอบ้านค่ายอำเภอบ้านฉางอำเภอพระประแดง...อำเภอกบินทร์บุรีอำเภอมะขามอำเภอศรีราชาอำเภอสัตหีบอำเภอท่าใหม่อำเภอขลุงอำเภอคลองใหญ่อำเภอปลวกแดงอำเภอนายายอามอำเภอแกลงอำเภอแหลมสิงห์อำเภอแหลมงอบอำเภอเมืองชลบุรีอำเภอเมืองระยองอำเภอเมืองสมุทรปราการอำเภอเมืองจันทบุรีอำเภอเมืองตราดอำเภอเขาสมิงอุทยานแห่งชาติน้ำตกพลิ้วอุทยานแห่งชาติเขาแหลมหญ้า-หมู่เกาะเสม็ดอุทยานเบญจสิริองค์การการศึกษา วิทยาศาสตร์ และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติอนุสาวรีย์ประชาธิปไตยจังหวัดชลบุรีจังหวัดระยองจังหวัดสมุทรปราการจังหวัดสระแก้วจังหวัดจันทบุรีจังหวัดตราดจังหวัดฉะเชิงเทราจังหวัดเกาะกงธนาคารกรุงไทยถนนพระรามที่ 2ถนนพระรามที่ 4ถนนกาญจนาภิเษกถนนรัชดาภิเษกถนนราชดำเนิน (กรุงเทพมหานคร)ถนนศรีนครินทร์ถนนศุขประยูรถนนสรรพาวุธถนนสิริโสธรถนนสุขุมวิทถนนสุขุมวิท 71 (ปรีดี พนมยงค์)ถนนอุดมสุขถนนอ่อนนุชถนนอโศกมนตรีถนนทางรถไฟสายเก่าปากน้ำถนนปู่เจ้าสมิงพรายถนนเพลินจิตถนนเทพรัตนถนนเทพารักษ์ถนนเฉลิมบูรพาชลทิตทางพิเศษเฉลิมมหานครทางรถไฟสายปากน้ำทางหลวงพิเศษหมายเลข 7ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 3117ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 316ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 317ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 3256ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 331ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 332ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 344ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 36ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 361ทางแยกต่างระดับท่าเรือแหลมฉบังท่าอากาศยานนานาชาติอู่ตะเภา (ระยอง–พัทยา)ท่าเรือแหลมฉบังท้องฟ้าจำลองดินแดงประเทศกัมพูชาแม่น้ำบางปะกงแยกบางนาแยกปทุมวันแปลก พิบูลสงครามโรงพยาบาลบำรุงราษฎร์โรงพยาบาลกรุงเทพโรงไฟฟ้าบางปะกงโรงเรียนวัฒนาวิทยาลัยโรงเรียนสมุทรปราการโรงเรียนสตรีสมุทรปราการโรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สวนกุหลาบวิทยาลัย สมุทรปราการโรงเรียนนายเรือเมืองพัทยาเมืองโบราณเจ้าพระยายมราช (ปั้น สุขุม)เขตบางกะปิเขตบางนาเขตพระโขนงเขตวัฒนาเขตคลองเตยเขตปทุมวันเซ็นทรัลพัฒนา ขยายดัชนี (92 มากกว่า) »

บางปู

งปู บางปู หรือ สถานตากอากาศบางปู ในชื่ออย่างเป็นทางการ เป็นสถานที่ท่องเที่ยวในแบบพักผ่อนตากอากาศทางชายทะเลด้านอ่าวไทยที่มีชื่อเสียงแห่งหนึ่งของประเทศไทย บางปูได้ถูกสร้างขึ้นมาเมื่อปี พ.ศ. 2480 ตามดำริของ จอมพลแปลก พิบูลสงคราม นายกรัฐมนตรีในขณะนั้น มีพื้นที่ทั้งหมด 639 ไร่ ต่อมาจึงได้สร้างสะพานขึ้นมา ชื่อ "สะพานสุขตา" สะพานสุขตาถือได้ว่าเป็นสัญลักษณ์ที่สำคัญของสถานพักผ่อนตากอากาศแห่งนี้ ซึ่งในเวลาต่อมาสะพานสุขตา ได้มีการสร้างเป็นอาคารขึ้นมาในปลายสะพาน ในชื่อ "ศาลาสุขใจ" ปัจจุบันเป็นร้านอาหาร และเป็นที่นัดพบของผู้สูงอายุ สำหรับกิจกรรมเต้นลีลาศ ทุกวันเสาร์ ตั้งแต่เวลา 16.00 น.ตลาดสดสนามเป้า, รายการ.

ใหม่!!: ถนนสุขุมวิทและบางปู · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2479

ทธศักราช 2479 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1936.

ใหม่!!: ถนนสุขุมวิทและพ.ศ. 2479 · ดูเพิ่มเติม »

พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว

ระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาวชิราวุธฯ พระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว หรือ พระบาทสมเด็จพระรามาธิบดีศรีสินทรมหาวชิราวุธ พระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว (1 มกราคม พ.ศ. 2423 – 26 พฤศจิกายน พ.ศ. 2468) เป็นพระมหากษัตริย์ไทยรัชกาลที่ 6 ในราชวงศ์จักรี เสด็จพระราชสมภพเมื่อวันเสาร์ เดือนยี่ ขึ้น 2 ค่ำ ปีมะโรง ตรงกับวันที่ 1 มกราคม..

ใหม่!!: ถนนสุขุมวิทและพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว · ดูเพิ่มเติม »

พระสุนทรโวหาร (ภู่)

ระสุนทรโวหาร นามเดิม ภู่ หรือที่เรียกกันทั่วไปว่า สุนทรภู่ (26 มิถุนายน พ.ศ. 2329 - พ.ศ. 2398) เป็นอาลักษณ์ชาวไทยที่มีชื่อเสียงเชิงกวี ได้รับยกย่องเป็น เชกสเปียร์แห่งประเทศไทย เกิดหลังจากตั้งกรุงรัตนโกสินทร์ได้ 4 ปี และได้เข้ารับราชการเป็นอาลักษณ์ราชสำนักในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย เมื่อสิ้นรัชกาลได้ออกบวชเป็นเวลาร่วม 20 ปี ก่อนจะกลับเข้ารับราชการอีกครั้งในปลายรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว โดยเป็นอาลักษณ์ในสมเด็จเจ้าฟ้าจุฑามณี กรมขุนอิศเรศรังสรรค์ ในสมัยรัชกาลที่ 4 ได้เลื่อนตำแหน่งเป็น พระสุนทรโวหาร เจ้ากรมอาลักษณ์ฝ่ายพระราชวังบวร ซึ่งเป็นตำแหน่งราชการสุดท้ายก่อนสิ้นชีวิต สุนทรภู่เป็นกวีที่มีความชำนาญทางด้านกลอน ได้สร้างขนบการประพันธ์กลอนนิทานและกลอนนิราศขึ้นใหม่จนกลายเป็นที่นิยมอย่างกว้างขวางสืบเนื่องมาจนกระทั่งถึงปัจจุบัน ผลงานที่มีชื่อเสียงของสุนทรภู่มีมากมายหลายเรื่อง เช่น นิราศภูเขาทอง นิราศสุพรรณ เพลงยาวถวายโอวาท กาพย์พระไชยสุริยา และ พระอภัยมณี เป็นต้น โดยเฉพาะเรื่อง พระอภัยมณี ได้รับยกย่องจากวรรณคดีสโมสรว่าเป็นยอดของวรรณคดีประเภทกลอนนิทาน และเป็นผลงานที่แสดงถึงทักษะ ความรู้ และทัศนะของสุนทรภู่อย่างมากที่สุด งานประพันธ์หลายชิ้นของสุนทรภู่ได้รับเลือกให้เป็นส่วนหนึ่งในหลักสูตรการเรียนการสอนนับแต่อดีตมาจนถึงปัจจุบัน เช่น กาพย์พระไชยสุริยา นิราศพระบาท และอีกหลาย ๆ เรื่อง ปี..

ใหม่!!: ถนนสุขุมวิทและพระสุนทรโวหาร (ภู่) · ดูเพิ่มเติม »

พิพิธภัณฑ์ช้างเอราวัณ

ัณฑ์ช้างเอราวัณ (The Erawan Museum) เป็นประติมากรรมลอยตัวรูปช้าง 3 เศียร ซึ่งในทางวรรณคดีไทยเอราวัณซึ่งมีเศียรทั้งหมด 33 เศียร แต่เนื่องจากปัญหาขนาดและโครงสร้างที่ซับซ้อนจึงลดมาเหลือเพียง 3 เศียร พิพิธภัณฑ์ช้างเอราวัณ เป็นแหล่งท่องเที่ยวที่สำคัญและโดดเด่นแห่งหนึ่งของจังหวัดสมุทรปราการ ตั้งอยู่บนถนนสุขุมวิท บริเวณที่ตัดกับถนนกาญจนาภิเษก ตำบลบางเมืองใหม่ อำเภอเมืองสมุทรปราการ พิพิธภัณฑ์ช้างเอราวัณยังถือได้ว่าเป็น งานประติมากรรมลอยตัวช้างทองแดงที่ใช้เทคนิคการเคาะขึ้นรูปด้วยมือ ที่มีความสูงจากหัวช้างลงมาสู่ฐานวัดได้ 43.6 เมตร หรือประมาณความสูงของตึก 14-17 ชั้น พิพิธภัณฑ์ช้างเอราวัณสร้างขึ้นจากความคิดและจินตนาการของคุณเล็ก วิริยะพันธุ์ นักธุรกิจเจ้าของบริษัทวิริยะประกันภัย ด้วยต้องการจะรักษาของโบราณที่ท่านสะสม รวมถึงรูปเคารพศักดิ์สิทธิ์ไว้ให้เป็นมรดกของแผ่นดินไทย จึงได้สร้างตัวอาคารพิพิธภัณฑ์ช้างเอราวัณขึ้นเพื่อใช้เป็นสถานที่จัดเก็บโบราณวัตถุที่มีค่าเหล่านี้ไว้เพื่อความปลอดภัยและเพื่อความเหมาะสม.

ใหม่!!: ถนนสุขุมวิทและพิพิธภัณฑ์ช้างเอราวัณ · ดูเพิ่มเติม »

กรมอุตุนิยมวิทยา

กรมอุตุนิยมวิทยาแห่งราชอาณาจักรไทย (Meteorological Department of Thailand) เป็นหน่วยงานของรัฐบาลไทย ระดับกรม สังกัดกระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม ทำหน้าที่ในการพยากรณ์อากาศ รายงานปรากฏการณ์ธรรมชาติต่างๆ เช่น แผ่นดินไหว ความสูงของคลื่น รายงานพยากรณ์อากาศประจำวันและพยากรณ์อากาศในช่วงเวลาที่กำลังจะมาถึง รวมทั้งออกประกาศเตือนต่าง.

ใหม่!!: ถนนสุขุมวิทและกรมอุตุนิยมวิทยา · ดูเพิ่มเติม »

กรมอู่ทหารเรือ

ตราราขการกรมอู่ทหารเรือ กรมอู่ทหารเรือ ภาพกรมอู่ทหารเรือจากแม่น้ำเจ้าพระยา กรมอู่ทหารเรือ เดิมชื่อ "อู่เรือหลวง" มีหน้าที่ซ่อมสร้างเรือมาตั้งแต่สมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ซึ่งขณะนั้นได้เริ่มมีเรือกลไฟใช้แล้ว ต่อมามีเรือมากขึ้นและเรือมีขนาดใหญ่ขึ้น พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว จึงโปรดฯ ให้สร้างอู่ไม้ขนาดใหญ่ เสด็จพระราชดำเนินประกอบพิธีเปิดเมื่อวันที่ 9 มกราคม พ.ศ. 2433 ซึ่งถือเป็นวันสถาปนากรมอู่ทหารเรือ นับได้ว่าเป็นหน่วยงานทางช่างลำดับต้น ๆ ของประเทศ กรมอู่ทหารเรือซึ่งเดิมตั้งอยู่ริมฝั่งแม่น้ำเจ้าพระยา ตรงข้ามพระบรมมหาราชวัง เขตบางกอกน้อย กรุงเทพมหานคร ปัจจุบันได้ย้ายที่ตั้งกองบังคับการ กรมอู่ทหารเรือ ไปอยู่ในพื้นที่อู่ราชนาวีมหิดลอดุลยเดช สัตหีบ ชลบุรี เจ้ากรมอู่ทหารเรือคนปัจจุบันได้แก่ พล.ร.ท.มิ่ง อิ่มวิท.

ใหม่!!: ถนนสุขุมวิทและกรมอู่ทหารเรือ · ดูเพิ่มเติม »

กรมทางหลวง

กรมทางหลวง เป็นหน่วยงานสังกัดกระทรวงคมนาคม มีหน้าที่ดำเนินการก่อสร้าง ควบคุม บูรณะ และบำรุงรักษาทางหลวง ทางหลวงพิเศษ ทางหลวงแผ่นดิน และทางหลวงสัมปทาน เพื่ออำนวยความสะดวกรวดเร็วและปลอดภัยในทางหลวงทั่วประเทศ เอื้อประโยชน์ในการพัฒนาเศรษฐกิจ สังคม การปกครอง ความมั่นคง และการป้องกันประเท.

ใหม่!!: ถนนสุขุมวิทและกรมทางหลวง · ดูเพิ่มเติม »

กรุงเทพมหานคร

กรุงเทพมหานคร เป็นเมืองหลวงและนครที่มีประชากรมากที่สุดของประเทศไทย เป็นศูนย์กลางการปกครอง การศึกษา การคมนาคมขนส่ง การเงินการธนาคาร การพาณิชย์ การสื่อสาร และความเจริญของประเทศ เป็นเมืองที่มีชื่อยาวที่สุดในโลก ตั้งอยู่บนสามเหลี่ยมปากแม่น้ำเจ้าพระยา มีแม่น้ำเจ้าพระยาไหลผ่านและแบ่งเมืองออกเป็น 2 ฝั่ง คือ ฝั่งพระนครและฝั่งธนบุรี กรุงเทพมหานครมีพื้นที่ทั้งหมด 1,568.737 ตร.กม.

ใหม่!!: ถนนสุขุมวิทและกรุงเทพมหานคร · ดูเพิ่มเติม »

ฐานทัพเรือสัตหีบ

นทัพเรือสัตหีบ (Sattahip Naval Base) เป็นฐานทัพของกองทัพเรือไทย ตั้งอยู่ที่ตำบลสัตหีบ อำเภอสัตหีบ จังหวัดชลบุรี ประเทศไทย มีหน้าที่ปกป้องน่านน้ำในสัตหีบและดูแลกองกำลังของกองทัพเรือในสัตหีบ ผู้บัญชาการฐานทัพเรือสัตหีบคนปัจจุบันคือ พลเรือโท สุกิตติ เสงี่ยมพงษ.

ใหม่!!: ถนนสุขุมวิทและฐานทัพเรือสัตหีบ · ดูเพิ่มเติม »

ภาคตะวันออก (ประเทศไทย)

ตะวันออก เป็นภูมิภาคย่อยทางตะวันออกของประเทศไทย เดิมถือเป็นส่วนหนึ่งของภาคกลาง อยู่ติดชายฝั่งอ่าวไทยด้านตะวันออก นับเป็นอีกภูมิภาคหนึ่งที่มีความสำคัญทางเศรษฐกิจ เนื่องจากเป็นแหล่งอุตสาหกรรม ผลไม้ และอัญมณีของประเท.

ใหม่!!: ถนนสุขุมวิทและภาคตะวันออก (ประเทศไทย) · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิทยาลัยราชภัฏรำไพพรรณี

มหาวิทยาลัยราชภัฎรำไพพรรณี (Rambhai Barni Rajabhat University) เป็นสถาบันอุดมศึกษาสังกัดสำนักงานคณะกรรมการอุดมศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ ตั้งอยู่เลขที่ 41 หมู่ที่ 5 ตำบลท่าช้าง อำเภอเมืองจันทบุรี จังหวัดจันทบุรี อยู่ห่างจากตัวเมืองจันทบุรี 6 กิโลเมตร บริเวณสามแยกเขาไร่ยา ด้านหนึ่งของมหาวิทยาลัยติดกับถนนรักศักดิ์ชมูล อีกด้านหนึ่งติดกับถนนสุขุมวิท มีเนื้อที่ 720 ไร่ 3 งาน.

ใหม่!!: ถนนสุขุมวิทและมหาวิทยาลัยราชภัฏรำไพพรรณี · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ (อังกฤษ: Kasetsart University; อักษรย่อ: มก.) เป็นมหาวิทยาลัยของรัฐแห่งแรกของประเทศไทยที่เปิดสอนหลักสูตรทางด้านการเกษตร ก่อตั้งขึ้นเป็นลำดับที่ 3 ของประเทศ เดิมเป็นโรงเรียนช่างไหมในปี..

ใหม่!!: ถนนสุขุมวิทและมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา

วิทยาเขตศรีราชา เป็นวิทยาเขตแห่งหนึ่งที่มีการเรียนการสอนของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ เพื่อตอบสนองภาคอุตสาหกรรมและการท่องเที่ยวของประเทศไท.

ใหม่!!: ถนนสุขุมวิทและมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อคลองในกรุงเทพมหานคร

ตัดกันระหว่างคลองบางน้อย กับคลองบางกอกใหญ่ ในพื้นที่แขวงบางเชือกหนัง เขตตลิ่งชัน คลองในกรุงเทพมหานคร มีจำนวน 1,161 คลอง และคูลำกระโดง จำนวน 521 คู รวมเป็น 1,682 คูคลอง ความยาว 2,604 กม.

ใหม่!!: ถนนสุขุมวิทและรายชื่อคลองในกรุงเทพมหานคร · ดูเพิ่มเติม »

รถไฟฟ้าบีทีเอส

รถไฟฟ้าเฉลิมพระเกียรติ 6 รอบพระชนมพรรษา (Elevated Train in Commemoration of HM the King's 6th Cycle Birthday) หรือชื่อที่เรียกกันทั่วไปว่า รถไฟฟ้าบีทีเอส (BTS Skytrain) เป็นระบบขนส่งมวลชนแบบรางในพื้นที่ กรุงเทพมหานคร, จังหวัดสมุทรปราการ และจังหวัดปทุมธานี ดำเนินการโดย บริษัท ระบบขนส่งมวลชนกรุงเทพ จำกัด (มหาชน) และบริษัท กรุงเทพธนาคม จำกัด ภายใต้สัมปทานของกรุงเทพมหานคร และสัญญาว่าด้วยความเข้าใจกับการรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนแห่งประเทศไทย เริ่มเปิดให้บริการครั้งแรกเมื่อวันที่ 5 ธันวาคม พ.ศ. 2542.

ใหม่!!: ถนนสุขุมวิทและรถไฟฟ้าบีทีเอส · ดูเพิ่มเติม »

รถไฟฟ้าบีทีเอส สายสุขุมวิท

รถไฟฟ้าเฉลิมพระเกียรติ 6 รอบพระชนมพรรษา สาย 1 หรือ รถไฟฟ้าบีทีเอส สายสุขุมวิท หรือ รถไฟฟ้าสายสีเขียวอ่อน เป็นส่วนหนึ่งของแผนแม่บทระบบขนส่งมวลชนทางราง ในกรุงเทพมหานครและปริมณฑล โดยจะครอบคลุมพื้นที่กรุงเทพมหานคร, จังหวัดปทุมธานี และจังหวัดสมุทรปราการ เปิดให้บริการครั้งแรกในปี..

ใหม่!!: ถนนสุขุมวิทและรถไฟฟ้าบีทีเอส สายสุขุมวิท · ดูเพิ่มเติม »

วัดธาตุทอง

วัดธาตุทอง พระอารามหลวง ตั้งเมื่อปีพุทธศักราช ๒๔๘๑ และได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมา เมื่อวันที่ ๒๔ ตุลาคม พุทธศักราช ๒๔๘๓(เขตวิสุงคามสีมา กว้าง ๔๐ เมตร ยาว ๘๐ เมตร) ผูกพัทธสีมา ฝังลูกนิมิตอุโบสถ เมื่อวันที่ ๒-๘ กุมภาพันธ์ พุทธศักราช ๒๕๐๕ มีเนื้อที่ ๕๔ ไร่ ๓ งาน ๘๒ ตาราง(เลขที่ ๑๔๙ โฉนดที่ ๔๐๓๗) ทิศเหนือ ติดกับที่ดินและบ้านเรือนประชาชน(ซอยชัยพฤกษ์) ทิศใต้ ติดกับถนนสุขุมวิท ทิศตะวันออก ติดกับที่ดินและบ้านเรือนประชาชน(ซอยเอกมัย) วัดธาตุทองฯ แท้จริงแล้วมีประวัติความเป็นมายาวนาน ย้อนกลับไปถึงยุคสมัยสุโขทัยเป็นราชธานี ก่อนจะมาตั้งอยู่บนนถนนสุขุมวิทในปัจจุบัน.

ใหม่!!: ถนนสุขุมวิทและวัดธาตุทอง · ดูเพิ่มเติม »

วิศวกรรมศาสตร์

การจะออกแบบสร้างกังหันลมในทะเลต้องใช้ความรู้ทางวิศวกรรมในหลายๆสาขาประกอบเข้าด้วยกัน วิศวกรรมอาจจะหมายถึงพระวิศวกรรม วิศวกรรมศาสตร์ เป็นสาขาความรู้และวิชาชีพเกี่ยวกับการประยุกต์ใช้ประยุกตวิทยา (เทคโนโลยี), วิทยาศาสตร์และความรู้ทางคณิตศาสตร์เพื่อการใช้ประโยชน์จากกฎทางธรรมชาติและทรัพยากรทางกายภาพให้เกิดประโยชน์สูงสุด, เพื่อช่วยในการออกแบบและประยุกต์ใช้ วัสดุ, โครงสร้าง, เครื่องจักร, เครื่องมือ, ระบบ และ กระบวนการ เพื่อการตอบสนองต่อจุดประสงค์ที่ต้องการได้อย่างปลอดภัยและเชื่อถือได้ American Engineers' Council for Professional Development (ECPD, ซึ่งต่อมาคือ ABET) ได้ให้นิยามเกี่ยวกับวิศวกรรมศาสตร์เอาไว้ดังนี้.

ใหม่!!: ถนนสุขุมวิทและวิศวกรรมศาสตร์ · ดูเพิ่มเติม »

วิทยาลัยเทคนิคสัตหีบ สถาบันการอาชีวศึกษาภาคตะวันออก

วันที่ 26 กรกฎาคม 2506 กระทรวงศึกษาธิการ ได้กำหนดให้จัดตั้งโรงเรียนเทคนิคสัตหีบ ณ บ้านอำเภอ ต.นาจอมเทียน อ.สัตหี.ชลบุรี มีเนื้อที่ทั้งสิ้น 64 ไร่ 3งาน 20 ตารางวา วันที่ 1 กันยายน 2512 กระทรวงศึกษาธิการ ประกาศจัดตั้งโรงเรียนเทคนิคสัตหีบ (ทส.) และใช้ชื่อภาษาอังกฤษว่าTHAI-AUSTRIAN TECHNICAL SCHOOL และเนื่องจากเป็นโรงเรียนที่ตั้งอยู่ห่างไกลจากตัวจังหวัดการเดินทางไม่สะดวกทางโรงเรียนจึงจัดให้มีหอพักนักเรียน-นักศึกษา โดยมีหอพัก 2 หลัง คืออาคารหอพัก 4 ชั้น และอาคารหลังไม้ ทำให้ครู-อาจารย์และนักเรียนมีความผูกพัน รักใคร่กันเป็นอันมาก ปัจจุบันการเดินทางสะดวกสะบายขึ้น ประกอบกับจำนวนนักเรียนเพิ่มมากขึ้น อาคารหอพัก จึงได้ถูกยกเลิกในปีการศึกษา 2533 วันที่ 11 ตุลาคม 2520 กรมอาชีวศึกษาได้จัดพิธีรับมอบอุปกรณ์ให้กับโรงเรียนเทคนิคสัตหีบอย่างเป็นทางการโดย Mr.Kari Peterlik เอกอัครราชทูตออสเตรียประจำประเทศไทยผู้แทนรัฐบาลออสเตรียเป็นผู้มอบนายภิญโญ สาธร รัฐมนตรีกระทรวงศึกษาธิการในขณะนั้นเป็นผู้แทนรัฐบาลไทยเป็นผู้รับมอบ วันที่ 2 สิงหาคม 2533 กระทรวงศึกษาธิการ ได้ประกาศยกระดับโรงเรียนเทคนิคสัตหีบสังกัดกองโรงเรียนเป็นวิทยาลัยเทคนิคสัตหีบ สังกัดกองวิทยาลัยเทคนิค ใช้ชื่อภาษาอังกฤษว่า THCHNICAL COLLEGE SATTAHIP CHONBURI วันที่ 12 กุมภาพันธ์ 2533 ได้มีการลงนามในบันทึกช่วยจำ ระหว่าง Mr.

ใหม่!!: ถนนสุขุมวิทและวิทยาลัยเทคนิคสัตหีบ สถาบันการอาชีวศึกษาภาคตะวันออก · ดูเพิ่มเติม »

สวนนงนุช

สวนนงนุช สวนช้างแมมมอส สวนนงนุชพัทยา สวนนงนุชพัทยา ตั้งอยู่ที่ 34/1 หมู่ 7 ตำบลนาจอมเทียน อำเภอสัตหีบ จังหวัดชลบุรี 20250 เปิดอย่างเป็นทางการในเมื่อปี 2523 (ค.ศ.1980) พร้อมจัดให้มีการแสดงศิลปวัฒนธรรมไทยร่วมสมัยและการแสดงช้างแสนรู้ภายในโรงละคร กระทั่ง 3 ปีต่อมาคุณนงนุชได้มอบให้ทายาทคนที่ 2 คือคุณกัมพล ตันสัจจา เข้ามาพัฒนา บริหารจัดการจนกลายเป็นสถานที่ท่องเที่ยวระดับแนวหน้า เก็บรวบรวมพันธุ์ไม้ในเขตร้อนมากกว่า 18,000 ชนิด มีเนื้อที่ประมาณ 1,700 ไร่ ภายในมีสวนไม้ดอกไม้ประดับนานาชนิด เช่น กล้วยไม้ เฟิน สับปะรดสี สวนไม้พุ่ม ไม้ดัด สวนหิน สวนฝรั่งเศสกระบองเพชร ปาล์มจากทั่วทุกมุมโลก และต้นไม้ยักษ์ รวมทั้งสวนสัตว์ สวนผีเสื้อ โดยผู้ก่อตั้งสวนนงนุช คือ นางนงนุช ตันสัจจา และมีนายกำพล ตันสัจจา เป็นผู้อำนวยการ สวนนงนุช โดยปัจจุบันนั้น สวนนงนุช มี 2 สาขา ได้แก่ สวนนงนุชพัทยา และสวนนงนุชปราจีนบุรี ปัจจุบันสวนนงนุชพัทยาถือเป็นแหล่งท่องเที่ยวที่ได้รับความนิยมในระดับแนวหน้า มีพื้นที่กว่า 1,700 ไร่ มีผู้เข้าเยี่ยมชมไม่น้อยกว่าวันละ 5,000 คน หมวดหมู่:จังหวัดชลบุรี หมวดหมู่:สถานที่ท่องเที่ยวในประเทศไทย หมวดหมู่:แหล่งท่องเที่ยวในจังหวัดชลบุรี.

ใหม่!!: ถนนสุขุมวิทและสวนนงนุช · ดูเพิ่มเติม »

สหรัฐ

หรัฐอเมริกา (United States of America) โดยทั่วไปเรียก สหรัฐ (United States) หรือ อเมริกา (America) เป็นสหพันธ์สาธารณรัฐ ประกอบด้วยรัฐ 50 รัฐ และหนึ่งเขตปกครองกลาง ห้าดินแดนปกครองตนเองสำคัญ และเกาะเล็กต่าง ๆ โดย 48 รัฐและเขตปกครองกลางตั้งอยู่ ณ ทวีปอเมริกาเหนือระหว่างประเทศแคนาดาและเม็กซิโก รัฐอะแลสกาอยู่มุมตะวันตกเฉียงเหนือของทวีปอเมริกาเหนือ มีเขตแดนติดต่อกับประเทศแคนาดาทางทิศตะวันออกและข้ามช่องแคบเบริงจากประเทศรัสเซียทางทิศตะวันตก และรัฐฮาวายเป็นกลุ่มเกาะในมหาสมุทรแปซิฟิกกลาง ดินแดนของสหรัฐกระจายอยู่ตามมหาสมุทรแปซิฟิกและทะเลแคริบเบียน ครอบคลุมเขตเวลาเก้าเขต ภูมิศาสตร์ ภูมิอากาศและสัตว์ป่าของประเทศหลากหลายอย่างยิ่ง สหรัฐมีพื้นที่ขนาด 9.8 ล้านตารางกิโลเมตร มีประชากรราว 326 ล้านคน ทำให้มีพื้นที่ขนาดใหญ่เป็นอันดับที่ 4 ของโลก และมีประชากรมากเป็นอันดับที่ 3 ของโลก เป็นประเทศซึ่งมีความหลากหลายทางเชื้อชาติและวัฒนธรรม และเป็นที่พำนักของประชากรเข้าเมืองใหญ่สุดในโลกAdams, J.Q., and Pearlie Strother-Adams (2001).

ใหม่!!: ถนนสุขุมวิทและสหรัฐ · ดูเพิ่มเติม »

สถาบันการแพทย์จักรีนฤบดินทร์

ันการแพทย์จักรีนฤบดินทร์ และโรงพยาบาลรามาธิบดีจักรีนฤบดินทร์ คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล เป็นสถาบันการแพทย์ที่สร้างขึ้นเพื่อเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร เนื่องในวโรกาสทรงเจริญพระชนมายุ 7 รอบ 84 พรรษา 5 ธันวาคม 2554 เพื่อเพิ่มวิทยาลัยการแพทย์ในจังหวัดสมุทรปราการและข้างเคียง รวมทั้งเป็นการขยายโอกาสการเข้าถึงการรักษาทางการแพทย์ของประชาชนในพื้นที่อีกด้วย เมื่อวันที่ 25 ธันวาคม 2560 สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เสด็จพระราชดำเนินในการเปิดสถาบันการแพทย์จักรีนฤบดินทร์ และโรงพยาบาลรามาธิบดีจักรีนฤบดินทร์ นับเป็นพระกรุณาธิคุณอันหาที่สุดมิได้ต่อชาวจังหวัดสมุทรปราการและข้างเคียง เพราะจะมีศูนย์กลางทางการแพทย์ในพื้นที่ โดยที่ไม่ต้องเดินทางไปรักษาในกรุงเทพมหานคร สถาบันการแพทย์จักรีนฤบดินทร์ฯ ตั้งอยู่ที่ซอยเทศบาลบางปู 119 ถนนสุขุมวิท ตำบลบางปลา อำเภอบางพลี จังหวัดสมุทรปราการ โดยในปัจจุบันกรมการขนส่งทางบก ได้มีการเปิดตัวรถเมล์มาตรฐานใหม่ 2 เส้นทาง ตามแผนปฏิรูประบบรถโดยสารประจำทางในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล ซึ่งหนึ่งในนั้นมีเส้นทางรถเมล์สาย สถาบันการแพทย์จักรีนฤบดินทร์-โรงพยาบาลรามาธิบดี (ทางด่วน) ซึ่งมีบริษัท มารัตน์ ทรานสปอร์ต จำกัด เป็นผู้ได้รับอนุญาตประกอบการขนส่ง ซึ่งในปัจจุบันรถเมล์สายนี้ได้เปิดให้บริการ มีจำนวนรถที่ให้บริการทั้งสิ้น 16 คัน เดินรถขั้นต่ำวันละ 48 เที่ยวต่อวัน โดยมีค่าโดยสารเริ่มต้นที่ 13 บาท ถึงสูงสุดที่ 25 บาท.

ใหม่!!: ถนนสุขุมวิทและสถาบันการแพทย์จักรีนฤบดินทร์ · ดูเพิ่มเติม »

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

ันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท. หรือ IPST) เป็นองค์การมหาชนในกำกับของกระทรวงศึกษาธิการ มีหน้าที่หลักในการพัฒนาขีดความสามารถในด้านการศึกษาวิชาวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และคอมพิวเตอร์ของครู และเยาวชนไท.

ใหม่!!: ถนนสุขุมวิทและสถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี · ดูเพิ่มเติม »

สถาบันเทคโนโลยีแมสซาชูเซตส์

ันเทคโนโลยีแมสซาชูเซตส์ (Massachusetts Institute of Technology, ตัวย่อ เอ็มไอที, เรียกโดยชุมชน MIT ว่า "the Institute แปลว่า สถาบัน") เป็นมหาวิทยาลัยเอกชนในเมืองเคมบริดจ์ รัฐแมสซาชูเซตส์ สหรัฐอเมริกา ที่มีชื่อเสียงมานานในเรื่องงานวิจัยและการศึกษาในสาขาเคมี ฟิสิกส์ และวิศวกรรมศาสตร์สาขาต่าง ๆ แล้วเริ่มมีชื่อเสียงมากขึ้นต่อ ๆ มาในสาขาชีววิทยา เศรษฐศาสตร์ ภาษาศาสตร์ และการจัดการ MIT ตั้งขึ้นในปี..

ใหม่!!: ถนนสุขุมวิทและสถาบันเทคโนโลยีแมสซาชูเซตส์ · ดูเพิ่มเติม »

สถานีบางจาก

นีบางจาก เป็นสถานีรถไฟลอยฟ้า ในเส้นทางรถไฟฟ้าเฉลิมพระเกียรติ 6 รอบพระชนมพรรษา สายสุขุมวิท ส่วนต่อขยายอ่อนนุช-แบริ่ง ยกระดับเหนือถนนสุขุมวิท กรุงเทพมหานคร บริเวณหน้าตลาดบางจาก เป็นสถานีแรกของโครงการส่วนต่อขยายสายสุขุมวิทของกรุงเทพมหานครจากสถานีอ่อนนุชถึงสถานีแบริ่ง จำนวน 5 สถานี ระยะทาง 5.52 กิโลเมตร.

ใหม่!!: ถนนสุขุมวิทและสถานีบางจาก · ดูเพิ่มเติม »

สถานีบางนา

นีบางนา เป็นสถานีรถไฟลอยฟ้า ในเส้นทางรถไฟฟ้าเฉลิมพระเกียรติ 6 รอบพระชนมพรรษา สายสุขุมวิท ส่วนต่อขยายอ่อนนุช-แบริ่ง ยกระดับเหนือถนนสุขุมวิท กรุงเทพมหานคร บริเวณสะพานข้ามคลองบางนา เป็นสถานีที่สี่ของโครงการส่วนต่อขยายสายสุขุมวิทของกรุงเทพมหานครจากสถานีอ่อนนุชถึงสถานีแบริ่ง จำนวน 5 สถานี ระยะทาง 5.52 กิโลเมตร.

ใหม่!!: ถนนสุขุมวิทและสถานีบางนา · ดูเพิ่มเติม »

สถานีพระโขนง

นีพระโขนง เป็นสถานีรถไฟลอยฟ้า ในเส้นทางรถไฟฟ้าเฉลิมพระเกียรติ 6 รอบพระชนมพรรษา (รถไฟฟ้าบีทีเอส) สายสุขุมวิท ยกระดับเหนือถนนสุขุมวิท กรุงเทพมหานคร บริเวณสามแยกพระโขนง.

ใหม่!!: ถนนสุขุมวิทและสถานีพระโขนง · ดูเพิ่มเติม »

สถานีพร้อมพงษ์

นีพร้อมพงษ์ เป็นสถานีรถไฟลอยฟ้า ในเส้นทางรถไฟฟ้าเฉลิมพระเกียรติ 6 รอบพระชนมพรรษา (รถไฟฟ้าบีทีเอส) สายสุขุมวิท ยกระดับเหนือถนนสุขุมวิท กรุงเทพมหานคร บริเวณปากซอยสุขุมวิท 39 (ซอยพร้อมพงษ์).

ใหม่!!: ถนนสุขุมวิทและสถานีพร้อมพงษ์ · ดูเพิ่มเติม »

สถานีสำโรง

นีสำโรง เป็นสถานีรถไฟฟ้าในอำเภอเมืองสมุทรปราการ จังหวัดสมุทรปราการ ในเส้นทางรถไฟฟ้าบีทีเอส สายสุขุมวิท และรถไฟฟ้าสายสีเหลือง.

ใหม่!!: ถนนสุขุมวิทและสถานีสำโรง · ดูเพิ่มเติม »

สถานีอุดมสุข

นีอุดมสุข (Udom Suk Station, รหัส E12) เป็นสถานีรถไฟลอยฟ้า ในเส้นทางรถไฟฟ้าเฉลิมพระเกียรติ 6 รอบพระชนมพรรษา สายสุขุมวิท ส่วนต่อขยายอ่อนนุช-แบริ่ง ยกระดับเหนือถนนสุขุมวิท กรุงเทพมหานคร บริเวณทางแยกอุดมสุข เป็นสถานีที่ 3 ของโครงการส่วนต่อขยายสายสุขุมวิท ช่วงอ่อนนุช-แบริ่ง จำนวน 5 สถานี ระยะทาง 5.52 กิโลเมตร.

ใหม่!!: ถนนสุขุมวิทและสถานีอุดมสุข · ดูเพิ่มเติม »

สถานีอ่อนนุช

นีอ่อนนุช สถานีอ่อนนุช เป็นสถานีรถไฟลอยฟ้า ในเส้นทางรถไฟฟ้าเฉลิมพระเกียรติ 6 รอบพระชนมพรรษา (รถไฟฟ้าบีทีเอส) สายสุขุมวิท ยกระดับเหนือถนนสุขุมวิท กรุงเทพมหานคร บริเวณสามแยกถนนอ่อนน.

ใหม่!!: ถนนสุขุมวิทและสถานีอ่อนนุช · ดูเพิ่มเติม »

สถานีอโศก

นีอโศก เป็นสถานีรถไฟลอยฟ้า ในเส้นทางรถไฟฟ้าเฉลิมพระเกียรติ 6 รอบพระชนมพรรษา (รถไฟฟ้าบีทีเอส) สายสุขุมวิท ยกระดับเหนือถนนสุขุมวิท กรุงเทพมหานคร บริเวณสี่แยกอโศกมนตรี เป็นจุดเชื่อมต่อกับสถานีสุขุมวิท ของรถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคล.

ใหม่!!: ถนนสุขุมวิทและสถานีอโศก · ดูเพิ่มเติม »

สถานีทองหล่อ

นีทองหล่อ เป็นสถานีรถไฟลอยฟ้า ในเส้นทางรถไฟฟ้าเฉลิมพระเกียรติ 6 รอบพระชนมพรรษา (รถไฟฟ้าบีทีเอส) สายสุขุมวิท ยกระดับเหนือถนนสุขุมวิท กรุงเทพมหานคร บริเวณปากซอยสุขุมวิท 55 (ซอยทองหล่อ).

ใหม่!!: ถนนสุขุมวิทและสถานีทองหล่อ · ดูเพิ่มเติม »

สถานีขนส่งผู้โดยสารกรุงเทพ (เอกมัย)

นีขนส่งผู้โดยสารกรุงเทพฯ (เอกมัย) เป็นสถานีขนส่งที่ใช้รับส่งผู้โดยสารจากภาคตะวันออกเลียบชายฝั่ง เปิดทำการเมื่อวันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2503 บนที่ดินของ.จำนวน 7 ไร่ 3 งาน 5 ตารางวา ตั้งอยู่ริมถนนสุขุมวิทบริเวณทางแยกเอกมัยใต้ (ปากซอยสุขุมวิท 63) ซึ่งเป็นสถานีขนส่งผู้โดยสารเพียงแห่งเดียวที่ยังไม่มีการย้ายสถานีขนส่ง และตั้งอยู่ภายในตัวเมือง.

ใหม่!!: ถนนสุขุมวิทและสถานีขนส่งผู้โดยสารกรุงเทพ (เอกมัย) · ดูเพิ่มเติม »

สถานีปุณณวิถี

นีปุณณวิถี เป็นสถานีรถไฟลอยฟ้า ในเส้นทางรถไฟฟ้าเฉลิมพระเกียรติ 6 รอบพระชนมพรรษา สายสุขุมวิท ส่วนต่อขยายอ่อนนุช-แบริ่ง ยกระดับเหนือถนนสุขุมวิท กรุงเทพมหานคร เป็นสถานีที่สองของโครงการส่วนต่อขยายสายสุขุมวิทของกรุงเทพมหานครจากสถานีอ่อนนุชถึงสถานีแบริ่ง จำนวน 5 สถานี ระยะทาง 5.52 กิโลเมตร.

ใหม่!!: ถนนสุขุมวิทและสถานีปุณณวิถี · ดูเพิ่มเติม »

สถานีนานา

นีนานา เป็นสถานีรถไฟลอยฟ้า ในเส้นทางรถไฟฟ้าเฉลิมพระเกียรติ 6 รอบพระชนมพรรษา (รถไฟฟ้าบีทีเอส) สายสุขุมวิท ยกระดับเหนือถนนสุขุมวิท กรุงเทพมหานคร ใจกลางแหล่งธุรกิจท่องเที่ยวและสถานบันเทิงย่านนาน.

ใหม่!!: ถนนสุขุมวิทและสถานีนานา · ดูเพิ่มเติม »

สถานีแบริ่ง

นีแบริ่ง เป็นสถานีรถไฟลอยฟ้า ในเส้นทางรถไฟฟ้าเฉลิมพระเกียรติ 6 รอบพระชนมพรรษา สายสุขุมวิท ส่วนต่อขยายอ่อนนุช-แบริ่ง ยกระดับเหนือถนนสุขุมวิท กรุงเทพมหานคร บริเวณทางแยกแบริ่ง ซึ่งเป็นจุดสิ้นสุดเขตการปกครองของกรุงเทพมหานคร ก่อนเข้าสู่พื้นที่จังหวัดสมุทรปราการ ซึ่งเป็นพื้นที่ในความรับผิดชอบของการรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนแห่งประเทศไทย ที่จะดำเนินการก่อสร้างส่วนต่อขยายต่อไปจนถึงย่านบางปู โดยเป็นสถานีปลายทางของโครงการส่วนต่อขยายสายสุขุมวิทของกรุงเทพมหานครจากสถานีอ่อนนุช จำนวน 5 สถานี ระยะทาง 5.25 กิโลเมตร.

ใหม่!!: ถนนสุขุมวิทและสถานีแบริ่ง · ดูเพิ่มเติม »

สถานีเพลินจิต

นีเพลินจิต เป็นสถานีรถไฟลอยฟ้า ในเส้นทางรถไฟฟ้าเฉลิมพระเกียรติ 6 รอบพระชนมพรรษา (รถไฟฟ้าบีทีเอส) สายสุขุมวิท ยกระดับเหนือถนนเพลินจิต กรุงเทพมหานคร บริเวณสี่แยกเพลินจิต.

ใหม่!!: ถนนสุขุมวิทและสถานีเพลินจิต · ดูเพิ่มเติม »

สถานีเอกมัย

นีเอกมัย สถานีเอกมัย เป็นสถานีรถไฟลอยฟ้า ในเส้นทางรถไฟฟ้าเฉลิมพระเกียรติ 6 รอบพระชนมพรรษา (รถไฟฟ้าบีทีเอส) สายสุขุมวิท ยกระดับเหนือถนนสุขุมวิท กรุงเทพมหานคร บริเวณสามแยกเอกมัยใต้ (แยกถนนสุขุมวิท 63) เป็นจุดเชื่อมต่อการเดินทางกับสถานีขนส่งผู้โดยสารกรุงเทพ (เอกมัย) ไปยังจังหวัดต่าง ๆ ในภาคตะวันออก.

ใหม่!!: ถนนสุขุมวิทและสถานีเอกมัย · ดูเพิ่มเติม »

หาดจอมเทียน

หาดจอมเทียนยามบ่าย หาดจอมเทียน เป็นหาดทรายสวยงามทอดตัวเป็นแนวยาว อยู่ห่างจากพัทยาใต้ 4 กิโลเมตร ตามถนนเลียบชายหาดหรือแยกขวาจากถนนสุขุมวิท ตรงกิโลเมตรที่ 150.5 เข้าไปอีก 2 กิโลเมตร หาดแห่งนี้ได้รับความนิยมจากนักท่องเที่ยว จึงทำให้มีธุรกิจเกิดขึ้นมากมาย โดยเฉพาะ ธุรกิจ ที่พัก และ โรงแรมเป็นหาดยอดนิยม ของเมืองพัท.

ใหม่!!: ถนนสุขุมวิทและหาดจอมเทียน · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอบางบ่อ

งบ่อ เป็นอำเภอหนึ่งในจังหวัดสมุทรปราการ ประชากรส่วนใหญ่นับถือศาสนาพุทธ ใช้ภาษาไทยภาคกลางเป็นภาษาท้องถิ่น.

ใหม่!!: ถนนสุขุมวิทและอำเภอบางบ่อ · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอบางพลี

งพลี เป็นอำเภอที่มีพื้นที่มากที่สุดในจังหวัดสมุทรปราการ เป็นที่ตั้งของท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ ที่ตั้งของโครงการสร้างศูนย์ที่พักอาศัยสำหรับผู้สูงอายุแบบครบวงจร และเป็นที่ตั้งของสถาบันการแพทย์จักรีนฤบดินทร์ คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดลทางเข้าวัดบัวโร.

ใหม่!!: ถนนสุขุมวิทและอำเภอบางพลี · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอบางละมุง

อำเภอบางละมุง คืออำเภอหนึ่งในจังหวัดชลบุรี มีพื้นที่รวมประมาณ 727 ตารางกิโลเมตร หรือ 469,021 ไร่ แบ่งเขตการปกครองออกเป็น 8 ตำบล 60 หมู่บ้าน ประชากรส่วนใหญ่นับถือศาสนาพุทธ จะมีศาสนาอื่นบ้างเป็นกลุ่มย่อ.

ใหม่!!: ถนนสุขุมวิทและอำเภอบางละมุง · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอบางปะกง

อำเภอบางปะกง คืออำเภอหนึ่งในจังหวัดฉะเชิงเทรา ถือเป็นประตูเข้าเขตภาคตะวันออก.

ใหม่!!: ถนนสุขุมวิทและอำเภอบางปะกง · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอบ่อไร่

อำเภอบ่อไร่ เป็นอำเภอขนาดเล็กในจังหวัดตร.

ใหม่!!: ถนนสุขุมวิทและอำเภอบ่อไร่ · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอบ้านบึง

อำเภอบ้านบึง ตั้งอยู่ในจังหวัดชลบุรี.

ใหม่!!: ถนนสุขุมวิทและอำเภอบ้านบึง · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอบ้านค่าย

อำเภอบ้านค่าย เป็นอำเภอหนึ่งของจังหวัดระยอง.

ใหม่!!: ถนนสุขุมวิทและอำเภอบ้านค่าย · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอบ้านฉาง

อำเภอบ้านฉาง เป็นอำเภอหนึ่งของจังหวัดระยอง กล่าวกันว่าที่มาของชื่ออำเภอนี้มาจากคนไทยเชื้อสายจีนพูดคำว่า "บ้านฉัน" แต่ออกเสียงไม่ชัดเจน.

ใหม่!!: ถนนสุขุมวิทและอำเภอบ้านฉาง · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอพระประแดง

ระประแดง เป็นอำเภอที่มีขนาดพื้นที่เล็กที่สุดในจังหวัดสมุทรปราการ ในอดีตมีฐานะเป็นศูนย์กลางของจังหวัดพระประแดง แต่ต่อมาถูกยุบรวมเข้ากับจังหวัดสมุทรปราการดังเช่นปัจจุบัน.

ใหม่!!: ถนนสุขุมวิทและอำเภอพระประแดง · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอกบินทร์บุรี

กบินทร์บุรี เดิมสะกดว่า กระบินทร์บุรี เป็นอำเภอหนึ่งในจังหวัดปราจีนบุรี ตั้งอยู่ทางทิศตะวันออกของตัวจังหวัด ปัจจุบันเป็นพื้นที่อุตสาหกรรมขนาดใหญ่แห่งหนึ่งของภาคตะวันออก.

ใหม่!!: ถนนสุขุมวิทและอำเภอกบินทร์บุรี · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอมะขาม

อำเภอมะขาม เป็นอำเภอหนึ่งของจังหวัดจันทบุรี.

ใหม่!!: ถนนสุขุมวิทและอำเภอมะขาม · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอศรีราชา

อำเภอศรีราชา เป็นอำเภอขนาดใหญ่แห่งหนึ่งในจังหวัดชลบุรี.

ใหม่!!: ถนนสุขุมวิทและอำเภอศรีราชา · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอสัตหีบ

อำเภอสัตหีบ เป็นอำเภอหนึ่งของจังหวัดชลบุรี อยู่ห่างจากตัวจังหวัดชลบุรีประมาณ 85 กิโลเมตร ความสำคัญของสัตหีบคือเป็นเมืองแห่งฐานทัพเรือและเป็นฐานทัพเรือที่ใหญ่ที่สุดในประเทศไท.

ใหม่!!: ถนนสุขุมวิทและอำเภอสัตหีบ · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอท่าใหม่

ท่าใหม่ เป็นอำเภอหนึ่งของจังหวัดจันทบุรี อยู่ห่างจากตัวเมืองจันทบุรี 26.53 กิโลเมตร อำเภอท่าใหม่ เป็นที่ตั้งของสนามบินจันทบุรี.

ใหม่!!: ถนนสุขุมวิทและอำเภอท่าใหม่ · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอขลุง

ลุง เป็นอำเภอหนึ่งในจังหวัดจันทบุรี คำว่า "ขลุง" หมายถึงพื้นที่ลุ่ม น้ำท่วมถึง เดิมชาวขลุงมีอาชีพทำนาและประมง ปัจจุบันมีการปลูกผลไม้อย่างเป็นล่ำเป็นสัน ตามตำนานเล่ากันว่าชาวพื้นเมืองมีเชื้อสายจาก "ชอง" มีภาษาพูดเป็นภาษาชองซึ่งแตกต่างจากภาษาเขมรและไท.

ใหม่!!: ถนนสุขุมวิทและอำเภอขลุง · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอคลองใหญ่

ลองใหญ่ เป็นอำเภอหนึ่งของจังหวัดตร.

ใหม่!!: ถนนสุขุมวิทและอำเภอคลองใหญ่ · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอปลวกแดง

อำเภอปลวกแดง เป็นอำเภอหนึ่งของจังหวัดระยอง.

ใหม่!!: ถนนสุขุมวิทและอำเภอปลวกแดง · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอนายายอาม

นายายอาม เป็นอำเภอในจังหวัดจันทบุรี.

ใหม่!!: ถนนสุขุมวิทและอำเภอนายายอาม · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอแกลง

อำเภอแกลง เป็นอำเภอหนึ่งของจังหวัดระยอง เดิมมีฐานะเป็นหัวเมืองจัตวา ตั้งอยู่บริเวณแหลมยาง เปลี่ยนฐานะเป็นอำเภอเมื่อปี พ.ศ. 2451.

ใหม่!!: ถนนสุขุมวิทและอำเภอแกลง · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอแหลมสิงห์

อำเภอแหลมสิงห์ เป็นอำเภอหนึ่งของจังหวัดจันทบุรี.

ใหม่!!: ถนนสุขุมวิทและอำเภอแหลมสิงห์ · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอแหลมงอบ

อำเภอแหลมงอบ เป็นอำเภอหนึ่งของจังหวัดตร.

ใหม่!!: ถนนสุขุมวิทและอำเภอแหลมงอบ · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอเมืองชลบุรี

อำเภอเมืองชลบุรี เป็นอำเภอศูนย์กลางการปกครองและการบริหารราชการของจังหวัดชลบุรี.

ใหม่!!: ถนนสุขุมวิทและอำเภอเมืองชลบุรี · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอเมืองระยอง

มืองระยอง เป็นอำเภอหนึ่งของจังหวัดระยอง.

ใหม่!!: ถนนสุขุมวิทและอำเภอเมืองระยอง · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอเมืองสมุทรปราการ

มืองสมุทรปราการ เป็นอำเภอหนึ่งในจังหวัดสมุทรปราการ ตั้งอยู่บริเวณปากแม่น้ำเจ้าพระยาตรงข้ามกับอำเภอพระสมุทรเจดีย์ นอกจากเป็นที่ตั้งของศาลากลางจังหวัดแล้ว อำเภอเมืองสมุทรปราการยังเป็นที่ตั้งของศาลเด็กและเยาวชน ห้องสมุดประชาชน และท่ารถโดยสารประจำทางสายต่าง ๆ รวมทั้งเป็นบริเวณที่จัดงานพระสมุทรเจดีย์ของทุกปี อำเภอนี้เป็นอำเภอที่มีประชากรมากที่สุดในประเทศไท.

ใหม่!!: ถนนสุขุมวิทและอำเภอเมืองสมุทรปราการ · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอเมืองจันทบุรี

อำเภอเมืองจันทบุรี เป็นอำเภอหนึ่งของจังหวัดจันทบุรี.

ใหม่!!: ถนนสุขุมวิทและอำเภอเมืองจันทบุรี · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอเมืองตราด

อำเภอเมืองตราด เป็นอำเภอหนึ่งใน 7 อำเภอของจังหวัดตราด เป็นที่ตั้งของศาลากลางจังหวัด และหน่วยงานราชการต่าง ๆ และเป็นศูนย์กลางความเจริญของจังหวั.

ใหม่!!: ถนนสุขุมวิทและอำเภอเมืองตราด · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอเขาสมิง

อำเภอเขาสมิง เป็นอำเภอหนึ่งของจังหวัดตร.

ใหม่!!: ถนนสุขุมวิทและอำเภอเขาสมิง · ดูเพิ่มเติม »

อุทยานแห่งชาติน้ำตกพลิ้ว

อุทยานแห่งชาติน้ำตกพลิ้ว เป็นอุทยานแห่งชาติที่ตั้งอยู่ในจังหวัดจันทบุรี มีพื้นที่ครอบคลุมท้องที่อำเภอเมืองจันทบุรี อำเภอแหลมสิงห์ อำเภอขลุง และอำเภอมะขาม จังหวัดจันทบุรี มีเนื้อที่ประมาณ 134.50 ตารางกิโลเมตร หรือ 84,062.50 ไร่ ประกอบด้วยป่าที่สมบูรณ์ เทือกเขาสูงสลับซับซ้อน ทำให้มีอากาศจะเย็นสบายตลอดทั้งปี ยอดเขาสลับซับซ้อนสูงจากระดับน้ำทะเลปานกลางตั้งแต่ 20-924 เมตร จุดสูงสุดของพื้นที่อยู่ที่ยอดเขามาบหว้ากรอก มีความสูงจากระดับน้ำทะเลปานกลาง 924 เมตร และเป็นแหล่งต้นน้ำลำธารหลายสาย อยู่ห่างจากจังหวัดจันทบุรีประมาณ 14 กิโลเมตร ถนนลาดยางตลอดสายทำให้สะดวกสบายในการไปเที่ยวพักผ่อนหย่อนใจ ทั้งนี้ อุทยานแห่งชาติน้ำตกพลิ้วได้รับการจัดตั้งเป็นอุทยานแห่งชาติลำดับที่ 11 ของประเทศไทย โดยใช้ชื่อว่า "อุทยานแห่งชาติเขาสระบาป" แต่ต่อมา นายผจญ ธนมิตรามณี หัวหน้าอุทยานแห่งชาติเขาสระบาปได้ทำหนังสือขอเปลี่ยนชื่ออุทยานเป็นอุทยานแห่งชาติน้ำตกพลิ้ว เนื่องจากน้ำตกพลิ้วเป็นน้ำตกที่มีความสวยงามตามธรรมชาติ มีน้ำตกตลอดปี อีกทั้งยังเป็นที่รู้จักของประชาชนทั่วไป และเป็นจุดเด่นของอุทยาน ซึ่งคณะกรรมการอุทยานแห่งชาติได้มีมติเมื่อวันที่ 29 กันยายน 2525 เห็นชอบให้เปลี่ยนชื่อเป็น "อุทยานแห่งชาติน้ำตกพลิ้ว" ชื่อ "พลิ้ว" มาจากภาษาชอง แปลว่า "ทราย" หรือ "หาดทราย".

ใหม่!!: ถนนสุขุมวิทและอุทยานแห่งชาติน้ำตกพลิ้ว · ดูเพิ่มเติม »

อุทยานแห่งชาติเขาแหลมหญ้า-หมู่เกาะเสม็ด

อุทยานแห่งชาติเขาแหลมหญ้า-หมู่เกาะเสม็ด เป็นอุทยานแห่งชาติ ตั้งอยู่บริเวณชายฝั่งทะเลด้านอ่าวไทยในท้องที่อำเภอเมืองระยองและอำเภอแกลง จังหวัดระยอง ครอบคลุมพื้นที่บนฝั่งและในท้องทะเล ประกอบด้วยเกาะเสม็ด เกาะจันทร์ เกาะทะลุ เกาะกุฎี เกาะมะขาม และเกาะปลายตีน เขาแหลมหญ้าและชายทะเลด้านทิศตะวันตกของเขาแหลมหญ้า กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พื.

ใหม่!!: ถนนสุขุมวิทและอุทยานแห่งชาติเขาแหลมหญ้า-หมู่เกาะเสม็ด · ดูเพิ่มเติม »

อุทยานเบญจสิริ

ระวังสับสนกับ: สวนเบญจกิติ อุทยานเบญจสิริ หรือ สวนเบญจสิริ เป็นสวนสาธารณะระดับชุมชนขนาดเล็กในกรุงเทพมหานครสร้างบนที่ดินเดิมเนื้อที่ 29 ไร่ของกรมอุตุนิยมวิทยาริมถนนสุขุมวิทที่ย้ายออกไปอยู่ที่ถนนสุขุมวิท เขตบางนา โดยด้านข้างของสวนสาธารณะแห่งนี้ติดกับโรงแรมอิมพีเรียลควีนส์พาร์ค ห้างสรรพสินค้าเอ็มโพเรี่ยม กรมธนารักษ์ กระทรวงการคลัง ในสมัยรัฐบาล ฯพณฯ พลเอกชาติชาย ชุณหะวัณ จัดสร้างขึ้นเนื่องในวโรกาสที่สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ มีพระชนมพรรษาครบ 60 พรรษาในปีพ.ศ. 2535 ได้รับการออกแบบภูมิทัศน์โดยศาสตราจารย์กิตติคุณ เดชา บุญค้ำ ภายในสวนสาธารณะแห่งนี้มีประติมากรรมที่งดงาม และเป็นชิ้นงานสำคัญของศิลปินระดับชาติที่ร่วมใจกันถวายเป็นการเทิดพระเกียรติฯ ตั้งประดับอยู่เป็นการถาวรถึง 12 ชิ้นงาน ในวันที่ 21 ธันวาคม พ.ศ. 2550 อุทยานเบญจสิริได้ใช้เป็นที่ปราศรัยใหญ่ปิดการหาเสียงของพรรคประชาธิปัตย์ ในการเลือกตั้งในปลายปีเดียวกัน และในวันที่ 3 ตุลาคม พ.ศ. 2551 ใช้เป็นที่ปราศรัยใหญ่ปิดหาเสียงของนายอภิรักษ์ โกษะโยธิน ในการเลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2551 และเป็นที่เปิดตัวและปิดท้ายการปราศรัยใหญ่หาเสียงของ หม่อมราชวงศ์สุขุมพันธุ์ บริพัตร ในการเลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2552 และ พ.ศ. 2556 และในวันที่ 17 มิถุนายน พ.ศ. 2554 ใช้เป็นที่ปราศรัยใหญ่ของพรรคประชาธิปัตย์ ในการเลือกตั้งในกลางปีเดียวกัน และใช้เป็นที่ปราศรัยใหญ่ปิดท้ายการหาเสียงเลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2556 ของ ม.ร.ว.สุขุมพันธุ์ บริพัตร ในวันที่ 1 มีนาคม ปีเดียวกัน.

ใหม่!!: ถนนสุขุมวิทและอุทยานเบญจสิริ · ดูเพิ่มเติม »

องค์การการศึกษา วิทยาศาสตร์ และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ

งของยูเนสโก องค์การการศึกษา วิทยาศาสตร์ และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ (United Nations Educational, Scientific and Cultural Organization) หรือ ยูเนสโก (UNESCO) เป็นทบวงการชำนัญพิเศษของสหประชาชาติ ก่อตั้งโดยได้มีการลงนามในธรรมนูญขององค์การ เมื่อวันที่ 16 พฤศจิกายน..

ใหม่!!: ถนนสุขุมวิทและองค์การการศึกษา วิทยาศาสตร์ และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ · ดูเพิ่มเติม »

อนุสาวรีย์ประชาธิปไตย

อนุสาวรีย์ประชาธิปไตย เป็นอนุสาวรีย์ที่ตั้งอยู่กึ่งกลางวงเวียนระหว่างถนนราชดำเนินกลางกับถนนดินสอ แขวงบวรนิเวศ เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร สร้างขึ้นเป็นที่ระลึกถึงเหตุการณ์เปลี่ยนแปลงการปกครองจากระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์เป็นระบอบประชาธิปไตย การก่อสร้างอนุสาวรีย์ประชาธิปไตยเริ่มขึ้นในวันที่ 24 มิถุนายน พ.ศ. 2482 และทำพิธีเปิดเมื่อวันที่ 24 มิถุนายน พ.ศ. 2483 ในสมัยจอมพล แปลก พิบูลสงคราม ดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรี อนุสาวรีย์ประชาธิปไตยเป็นผลงานการออกแบบของหม่อมหลวงปุ่ม มาลากุล อันเป็นแบบที่ชนะการประกวดการออกแบบอนุสาวรีย์แห่งนี้ การออกแบบได้นำสถาปัตยกรรมแบบไทยมาผสมผสาน ตรงกลางเป็นสมุดไทยที่สื่อถึงรัฐธรรมนูญประดิษฐานบนพานแว่นฟ้า นอกจากการเป็นสัญลักษณ์เพื่อระลึกถึงประชาธิปไตยนั้น อนุสาวรีย์แห่งนี้ ยังเป็นหลักกิโลเมตรที่ศูนย์ของกรุงเทพมหานครและประเทศไทยอีกด้วย อนุสาวรีย์ประชาธิปไตยได้ใช้เป็นพื้นที่สำคัญของการชุมนุมทางการเมืองหลายครั้ง อาทิ การชุมนุมของประชาชนและนักศึกษาใน เหตุการณ์ 14 ตุลา, การชุมนุมของประชาชนในเหตุการณ์พฤษภาทมิฬ การชุมนุมของแนวร่วมประชาธิปไตยต่อต้านเผด็จการแห่งชาติ พ.ศ. 2553, การชุมนุมคัดค้านร่างพระราชบัญญัตินิรโทษกรรมฯ พ.ศ. 2556 เป็นต้น.

ใหม่!!: ถนนสุขุมวิทและอนุสาวรีย์ประชาธิปไตย · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดชลบุรี

ังหวัดชลบุรี เป็นจังหวัดที่ติดกับอ่าวไทยจังหวัดหนึ่งในภาคตะวันออกของประเทศไทย มีสถานที่ท่องเที่ยวที่มีชื่อเสียงหลายแห่งตั้งอยู่ นอกจากด้านอุตสาหกรรมการท่องเที่ยวแล้วยังเป็นจังหวัดที่มีความสำคัญทางเศรษฐกิจสำคัญของภาคตะวันออกอย่างมาก นอกจากนั้นยังเป็นทั้งในด้านพาณิชยกรรมและอุตสาหกรรมต่าง ๆ ของประเทศ ในอดีตจังหวัดชลบุรีนั้นเคยเป็นแหล่งที่ตั้งของเมืองท่าที่มีความสำคัญมาก แม้แต่ในปัจจุบันนี้ก็ยังคงเป็นที่ตั้งของท่าเรือที่มีความสำคัญของประเทศรองจากท่าเรือกรุงเทพ นั่นก็คือท่าเรือแหลมฉบัง เนื่องจากมีทำเลที่ตั้งเหมาะสม จังหวัดชลบุรีนั้นมีอาณาเขตติดกับจังหวัดฉะเชิงเทรา จังหวัดระยอง และจังหวัดจันทบุรี.

ใหม่!!: ถนนสุขุมวิทและจังหวัดชลบุรี · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดระยอง

ระยอง เป็นจังหวัดหนึ่งในภาคตะวันออกของประเทศไทย เป็นจังหวัดที่มีรายได้ประชากรต่อหัวสูงที่สุดในประเทศ และผลิตภัณฑ์มวลรวมจังหวัดอยู่ในอันดับ 2 ของประเทศไทย เป็นเมืองท่องเที่ยวที่มีแหล่งท่องเที่ยวที่มีชื่อเสียงมากมาย และเป็นเมืองที่มีความสำคัญทางเศรษฐกิจเป็นอย่างมาก ทั้งทางด้านอุตสาหกรรม การท่องเที่ยว และการเกษตรกรรม คำว่าระยองเพี้ยนมาจาก "ราย็อง" เป็นภาษาชองอาจมีความหมายสองอย่าง.

ใหม่!!: ถนนสุขุมวิทและจังหวัดระยอง · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดสมุทรปราการ

ังหวัดสมุทรปราการ เป็นจังหวัดหนึ่งในภาคกลางของประเทศไทย และยังเป็นจังหวัดในเขตปริมณฑลของกรุงเทพมหานคร จัดตั้งขึ้นครั้งล่าสุดโดย พระราชบัญญัติจัดตั้งจังหวัดสมุทรปราการ จังหวัดนนทบุรี จังหวัดสมุทรสาคร และจังหวัดนครนายก พุทธศักราช 2489 ซึ่งมีผลใช้บังคับตั้งแต่วันที่ 9 พฤษภาคม พ.ศ. 2489.

ใหม่!!: ถนนสุขุมวิทและจังหวัดสมุทรปราการ · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดสระแก้ว

ระแก้ว เป็นจังหวัดหนึ่งในภาคตะวันออกของประเทศไทย แยกออกมาจากจังหวัดปราจีนบุรีเมื่อปี พ.ศ. 2536.

ใหม่!!: ถนนสุขุมวิทและจังหวัดสระแก้ว · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดจันทบุรี

ังหวัดจันทบุรี เป็นจังหวัดทางชายฝั่งทะเลภาคตะวันออกของประเทศไทย มีเนื้อที่ 6,388 ตารางกิโลเมตร สภาพภูมิประเทศประกอบไปด้วยป่าไม้ ภูเขา ที่ราบสูง ที่ราบลุ่มน้ำ และที่ราบชายฝั่งทะเล ในส่วนของพื้นที่ป่าไม้มีประมาณ 3 ใน 10 ของพื้นที่ทั้งจังหวัด มีอาณาเขตติดต่อกับจังหวัดฉะเชิงเทรา และสระแก้วทางทิศเหนือ ทิศตะวันออกติดกับจังหวัดตราดและประเทศกัมพูชา ทิศใต้ติดกับอ่าวไทย และทิศตะวันตกติดกับจังหวัดระยองและชลบุรี อยู่ห่างจากกรุงเทพมหานครประมาณ 238 กิโลเมตร ประชากรส่วนใหญ่ของจังหวัดจันทบุรีอาศัยอยู่ทางตอนใต้ของจังหวัด โดยอาชีพที่ประชากรในจังหวัดนิยมประกอบอาชีพมากที่สุดคือเกษตรกรรมและประมง และศาสนาที่มีการนับถือมากที่สุดในจังหวัดคือศาสนาพุท.

ใหม่!!: ถนนสุขุมวิทและจังหวัดจันทบุรี · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดตราด

ตราด เป็นจังหวัดชายฝั่งทะเลทางภาคตะวันออกของประเทศไทย มีเนื้อที่ 2,819 ตารางกิโลเมตร ติดต่อกับจังหวัดจันทบุรีและประเทศกัมพูชา ตราดนับเป็นเมืองศูนย์กลางการค้าแห่งหนึ่งในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ในช่วงปลายอยุธยา สินค้าที่ส่งออกขายยังแดนไกล โดยเฉพาะของป่า เช่น เขากวาง หนังสัตว์ ไม้หอม และเครื่องเทศต่าง ๆ ล้วนมาจากเขตป่าเขาชายฝั่งทะเลตะวันออก แถบระยอง จันทบุรี ตราด โดยลำเลียงสินค้าผ่านมาตามแม่น้ำเขาสมิง ออกสู่ปากอ่าวตร.

ใหม่!!: ถนนสุขุมวิทและจังหวัดตราด · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดฉะเชิงเทรา

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: ถนนสุขุมวิทและจังหวัดฉะเชิงเทรา · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดเกาะกง

กาะกง (កោះកុង) เดิมไทยเรียก ปัจจันตคิรีเขตรรุ่งมณี เมฆโสภณ.

ใหม่!!: ถนนสุขุมวิทและจังหวัดเกาะกง · ดูเพิ่มเติม »

ธนาคารกรุงไทย

นาคารกรุงไทย จำกัด (มหาชน) เป็นบริษัทบริการการเงินในประเทศไทยมีสำนักงานอยู่ที่เขตวัฒนาและเขตคลองเตย กรุงเทพมหานคร ธนาคารกรุงไทยเป็นธนาคารพาณิชย์เพียงแห่งเดียวในประเทศที่มีสถานะเป็นรัฐวิสาหกิจในรูปแบบของสถาบันการเงินภายใต้การกำกับดูแลของกระทรวงการคลัง และเป็นหนึ่งในห้าธนาคารขนาดใหญ่และมีจำนวนสาขาเป็นอันดับสองของประเทศไท.

ใหม่!!: ถนนสุขุมวิทและธนาคารกรุงไทย · ดูเพิ่มเติม »

ถนนพระรามที่ 2

นนพระรามที่ 2 (Thanon Rama II) หรือ ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 35 สายธนบุรี–ปากท่อ เป็นถนนที่ตัดผ่านกรุงเทพมหานคร จังหวัดสมุทรสาคร จังหวัดสมุทรสงคราม และจังหวัดราชบุรี เป็นเส้นทางหลักที่มุ่งสู่ภาคใต้ของประเทศไทย และยังเป็นหนึ่งในถนนพระรามทั้ง 7 สาย ซึ่งอยู่ในความรับผิดชอบของกรุงเทพมหานคร ยกเว้นถนนพระรามที่ 2 ที่อยู่ในความรับผิดชอบของกรมทางหลวง ถนนพระรามที่ 2 มีระยะทางรวม 84.041 กิโลเมตร.

ใหม่!!: ถนนสุขุมวิทและถนนพระรามที่ 2 · ดูเพิ่มเติม »

ถนนพระรามที่ 4

นนพระรามที่ 4 ช่วงสวนลุมพินี ถนนพระรามที่ 4 (Thanon Rama IV) เป็นถนนในกรุงเทพมหานคร เริ่มตั้งแต่ทางแยกหมอมี (แยกจากถนนเจริญกรุง) ข้ามคลองผดุงกรุงเกษมที่สะพานเจริญสวัสดิ์ ผ่านสถานีหัวลำโพง สามย่าน ไปบรรจบถนนสุขุมวิท.

ใหม่!!: ถนนสุขุมวิทและถนนพระรามที่ 4 · ดูเพิ่มเติม »

ถนนกาญจนาภิเษก

นนกาญจนาภิเษก (Thanon Kanchanaphisek) หรือ ถนนวงแหวนรอบนอกกรุงเทพมหานคร ซึ่งมีระยะทางส่วนใหญ่เป็น ทางหลวงพิเศษหมายเลข 9 เป็นถนนสายสำคัญที่มีเส้นทางเชื่อมต่อกันเป็นวงแหวนล้อมรอบตัวเมืองกรุงเทพมหานคร จังหวัดนนทบุรี ปทุมธานี และสมุทรปราการ รวมถึงผ่านจังหวัดพระนครศรีอยุธยาด้วย มีระยะทางตลอดทั้งสายรวม 168 กิโลเมตร ถนนสายนี้สร้างขึ้นเพื่อแก้ปัญหาการจราจรที่ติดขัดในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑลที่มีปริมาณการจราจรและการขนส่งเพิ่มขึ้น อันเป็นผลจากความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ และเป็นทางเลี่ยงเมืองกรุงเทพมหานครที่เป็นตัวเชื่อมทางสายหลักเข้าไปสู่ทุกภาคของประเทศ เริ่มก่อสร้างครั้งแรกเมื่อปี..

ใหม่!!: ถนนสุขุมวิทและถนนกาญจนาภิเษก · ดูเพิ่มเติม »

ถนนรัชดาภิเษก

นนรัชดาภิเษก (Thanon Ratchadaphisek) เป็นถนนวงแหวนรอบในของกรุงเทพมหานคร เริ่มจากสะพานข้ามคลองบางกอกใหญ่ ผ่านสะพานกรุงเทพ ตัดผ่านถนนพระรามที่ 3 ถนนสุขุมวิท ถนนเพชรบุรี ถนนพระราม 9 ถนนลาดพร้าว ถนนวิภาวดีรังสิต ถนนประชาชื่น ถนนกรุงเทพฯ-นนทบุรี ข้ามสะพานพระราม 7 เข้าเขตอำเภอบางกรวย จังหวัดนนทบุรี ตัดกับถนนบางกรวย-ไทรน้อย ลอดใต้สะพานพระราม 6 เข้าเขตกรุงเทพมหานคร รวมกับถนนจรัญสนิทวงศ์ และมาบรรจบที่ทางแยกท่าพร.

ใหม่!!: ถนนสุขุมวิทและถนนรัชดาภิเษก · ดูเพิ่มเติม »

ถนนราชดำเนิน (กรุงเทพมหานคร)

นนราชดำเนินกลางและอนุสาวรีย์ประชาธิปไตย ถนนราชดำเนิน (Thanon Ratchadamnoen) เป็นถนนสายสำคัญสายหนึ่งในกรุงเทพมหานคร ประกอบด้วยถนน 3 สาย ได้แก.

ใหม่!!: ถนนสุขุมวิทและถนนราชดำเนิน (กรุงเทพมหานคร) · ดูเพิ่มเติม »

ถนนศรีนครินทร์

นนศรีนครินทร์ (Thanon Srinagarindra) เป็นถนนที่ตั้งชื่อขึ้นเพื่อเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี มีจุดเริ่มต้นจากถนนลาดพร้าวที่เขตบางกะปิ กรุงเทพมหานคร ไปบรรจบกับถนนสุขุมวิทที่อำเภอเมืองสมุทรปราการ จังหวัดสมุทรปราการ ลักษณะถนนแบบ 4-8 ช่องจราจร ระยะทางทั้งหมด 20.181 กิโลเมตร โดยมีระยะทางอยู่ในพื้นที่กรุงเทพมหานคร 12.5 กิโลเมตร ในพื้นที่จังหวัดสมุทรปราการ 7.681 กิโลเมตร ตลอดแนวถนนไปจนถึงทางแยกศรีเทพาเป็นเส้นทางส่วนใหญ่ของรถไฟฟ้ามหานคร สายสีเหลือง ช่วงลาดพร้าว-สำโรง ซึ่งตั้งอยู่บริเวณเกาะกลางถนน ถนนศรีนครินทร์ช่วงตั้งแต่กิโลเมตรที่ 0 (ทางแยกบางกะปิ) จนถึงกิโลเมตรที่ 10 มีหน่วยงานที่รับผิดชอบเส้นทางคือ กรุงเทพมหานคร และช่วงตั้งแต่กิโลเมตรที่ 10 (ทางแยกศรีอุดม) ไปจนถึงกิโลเมตรที่ 20+181 (ทางแยกการไฟฟ้า) มีหน่วยงานที่รับผิดชอบเส้นทางคือ แขวงทางหลวงสมุทรปราการ กรมทางหลวง ช่วงที่สองนี้มีฐานะเป็น ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 3344 สายอุดมสุข–สมุทรปราการ.

ใหม่!!: ถนนสุขุมวิทและถนนศรีนครินทร์ · ดูเพิ่มเติม »

ถนนศุขประยูร

นนศุขประยูร หรือ ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 315 สายฉะเชิงเทรา - ชลบุรี เป็นถนนแอสฟัลต์คอนกรีต เริ่มจากทางแยกคอมเพล็กซ์ (ทางแยกกองพลทหารราบที่ 11) อำเภอเมืองฉะเชิงเทรา จังหวัดฉะเชิงเทรา ไปทางทิศตะวันออกเฉียงใต้ เข้าเขตอำเภอพนัสนิคม จังหวัดชลบุรี เลี้ยวขวาที่ทางแยกพนัสนิคม ไปทางทิศตะวันตก เข้าสู่พื้นที่อำเภอพานทองและอำเภอเมืองชลบุรี ผ่านทางหลวงพิเศษหมายเลข 7 และถนนเลี่ยงเมืองชลบุรี (สิ้นสุดทางหลวงแผ่นดินบริเวณนี้) และไปบรรจบถนนสุขุมวิทที่ทางแยกเฉลิมไทย ช่วงจากทางแยกคอมเพล็กซ์ถึงอำเภอพนัสนิคมมีขนาด 2 ช่องจราจร ระยะทาง 25 กิโลเมตร และช่วงจากอำเภอพนัสนิคมถึงปลายทางมีขนาด 4 ช่องจราจร ระยะทาง 22 กิโลเมตร รวมทั้งหมด 47 กิโลเมตร ช่วงที่เป็นทางหลวงแผ่นดินอยู่ในความดูแลของแขวงการทางฉะเชิงเทราและแขวงการทางชลบุรี สำนักทางหลวงที่ 12 (ชลบุรี) ถนนศุขประยูรเดิมมีชื่อเรียกว่า "ทางหลวงแผ่นดินสายฉะเชิงเทรา พนัสนิคม-ชลบุรี" - ราชกิจจานุเบกษา เล่มที่ 67 ตอน 67 ง, 12 ธันวาคม..

ใหม่!!: ถนนสุขุมวิทและถนนศุขประยูร · ดูเพิ่มเติม »

ถนนสรรพาวุธ

ถนนสรรพาวุธ (Thanon Sanphawut) ซึ่งบางส่วนมีฐานะเป็น ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 3102 สายบางนา - สรรพาวุธ เป็นถนนสายสั้น ๆ ในพื้นที่เขตบางนา กรุงเทพมหานคร มีระยะทาง 2 กิโลเมตรเศษ เริ่มต้นจากบริเวณทางแยกบางนา (ซึ่งเป็นจุดบรรจบกันของถนนสุขุมวิท ถนนเทพรัตน และทางพิเศษเฉลิมมหานคร) จากนั้นจึงตัดกับถนนทางรถไฟสายเก่าปากน้ำที่ทางแยกสรรพาวุธ และไปสิ้นสุดที่ริมแม่น้ำเจ้าพระยา บริเวณวัดบางนานอก โดยเป็นถนนขนาด 6 ช่องจราจรตลอดเส้นทาง ช่วง 70 เมตรแรกจากสี่แยกบางนาเป็นเขตควบคุมของหมวดการทางบางนาที่ 1 แขวงการทางสมุทรปราการ (หน่วยงานของกรมทางหลวง) ส่วนระยะทางที่เหลือเป็นเขตควบคุมของสำนักการโยธา กรุงเทพมหานคร 3102 4-3102 หมวดหมู่:ถนนในกรุงเทพมหานคร หมวดหมู่:ถนนในเขตบางนา.

ใหม่!!: ถนนสุขุมวิทและถนนสรรพาวุธ · ดูเพิ่มเติม »

ถนนสิริโสธร

นนสิริโสธร (Thanon Siri Sothon) หรือ ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 314 สายบางปะกง–ฉะเชิงเทรา มีระยะทาง 22.3 กิโลเมตร จำนวนช่องทางจราจร 4-6 ช่องทางจราจร และในช่วงทางแยกเข้าเมืองฉะเชิงเทราถึงทางแยกต่างระดับโสธราเวชจะเป็นถนนขนาด 8 ช่องจราจร ซึ่งมีทางคู่ขนาน โดยเริ่มต้นจากปลายถนนสุวินทวงศ์และถนนมหาจักรพรรดิในท้องที่อำเภอเมืองฉะเชิงเทรา จังหวัดฉะเชิงเทรา จากนั้นจึงผ่านท้องที่อำเภอบ้านโพธิ์ และไปสิ้นสุดที่ถนนเทพรัตนและถนนสุขุมวิท ในท้องที่อำเภอบางปะกง มีทางแยกสำคัญดังนี้.

ใหม่!!: ถนนสุขุมวิทและถนนสิริโสธร · ดูเพิ่มเติม »

ถนนสุขุมวิท

นนสุขุมวิท (Thanon Sukhumvit) ซึ่งมีระยะทางส่วนใหญ่เป็น ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 3 สายบางนา–หาดเล็ก เป็นหนึ่งในทางหลวงแผ่นดินสายประธานทั้งสี่ของประเทศไทย จุดเริ่มต้นเชื่อมต่อจากถนนเพลินจิต เขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร มีเส้นทางไปตามชายทะเลภาคตะวันออก และสิ้นสุดที่อำเภอคลองใหญ่ จังหวัดตราด ติดต่อกับชายแดนจังหวัดเกาะกง ประเทศกัมพูชา รวมระยะทางยาวทั้งสิ้นประมาณ 488 กิโลเมตร.

ใหม่!!: ถนนสุขุมวิทและถนนสุขุมวิท · ดูเพิ่มเติม »

ถนนสุขุมวิท 71 (ปรีดี พนมยงค์)

นนสุขุมวิท 71 (ปรีดี พนมยงค์) ถนนสุขุมวิท 71 (ปรีดี พนมยงค์) (Thanon Sukhumvit 71 (Pridi Banomyong)) เป็นถนนสายหนึ่งในกรุงเทพมหานคร มีความยาวประมาณ 3 กิโลเมตร มีจุดเริ่มต้นจากถนนสุขุมวิทที่ทางแยกสุขุมวิทในแขวงพระโขนงเหนือ เขตวัฒนา มุ่งไปทางทิศเหนือ เมื่อถึงปากซอยปรีดี พนมยงค์ 26 (พัฒนเวศม์) จึงเริ่มเป็นเส้นแบ่งพื้นที่การปกครองระหว่างแขวงพระโขนงเหนือกับแขวงคลองตันเหนือ จนกระทั่งผ่านปากซอยปรีดี พนมยงค์ 25 (เจริญมิตร) จึงเข้าแขวงคลองตันเหนือ ไปทางทิศเดิม ข้ามคลองตันเข้าพื้นที่แขวงสวนหลวง เขตสวนหลวง และไปสิ้นสุดที่ทางแยกคลองตัน ซึ่งเป็นจุดบรรจบระหว่างถนนเพชรบุรี ถนนพัฒนาการ และถนนรามคำแหง ถนนนี้เดิมคือซอยสุขุมวิท 71 สร้างในช่วงสงครามโลกครั้งที่ 2 ประมาณปี พ.ศ. 2485-2486 เทศบาลนครกรุงเทพได้รับมอบมาจากแขวงการทางกรุงเทพ (หน่วยงานของกรมทางหลวง) เมื่อปี พ.ศ. 2503กนกวลี ชูชั.

ใหม่!!: ถนนสุขุมวิทและถนนสุขุมวิท 71 (ปรีดี พนมยงค์) · ดูเพิ่มเติม »

ถนนอุดมสุข

ถนนอุดมสุข ถนนอุดมสุข (Thanon Udom Suk) เป็นถนนสายหนึ่งในเขตบางนาและเขตประเวศ กรุงเทพมหานคร เดิมคือ ซอยสุขุมวิท 103 มีระยะทางประมาณ 4 กิโลเมตร เป็นถนนแบบ 4 ช่องทางจราจรไม่มีเกาะกลาง แยกจากถนนสุขุมวิทที่ทางแยกอุดมสุขในพื้นที่แขวงบางนาเหนือ เขตบางนา ตรงไปทางทิศตะวันออก เมื่อถึงซอยอุดมสุข 29 (พุทธวิถี 1) เป็นเส้นแบ่งพื้นที่การปกครองระหว่างเขตบางนากับเขตพระโขนง จนกระทั่งข้ามคลองเคล็ดจึงเข้าพื้นที่แขวงหนองบอน เขตประเวศ แนวเส้นทางยังคงมุ่งไปทางทิศตะวันออกจนไปสิ้นสุดที่ทางแยกศรีอุดมซึ่งเป็นจุดตัดกับถนนศรีนครินทร์ โดยมีแนวถนนที่ตรงต่อเนื่องไปคือ ถนนเฉลิมพระเกียรติ ร.9 ถนนอุดมสุขเป็นถนนที่มีตลาดตลอดทั้งวัน โดยในตอนเช้าจะมีตลาดสด ส่วนตอนบ่ายจนถึงเย็นจะเริ่มแปรเป็นตลาดอาหารสำเร็จรูป ตลอดเส้นทางของถนนอุดมสุขมีสิ่งอำนวยความสะดวกหลายอย่าง เช่น ร้านบริการอัดรูป ธนาคาร สนามกอล์ฟ สนามเทนนิส ศูนย์พยาบาลสำหรับประชาชน ร้านตัดผม ร้านรับทำกุญแจ เป็นต้น หมวดหมู่:ถนนในกรุงเทพมหานคร หมวดหมู่:ถนนในเขตบางนา หมวดหมู่:ถนนในเขตประเวศ.

ใหม่!!: ถนนสุขุมวิทและถนนอุดมสุข · ดูเพิ่มเติม »

ถนนอ่อนนุช

แผนที่เขตวัฒนา ถนนอ่อนนุชปรากฏอยู่ด้านล่างขวาของภาพในชื่อ Sukhumwit 77 (On Nut) ถนนอ่อนนุช (Thanon On Nut) ซึ่งมีชื่อเดิมว่า ซอยสุขุมวิท 77 เป็นถนนสายสำคัญสายหนึ่งของกรุงเทพมหานคร มีระยะทางทั้งหมดประมาณ 12.2 กิโลเมตร แนวถนนขนานไปกับคลองพระโขนงและคลองประเวศบุรีรมย์ แยกจากถนนสุขุมวิทที่ทางแยกอ่อนนุชในท้องที่แขวงพระโขนงเหนือ เขตวัฒนา ไปทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือ ข้ามคลองบางนางจีนเข้าท้องที่แขวงอ่อนนุช เขตสวนหลวง เมื่อถึงซอยอ่อนนุช 9 จึงโค้งไปทางทิศตะวันออกเฉียงใต้ แล้วไปทางทิศตะวันออกและทิศตะวันออกเฉียงเหนือ จากนั้นตัดกับถนนศรีนครินทร์ที่ทางแยกสวนหลวง (ศรีนุช) ไปทางทิศเดิม ข้ามคลองหนองบอนเข้าท้องที่แขวงประเวศ เขตประเวศ ตัดกับถนนพัฒนาการที่ทางแยกต่างระดับอ่อนนุช-พัฒนาการ ไปทางทิศตะวันออก ตัดกับถนนเฉลิมพระเกียรติ ร.9 ที่ทางแยกประเวศ ตัดกับถนนกาญจนาภิเษก (วงแหวนรอบนอกตะวันออก) ที่ทางแยกต่างระดับอ่อนนุช และตัดกับถนนสุขาภิบาล 2 ที่ทางแยกโรงพยาบาลสิรินธร ก่อนไปสิ้นสุดที่สะพานข้ามคลองตาพุก โดยมีถนนที่ตรงต่อเนื่องไปคือถนนลาดกระบังในท้องที่แขวงลาดกระบัง เขตลาดกระบัง.

ใหม่!!: ถนนสุขุมวิทและถนนอ่อนนุช · ดูเพิ่มเติม »

ถนนอโศกมนตรี

นนอโศกมนตรีช่วงที่ตัดกับถนนรัชดาภิเษกและถนนสุขุมวิท (แยกอโศกมนตรี) ถนนอโศกมนตรี (Thanon Asok Montri) เป็นถนนสายสั้น ๆ ในกรุงเทพมหานคร มีความยาวประมาณ 1.3 กิโลเมตร มีจุดเริ่มต้นที่แยกอโศกมนตรีซึ่งเป็นจุดตัดระหว่างถนนสุขุมวิทกับถนนรัชดาภิเษก (ที่มุ่งหน้ามาจากเขตคลองเตย) มุ่งไปทางทิศเหนือในพื้นที่แขวงคลองเตยเหนือ เขตวัฒนา ข้ามคลองแสนแสบ เข้าพื้นที่แขวงมักกะสัน เขตราชเทวี ไปสิ้นสุดที่แยกอโศก-เพชรบุรีซึ่งเป็นจุดตัดกับถนนเพชรบุรี ปัจจุบันถนนเส้นนี้เป็นส่วนหนึ่งของวงแหวนรัชดาภิเษก และตรงไปเป็นถนนอโศก-ดินแดง ถนนอโศกมนตรีเดิมมีชื่อเรียกว่า "ซอยสุขุมวิท 21 (ซอยอโศก)" และ "ถนนอโศก" โดยกรุงเทพมหานครได้เปลี่ยนชื่อเป็น ถนนอโศกมนตรี เมื่อวันที่ 1 มีนาคม พ.ศ. 2547 ตามข้อเสนอของมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ เพื่อเป็นเกียรติประวัติแก่พระอโศกมนตรี (เรียม เศวตเศรณี) ซึ่งเป็นข้าราชการในพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว และได้อุทิศที่ดินร่วมกับเจ้าของที่ดินรายอื่นและซื้อที่ดินที่เป็นตลาดเดิมมอบให้เทศบาลนครกรุงเทพสร้างถนนสายนี้ สถานที่สำคัญบนถนนสายนี้ มีโรงพยาบาลจักษุรัตนิน มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ (ประสานมิตร) โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร ตึกจีเอ็มเอ็ม แกรมมี่ อาคารสภาวิชาชีพบัญชีฯ และสยามสมาคมในพระบรมราชูปถัม.

ใหม่!!: ถนนสุขุมวิทและถนนอโศกมนตรี · ดูเพิ่มเติม »

ถนนทางรถไฟสายเก่าปากน้ำ

นนทางรถไฟสายเก่าปากน้ำ (Thanon Thang Rotfai Sai Kao Paknam) เป็นถนนสายสำคัญสายหนึ่งของกรุงเทพมหานครและจังหวัดสมุทรปราการ เดิมเป็นทางเดินรถไฟสายปากน้ำ ต่อมาเมื่อยกเลิกรถไฟสายปากน้ำแล้วจึงปรับเป็นถนนขนาด 2 ช่องทางจราจรสวนทาง มีจุดเริ่มต้นจากถนนพระรามที่ 4 ในพื้นที่แขวงคลองเตย เขตคลองเตย กรุงเทพมหานคร ตัดกับถนนเกษมราษฏร์ แล้วจึงเลียบทางพิเศษเฉลิมมหานคร ตัดกับถนนกล้วยน้ำไทแล้วจึงลอดใต้ทางพิเศษเฉลิมมหานคร จากนั้นจึงข้ามคลองพระโขนงเข้าสู่แขวงพระโขนง เขตคลองเตย ตัดกับซอยสุขุมวิท 50 จากนั้นจึงเข้าพื้นที่แขวงพระโขนงใต้ เขตพระโขนง บริเวณใกล้กับจุดตัดกับถนนอาจณรงค์ซึ่งเป็นถนนเลียบทางรถไฟ แล้วเลียบแม่น้ำเจ้าพระยา ตัดกับซอยสุขุมวิท 62 จากนั้นจึงข้ามคลองบางอ้อเข้าพื้นที่แขวงบางนาเหนือ เขตบางนา ตัดกับถนนสรรพาวุธเข้าพื้นที่แขวงบางนาใต้ จากนั้นจึงเข้าเขตจังหวัดสมุทรปราการ โดยถนนสายนี้ทำหน้าที่แบ่งเขตระหว่างเขตเทศบาลตำบลสำโรงเหนือ อำเภอเมืองสมุทรปราการ กับเขตเทศบาลเมืองปู่เจ้าสมิงพราย อำเภอพระประแดง จากนั้นจึงตัดกับซอยสุขุมวิท 78 (ทางเข้าห้างสรรพสินค้าอิมพิเรียลเวิลด์ สำโรง และโรงพยาบาลสำโรง) แล้วตัดกับถนนปู่เจ้าสมิงพราย สุดท้ายจึงลอดใต้ทางพิเศษสายบางพลี-สุขสวัสดิ์ และไปสิ้นสุดที่ถนนสุขุมวิทกิโลเมตรที่ 22 (บริเวณพิพิธภัณฑ์ช้างเอราวัณ) โดยถนนสายนี้ช่วงตั้งแต่ถนนสุขุมวิทถึงถนนปู่เจ้าสมิงพรายเปิดให้เดินรถขาขึ้นได้ทางเดียว ถนนทางรถไฟสายเก่านี้เดิมเคยเป็น ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 3109 ปัจจุบันอยู่ในความรับผิดชอบของกรุงเทพมหานครและกรมทางหลวงชนบท (ช่วงถนนในเขตจังหวัดสมุทรปราการ).

ใหม่!!: ถนนสุขุมวิทและถนนทางรถไฟสายเก่าปากน้ำ · ดูเพิ่มเติม »

ถนนปู่เจ้าสมิงพราย

นนปู่เจ้าสมิงพราย (Thanon Pu Chao Saming Phrai) หรือ ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 3113 สายสำโรง - สะพานภูมิพล เป็นถนนในเขตจังหวัดสมุทรปราการ เดิมมีชื่อว่า "ถนนสายสำโรง-ท่าอิฐ" มีระยะทางทั้งหมดประมาณ 6.3 กิโลเมตร แนวสายทางเริ่มต้นจากถนนสุขุมวิท ตำบลสำโรงเหนือ อำเภอเมืองสมุทรปราการ จังหวัดสมุทรปราการ สิ้นสุดที่ท่าน้ำพระประแดง ริมฝั่งแม่น้ำเจ้าพระยา บริเวณวัดแหลม ตำบลบางหญ้าแพรก อำเภอพระประแดง จังหวัดสมุทรปราการ โดยที่จุดสิ้นสุดของถนนสายนี้เป็นท่าเรือข้ามฟากและแพขนานยนต์ของบริษัท เภตรา จำกัด และบริษัท นาวาสมุทร จำกัด สำหรับข้ามไปฝั่งตัวเมืองพระประแดงต่อไป ถนนปู่เจ้าสมิงพรายเป็นถนนขนาด 6 ช่องจราจร แต่ไม่มีเกาะกลางถนน จะมีเกาะกลางเฉพาะปากทางใกล้ถนนสุขุมวิท ถนนวงแหวนอุตสาหกรรม และท่าน้ำพระประแดงเท่านั้น ถนนปู่เจ้าสมิงพรายผ่านถนนสายหลักของจังหวัดสมุทรปราการ 2 สายคือ.

ใหม่!!: ถนนสุขุมวิทและถนนปู่เจ้าสมิงพราย · ดูเพิ่มเติม »

ถนนเพลินจิต

นนเพลินจิต ถนนเพลินจิต (Thanon Phloen Chit) เป็นถนนในท้องที่แขวงลุมพินี เขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร เป็นถนนสายสั้น ๆ มีระยะทางตั้งแต่ถนนราชดำริ (สี่แยกราชประสงค์) โดยต่อเนื่องจากถนนพระรามที่ 1 ตัดกับถนนชิดลม (สี่แยกชิดลม) และถนนวิทยุ (สี่แยกเพลินจิต) ไปจนถึงทางรถไฟเก่าสายช่องนนทรี ซึ่งจากทางรถไฟสายนี้ไปจะเป็นถนนสุขุมวิท ถนนเพลินจิตสร้างขึ้นใน พ.ศ. 2463 รัชสมัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว โดยกรมสุขาภิบาล กระทรวงนครบาลได้ตัดถนนขึ้น 2 สาย คือ สายหนึ่งเริ่มตั้งแต่ถนนราชดำริตรงสะพานราชปรารภ ตรงไปทางตะวันออกถึงถนนขวางที่ตั้งวิทยุโทรเลข ซึ่งพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวโปรดเกล้าฯ พระราชทานนามว่า "ถนนเพลินจิต" ในเดือนมีนาคม พ.ศ. 2464 ส่วนอีกถนนหนึ่งตัดเชื่อมถนนเพลินจิตกับถนนพระรามที่ 4 และพระราชทานนามว่า "ถนนวิทยุ" โดยถนนเพลินจิต เดิมสะกดว่า "เพลินจิตร์" ได้รับนามพระราชทานจากพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว โดยการเสนอแนะของพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวรวรรณากร กรมพระนราธิปประพันธ์พงศ์ เนื่องจากเดิมสถานที่บริเวณนี้เป็นที่ห่างไกล การสัญจรไปถึงลำบากจนแทบลืมความสบายไปเลย ผู้คนจึงมักนิยมเรียกว่า "หายห่วง" ปัจจุบัน จัดว่าเป็นถนนสายธุรกิจสายหนึ่ง ที่เต็มไปด้วยร้านค้าหรือห้างสรรพสินค้าระดับหรูหราและใหญ่โตหลายแห่ง เช่นเดียวกับบริเวณสี่แยกราชประสงค์ที่อยู่ใกล้เคียง.

ใหม่!!: ถนนสุขุมวิทและถนนเพลินจิต · ดูเพิ่มเติม »

ถนนเทพรัตน

นนเทพรัตน (Thanon Debaratana) หรือ ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 34 สายบางนา–หนองไม้แดง เป็นทางหลวงแผ่นดินแนวตะวันตก–ตะวันออก แยกออกมาจากถนนสุขุมวิท ในเขตบางนา กรุงเทพมหานคร แล้วไปบรรจบถนนสุขุมวิทที่ทางแยกต่างระดับหนองไม้แดง ในท้องที่อำเภอเมืองชลบุรี จังหวัดชลบุรี.

ใหม่!!: ถนนสุขุมวิทและถนนเทพรัตน · ดูเพิ่มเติม »

ถนนเทพารักษ์

นนเทพารักษ์ (Thanon Thepharak) หรือ ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 3268 สายสำโรง - บางบ่อ เป็นถนนท้องถิ่นในจังหวัดสมุทรปราการ แยกจากถนนสุขุมวิทบริเวณกิโลเมตรที่ 20 ข้างสถานีตำรวจภูธรสำโรงเหนือ ตำบลสำโรงเหนือ อำเภอเมืองสมุทรปราการ จังหวัดสมุทรปราการ ระยะทางประมาณ 28 กิโลเมตร ผ่านท้องที่ 4 อำเภอ ได้แก่ อำเภอเมืองสมุทรปราการ อำเภอบางพลี อำเภอบางเสาธง และอำเภอบางบ่อ โดยไปบรรจบกับถนนรัตนราชและถนนปานวิถี (คลองด่าน-บางบ่อ) บริเวณโรงเรียนอนุบาลชุมชนบางบ่อ ตำบลบางบ่อ อำเภอบางบ่อ แต่เดิมถนนเส้นนี้มีเพียง 2 ช่องทางจราจรตลอดเส้นทาง ปัจจุบันได้ขยายช่องจราจรเป็น 6-8 ช่องจราจรเรียบร้อยแล้วตลอดทั้งเส้นทาง.

ใหม่!!: ถนนสุขุมวิทและถนนเทพารักษ์ · ดูเพิ่มเติม »

ถนนเฉลิมบูรพาชลทิต

นนเฉลิมบูรพาชลทิต หรือ ทางหลวงชนบทสาย ร.4036 เป็นถนน 2 เลนสวนทางกัน ถนนบางส่วนในอดีตเคยเป็นทางหลวงเดิม และ มีการสร้างเพิ่มเติมเพื่อเชื่อมถนนเข้าด้วยกัน ถนนเส้นนี้จัดสร้างโดยกรมทางหลวงชนบท กระทรวงคมนาคม ครอบคลุมตั้งแต่ชลบุรี แหลมแม่พิมพ์ จังหวัดระยอง จันทบุรี ไปจนถึงจังหวัดตราด เป็นถนนเพื่อการท่องเที่ยวชายฝั่งทะเลระดับสากลอย่างยั่งยืน (Scenic Route) และช่วยลดปริมาณรถในถนนสุขุมวิท โดยถนนสายนี้มีจุดเริ่มต้นบริเวณสามแยกซากมะกรูด จุดตัดทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 3161 เลาะไปตามแนวชายทะเลระยอง จากนั้นขึ้นสะพานประแสร์สิน ข้ามปากน้ำประแส ผ่านหาดคุ้งวิมาน จุดชมวิวเนินนางพญา ขึ้นสะพานสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช (สะพานแหลมสิงห์) ข้ามปากแม่น้ำจันทบุรี ผ่านคุกขี้ไก่ แล้วเลาะไปตามแนวชายทะเลแหลมสิงห์ แล้วสิ้นสุดที่สามแยกเฉลิมบูรพาชลทิต จุดตัดทางหลวงแผ่นดิน 3149 รวมระยะทาง 100 กิโลเมตร ถนนเฉลิมบูรพาชลทิตนอกจากจะเป็นถนนที่เหมาะกับการขับรถเล่นชมวิวแล้ว ยังเหมาะที่จะมาปั่นจักรยานชมวิว มีเลนของจักรยานโดยเฉพาะที่บริเวณไหล่ทาง.

ใหม่!!: ถนนสุขุมวิทและถนนเฉลิมบูรพาชลทิต · ดูเพิ่มเติม »

ทางพิเศษเฉลิมมหานคร

ทางพิเศษเฉลิมมหานคร หรือ ระบบทางด่วนขั้นที่ 1 เป็นทางพิเศษสายแรกของประเทศไทย ก่อสร้างและเปิดให้บริการเมื่อวันที่ 29 ตุลาคม..

ใหม่!!: ถนนสุขุมวิทและทางพิเศษเฉลิมมหานคร · ดูเพิ่มเติม »

ทางรถไฟสายปากน้ำ

| ทางรถไฟสายปากน้ำ เป็นทางรถไฟเอกชนที่เดินรถระหว่างสถานีรถไฟหัวลำโพง กรุงเทพมหานคร กับสถานีรถไฟปากน้ำ จังหวัดสมุทรปราการ เป็นระยะทาง 21.3 กิโลเมตร ตั้งแต..

ใหม่!!: ถนนสุขุมวิทและทางรถไฟสายปากน้ำ · ดูเพิ่มเติม »

ทางหลวงพิเศษหมายเลข 7

ทางหลวงพิเศษหมายเลข 7 สายกรุงเทพมหานคร−บ้านฉาง เป็นทางหลวงพิเศษระหว่างเมืองสายแรกของประเทศไทย มีระยะทางยาว 125.865 กิโลเมตร ทางสายนี้เป็นโครงข่ายทางหลวงที่มีความสำคัญในการพัฒนาเส้นทางคมนาคมขนส่งกับพื้นที่บริเวณชายฝั่งทะเลภาคตะวันออก แก้ไขปัญหาการจราจรติดขัดคับคั่งในถนนสุขุมวิท และถนนเทพรัตน และเป็นทางเชื่อมเข้าสู่ท่าอากาศยานสากลแห่งใหม่ คือ ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ ถนนสายนี้ได้รับการกำหนดให้เป็นส่วนหนึ่งของทางหลวงเอเชียสาย 19 และทางหลวงเอเชียสาย 123 ปัจจุบันทางหลวงพิเศษหมายเลข 7 มีเส้นทางตั้งแต่กรุงเทพมหานครไปถึงแค่เพียงเมืองพัทยาเท่านั้น ซึ่งเส้นทางไปยังอำเภอบ้านฉางอยู่ในระหว่างการก่อสร้าง นอกจากนี้ทางหลวงพิเศษหมายเลข 7 ในปัจจุบัน ยังถูกกำหนดในเส้นทางอื่นอีก ได้แก่ ทางแยกไปบรรจบถนนเทพรัตน, ทางแยกเข้าชลบุรี, ทางแยกเข้าท่าเรือแหลมฉบัง และทางแยกเข้าพัทยา รวมถึงทางแยกไปบรรจบทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 3 (บ้านอำเภอ) ซึ่งอยู่ในระหว่างการก่อสร้าง.

ใหม่!!: ถนนสุขุมวิทและทางหลวงพิเศษหมายเลข 7 · ดูเพิ่มเติม »

ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 3117

ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 3117 สายคลองด่าน - บางบ่อ เป็นทางหลวงที่อยู่ในเขตอำเภอบางบ่อ จังหวัดสมุทรปราการ ผ่านตำบลคลองด่าน ตำบลบางเพรียง และตำบลบางบ่อ มีแนวสายทางเริ่มจากถนนสุขุมวิทกิโลเมตรที่ 58 สิ้นสุดที่ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 34 (บางนา-หนองไม้แดง) กิโลเมตรที่ 27 ระยะทางรวมประมาณ 9.5 กิโลเมตร ถนนสายนี้แบ่งเป็น 2 ช่วง มีชื่อเรียกดังนี้.

ใหม่!!: ถนนสุขุมวิทและทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 3117 · ดูเพิ่มเติม »

ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 316

นนรักศักดิ์ชมูล หรือ ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 316 สายเขาไร่ยา–จันทบุรี เป็นทางหลวงท้องถิ่นของจังหวัดจันทบุรี โดยเป็นเส้นทางหลักที่ใช้เดินทางเข้าสู่ตัวเมืองจันทบุรี เริ่มต้นจากถนนสุขุมวิทกิโลเมตรที่ 324+300 ที่ทางแยกเขาไร่ยา อำเภอเมืองจันทบุรี จังหวัดจันทบุรี และสิ้นสุดที่บริเวณทางแยกหน้าแขวงทางหลวงจันทบุรี รวมระยะทาง 6.116 กิโลเมตร อยู่ในความรับผิดชอบดูแลของแขวงทางหลวงจันทบุรี สำนักงานทางหลวงที่ 14 (ชลบุรี) กรมทางหลวง 316 3-316 หมวดหมู่:ถนนในจังหวัดจันทบุรี.

ใหม่!!: ถนนสุขุมวิทและทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 316 · ดูเพิ่มเติม »

ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 317

ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 317 สายจันทบุรี-สระแก้ว เริ่มจากถนนสุขุมวิท หลัก ก.ม. 333 ที่อำเภอเมืองจันทบุรี จังหวัดจันทบุรี ผ่านถนนสระแก้ว-เขาหินซ้อน ไปสิ้นสุดที่ถนนสุวรรณศร ในจังหวัดสระแก้ว รวมระยะทาง 147.587 กิโลเมตร 317 3-317 หมวดหมู่:ถนนในจังหวัดจันทบุรี หมวดหมู่:ถนนในจังหวัดสระแก้ว.

ใหม่!!: ถนนสุขุมวิทและทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 317 · ดูเพิ่มเติม »

ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 3256

ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 3256 สายบางปู - กิ่งแก้ว แบ่งออกเป็น 2 ช่วง มีระยะทางรวมทั้งหมดประมาณ 24 กิโลเมตร อยู่ในความรับผิดชอบของแขวงการทางสมุทรปราการ สังกัดกรมทางหลวง.

ใหม่!!: ถนนสุขุมวิทและทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 3256 · ดูเพิ่มเติม »

ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 331

ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 331 สายสัตหีบ–เขาหินซ้อน มีชื่อเรียกเป็นหลักว่า ถนนสายยุทธศาสตร์ โดยมีชื่อเรียกอื่นแตกต่างกันไป เช่น ถนนอิงแลนด์ เป็นต้น เส้นทางเริ่มจากถนนสุขุมวิท ที่ตำบลพลูตาหลวง อำเภอสัตหีบ จังหวัดชลบุรี สิ้นสุดที่ ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 304 (ฉะเชิงเทรา-กบินทร์บุรี) ที่ ตำบลเขาหินซ้อน อำเภอพนมสารคาม จังหวัดฉะเชิงเทรา รวมระยะทาง 156.397 กิโลเมตร.

ใหม่!!: ถนนสุขุมวิทและทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 331 · ดูเพิ่มเติม »

ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 332

ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 332 สายสัตหีบ - สำนักท้อน มีชื่อเรียกเป็นหลักว่า "ถนนเลี่ยงเมืองสัตหีบ" เริ่มจากทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 3 (ถนนสุขุมวิท) ที่ตำบลหาดเสร่ อำเภอสัตหีบ จังหวัดชลบุรี สิ้นสุดที่ ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 3 ที่ตำบลพลา อำเภอบ้านฉาง จังหวัดระยอง รวมระยะทาง 14.487 กิโลเมตร 332 3-332 หมวดหมู่:ถนนในจังหวัดชลบุรี หมวดหมู่:ถนนในจังหวัดระยอง.

ใหม่!!: ถนนสุขุมวิทและทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 332 · ดูเพิ่มเติม »

ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 344

ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 344 สายชลบุรี–แกลง เป็นถนนที่ก่อสร้างขึ้นเพื่อย่นระยะทางจากจังหวัดชลบุรีไปสู่จังหวัดจันทบุรีและจังหวัดตราด โดยไม่ผ่านตัวเมืองระยอง เป็นถนนผิวจราจรแอสฟัลต์คอนกรีต ขนาด 4 ช่องจราจรตลอดสาย เริ่มต้นจากถนนสุขุมวิท อำเภอเมืองชลบุรี ผ่านถนนเลี่ยงเมืองชลบุรี ถนนกรุงเทพฯ-ชลบุรี ทางแยกบ้านบึงพัฒนา (แยกเอ็ม 16) อำเภอบ้านบึง ทางแยกหนองปรือ และอำเภอหนองใหญ่ เข้าเขตจังหวัดระยอง ผ่านอำเภอวังจันทร์ สิ้นสุดที่ถนนสุขุมวิทบริเวณทางแยกภิบาลพัฒนา (แยกแกลง) อำเภอแกลง จังหวัดระยอง รวมระยะทาง 102.181 กิโลเมตร ทางหลวงสายนี้เป็นส่วนต่อขยายจากทางหลวงสายชลบุรี–บ้านบึงที่มีอยู่เดิม สันนิษฐานว่าเริ่มต้นขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 2521 อันเนื่องมาจากการออกพระราชกฤษฎีกากำหนดแนวทางหลวงที่จะสร้างทางหลวงสายบ้านบึง–แกลง ในสมัยรัฐบาลพลเอก เกรียงศักดิ์ ชมะนันทน์ นายกรัฐมนตรี ซึ่งต่อมาในประกาศกระทรวงคมนาคม กำหนดให้ทางหลวงจังหวัดสายนี้เป็นทางหลวงที่มีความจำเป็นต้องสร้างโดยเร่งด่วน ปัจจุบันทางหลวงเส้นนี้เป็นถนนสายหลักสายหนึ่งที่ใช้เพื่อขนส่งผลผลิตทางการเกษตรทางภาคตะวันออก เนื่องจากอยู่นอกเขตนิคมอุตสาหกรรม.

ใหม่!!: ถนนสุขุมวิทและทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 344 · ดูเพิ่มเติม »

ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 36

ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 36 สายกะทิงลาย–ปลวกเกตุ หรือที่เรียกกันทั่วไป ถนนบายพาสพัทยา–ระยอง เป็นถนนแอสฟัลต์คอนกรีตขนาด 4 ช่องจราจรไป-กลับ ถนนสายนี้ได้รับการกำหนดให้เป็นส่วนหนึ่งของทางหลวงเอเชียสาย 123.

ใหม่!!: ถนนสุขุมวิทและทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 36 · ดูเพิ่มเติม »

ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 361

ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 361 หรือ ถนนเลี่ยงเมืองชลบุรี เป็นถนนคอนกรีตเสริมเหล็กขนาดพิเศษ 12 ช่องจราจร แบ่งออกเป็นช่องทางหลัก (Main Road) 4 ช่องจราจร และช่องทางขนาน (Frontage Road) 2 ช่องจราจร แยกจากทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 3 (ถนนสุขุมวิท) และ ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 34 ที่ทางแยกต่างระดับหนองไม้แดง ผ่านทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 315 และทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 344 หลังจากทางแยกต่างระดับแยกเข้าบางแสน ช่องจราจรเหลือ 4 ช่องจราจรไป-กลับ จนถึงทางแยกเข้าชลบุรี (มอเตอร์เวย์) ระยะทางรวม 13 กิโลเมตร เดิมทางเลี่ยงเมืองชลบุรี เป็นส่วนหนึ่งของทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 36 (ชลบุรี-พัทยา) ที่ชาวบ้านนิยมเรียกกันว่า ถนนบายพาส ก่อสร้างขึ้นเพื่อแบ่งเบาภาระการจราจรบนทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 3 (ถนนสุขุมวิท) ภายหลังจากที่มีการก่อสร้างทางหลวงพิเศษหมายเลข 7 (มอเตอร์เวย์) จึงได้มีการเปลี่ยนแปลงหมายเลขเส้นทาง โดยกำหนดให้เป็นส่วนหนึ่งของทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 3 และทำการก่อสร้างช่วงตั้งแต่ทางแยกต่างระดับชลบุรี ถึงทางแยกต่างระดับเลี่ยงเมืองบางแสนเป็น 12 ช่องจราจร ก่อนที่จะกำหนดให้เป็นทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 361 ในเวลาต่อมา ส่วนช่วงทางแยกต่างระดับบางแสนจนถึงทางแยกต่างระดับคีรีนคร ก็ถูกกำหนดให้เป็นทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 361 เช่นกัน และช่วงทางแยกต่างระดับคีรีนครจนถึงแยกพัทยากลาง ได้ถูกกำหนดให้เป็นทางหลวงพิเศษหมายเลข 7 เนื่องจากเป็นเส้นทางของโครงการทางหลวงพิเศษหมายเลข 7 ช่วงชลบุรี-พัท.

ใหม่!!: ถนนสุขุมวิทและทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 361 · ดูเพิ่มเติม »

ทางแยกต่างระดับท่าเรือแหลมฉบัง

ทางแยกต่างระดับท่าเรือแหลมฉบัง (อังกฤษ: Nong kham Interchange)  เป็นทางแยกต่างระดับแห่งหนึ่งในจังหวัดชลบุรี เป็นจุดตัดระหว่างทางหลวงพิเศษหมายเลข 7 กับทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 3 รูปแบบของทางแยกต่างระดับ สะพานข้ามทางหลวงของทางหลวงพิเศษหมายเลข 7 ในแนวชลบุรี-พัทยา และมีทางกลับรถไปยังทางหลวงพิเศษหมายเลข 7 ในแนวพัทยา-กรุงเทพฯ และในแนวพัทยา-กรุงเทพฯ และมีทางเลี้ยวไปยังทางหลวงพิเศษหมายเลข 7 ในแนวพัทยา-กรุงเทพฯ ถนนระดับดินของทางหลวงพิเศษหมายเลข 7 ในแนวแหลมฉบัง-หนองขาม และมีทางเลี้ยวตรงไปไปยังทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 331 ลักษณะทางตรง แล้วไปอำเภอสัตหีบ โดยไม่ต้องเลี้ยวซ้ายอีกต่อไป และในแนวหนองขาม-แหลมฉบัง และมีทางตรงไปยังทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 7 ในแนวหนองขาม-แหลมฉบัง แล้วกลับรถเข้าแนวแหลมฉบัง-หนองขาม ถนนระดับดินผ่านตลอดของถนนทุกสายเมื่อเลี้ยวซ้ายไปเข้าถนนที่อยู่ติดกัน ถนนระดับดินผ่านตลอดของทางหลวงพิเศษหมายเลข 331 เป็นลักษณะทางตรงไป ไม่สามารถเชื่อมทางชลบุรีได้ จึงขับรถตรงไปประมาณ 1 กิโลเมตรจะมีที่กลับรถ แล้วไปบรรจบทางขนานเข้าทางด่วนได้ อ้างอิง.

ใหม่!!: ถนนสุขุมวิทและทางแยกต่างระดับท่าเรือแหลมฉบัง · ดูเพิ่มเติม »

ท่าอากาศยานนานาชาติอู่ตะเภา (ระยอง–พัทยา)

ท่าอากาศยานนานาชาติอู่ตะเภา (ระยอง–พัทยา) (U-Tapao International Airport) หรือมักเรียกกันว่า สนามบินอู่ตะเภา เป็นสนามบินตั้งอยู่ในพื้นที่ ตำบลพลา อำเภอบ้านฉาง จังหวัดระยอง อยู่ทางทิศตะวันออกเฉียงใต้ของกรุงเทพมหานคร อยู่เหนือระดับน้ำทะเล 13 เมตร ห่างจากจังหวัดระยองประมาณ 30 กิโลเมตร และอยู่ห่างจากกรุงเทพมหานครประมาณ 190 กิโลเมตร ปัจจุบันเป็นที่ตั้งของ กองการบินทหารเรือ, กองเรือยุทธการ และ กองการสนามบินอู่ต.

ใหม่!!: ถนนสุขุมวิทและท่าอากาศยานนานาชาติอู่ตะเภา (ระยอง–พัทยา) · ดูเพิ่มเติม »

ท่าเรือแหลมฉบัง

ท่าเรือน้ำลึกแหลมฉบัง เป็นท่าเรือน้ำลึกหลักในการขนส่งสินค้าระหว่างประเทศ ตั้งอยู่ในเขตเทศบาลนครแหลมฉบัง อำเภอศรีราชา และ อำเภอบางละมุง จังหวัดชลบุรี อยู่ภายใต้การดูแลของการท่าเรือแห่งประเทศไทยในเรื่องการบริหารท่าเรือโดยรวม และมีเอกชนรับผิดชอบในเรื่องปฏิบัติการ เปิดดำเนินการท่าเทียบเรือ B1 เป็นท่าแรกเมื่อวันที่ 21 มกราคม..

ใหม่!!: ถนนสุขุมวิทและท่าเรือแหลมฉบัง · ดูเพิ่มเติม »

ท้องฟ้าจำลอง

ในห้องแสดงท้องฟ้าจำลองเบลเกรด ประเทศเซอร์เบีย ท้องฟ้าจำลอง (planetarium) คือห้องแสดงมหรสพที่สร้างขึ้นสำหรับนำเสนอภาพท้องฟ้ายามค่ำคืน เพื่อความบันเทิง เพื่อการศึกษาทางดาราศาสตร์ หรือเพื่อการฝึกอบรมในการดูดาว โครงสร้างส่วนใหญ่ของท้องฟ้าจำลองโดยมากจะเป็นห้องรูปโดมขนาดใหญ่ ซึ่งติดตั้งเครื่องฉายดาวเพื่อแสดงดาวฤกษ์ ดาวเคราะห์ และวัตถุท้องฟ้าต่างๆ ให้ปรากฏบนหลังคาโดม สามารถแสดง "การเคลื่อนที่ของสวรรค์" อันซับซ้อนได้อย่างสมจริง ภาพของท้องฟ้าสามารถสร้างขึ้นได้จากเทคโนโลยีต่างๆ กัน.

ใหม่!!: ถนนสุขุมวิทและท้องฟ้าจำลอง · ดูเพิ่มเติม »

ดินแดง

นแดง อาจหมายถึง.

ใหม่!!: ถนนสุขุมวิทและดินแดง · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศกัมพูชา

กัมพูชา หรือ ก็อมปุเจีย (កម្ពុជា กมฺพุชา) ชื่ออย่างเป็นทางการว่า ราชอาณาจักรกัมพูชา หรือ ราชอาณาจักรก็อมปุเจีย (ព្រះរាជាណាចក្រកម្ពុជា พฺระราชาณาจกฺรกมฺพุชา) เป็นประเทศตั้งอยู่ในส่วนใต้ของคาบสมุทรอินโดจีนในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ มีพื้นที่ 181,035 ตารางกิโลเมตร มีพรมแดนทิศตะวันตกติดต่อกับประเทศไทย ทิศเหนือติดกับประเทศไทยและลาว ทิศตะวันออกและทิศใต้ติดกับเวียดนาม และทิศตะวันตกเฉียงใต้ติดอ่าวไทย ด้วยประชากรกว่า 14.8 ล้านคน กัมพูชาเป็นประเทศที่มีประชากรมากที่สุดอันดับที่ 66 ของโลก ศาสนาพุทธนิกายเถรวาทเป็นศาสนาประจำชาติ ซึ่งประชากรกัมพูชานับถือประมาณ 95% ชนกลุ่มน้อยในประเทศมีชาวเวียดนาม ชาวจีน ชาวจาม และชาวเขากว่า 30 เผ่า เมืองหลวงและเมืองใหญ่สุด คือ พนมเปญ ซึ่งเป็นศูนย์กลางการเมือง เศรษฐกิจและวัฒนธรรมของกัมพูชา ราชอาณาจักรกัมพูชาปกครองแบบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญ มีพระบาทสมเด็จพระบรมนาถ นโรดม สีหมุนี มาจากการเลือกตั้งโดยราชสภาเพื่อราชบัลลังก์ เป็นประมุขแห่งรัฐ ประมุขรัฐบาล คือ สมเด็จอัครมหาเสนาบดีเดโช ฮุน เซน ผู้ซึ่งปัจจุบันเป็นผู้นำที่ดำรงตำแหน่งนานที่สุดในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ โดยได้ปกครองกัมพูชามาเป็นระยะเวลากว่า 25 ปี ใน..

ใหม่!!: ถนนสุขุมวิทและประเทศกัมพูชา · ดูเพิ่มเติม »

แม่น้ำบางปะกง

แม่น้ำบางปะกง เป็นแม่น้ำสายสำคัญในจังหวัดนครนายกและจังหวัดฉะเชิงเทรา มีความยาวประมาณ 231 กิโลเมตร และมีความกว้างในช่วงที่ไหลผ่านเขตเทศบาลเมืองฉะเชิงเทราประมาณ 120 เมตร แม่น้ำบางปะกง มีต้นกำเนิดจาก แม่น้ำนครนายก และ แม่น้ำปราจีนบุรีไหลมาบรรจบกันบริเวณ ตำบลบางแตน อำเภอบ้านสร้าง จังหวัดปราจีนบุรี.

ใหม่!!: ถนนสุขุมวิทและแม่น้ำบางปะกง · ดูเพิ่มเติม »

แยกบางนา

แยกบางนา เป็นทางแยกในเขตบางนา กรุงเทพมหานคร ระหว่างถนนเทพรัตน ถนนสุขุมวิท และถนนสรรพาวุธ และในปัจจุบัน มีทางด่วน 3 สายมารวมกับแยกบางนา ได้แก่ ทางพิเศษเฉลิมมหานคร ทางพิเศษสาย S1 และทางพิเศษบูรพาวิถี สถานที่สำคัญในทางแยกนี้ ได้แก่ ศูนย์แสดงสินค้าไบเทค กรมอุตุนิยมวิทยา สถานีรถไฟฟ้าบีทีเอสบางนา และบริษัท โกลด์ มิ้นท์ โปรดักส์ จำกัด (อยู่ริมถนนเลียบทางพิเศษเฉลิมมหานคร).

ใหม่!!: ถนนสุขุมวิทและแยกบางนา · ดูเพิ่มเติม »

แยกปทุมวัน

แยกปทุมวัน (Pathum Wan Intersection) เป็นสี่แยกในพื้นที่แขวงวังใหม่และแขวงปทุมวัน เขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร เป็นจุดตัดของถนนพระรามที่ 1 และถนนพญาไท.

ใหม่!!: ถนนสุขุมวิทและแยกปทุมวัน · ดูเพิ่มเติม »

แปลก พิบูลสงคราม

งครามอินโดจีน พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เมื่อครั้งผนวชทรงรับบาตรจากจอมพล ป. นายกรัฐมนตรีในขณะนั้น จอมพล จอมพลเรือ จอมพลอากาศ แปลก พิบูลสงคราม (14 กรกฎาคม พ.ศ. 2440 – 11 มิถุนายน พ.ศ. 2507) หรือที่เรียกกันทั่วไปว่า "จอมพล ป.พิบูลสงคราม" เป็นนายกรัฐมนตรีไทยที่ดำรงตำแหน่งนานที่สุด คือ 14 ปี 11 เดือน 18 วัน รวม 8 สมัย และเป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย มีนโยบายที่สำคัญคือ การมุ่งมั่นพัฒนาประเทศไทย ให้มีความเจริญรุ่งเรืองทัดเทียมนานาอารยประเทศ มีการปลุกระดมให้คนไทยรู้สึกรักชาติ โดยออกประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วย "รัฐนิยม" หลายอย่าง ซึ่งบางอย่างได้ประกาศเป็นกฎหมายในภายหลัง หลายอย่างกลายเป็นวัฒนธรรมของชาติ เช่น การรำวง, ก๋วยเตี๋ยวผัดไทย เป็นผู้เปลี่ยนชื่อ "ประเทศสยาม" เป็น "ประเทศไทย" และเป็นผู้เปลี่ยน "เพลงชาติไทย" มาเป็นเพลงที่ใช้กันอยู่ในปัจจุบัน คำขวัญที่รู้จักกันดีของนายกรัฐมนตรีผู้นี้คือ "เชื่อผู้นำชาติพ้นภัย" หรือ "ท่านผู้นำไปไหนฉันไปด้วย" และ "ไทยอยู่คู่ฟ้า" ในสายตานักวิชาการประวัติศาสตร์การเมืองไทยส่วนหนึ่งเห็นว่า จอมพล ป. พิบูลสงคราม เป็นเผด็จการทางทหารที่มีบทบาททางการเมืองสูง และให้ความสนใจกับความคิดที่ส่อไปในทางเชื้อชาตินิยม จอมพล ป. พิบูลสงคราม ถึงแก่อสัญกรรม เมื่อวันที่ 11 มิถุนายน พ.ศ. 2507 ในเวลาประมาณ 20.30 น. ณ บ้านพักส่วนตัว ชานกรุงโตเกียว สิริอายุได้ 67 ปี.

ใหม่!!: ถนนสุขุมวิทและแปลก พิบูลสงคราม · ดูเพิ่มเติม »

โรงพยาบาลบำรุงราษฎร์

รงพยาบาลบำรุงราษฎร์ (Bumrungrad International Hospital) หรือชื่อย่อ BH เป็นโรงพยาบาลเอกชน และได้ดำเนินการจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไท..

ใหม่!!: ถนนสุขุมวิทและโรงพยาบาลบำรุงราษฎร์ · ดูเพิ่มเติม »

โรงพยาบาลกรุงเทพ

รงพยาบาลกรุงเทพ (Bangkok Hospital) ได้ขยายเครือข่ายรวม 44 สาขา โรงพยาบาลครอบคลุมพื้นที่ให้บริการแทบทุกภูมิภาคของไทย โดยเฉพาะในเมืองใหญ่และแหล่งท่องเที่ยว ด้วยทีมแพทย์เฉพาะทาง บุคลากรมืออาชีพ และเทคโนโลยีทางการแพทย์ที่ทันสมัย ประสิทธิภาพสูง เพรียบพรัอมด้วยบริการฉุกเฉินและบริการพิเศษเหนือระดับ สิ่งอำนวยความสะดวกครบครัน เพื่อสนองตอบทุกความต้องการของผู้ใช้บริการทั้งชาวไทยและชาวต่างประเทศ บริษัทเป็นผู้ประกอบการธุรกิจโรงพยาบาลเอกชนขนาดใหญ่ของประเทศ โดยมีโรงพยาบาลเครือข่ายในไทยและกัมพูชา ดำเนินการภายใต้ชื่อโรงพยาบาล 6 กลุ่ม คือ กลุ่มโรงพยาบาลกรุงเทพ กลุ่มโรงพยาบาลสมิติเวช โรงพยาบาลบี เอ็น เอช กลุ่มโรงพยาบาลพญาไท กลุ่มโรงพยาบาลเปาโลเมโมเรียล และกลุ่มโรงพยาบาลรอยัล นอกจากนี้เครือข่ายของบริษัท กรุงเทพดุสิตเวชการ จำกัด (มหาชน) ยังรวมถึงธุรกิจที่ให้การสนับสนุนด้านการแพทย์ ได้แก่ ธุรกิจห้องปฏิบัติการทางการแพทย์ ธุรกิจผลิตยาและธุรกิจผลิตน้ำเกลือ เป็นต้น ตั้งอยู่ 2 ซ.ศูนย์วิจัย 7 ถนนเพชรบุรีตัดใหม่ แขวงบางกะปิ เขตห้วยขวาง กรุงเทพมหานคร และเป็นโรงพยาบาลที่ได้รับพระราชทานตราครุฑ.

ใหม่!!: ถนนสุขุมวิทและโรงพยาบาลกรุงเทพ · ดูเพิ่มเติม »

โรงไฟฟ้าบางปะกง

รงไฟฟ้าบางปะกง (Bangpakong Powerplant) เป็นโรงไฟฟ้าพลังความร้อนและพลังความร้อนร่วมของการไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย จัดเป็นโรงไฟฟ้าที่ใช้ก๊าซธรรมชาติจากอ่าวไทยแห่งแรก ประกอบด้วยโรงไฟฟ้าพลังความร้อน จำนวน 4 เครื่อง (Thermal) และโรงไฟฟ้าพลังความร้อนร่วม (Combine) จำนวน 4 เครื่อง รวมกำลังผลิตทั้งหมด 3,680,000 กิโลวัตต์ เป็นแหล่งผลิตกระแสไฟฟ้าขนาดใหญ่ของประเทศไท.

ใหม่!!: ถนนสุขุมวิทและโรงไฟฟ้าบางปะกง · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนวัฒนาวิทยาลัย

รงเรียนวัฒนาวิทยาลัย (Wattana Wittaya Academy) มีชื่อเดิมว่า"กุลสตรีวังหลัง" ปัจจุบันตั้งอยู่ที่ 67 สุขุมวิท 19 แขวงคลองเตยเหนือ เขตวัฒนา กรุงเทพมหานคร 10110 เป็นโรงเรียนสตรีหญิงแห่งแรกของประเทศไท.

ใหม่!!: ถนนสุขุมวิทและโรงเรียนวัฒนาวิทยาลัย · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนสมุทรปราการ

รงเรียนสมุทรปราการ (Samutprakan School, อักษรย่อ: ส.ป., S.P.) เป็นโรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดใหญ่พิเศษ ตั้งอยู่เลขที่ 498 ถนนสุขุมวิท ก.ม. 27 ติดบิ๊กซีสมุทรปราการ ตำบลปากน้ำ อำเภอเมืองสมุทรปราการ จังหวัดสมุทรปราการ โดยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวมีพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ ให้สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาดำรงราชานุภาพเสด็จมาก่อตั้งเมื่อวันที่ 18 กรกฎาคม..

ใหม่!!: ถนนสุขุมวิทและโรงเรียนสมุทรปราการ · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนสตรีสมุทรปราการ

รงเรียนสตรีสมุทรปราการ (Streesmutprakan School, ย่อ: ส.ส.ป., SSP) เป็นโรงเรียนรัฐบาลประเภทโรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดใหญ่พิเศษ ในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 6 (ฉะเชิงเทรา สมุทรปราการ) (สังกัดเดิมคือสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาสมุทรปราการ เขต 1) สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ ตั้งอยู่บริเวณถนนสุขุมวิท ตำบลปากน้ำ อำเภอเมืองสมุทรปราการ จังหวัดสมุทรปราการ เปิดสอนในระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้นและตอนปลายแบบสหศึกษา และเป็นโรงเรียนสตรีประจำจังหวัดสมุทรปราการคู่กับโรงเรียนสมุทรปราการ.

ใหม่!!: ถนนสุขุมวิทและโรงเรียนสตรีสมุทรปราการ · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สวนกุหลาบวิทยาลัย สมุทรปราการ

รงเรียนนวมินทราชินูทิศ สวนกุหลาบวิทยาลัย สมุทรปราการ (Nawamintrachinutit Suankularb Wittayalai Samutprakarn School) (อักษรย่อ: นมร.ส.ก.ส., S.K.S.) เป็นโรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดใหญ่พิเศษ ประเภทสหศึกษา ในเครือสวนกุหลาบวิทยาลัย สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การมัธยมศึกษาเขต6 สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (ชื่อเดิม: กรมสามัญศึกษา) กระทรวงศึกษาธิการ ผู้บริหารชุดปัจจุบันของโรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สวนกุหลาบวิทยาลัย สมุทรปราการ ข้อมูล ณ วันที่ 30 พฤษภาคม 2560 โดยผู้ดูแลระบบ นมร.สกส 1.นายบรรหาร เอี่ยมสอาด ผู้อำนวยการคนที่ 6 ของโรงเรียน,รองผู้อำนวยการ 2.นางอรุณี คำสุวรรณ,3.นางสาวสุภกร สวนสมุทร.

ใหม่!!: ถนนสุขุมวิทและโรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สวนกุหลาบวิทยาลัย สมุทรปราการ · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนนายเรือ

รงเรียนนายเรือ เป็นสถาบันการศึกษาระดับอุดมศึกษาสำหรับผู้ที่ต้องการเป็นนายทหารเรือชั้นสัญญาบัตรของกรมยุทธศึกษาทหารเรือ กองทัพเรือไทย ผู้ที่ศึกษาในโรงเรียนนายเรือ เรียกว่า นักเรียนนายเรือ (นนร.) นักเรียนนายเรือที่สำเร็จการศึกษาจะได้รับปริญญาบัตรในระดับปริญญาตรีเช่นเดียวกับสถาบันอุดมศึกษาอื่น ๆ และมีสิทธิได้รับการแต่งตั้งยศนายทหารชั้นสัญญาบัตรเป็น "ว่าที่เรือตรี".

ใหม่!!: ถนนสุขุมวิทและโรงเรียนนายเรือ · ดูเพิ่มเติม »

เมืองพัทยา

มืองพัทยา เป็นองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นรูปแบบพิเศษแห่งหนึ่งในจำนวนสองแห่งของประเทศไทย ตั้งอยู่ในเขตอำเภอบางละมุง จังหวัดชลบุรี มีระดับเทียบเท่าเทศบาลนคร จัดตั้งขึ้นตามพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการเมืองพัท..

ใหม่!!: ถนนสุขุมวิทและเมืองพัทยา · ดูเพิ่มเติม »

เมืองโบราณ

"พระที่นั่งสรรเพชญมหาปราสาท (จำลอง)" หนึ่งในสัญลักษณ์สำคัญของเมืองโบราณ "ศาลาพระอรหันต์" ศาลากลางน้ำขนาดใหญ่ เมืองโบราณ จังหวัดสมุทรปราการ เริ่มก่อสร้างเมื่อปี พ.ศ. 2506 โดยนายเล็ก วิริยะพันธุ์ นักธุรกิจเจ้าของบริษัทวิริยะประกันภัย เป็นสถานที่รวบรวมวัฒนธรรม ของ ไทย อาทิ ภาคเหนือ ภาคกลาง ภาคใต้ ภาคอีสาน เปิดให้บริการตั้งแต่วันที่ 11 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2515 เมืองโบราณตั้งอยู่ในเขตตำบลบางปูใหม่ บริเวณหลักกิโลเมตรที่ 33 ถนนสุขุมวิท (สายเก่า) ห่างจากตัวจังหวัด 8 กิโลเมตร มีพื้นที่ 800 ไร่ ลักษณะที่ดินมีผังบริเวณคล้ายรูปขวาน เหมือนกับอาณาเขตของประเทศไทย ภายในจะมีโบราณสถาน ปูชนียสถาน วัดโบราณ พระราชวัง ต่างๆ เป็นต้น และยังมี ส่วนรังสรรค์เป็นสถานที่สะท้อนให้เห็นถึงภูมิปัญญาของไทย มีไว้จัดแสดงที่นี่ด้วย ภายในเมืองโบราณยังมีค่ายพักแรม ชื่อว่า "ค่ายริมขอบฟ้า".

ใหม่!!: ถนนสุขุมวิทและเมืองโบราณ · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าพระยายมราช (ปั้น สุขุม)

มหาอำมาตย์นายก มหาเสวกเอก นายพลเสือป่า นายพันเอก นายนาวาอากาศเอก เจ้าพระยายมราช (ปั้น สุขุม) (15 กรกฎาคม พ.ศ. 2405 - 30 ธันวาคม พ.ศ. 2481) อดีตผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ในสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวอานันทมหิดล อภิรัฐมนตรี เสนาบดีกระทรวงโยธาธิการ เสนาบดีกระทรวงนครบาล ทั้งยังเป็นผู้ควบคุมการก่อสร้าง การประปานครหลวง การไฟฟ้ามหานคร ถนนและสะพานในกรุงเทพมหานครอีกด้ว.

ใหม่!!: ถนนสุขุมวิทและเจ้าพระยายมราช (ปั้น สุขุม) · ดูเพิ่มเติม »

เขตบางกะปิ

ตบางกะปิ เป็น 1 ใน 50 เขตการปกครองของกรุงเทพมหานคร อยู่ในกลุ่มเขตกรุงเทพตะวันออก ซึ่งถือเป็นเขตที่อยู่อาศัยรองรับการขยายตัวของเมือง ทางทิศตะวันออก (ตอนใต้).

ใหม่!!: ถนนสุขุมวิทและเขตบางกะปิ · ดูเพิ่มเติม »

เขตบางนา

ตบางนา เป็น 1 ใน 50 เขตการปกครองของกรุงเทพมหานคร อยู่ในกลุ่มเขตกรุงเทพใต้ สภาพทั่วไปเป็นเขตชุมชนเมืองหนาแน่นปานกลางผสมกับชุมชนการเกษตร.

ใหม่!!: ถนนสุขุมวิทและเขตบางนา · ดูเพิ่มเติม »

เขตพระโขนง

ตพระโขนง เป็น 1 ใน 50 เขตการปกครองของกรุงเทพมหานคร อยู่ในกลุ่มเขตกรุงเทพใต้.

ใหม่!!: ถนนสุขุมวิทและเขตพระโขนง · ดูเพิ่มเติม »

เขตวัฒนา

ตวัฒนา เป็น 1 ใน 50 เขตการปกครองของกรุงเทพมหานคร อยู่ในกลุ่มเขตกรุงเทพใต้ ซึ่งถือเป็นเขตศูนย์กลางธุรกิจ การค้า การบริการ และการทูต.

ใหม่!!: ถนนสุขุมวิทและเขตวัฒนา · ดูเพิ่มเติม »

เขตคลองเตย

ตลาดคลองเตย เขตคลองเตย เป็น 1 ใน 50 เขตการปกครองของกรุงเทพมหานคร อยู่ในกลุ่มเขตเจ้าพระยา ซึ่งถือเป็นเขตเศรษฐกิจใหม่และการพัฒนาตามแนววงแหวนอุตสาหกรรม.

ใหม่!!: ถนนสุขุมวิทและเขตคลองเตย · ดูเพิ่มเติม »

เขตปทุมวัน

ตปทุมวัน เป็น 1 ใน 50 เขตการปกครองของกรุงเทพมหานคร อยู่ในกลุ่มเขตกรุงเทพใต้ ซึ่งถือเป็นเขตศูนย์กลางธุรกิจ การค้า การบริการ การพยาบาล วัฒนธรรม การศึกษา และการทูต เป็นเขตหนึ่งที่มีที่ตั้งอยู่บริเวณใจกลางที่สุดของกรุงเทพมหานครและที่มีการคมนาคมหลากหลายช่องทาง.

ใหม่!!: ถนนสุขุมวิทและเขตปทุมวัน · ดูเพิ่มเติม »

เซ็นทรัลพัฒนา

ริษัท เซ็นทรัลพัฒนา จำกัด (มหาชน) (ย่อ: CPN) เป็นบริษัทสำหรับการพัฒนา ดูแล และบริหารโครงการอสังหาริมทรัพย์ขนาดใหญ่ทั้งในและต่างประเทศ ภายใต้การดำเนินการของกลุ่มเซ็นทรัล กลุ่มเตชะไพบูลย์ กลุ่มสหยูเนี่ยน และกลุ่มบุคคลอื่น ๆ ปัจจุบันดูแลโครงการอสังหาริมทรัพย์อยู่ทั้งหมด 30 แห่ง และกำลังก่อสร้างเพิ่มอีก 4 แห่ง.

ใหม่!!: ถนนสุขุมวิทและเซ็นทรัลพัฒนา · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

สุขุมวิทถนนสุขุมวิท (สายเก่า)ทางหลวงหมายเลข 3ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 3

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »