สารบัญ
70 ความสัมพันธ์: ชาญชัย ลิขิตจิตถะบุรณัชย์ สมุทรักษ์พ.ศ. 2484พ.ศ. 2524พ.ศ. 2525พ.ศ. 2526พ.ศ. 2527พ.ศ. 2529พ.ศ. 2531พ.ศ. 2532พ.ศ. 2533พ.ศ. 2534พ.ศ. 2535พ.ศ. 2536พ.ศ. 2537พ.ศ. 2538พ.ศ. 2539พ.ศ. 2540พ.ศ. 2541พ.ศ. 2542พ.ศ. 2543พ.ศ. 2544พ.ศ. 2548พ.ศ. 2549พ.ศ. 2551พรรคพลังประชาชนพรรคสามัคคีธรรมพรรคเพื่อไทยกระทรวงกลุ่ม 16กษิต ภิรมย์กอร์ปศักดิ์ สภาวสุการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2557มหาวิทยาลัยเชียงใหม่มั่น พัธโนทัยมิ่งขวัญ แสงสุวรรณระนองรักษ์ สุวรรณฉวีรัฐมนตรีรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศของไทยรัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรมของไทยวราเทพ รัตนากรศาลรัฐธรรมนูญศาสนาพุทธสมชาย วงศ์สวัสดิ์สมศักดิ์ เกียรติสุรนนท์สมัคร สุนทรเวชสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรสรอรรถ กลิ่นประทุมสวัสดิ์ อมรวิวัฒน์สหัส บัณฑิตกุล... ขยายดัชนี (20 มากกว่า) »
ชาญชัย ลิขิตจิตถะ
นายชาญชัย ลิขิตจิตถะ (25 เมษายน พ.ศ. 2489 - 18 มกราคม พ.ศ. 2560) อดีตองคมนตรี อดีตประธานศาลฎีกา และอดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรม อดีตผู้พิพากษาอาวุโส ชาญชัย เป็นผู้มีบทบาทในการแก้ไขวิกฤตการเมือง อันเนื่องจากการเลือกตั้งวันที่ 2 เมษายน พ.ศ.
ดู สมพงษ์ อมรวิวัฒน์และชาญชัย ลิขิตจิตถะ
บุรณัชย์ สมุทรักษ์
นายแพทย์บุรณัชย์ สมุทรักษ์ (ชื่อเล่น: ท็อป) หรือที่สื่อมวลชนนิยมเรียกว่า หมอท็อป..บัญชีรายชื่อ และ อดีตโฆษกพรรคประชาธิปัตย์ เกิดวันที่ 16 สิงหาคม พ.ศ.
ดู สมพงษ์ อมรวิวัฒน์และบุรณัชย์ สมุทรักษ์
พ.ศ. 2484
ทธศักราช 2484 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1941 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพุธตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.
ดู สมพงษ์ อมรวิวัฒน์และพ.ศ. 2484
พ.ศ. 2524
ทธศักราช 2524 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1981 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดี ตามปฏิทินเกรกอเรียน.
ดู สมพงษ์ อมรวิวัฒน์และพ.ศ. 2524
พ.ศ. 2525
ทธศักราช 2525 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1982 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันศุกร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็นปี สมโภชกรุงรัตนโกสินทร์ 200 ปี.
ดู สมพงษ์ อมรวิวัฒน์และพ.ศ. 2525
พ.ศ. 2526
ทธศักราช 2526 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1983 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.
ดู สมพงษ์ อมรวิวัฒน์และพ.ศ. 2526
พ.ศ. 2527
ทธศักราช 2527 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1984 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.
ดู สมพงษ์ อมรวิวัฒน์และพ.ศ. 2527
พ.ศ. 2529
ทธศักราช 2529 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1986 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพุธตามปฏิทินเกรกอเรียน.
ดู สมพงษ์ อมรวิวัฒน์และพ.ศ. 2529
พ.ศ. 2531
ทธศักราช 2531 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1988 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันศุกร์ (ลิงก์ไปยังปฏิทิน) ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.
ดู สมพงษ์ อมรวิวัฒน์และพ.ศ. 2531
พ.ศ. 2532
ทธศักราช 2532 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1989 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.
ดู สมพงษ์ อมรวิวัฒน์และพ.ศ. 2532
พ.ศ. 2533
ทธศักราช 2533 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1990 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.
ดู สมพงษ์ อมรวิวัฒน์และพ.ศ. 2533
พ.ศ. 2534
ทธศักราช 2534 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1991 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคารตามปฏิทินเกรกอเรียน.
ดู สมพงษ์ อมรวิวัฒน์และพ.ศ. 2534
พ.ศ. 2535
ทธศักราช 2535 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1992 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันพุธตามปฏิทินเกรกอเรียน.
ดู สมพงษ์ อมรวิวัฒน์และพ.ศ. 2535
พ.ศ. 2536
ทธศักราช 2536 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1993 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันศุกร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.
ดู สมพงษ์ อมรวิวัฒน์และพ.ศ. 2536
พ.ศ. 2537
ทธศักราช 2537 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1994 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.
ดู สมพงษ์ อมรวิวัฒน์และพ.ศ. 2537
พ.ศ. 2538
ทธศักราช 2538 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1995 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.
ดู สมพงษ์ อมรวิวัฒน์และพ.ศ. 2538
พ.ศ. 2539
ทธศักราช 2539 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1996 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.
ดู สมพงษ์ อมรวิวัฒน์และพ.ศ. 2539
พ.ศ. 2540
ทธศักราช 2540 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1997 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพุธตามปฏิทินเกรกอเรียน.
ดู สมพงษ์ อมรวิวัฒน์และพ.ศ. 2540
พ.ศ. 2541
ทธศักราช 2541 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1998 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดีตามปฏิทินเกรกอเรียน.
ดู สมพงษ์ อมรวิวัฒน์และพ.ศ. 2541
พ.ศ. 2542
ทธศักราช 2542 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1999 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันศุกร์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน และสหประชาชาติกำหนดให้เป็น ปีสากลแห่งผู้สูงอายุและเป็นปีมหามงคลในโอกาสที่ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมีพระชนมพรรษาครบ 6 รอบ (พระราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนม์พรรรษา ๖ รอบ ๕ ธันวาคม พ.ศ.
ดู สมพงษ์ อมรวิวัฒน์และพ.ศ. 2542
พ.ศ. 2543
ทธศักราช 2543 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2000 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.
ดู สมพงษ์ อมรวิวัฒน์และพ.ศ. 2543
พ.ศ. 2544
ทธศักราช 2544 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2001 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.
ดู สมพงษ์ อมรวิวัฒน์และพ.ศ. 2544
พ.ศ. 2548
ทธศักราช 2548 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2005 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ตามปฏิทินเกรโกเรียน และเป็น.
ดู สมพงษ์ อมรวิวัฒน์และพ.ศ. 2548
พ.ศ. 2549
ทธศักราช 2549 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2006 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.
ดู สมพงษ์ อมรวิวัฒน์และพ.ศ. 2549
พ.ศ. 2551
ทธศักราช 2551 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2008 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคารตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.
ดู สมพงษ์ อมรวิวัฒน์และพ.ศ. 2551
พรรคพลังประชาชน
อาจหมายถึง.
ดู สมพงษ์ อมรวิวัฒน์และพรรคพลังประชาชน
พรรคสามัคคีธรรม
รรคสามัคคีธรรม (Justice Unity Party) พรรคการเมืองไทยที่ก่อตั้งขึ้นตาม รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2534 เป็นลำดับที่ 30/2535 เมื่อวันที่ 3 มกราคม พ.ศ.
ดู สมพงษ์ อมรวิวัฒน์และพรรคสามัคคีธรรม
พรรคเพื่อไทย
รรคเพื่อไทย (ย่อว่า: พท. Pheu Thai Party) จดทะเบียนจัดตั้ง เมื่อวันที่ 20 กันยายน พ.ศ. 2550 โดยมี นายบัณจงศักดิ์ วงศ์รัตนวรรณ เป็นหัวหน้าพรรคคนแรก และ นายโอฬาร กิจเลิศไพโรจน์ เป็นเลขาธิการพรรคคนแรก สำนักงานใหญ่ของพรรค ตั้งอยู่ที่ 1770 อาคารไอเอฟซีที ถนนเพชรบุรีตัดใหม่ แขวงบางกะปิ เขตห้วยขวาง กรุงเทพมหานคร รหัสไปรษณีย์ 10310 ซึ่งเป็นที่ทำการเดิมของพรรคไทยรักไทย และพรรคพลังประชาชน (ย้ายมาจากอาคารนวสร ถนนพระรามที่ 3 แขวงบางคอแหลม เขตบางคอแหลม กรุงเทพมหานคร และ 626 อาคาร บีบีดี บิลดิง ซอยจินดาถวิล ถนนพระรามที่ 4 แขวงมหาพฤฒาราม เขตบางรัก กรุงเทพมหานคร 10500) และสำนักงานสาขาพรรคแห่งแรก ตั้งอยู่ที่จังหวัดพิจิตร ซึ่งเป็นสาขาพรรคพลังประชาชนเดิม.
ดู สมพงษ์ อมรวิวัฒน์และพรรคเพื่อไทย
กระทรวง
กระทรวง คือหน่วยงานของรัฐบาล ทำหน้าที่ในการจัดการและบริหารประเทศ ส่วนราชการหนึ่งในราชการบริหารส่วนกลางในภาครัฐ ซึ่งมีรัฐมนตรีว่าการกระทรวงเป็นหัวหน้.
ดู สมพงษ์ อมรวิวัฒน์และกระทรวง
กลุ่ม 16
กลุ่ม 16 เป็นชื่อกลุ่มการเมืองที่เกิดจากการรวมกันของ..รุ่นใหม่ ในปี พ.ศ. 2535 โดยส่วนใหญ่เป็น..
ดู สมพงษ์ อมรวิวัฒน์และกลุ่ม 16
กษิต ภิรมย์
นายกษิต ภิรมย์ อดีตสมาชิกสภาขับเคลื่อนการปฏิรูปประเทศ อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ อดีตรองนายกรัฐมนตรีเงา พรรคประชาธิปัตย์ อดีตเอกอัครราชทูตไทยในหลายประเทศ เกิดวันที่ 15 ธันวาคม พ.ศ.
ดู สมพงษ์ อมรวิวัฒน์และกษิต ภิรมย์
กอร์ปศักดิ์ สภาวสุ
นายกอร์ปศักดิ์ สภาวสุ เลขาธิการนายกรัฐมนตรี อดีตรองนายกรัฐมนตรีฝ่ายเศรษฐกิจในรัฐบาลของนายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ และรองหัวหน้าพรรคประชาธิปัตย์ เกิดวันที่ 28 มีนาคม พ.ศ.
ดู สมพงษ์ อมรวิวัฒน์และกอร์ปศักดิ์ สภาวสุ
การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2557
การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป..
ดู สมพงษ์ อมรวิวัฒน์และการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2557
มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ (อังกฤษ: Chiang Mai University; อักษรย่อ: มช.) เป็นมหาวิทยาลัยในกำกับของรัฐ โดยเป็นมหาวิทยาลัยแห่งแรกของไทยที่รัฐบาลจัดตั้งขึ้นในส่วนภูมิภาค ตามโครงการพัฒนาการศึกษาในส่วนภูม..
ดู สมพงษ์ อมรวิวัฒน์และมหาวิทยาลัยเชียงใหม่
มั่น พัธโนทัย
มั่น พัธโนทัย (21 มกราคม พ.ศ. 2484 -) อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงการคลัง ในรัฐบาลนายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ อดีตรองนายกรัฐมนตรี และอดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ในรัฐบาลนายสมชาย วงศ์สวั.
ดู สมพงษ์ อมรวิวัฒน์และมั่น พัธโนทัย
มิ่งขวัญ แสงสุวรรณ
นายมิ่งขวัญ แสงสุวรรณ อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร พรรคเพื่อไทย อดีตหัวหน้าทีมเศรษฐกิจ พรรคพลังประชาชน อดีตรองนายกรัฐมนตรี อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรม อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงพาณิชย์ อดีตกรรมการผู้อำนวยการใหญ่ บริษัท อสมท จำกัด (มหาชน) คนแรก และผู้อำนวยการองค์การสื่อสารมวลชนแห่งประเทศไทย คนสุดท้.
ดู สมพงษ์ อมรวิวัฒน์และมิ่งขวัญ แสงสุวรรณ
ระนองรักษ์ สุวรรณฉวี
ร้อยตรีหญิงระนองรักษ์ สุวรรณฉวี นายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดนครราชสีมา อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ในรัฐบาลนายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงการคลัง ในรัฐบาลนายสมัคร สุนทรเว.
ดู สมพงษ์ อมรวิวัฒน์และระนองรักษ์ สุวรรณฉวี
รัฐมนตรี
รัฐมนตรี คือผู้เป็นสมาชิกของคณะรัฐมนตรี รับผิดชอบร่วมกับคณะรัฐมนตรีในนโยบายทั่วไปของรัฐบาลในการบริหารราชการแผ่นดิน, ถ้าเป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงหรือทบวง ก็เป็นผู้บังคับบัญชาสูงสุดในกระทรวงหรือทบวงที่ตนว่าการและรับผิดชอบในการบริหารราชการกระทรวงหรือทบวงนั้นด้วยอีกฐานะหนึ่ง ในอดีต รัฐมนตรี เป็นที่ปรึกษาราชการบ้านเมืองในสมัยสมบูรณาญาสิทธิร.
ดู สมพงษ์ อมรวิวัฒน์และรัฐมนตรี
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศของไทย
รายนามเสนาบดีและรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศของไท.
ดู สมพงษ์ อมรวิวัฒน์และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศของไทย
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรมของไทย
รายพระนาม รายนามเสนาบดีและรัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรม.
ดู สมพงษ์ อมรวิวัฒน์และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรมของไทย
วราเทพ รัตนากร
ร.วราเทพ รัตนากร อดีตรัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี และอดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ อดีตที่ปรึกษาศูนย์รักษาความสงบ ในรัฐบาลนางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงการคลัง ในรัฐบาลพันตำรวจโท ทักษิณ ชินวัตร อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร 7 สมัยจากจังหวัดกำแพงเพชรและแบบบัญชีรายชื่อตามลำดับ อดีตแกนนำ..
ดู สมพงษ์ อมรวิวัฒน์และวราเทพ รัตนากร
ศาลรัฐธรรมนูญ
ลรัฐธรรมนูญ (constitutional court) เป็นศาลสูงที่มีอำนาจพิจารณาพิพากษาเกี่ยวกับกฎหมายรัฐธรรมนูญ โดยมีอำนาจหลักที่จะวินิจฉัยว่า กฎหมายใดมีปัญหาเรื่องความชอบด้วยรัฐธรรมนูญหรือไม่ เช่น ขัดกับสิทธิและเสรีภาพตามที่รัฐธรรมนูญรับรองไว้หรือไม่ ในหลาย ๆ ประเทศ ไม่จัดตั้งศาลรัฐธรรมนูญเป็นเอกเทศ และศาลยุติธรรมตามธรรมดาจะรับคดีดังกล่าวเอง นอกจากนี้ ในหลาย ๆ ประเทศก็ไม่เรียกองค์กรนี้ว่า "ศาลรัฐธรรมนูญ" และบางประเทศก็เรียกศาลยุติธรรมว่า ศาลรัฐธรรมนูญ เช่น ศาลสูงสุดแห่งสหรัฐอเมริกาได้ชื่อว่าเป็น "ศาลรัฐธรรมนูญที่เก่าแก่ที่สุดในโลก" เพราะเป็นศาลแรกในโลกที่วินิจฉัยความชอบด้วยรัฐธรรมนูญของกฎหมายต่าง ๆ (คดีระหว่างมาร์บิวรีกับเมดิสัน) แม้ว่าในประเทศสหรัฐอเมริกาจะไม่จัดตั้งศาลรัฐธรรมนูญเป็นการเฉพาะก็ตาม ส่วนประเทศที่สถาปนาศาลรัฐธรรมนูญอย่างเอกเทศเป็นแห่งแรกของโลกนั้น คือ ประเทศออสเตรีย ซึ่งดำเนินการใน..
ดู สมพงษ์ อมรวิวัฒน์และศาลรัฐธรรมนูญ
ศาสนาพุทธ
ระพุทธศาสนา หรือ ศาสนาพุทธ (buddhasāsana พุทฺธสาสนา, buddhaśāsana พุทธศาสนา) เป็นศาสนาที่มีพระพุทธเจ้าเป็นศาสดา มีพระธรรมที่พระองค์ตรัสรู้ชอบด้วยพระองค์เอง และตรัสสอนไว้เป็นหลักคำสอนสำคัญ มีพระสงฆ์ (ภิกษุ ภิกษุณี) สาวกผู้ตัดสินใจออกบวชเพื่อศึกษาปฏิบัติตนตามคำสั่งสอน ธรรม-วินัย ของพระบรมศาสดา เพื่อบรรลุสู่จุดหมายคือพระนิพพาน และสร้างสังฆะ เป็นชุมชนเพื่อสืบทอดคำสอนของพระบรมศาสดา รวมเรียกว่า พระรัตนตรัย นอกจากนี้ในพระพุทธศาสนา ยังประกอบคำสอนสำหรับการดำรงชีวิตที่ดีงาม สำหรับผู้ที่ยังไม่ออกบวช (คฤหัสถ์ - อุบาสก และอุบาสิกา) ซึ่งหากรวมประเภทบุคคลที่ที่นับถือและศึกษาปฏิบัติตนตามคำสั่งสอนของพระบรมศาสดา แล้วจะจำแนกได้เป็น 4 ประเภท คือ ภิกษุ ภิกษุณี อุบาสก อุบาสิกา หรือที่เรียกว่า พุทธบริษัท 4 ศาสนาพุทธเป็นศาสนาอเทวนิยม ปฏิเสธการมีอยู่ของพระเป็นเจ้าหรือพระผู้สร้าง และเชื่อในศักยภาพของมนุษย์ ว่าทุกคนสามารถพัฒนาจิตใจ ไปสู่ความเป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ได้ ด้วยความเพียรของตน กล่าวคือ ศาสนาพุทธ สอนให้มนุษย์บันดาลชีวิตของตนเอง ด้วยผลแห่งการกระทำของตน ตาม กฎแห่งกรรม มิได้มาจากการอ้อนวอนขอจากพระเป็นเจ้าและสิ่งศักดิ์สิทธิ์นอกกายพระไตรปิฎก เล่มที่ ๒๕ พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๑๗ ขุททกนิกาย ขุททกปาฐะ-ธรรมบท-อุทาน-อิติวุตตกะ-สุตตนิบาต คาถาธรรมบท อัตตวรรคที่ ๑.
ดู สมพงษ์ อมรวิวัฒน์และศาสนาพุทธ
สมชาย วงศ์สวัสดิ์
มชาย วงศ์สวัสดิ์ (31 สิงหาคม พ.ศ. 2490 —) เป็นนายกรัฐมนตรีคนที่ 26 ของประเทศไทย เป็นอดีตรองนายกรัฐมนตรี อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม อดีตผู้พิพากษา อดีตปลัดกระทรวงยุติธรรม อดีตปลัดกระทรวงแรงงาน ในขณะที่สมชายดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีนั้นเขาไม่ได้ปฏิบัติหน้าที่ในทำเนียบรัฐบาล เพราะพันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตยยังคงยึดพื้นที่ไว้ตั้งแต่ในสมัยรัฐบาลนายสมัคร สุนทรเวช โดยใช้สนามบินดอนเมืองเป็นที่ทำการแทน.
ดู สมพงษ์ อมรวิวัฒน์และสมชาย วงศ์สวัสดิ์
สมศักดิ์ เกียรติสุรนนท์
นายสมศักดิ์ เกียรติสุรนนท์ (27 มิถุนายน 2497 —) อดีตประธานรัฐสภา และประธานสภาผู้แทนราษฎร รองหัวหน้าพรรคเพื่อไทย แกนนำกลุ่มขุนค้อน ประธานสภาสถาบันพระปกเกล้า สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดขอนแก่น พรรคเพื่อไทย อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรม และอดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงวัฒนธรรม.
ดู สมพงษ์ อมรวิวัฒน์และสมศักดิ์ เกียรติสุรนนท์
สมัคร สุนทรเวช
มัคร สุนทรเวช (ชื่อจีน: 李沙馬 Lǐ Shāmǎ; 13 มิถุนายน พ.ศ. 2478 – 24 พฤศจิกายน พ.ศ. 2552) เป็นนายกรัฐมนตรีไทยคนที่ 25 และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม หัวหน้าพรรคพลังประชาชน อดีตผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร และผู้ก่อตั้งพรรคประชากรไทย เกิดที่กรุงเทพมหานคร เป็นนักการเมืองเก่าแก่ ที่มีเสียงพูดและลีลาการพูดเป็นเอกลักษณ์ เคยดำรงตำแหน่งสำคัญมากมาย เช่น รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย รัฐมนตรีว่าการกระทรวงคมนาคม (2 สมัย) ได้ฉายาจากสื่อมวลชนทั่วไปว่า "น้าหมัก" "ออหมัก" หรือ "ชมพู่" (มาจากลักษณะจมูกของสมัคร) "ชาวนา" (จากกรณีกลุ่มงูเห่า) เป็นต้น สมัครเริ่มทำงานหลังจบนิติศาสตร์ ธรรมศาสตร์ เป็นสื่อมวลชนสายการเมือง โดยเขียนบทความ และความคิดเห็น ทางการเมืองแบบไม่ประจำใน หนังสือพิมพ์สยามรัฐ, สยามรัฐสัปดาห์วิจารณ์ และชาวกรุง ตั้งแต..
ดู สมพงษ์ อมรวิวัฒน์และสมัคร สุนทรเวช
สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร
มาชิกสภาผู้แทนราษฎร หรือ..
ดู สมพงษ์ อมรวิวัฒน์และสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร
สรอรรถ กลิ่นประทุม
นายสรอรรถ กลิ่นประทุม นายกสมาคมแห่งสถาบันพัฒนาการเมืองและการเลือกตั้ง นักการเมืองแกนนำกลุ่มราชบุรี อดีตรองหัวหน้าพรรคไทยรักไทย อดีตรัฐมนตรีหลายกระทรวง และอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จังหวัดราชบุรี ปัจจุบันดำรงตำแหน่งเป็นประธานคณะกรรมการที่ปรึกษาพรรคภูมิใจไท.
ดู สมพงษ์ อมรวิวัฒน์และสรอรรถ กลิ่นประทุม
สวัสดิ์ อมรวิวัฒน์
ลตำรวจเอก สวัสดิ์ อมรวิวัฒน์ (20 กันยายน พ.ศ. 2478 – 6 ธันวาคม พ.ศ. 2559) อดีตอธิบดีกรมตำรวจ อดีตสมาชิกวุฒิสภาจังหวัดเชียงใหม่ อดีตสมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ พ.ศ.
ดู สมพงษ์ อมรวิวัฒน์และสวัสดิ์ อมรวิวัฒน์
สหัส บัณฑิตกุล
หัส บัณฑิตกุล อดีตรองนายกรัฐมนตรี ในรัฐบาลของนายสมัคร สุนทรเวช อดีตรองผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร และอดีตรองผู้ว่าการการรถไฟแห่งประเทศไท.
ดู สมพงษ์ อมรวิวัฒน์และสหัส บัณฑิตกุล
สาโรจน์ ชวนะวิรัช
นายสาโรจน์ ชวนะวิรัช (เกิด 11 พฤษภาคม พ.ศ. 2485) อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ ในรัฐบาลของนายสมัคร สุนทรเวช เป็นรัฐมนตรีที่มีระยะเวลาอยู่ในตำแหน่งสั้นที่สุด ก่อนจะพ้นจากตำแหน่งพร้อมกับคณะรัฐมนตรีทั้งคณะ ในอีก 2 วันถัดจากวันรับตำแหน่ง.
ดู สมพงษ์ อมรวิวัฒน์และสาโรจน์ ชวนะวิรัช
สุรพงษ์ สืบวงศ์ลี
นายแพทย์สุรพงษ์ สืบวงศ์ลี (2 พฤษภาคม พ.ศ. 2500 —) เป็นที่รู้จักในชื่อเล่นว่า "หมอเลี๊ยบ" อดีตรองนายกรัฐมนตรี อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร เลขาธิการพรรคพลังประชาชน และหนึ่งในกลุ่มคนเดือนตุล.
ดู สมพงษ์ อมรวิวัฒน์และสุรพงษ์ สืบวงศ์ลี
สุวิทย์ คุณกิตติ
นายสุวิทย์ คุณกิตติ (17 ตุลาคม 2500 -) ประธานที่ปรึกษาพรรคกิจสังคม อดีตหัวหน้าพรรคเพื่อแผ่นดิน..ขอนแก่น 7 สมัย อดีตรองนายกรัฐมนตรี เคยดำรงตำแหน่งเป็นรัฐมนตรีในหลายกระทรวงทั้งกระทรวงยุติธรรม กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ กระทรวงวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม กระทรวงศึกษาธิการ กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร กระทรวงอุตสาหกรรม และกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม.
ดู สมพงษ์ อมรวิวัฒน์และสุวิทย์ คุณกิตติ
สุเทพ เทือกสุบรรณ
ทพ เทือกสุบรรณ เป็นประธานมูลนิธิมวลมหาประชาชนเพื่อการปฏิรูปประเทศไทย และ ผู้ก่อตั้งวิทยาลัยอาชีวศึกษาภาวนาโพธิคุณ เป็นอดีตรองนายกรัฐมนตรีในรัฐบาลอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ อดีตเลขาธิการพรรคประชาธิปัตย์ และสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดสุราษฎร์ธานีหลายสมัย เคยดำรงตำแหน่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงคมนาคม และรัฐมนตรีช่วยว่าการหลายกระทรวง จนถึงปี 2554 เป็นเลขาธิการพรรคประชาธิปัตย์ เขาลาออกจากตำแหน่งในเดือนพฤศจิกายน 2556 เป็นเลขาธิการ กปปส.
ดู สมพงษ์ อมรวิวัฒน์และสุเทพ เทือกสุบรรณ
สนั่น ขจรประศาสน์
ลตรี สนั่น ขจรประศาสน์ (7 กันยายน พ.ศ. 2478 — 15 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2556) อดีตรองนายกรัฐมนตรี แกนนำพรรคชาติไทยพัฒนา และอดีตเลขาธิการพรรคประชาธิปัตย์ เป็นผู้ก่อตั้ง และเคยดำรงตำแหน่งหัวหน้าพรรคมหาชน เคยดำรงตำแหน่งสำคัญในรัฐบาลเป็น รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย กระทรวงอุตสาหกรรม และกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ มีชื่อที่นิยมเรียกกันทั่วไปว่า ".หนั่น".
ดู สมพงษ์ อมรวิวัฒน์และสนั่น ขจรประศาสน์
จังหวัดเชียงใหม่
ังหวัดเชียงใหม่ (40px เจียงใหม่) เป็นจังหวัดหนึ่งของไทย ตั้งอยู่ทางภาคเหนือของประเทศ ครอบคลุมพื้นที่ประมาณ 20,107 ตารางกิโลเมตร ซึ่งใหญ่เป็นอันดับ 2 ของประเทศ มีประชากร 1,746,840 คน มากเป็นอันดับ 5 ของประเทศ ในจำนวนนี้เป็นประชากรที่อาศัยอยู่ในเขตเมืองและชานเมือง 960,906 คน โดยจังหวัดเชียงใหม่ทิศเหนือติดต่อกับรัฐฉานของเมียนมา จังหวัดเชียงใหม่ จัดเป็นเมืองใหญ่อันดับที่สองของประเทศไทย รองจากกรุงเทพมหานคร โดยแบ่งการปกครองออกเป็น 25 อำเภอ โดยมีอำเภอเมืองเชียงใหม่เป็นศูนย์กลางของจังหวัด เมื่อ พ.ศ.
ดู สมพงษ์ อมรวิวัฒน์และจังหวัดเชียงใหม่
ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย
ปลี่ยนแปลงจากปีก่อน: +198.96 จุด (+%) |- ! colspan.
ดู สมพงษ์ อมรวิวัฒน์และตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย
ประจวบ ไชยสาส์น
นายประจวบ ไชยสาส์น นายกสภามหาวิทยาลัยรามคำแหง อดีตหัวหน้าพรรคเสรีธรรม อดีตเลขาธิการพรรคชาติพัฒนา อดีตรัฐมนตรีว่าการทบวงมหาวิทยาลัย ในรัฐบาลของนายชวน หลีกภัย และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงอื่นๆ อีกหลายกระทรวง และเป็นบิดาของนายต่อพงษ์ ไชยสาส์น และนายจักรพรรดิ ไชยสาส์น สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จังหวัดอุดรธานี พรรคเพื่อไทย นายประจวบ ไชยสาส์น เป็นที่รู้จักกันในฉายา "อีดี้อีสาน".
ดู สมพงษ์ อมรวิวัฒน์และประจวบ ไชยสาส์น
ประเทศไทย
ประเทศไทย มีชื่ออย่างเป็นทางราชการว่า ราชอาณาจักรไทย เป็นรัฐชาติอันตั้งอยู่ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เดิมมีชื่อว่า "สยาม" รัฐบาลประกาศเปลี่ยนชื่อเป็นประเทศไทยอย่างเป็นทางการตั้งแต่ปี 2482 ประเทศไทยมีขนาดใหญ่เป็นอันดับที่ 50 ของโลก มีเนื้อที่ 513,115 ตารางกิโลเมตร และมีประชากรมากเป็นอันดับที่ 20 ของโลก คือ ประมาณ 66 ล้านคน กรุงเทพมหานครเป็นศูนย์กลางการบริหารราชการแผ่นดินและนครใหญ่สุดของประเทศ และการปกครองส่วนภูมิภาค จัดระเบียบเป็น 76 จังหวัด แม้จะมีการสถาปนาระบอบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญและประชาธิปไตยระบบรัฐสภาในปี 2475 แต่กองทัพยังมีบทบาทในการเมืองไทยสูง ล่าสุด เกิดรัฐประหารเมื่อวันที่ 22 พฤษภาคม 2557 และมีการปกครองแบบเผด็จการทหารนับแต่นั้น พบหลักฐานการอยู่อาศัยอย่างต่อเนื่องในอาณาเขตประเทศไทยปัจจุบันตั้งแต่ 20,000 ปีก่อนคริสตกาล ชาวไทเริ่มอพยพเข้าสู่บริเวณนี้ในคริสต์ศตวรรษที่ 11 แล้วเข้ามาตั้งแว่นแคว้นต่าง ๆ ที่สำคัญได้แก่ อาณาจักรสุโขทัย อาณาจักรล้านนาและอาณาจักรอยุธยา นักประวัติศาสตร์มักถือว่าอาณาจักรสุโขทัยเป็นจุดเริ่มต้นของประวัติศาสตร์ไทย ต่อมาอาณาจักรอยุธยาค่อย ๆ เรืองอำนาจมากขึ้นจนเป็นมหาอำนาจในภูมิภาคในปลายคริสต์ศตวรรษที่ 14 การติดต่อกับชาติตะวันตกเริ่มด้วยผู้แทนทางทูตชาวโปรตุเกสในปี 2054 อาณาจักรรุ่งเรืองอย่างมากในรัชกาลสมเด็จพระนารายณ์มหาราช (ครองราชย์ปี 2199–2231) แต่หลังจากนั้นค่อย ๆ เสื่อมอำนาจโดยมีสาเหตุส่วนหนึ่งจากการผลัดแผ่นดินที่มีการนองเลือดหลายรัชกาล จนสุดท้ายกรุงศรีอยุธยาถูกทำลายสิ้นเชิงในปี 2310 สมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรีทรงรวบรวมแผ่นดินที่แตกออกเป็นก๊กต่าง ๆ และสถาปนาอาณาจักรธนบุรีที่มีอายุ 15 ปี ความวุ่นวายในช่วงปลายอาณาจักรนำไปสู่การสำเร็จโทษพระองค์โดยพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช ปฐมราชวงศ์จักรีแห่งกรุงรัตนโกสินทร์ ช่วงต้นกรุงรัตนโกสินทร์ ประเทศเผชิญภัยคุกคามจากชาติใกล้เคียง แต่หลังรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวเป็นต้นมา ชาติตะวันตกเริ่มมีอิทธิพลในภูมิภาคเป็นอย่างมาก นำไปสู่การเข้าเป็นภาคีแห่งสนธิสัญญาไม่เป็นธรรมหลายฉบับ กระนั้น สยามไม่ตกเป็นอาณานิคมของตะวันตกชาติใด มีการปรับให้สยามทันสมัยและรวมอำนาจปกครองในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (ครองราชย์ปี 2411–53) สยามเข้าร่วมกับฝ่ายสัมพันธมิตรในสงครามโลกครั้งที่หนึ่งในปี 2460; ในปี 2475 เกิดการปฏิวัติเปลี่ยนแปลงการปกครองสู่ระบอบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญโดยไม่เสียเลือดเนื้อ คณะราษฎรมีบทบาทนำทางการเมือง และในพุทธทศวรรษ 2480 นายกรัฐมนตรี จอมพล แปลก พิบูลสงคราม ดำเนินนโยบายชาตินิยมเข้มข้น ระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง ไทยเข้ากับฝ่ายอักษะ แต่ฝ่ายสัมพันธมิตรส่วนใหญ่ไม่ยอมรับการประกาศสงคราม ในช่วงสงครามเย็น ประเทศไทยเป็นพันธมิตรกับสหรัฐซึ่งสนับสนุนรัฐบาลทหารมาก รัฐประหารที่มีจอมพล สฤษดิ์ ธนะรัชต์เป็นหัวหน้าคณะในปี 2500 ทำให้คณะราษฎรหมดอำนาจ รัฐบาลฟื้นฟูพระราชอำนาจและมีมาตรการต่อต้านคอมมิวนิสต์ในภูมิภาค ผลของเหตุการณ์ 14 ตุลา 2516 ทำให้เกิดประชาธิปไตยระบบรัฐสภาช่วงสั้น ๆ ประเทศไทยมีนายกรัฐมนตรีจากการเลือกตั้งครั้งแรกในปี 2531 หลังพุทธทศวรรษ 2540 มีวิกฤตการเมืองระหว่างฝ่ายที่สนับสนุนและต่อต้านอดีตนายกรัฐมนตรีทักษิณ ชินวัตรมาจนปัจจุบัน รวมทั้งเกิดรัฐประหารสองครั้ง โดยครั้งล่าสุดเกิดในปี 2557 รัฐธรรมนูญฉบับปัจจุบันเป็นฉบับที่ 20 ประกาศใช้เมื่อวันที่ 6 เมษายน 2560 หลังมีการลงประชามติรับร่างเมื่อหนึ่งปีก่อน ประเทศไทยเป็นสมาชิกสหประชาชาติ เอเปก อีกทั้งเป็นร่วมผู้ก่อตั้งอาเซียน ประเทศไทยเป็นพันธมิตรของสหรัฐตั้งแต่สนธิสัญญาซีโต้ในปี 2497 ถือเป็นประเทศอำนาจนำภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และประเทศอำนาจปานกลางในเวทีโลก ประเทศไทยเป็นประเทศที่มีรายได้ปานกลาง-สูงและประเทศอุตสาหกรรมใหม่ มีรายได้หลักจากภาคอุตสาหกรรมและบริการ การเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจทำให้มีการอพยพเข้าสู่เมืองในคริสต์ศตวรรษที่ 20 ตามประมาณการในปี 2560 จีดีพีของประเทศไทยมีมูลค่าราว 432,898 ล้านดอลลาร์สหรัฐ นับว่าเศรษฐกิจไทยเป็นเศรษฐกิจใหญ่สุดเป็นอันดับ 2 ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และใหญ่เป็นอันดับที่ 26 ของโลก.
ดู สมพงษ์ อมรวิวัฒน์และประเทศไทย
นริศรา ชวาลตันพิพัทธ์
นริศรา ชวาลตันพิพัทธ์ อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงศึกษาธิการ ในคณะรัฐมนตรีอภิสิทธิ์ 1 เป็นภรรยานอกสมรสของนายสุชาติ ตันเจริญ แกนนำกลุ่มบ้านริมน้ำ พรรคเพื่อแผ่นดิน ซึ่งปัจจุบันกลุ่มดังกล่าวได้ย้ายไปร่วมกิจกรรมทางการเมืองกับพรรคภูมิใจไทยแล้ว.
ดู สมพงษ์ อมรวิวัฒน์และนริศรา ชวาลตันพิพัทธ์
นายกรัฐมนตรี
นายกรัฐมนตรี เป็นตำแหน่งผู้นำของรัฐบาล เป็นตำแหน่งสูงสุด โดยมีพระมหากษัตริย์หรือประธานาธิบดีเป็นประมุขแห่งรัฐ บางประเทศยังต้องเลือกประธานาธิบดีแล้วแต่งตั้งนายกรัฐมนตรีหรือบางประเทศอาจจะให้กษัตริย์เป็นผู้แต่งตั้งก็ได้ แต่ในระบบสาธารณรัฐแบบประธานาธิบดีจะไม่มีนายกรัฐมนตรี เช่น สหรัฐอเมริกา บราซิล เป็นต้น รองนายกรัฐมนตรี เป็นผู้ที่จะปฏิบัติหน้าที่แทนนายกรัฐมนตรี ในขณะที่นายกรัฐมนตรีมีเหตุทำให้ไม่สามารถปฏิบัติหน้าที่ได้ หรือมีหน้าที่อื่นให้ปฏิบัติ เช่น เดินทางไปประชุมที่ต่างประเทศ ลาราชการ พ้นจากตำแหน่ง เป็นต้น.
ดู สมพงษ์ อมรวิวัฒน์และนายกรัฐมนตรี
โกวิท วัฒนะ
ลตำรวจเอก โกวิท วัฒนะ (11 มีนาคม พ.ศ. 2490 —) อดีตรองนายกรัฐมนตรี ในรัฐบาลของนางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย อดีตผู้บัญชาการสำนักงานตำรวจแห่งชาต.
ดู สมพงษ์ อมรวิวัฒน์และโกวิท วัฒนะ
โรงเรียนอำนวยศิลป์
รงเรียนอำนวยศิลป์ (อ.น.ศ.) เป็นโรงเรียนเอกชนที่ก่อตั้งขึ้นในปี..
ดู สมพงษ์ อมรวิวัฒน์และโรงเรียนอำนวยศิลป์
เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติยศยิ่งมงกุฎไทย
รื่องราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติยศยิ่งมงกุฎไทย (The Most Noble Order of the Crown of Thailand) เป็นตระกูลเครื่องราชอิสริยาภรณ์ หนึ่งใน 8 ตระกูลที่สำหรับพระราชทานแด่พระบรมวงศานุวงศ์ ข้าราชการ และผู้กระทำคุณความดี ทั้งบุรุษและสตรี โดยเครื่องราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติยศยิ่งมงกุฎไทยนี้สำหรับพระราชทานแก่ผู้กระทำความดีความชอบเป็นประโยชน์แก่ราชการหรือสาธารณชน โดยการพิจารณาเสนอขอพระราชทานของรัฐบาล เพื่อเป็นบำเหน็จความชอบและเครื่องหมายเชิดชูเกียรติยศอย่างสูง แก่ผู้ได้รับพระราชทาน พระราชทานทั้งบุรุษและสตรี หากทรงพระกรุณาโปรดเกล้า ฯ แล้ว ให้ประกาศรายนามในราชกิจจานุเบกษา ปรกติแล้วจะประกาศในวันเฉลิมพระชนมพรรษา 5 ธันวาคม ของทุกปี แยกเป็น 2 ฉบับ คือชั้นต่ำกว่าสายสะพาย และชั้นสายสะพาย เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติยศยิ่งมงกุฎไทยนี้ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงพระกรุณาให้สร้างขึ้น เมื่อ..
ดู สมพงษ์ อมรวิวัฒน์และเครื่องราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติยศยิ่งมงกุฎไทย
เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นที่เชิดชูยิ่งช้างเผือก
รื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นที่เชิดชูยิ่งช้างเผือก (The Most Exalted Order of the White Elephant) เป็นตระกูลเครื่องราชอิสริยาภรณ์ หนึ่งใน 8 ตระกูลที่สำหรับพระราชทานแด่พระบรมวงศานุวงศ์ ข้าราชการ และผู้กระทำคุณความดี ทั้งบุรุษและสตรี โดยเครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นที่เชิดชูยิ่งช้างเผือกนี้สำหรับพระราชทานแก่ผู้กระทำความดีความชอบเป็นประโยชน์แก่ราชการหรือสาธารณชน โดยการพิจารณาเสนอขอพระราชทานของรัฐบาล เพื่อเป็นบำเหน็จความชอบและเครื่องหมายเชิดชูเกียรติยศอย่างสูงแก่ผู้ได้รับพระราชทาน พระราชทานทั้งบุรุษและสตรี หากทรงพระกรุณาโปรดเกล้า ฯ แล้ว ให้ประกาศรายนามในราชกิจจานุเบกษา ปรกติแล้วจะประกาศในวันเฉลิมพระชนมพรรษา 5 ธันวาคม ของทุกปี แยกเป็น 2 ฉบับ คือชั้นต่ำกว่าสายสะพาย และชั้นสายสะพาย เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นที่เชิดชูยิ่งช้างเผือกนี้ พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงพระกรุณาให้สร้างขึ้นเมื่อ..
ดู สมพงษ์ อมรวิวัฒน์และเครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นที่เชิดชูยิ่งช้างเผือก
2 ธันวาคม
วันที่ 2 ธันวาคม เป็นวันที่ 336 ของปี (วันที่ 337 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 29 วันในปีนั้น.
ดู สมพงษ์ อมรวิวัฒน์และ2 ธันวาคม
24 กันยายน
วันที่ 24 กันยายน เป็นวันที่ 267 ของปี (วันที่ 268 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 98 วันในปีนั้น.
ดู สมพงษ์ อมรวิวัฒน์และ24 กันยายน
3 กรกฎาคม
วันที่ 3 กรกฎาคม เป็นวันที่ 184 ของปี (วันที่ 185 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 181 วันในปีนั้น.
ดู สมพงษ์ อมรวิวัฒน์และ3 กรกฎาคม
6 กุมภาพันธ์
วันที่ 6 กุมภาพันธ์ เป็นวันที่ 37 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 328 วันในปีนั้น (329 วันในปีอธิกสุรทิน).
ดู สมพงษ์ อมรวิวัฒน์และ6 กุมภาพันธ์
9 กันยายน
วันที่ 9 กันยายน เป็นวันที่ 252 ของปี (วันที่ 253 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 113 วันในปีนั้น.
ดู สมพงษ์ อมรวิวัฒน์และ9 กันยายน