โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ดาวน์โหลด
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

มหาวิทยาลัยรามคำแหง

ดัชนี มหาวิทยาลัยรามคำแหง

มหาวิทยาลัยรามคำแหง (Ramkhamhaeng University; ชื่อย่อ: ม.ร. - RU) เป็นมหาวิทยาลัยรัฐและมหาวิทยาลัยตลาดวิชาแห่งเดียวในประเทศไทย ซึ่งรับบุคคลเข้าศึกษาโดยไม่สอบคัดเลือกและไม่จำกัดจำนวน ทำการเรียนการสอนแบบตลาดวิชา คือมีการเรียนการสอนในชั้นเรียนเช่นเดียวกับมหาวิทยาลัยปกติ แต่ไม่บังคับเข้าชั้นเรียน อันเป็นระบบเดียวกันกับมหาวิทยาลัยวิชาธรรมศาสตร์และการเมืองในอดีต มหาวิทยาลัยรามคำแหงเป็นหนึ่งในสถาบันการศึกษาชั้นนำของประเทศไทย และมีชื่อเสียงในด้านนิติศาสตร์และรัฐศาสตร์อย่างมาก.

303 ความสัมพันธ์: บรรหาร ศิลปอาชาบรรเจิด สิงคะเนติชัย ชิดชอบบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยรามคำแหงชาลี ไตรรัตน์ชาดา ไทยเศรษฐ์ชิชา อมาตยกุลชินวรณ์ บุณยเกียรติชูศักดิ์ ศิรินิลช่อง 9 เอ็มคอตเอชดีบ่าววีพ.ศ. 2514พ.ศ. 2515พ.ศ. 2516พ.ศ. 2517พ.ศ. 2518พ.ศ. 2519พ.ศ. 2521พ.ศ. 2523พ.ศ. 2525พ.ศ. 2526พ.ศ. 2527พ.ศ. 2528พ.ศ. 2529พ.ศ. 2530พ.ศ. 2531พ.ศ. 2532พ.ศ. 2533พ.ศ. 2534พ.ศ. 2535พ.ศ. 2537พ.ศ. 2539พ.ศ. 2541พ.ศ. 2542พ.ศ. 2543พ.ศ. 2545พ.ศ. 2546พ.ศ. 2550พ.ศ. 2553พ.ศ. 2554พ.ศ. 2556พ.ศ. 2558พ.ศ. 2559พ.ศ. 2560พ.ศ. 2561พรรัมภา สุขได้พึ่งพรสุดา ถาวราภาพระบรมวงศานุวงศ์พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช...พระราชบัญญัติพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ (ประเทศไทย)พ่อขุนรามคำแหงมหาราชกฎหมายกรมศิลปากรกรุงเทพมหานครกวิยณัฎฐ์ แฮร์มันน์กิตติพัฒน์ สมานตระกูลชัยกิตติพงษ์ ปลื้มปรีดาพรกีฬามหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 1กีฬามหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 10กีฬามหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 11กีฬามหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 12กีฬามหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 13กีฬามหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 14กีฬามหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 15กีฬามหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 16กีฬามหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 17กีฬามหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 18กีฬามหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 19กีฬามหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 2กีฬามหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 20กีฬามหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 21กีฬามหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 22กีฬามหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 23กีฬามหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 24กีฬามหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 25กีฬามหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 26กีฬามหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 27กีฬามหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 28กีฬามหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 29กีฬามหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 3กีฬามหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 30กีฬามหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 31กีฬามหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 32กีฬามหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 33กีฬามหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 34กีฬามหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 35กีฬามหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 36กีฬามหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 37กีฬามหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 38กีฬามหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 39กีฬามหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 4กีฬามหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 40กีฬามหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 41กีฬามหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 42กีฬามหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 43กีฬามหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 44กีฬามหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 45กีฬามหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 5กีฬามหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 6กีฬามหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 7กีฬามหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 8กีฬามหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 9ฐากูร การทิพย์ฐิภารินทร์ ยอดธนาสวัสดิ์ฝนทิพย์ วัชรตระกูลภรภัสสรณ์ ชัยอนันต์นิธิภราดร ศรีชาพันธุ์ภาษาไทยภูวดล เวชวงศามหาวิทยาลัยมหาวิทยาลัยรามคำแหง สาขาวิทยบริการเฉลิมพระเกียรติ จังหวัดชัยภูมิมหาวิทยาลัยรามคำแหง สาขาวิทยบริการเฉลิมพระเกียรติ จังหวัดลพบุรีมหาวิทยาลัยรามคำแหง สาขาวิทยบริการเฉลิมพระเกียรติ จังหวัดอุดรธานีมหาวิทยาลัยรามคำแหง สาขาวิทยบริการเฉลิมพระเกียรติ จังหวัดขอนแก่นมหาวิทยาลัยรามคำแหง สาขาวิทยบริการเฉลิมพระเกียรติ จังหวัดเพชรบูรณ์มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์มิกค์ ทองระย้ามิสแกรนด์ไทยแลนด์ 2016มณีรัตน์ คำอ้วนมนุษยศาสตร์รัฐมนตรีรัฐศาสตร์รัตนโกสินทร์ (แก้ความกำกวม)ราชินีนาถรณภพ รากะรินทร์ลีนา จังจรรจาวราวุธ โพธิ์ยิ้มวราเทพ รัตนากรวันชัย สอนศิริวาโย อัศวรุ่งเรืองวิชัย ศรีวัฒนประภาวิชุดา พินดั้มวิระยา ชวกุลวิรัช ชินวินิจกุลวิศวกรรมศาสตร์วิจิตรา ตริยะกุลวิทยาศาสตร์วิทยาศาสตร์สุขภาพวิทย์สรัช สุขวัฒนศิริวุฒิศักดิ์ ลาภเจริญทรัพย์วีรินทร์ทิรา นาทองบ่อจรัสวนิดา เติมธนาภรณ์ศกลรัตน์ วรอุไรศรราม เทพพิทักษ์ศรุชา เพชรโรจน์สกาวใจ พูนสวัสดิ์สภาผู้แทนราษฎรสมเกียรติ จันทร์พราหมณ์สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูรสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีสัณฐาน ชยนนท์สังคมศาสตร์สำนักวิชาสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหงสำนักข่าวไทยสุพรรณิการ์สุภาพร มะลิซ้อนสุขุม นวลสกุลสีชมพูสีม่วงสีส้มสีทองสีขาวสีครีมสีน้ำเงินสีแดงสีเหลืองสีเขียวสถาบันอุดมศึกษาของรัฐสถานีโทรทัศน์สีกองทัพบกช่อง 7สนธิ บุญยรัตกลินอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะอสมทอักษรย่ออักษรไทยอัญรินทร์ ธีราธนันพัฒน์อารีย์ วิรัฐถาวรอาณาจักรสุโขทัยอินเทอร์เน็ตอธิการบดีอติมา ธนเสนีวัฒน์อนุพงษ์ เผ่าจินดาจังหวัดสุโขทัยจารึกพ่อขุนรามคำแหงจิรศักดิ์ ปานพุ่มจีรนันท์ มะโนแจ่มจีเอ็มเอ็ม แกรมมี่ถนอม กิตติขจรถนนรามคำแหงทรู อะคาเดมี่ แฟนเทเชีย ซีซั่นที่ 6ทรู อะคาเดมี่ แฟนเทเชีย ซีซั่นที่ 8ทวิช กลิ่นประทุมทัช ณ ตะกั่วทุ่งขัตติยะ สวัสดิผลณัฐรัตน์ นพรัตยาภรณ์ณัฐวรา วงศ์วาสนาณิชารีย์ โชคประจักษ์ชัดณปภัช วัฒนากมลวุฒิดนุพร ปุณณกันต์คิม ไชยแสนสุขคณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยรามคำแหงคณะพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ มหาวิทยาลัยรามคำแหงคณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหงคณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหงคณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยคณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหงคณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหงคณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหงคณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหงคณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหงคณะสื่อสารมวลชน มหาวิทยาลัยรามคำแหงคณะธุรกิจการบริการ มหาวิทยาลัยรามคำแหงคณะทัศนมาตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหงคณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหงคณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหงคณิศ ปิยะปภากรกูลต่าย อรทัยประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนประภาศน์ อวยชัยประภาส จารุเสถียรประมาณ เลืองวัฒนะวณิชประจวบ ไชยสาส์นประเทศพม่าประเทศศรีลังกาประเทศอินเดียประเทศไทยปวีณา หงสกุลปัทมา ลีสวัสดิ์ตระกูลปณิธาน วัฒนายากรนลินทิพย์ เพิ่มภัทรสกุลนักแสดงนารา เทพนุภานิพิฏฐ์ อินทรสมบัตินิมิตร ลักษมีพงศ์นิติภูมิธณัฐ มิ่งรุจิราลัยนิติศาสตร์นโยบายสถานศึกษาเปิดแกรมมี่โกลด์แอนดริว เกร้กสันโฟร์-มดโรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยรามคำแหงไชยา มิตรชัยไตรภพ ลิมปพัทธ์เกิร์ลลีเบอร์รีเมลดา สุศรีเรืองไกร ลีกิจวัฒนะเสรี สุวรรณภานนท์เหตุการณ์ 14 ตุลาเอกชัย ศรีวิชัยเจริญ สิริวัฒนภักดีเจิมมาศ จึงเลิศศิริเทือกเขาหิมาลัยเทคโนโลยีเขตบางกะปิเฉลิม อยู่บำรุงเปาวลี พรพิมล1 กรกฎาคม1 กันยายน10 ธันวาคม12 พฤษภาคม12 มกราคม13 พฤษภาคม13 มกราคม14 กุมภาพันธ์14 มกราคม14 เมษายน15 กุมภาพันธ์15 มกราคม15 เมษายน16 กันยายน16 มกราคม17 พฤศจิกายน17 กันยายน18 กันยายน18 มกราคม18 มิถุนายน19 สิงหาคม2 กันยายน2 ตุลาคม20 กันยายน20 สิงหาคม20 ตุลาคม21 กันยายน21 ตุลาคม22 มิถุนายน22 ตุลาคม23 ตุลาคม26 พฤศจิกายน28 พฤศจิกายน28 กรกฎาคม3 มีนาคม3 ตุลาคม30 พฤษภาคม5 กรกฎาคม6 กรกฎาคม7 พฤษภาคม7 กุมภาพันธ์7 มีนาคม8 พฤษภาคม8 กุมภาพันธ์ ขยายดัชนี (253 มากกว่า) »

บรรหาร ศิลปอาชา

รรหาร ศิลปอาชา (19 สิงหาคม พ.ศ. 2475 – 23 เมษายน พ.ศ. 2559) เป็นนักการเมืองชาวไทย ดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีไทยคนที่ 21 ประธานกรรมการมูลนิธิบรรหาร-แจ่มใส ศิลปอาชา ประธานที่ปรึกษาพรรคชาติไทยพัฒนา อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดสุพรรณบุรี 11 สมัย อดีตนายกสภามหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา อดีตนายกสภาสถาบันการพลศึกษา อดีตกรรมการผู้จัดการ บริษัท สหศรีชัยก่อสร้าง จำกัด และอดีตหัวหน้าพรรคชาติไทย ทั้งเป็นพี่ชายของชุมพล ศิลปอาชา อดีตรองนายกรัฐมนตรี.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยรามคำแหงและบรรหาร ศิลปอาชา · ดูเพิ่มเติม »

บรรเจิด สิงคะเนติ

ตราจารย์ บรรเจิด สิงคะเนติ กรรมการข้าราชการพลเรือนในสถาบันอุดมศึกษาผู้ทรงคุณวุฒิ อดีตกรรมการปฏิรูปกฎหมาย อดีตผู้อำนวยการศูนย์นิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ กรรมการพิจารณาแนวทางการแก้ไขรัฐธรรมนูญ ตามข้อเสนอของคณะกรรมการสมานฉันท์เพื่อการปฏิรูปการเมือง และศึกษาการแก้ไขรัฐธรรมนูญ ได้รับการแต่งตั้งเป็นกรรมการตรวจสอบทรัพย์สิน คตส. ตามประกาศคณะปฏิรูปการปกครองในระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข ฉบับที่ 30 เมื่อวันที่ 30 กันยายน..

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยรามคำแหงและบรรเจิด สิงคะเนติ · ดูเพิ่มเติม »

ชัย ชิดชอบ

ัย ชิดชอบ (5 เมษายน พ.ศ. 2471 —) เป็นสมาชิกสภาขับเคลื่อนการปฏิรูปประเทศ อดีตสมาชิกสภาปฏิรูปแห่งชาติ อดีตประธานรัฐสภา และอดีตประธานสภาผู้แทนราษฎร อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร​แบบสัดส่วน พรรคภูมิใจไทย ได้รับเลือกเป็นตัวแทนพรรคพลังประชาชน ในการเลือกประธานสภาผู้แทนราษฎรแทนนายยงยุทธ ติยะไพรัช ที่โดนใบแดง ก่อนหน้านี้เป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร (ส.ส.)หลายสมัย และสมาชิกวุฒิสภา(ส.ว.)จังหวัดบุรีรัม.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยรามคำแหงและชัย ชิดชอบ · ดูเพิ่มเติม »

บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยรามคำแหง

ัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยรามคำแหง จัดตั้งขึ้นเพื่อเป็นสถานศึกษาวิชาการความรู้ในระดับที่สูงขึ้น โดยมีภารกิจหน้าที่ เป็นหน่วยงานกลางของนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา รับผิดชอบดูแลควบคุม เกี่ยวกับการขึ้นทะเบียนเป็นนักศึกษา และลงทะเบียนเรียน ตลอดจนการให้ตำแนะนำการศึกษาต่อ.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยรามคำแหงและบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยรามคำแหง · ดูเพิ่มเติม »

ชาลี ไตรรัตน์

ลี ปอทเจส หรือเป็นที่รู้จักในชื่อ ชาลี ไตรรัตน์ ชื่อเล่น แน็ก (19 มกราคม พ.ศ. 2536) เป็นนักแสดงชาวไทย เข้าสู่วงการบันเทิงตั้งแต่ยังเด็ก มีผลงานสร้างชื่อเสียงในภาพยนตร์เรื่อง แฟนฉัน ที่ทำรายได้สูงสุด 140 ล้านบาทในปี..

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยรามคำแหงและชาลี ไตรรัตน์ · ดูเพิ่มเติม »

ชาดา ไทยเศรษฐ์

ทยเศรษฐ์ สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จังหวัดอุทัยธานี สังกัดพรรคชาติไทยพัฒนา และเป็นประธานคณะกรรมาธิการเกษตรและสหกรณ์ สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 24.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยรามคำแหงและชาดา ไทยเศรษฐ์ · ดูเพิ่มเติม »

ชิชา อมาตยกุล

อมาตยกุล (ชื่อเดิม: กัลยวีร์ ภูมิสิริดล; ชื่อเล่น: คิทตี้) เป็นนักร้อง, นักแสดง และนางแบบ อดีตสมาชิกคิส มี ไฟฟ์ เป็นอดีตสมาชิกค่ายกามิกาเซ่ สังกัดอาร์เอส ปัจจุบันเป็นนักแสดงสังกัดช่อง 3.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยรามคำแหงและชิชา อมาตยกุล · ดูเพิ่มเติม »

ชินวรณ์ บุณยเกียรติ

นายชินวรณ์ บุณยเกียรติ อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ ในรัฐบาลของนายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ อดีตประธานคณะกรรมการประสานงานพรรคร่วมรัฐบาลของนายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ เหรัญญิกพรรคประชาธิปัตย์ และอดีต..นครศรีธรรมราช 6 สมัย มีผลงานทั้งด้านการเมือง และนิติบัญญัติมากม.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยรามคำแหงและชินวรณ์ บุณยเกียรติ · ดูเพิ่มเติม »

ชูศักดิ์ ศิรินิล

รองศาสตราจารย์ชูศักดิ์ ศิรินิล อดีตรัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี ในรัฐบาลของนายสมัคร สุนทรเวช อดีตเลขาธิการนายกรัฐมนตรี (นายสมชาย วงศ์สวัสดิ์) และอดีตอธิการบดีมหาวิทยาลัยรามคำแหง ปัจจุบันสังกัดพรรคเพื่อไท.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยรามคำแหงและชูศักดิ์ ศิรินิล · ดูเพิ่มเติม »

ช่อง 9 เอ็มคอตเอชดี

นีโทรทัศน์ช่อง 9 เอ็มคอตเอชดี (Channel 9 MCOT HD; ชื่อเดิม: สถานีโทรทัศน์ไทยทีวีช่อง 4 บางขุนพรหม, สถานีโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 9 บางลำพู, สถานีโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 9 อ.ส.ม.ท., สถานีโทรทัศน์โมเดิร์นไนน์ทีวี) เป็นสถานีโทรทัศน์ภาคพื้นดิน (Terrestrial Television) แห่งแรกของประเทศไทย ของบริษัท อสมท จำกัด (มหาชน) เริ่มแพร่ภาพเป็นปฐมฤกษ์ เมื่อวันที่ 24 มิถุนายน พ.ศ. 2498 ในระบบวีเอชเอฟ เดิมออกอากาศเป็นภาพขาวดำ ทางช่องสัญญาณที่ 4 ต่อมาในปี พ.ศ. 2517 จึงย้ายมาออกอากาศด้วยภาพสี ทางช่องสัญญาณที่ 9 จนถึงปัจจุบัน สังกัด สำนักนายกรัฐมนตรี โดยมีนายกอบศักดิ์ ภูตระกูล รัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี เป็นผู้กำกับดูแล มีพลเอก ฉัตรเฉลิม เฉลิมสุข เป็นประธานกรรมการบริษัท และนายเขมทัตต์ พลเดชเป็นกรรมการผู้อำนวยการใหญ.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยรามคำแหงและช่อง 9 เอ็มคอตเอชดี · ดูเพิ่มเติม »

บ่าววี

ววี (เกิดวันที่ 29 มกราคม พ.ศ. 2517) หรือ พันจ่าอากาศเอก วีรยุทธิ์ นานช้า รู้จักกันในชื่อ บ่าววี อาร์สยาม เป็นที่รู้จักจากเพลง ขอนไม้กับเรือ เกิดที่จังหวัดตรัง จบจากโรงเรียนจ่าอากาศ รุ่นที่ 36 เหล่าอากาศโยธิน- สารวัตรทหาร ปัจจุบันรับราชการเป็นทหารอากาศที่กรมกิจการพลเรือนทหารอากาศ กองบัญชาการกองทัพอากาศ ดอนเมือง กรุงเทพฯ.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยรามคำแหงและบ่าววี · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2514

ทธศักราช 2514 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1971 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันศุกร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยรามคำแหงและพ.ศ. 2514 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2515

ทธศักราช 2515 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1972 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยรามคำแหงและพ.ศ. 2515 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2516

ทธศักราช 2516 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1973 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยรามคำแหงและพ.ศ. 2516 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2517

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยรามคำแหงและพ.ศ. 2517 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2518

ทธศักราช 2518 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1975 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพุธตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยรามคำแหงและพ.ศ. 2518 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2519

ทธศักราช 2519 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1976 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดี ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยรามคำแหงและพ.ศ. 2519 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2521

ทธศักราช 2521 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1978 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยรามคำแหงและพ.ศ. 2521 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2523

ทธศักราช 2523 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1980 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคารตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยรามคำแหงและพ.ศ. 2523 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2525

ทธศักราช 2525 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1982 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันศุกร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็นปี สมโภชกรุงรัตนโกสินทร์ 200 ปี.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยรามคำแหงและพ.ศ. 2525 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2526

ทธศักราช 2526 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1983 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยรามคำแหงและพ.ศ. 2526 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2527

ทธศักราช 2527 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1984 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยรามคำแหงและพ.ศ. 2527 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2528

ทธศักราช 2528 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1985 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคารตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยรามคำแหงและพ.ศ. 2528 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2529

ทธศักราช 2529 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1986 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพุธตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยรามคำแหงและพ.ศ. 2529 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2530

ทธศักราช 2530 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1987 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดีตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยรามคำแหงและพ.ศ. 2530 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2531

ทธศักราช 2531 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1988 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันศุกร์ (ลิงก์ไปยังปฏิทิน) ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยรามคำแหงและพ.ศ. 2531 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2532

ทธศักราช 2532 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1989 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยรามคำแหงและพ.ศ. 2532 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2533

ทธศักราช 2533 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1990 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยรามคำแหงและพ.ศ. 2533 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2534

ทธศักราช 2534 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1991 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคารตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยรามคำแหงและพ.ศ. 2534 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2535

ทธศักราช 2535 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1992 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันพุธตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยรามคำแหงและพ.ศ. 2535 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2537

ทธศักราช 2537 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1994 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยรามคำแหงและพ.ศ. 2537 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2539

ทธศักราช 2539 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1996 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยรามคำแหงและพ.ศ. 2539 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2541

ทธศักราช 2541 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1998 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดีตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยรามคำแหงและพ.ศ. 2541 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2542

ทธศักราช 2542 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1999 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันศุกร์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน และสหประชาชาติกำหนดให้เป็น ปีสากลแห่งผู้สูงอายุและเป็นปีมหามงคลในโอกาสที่ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมีพระชนมพรรษาครบ 6 รอบ (พระราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนม์พรรรษา ๖ รอบ ๕ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๔๒).

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยรามคำแหงและพ.ศ. 2542 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2543

ทธศักราช 2543 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2000 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยรามคำแหงและพ.ศ. 2543 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2545

ทธศักราช 2545 V 2002 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2002 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคารตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยรามคำแหงและพ.ศ. 2545 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2546

ทธศักราช 2546 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2003 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพุธตามปฏิทินเกรกอเรียน และกำหนดให้เป็น.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยรามคำแหงและพ.ศ. 2546 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2550

ทธศักราช 2550 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2007 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยรามคำแหงและพ.ศ. 2550 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2553

ทธศักราช 2553 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2010 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันศุกร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็นปีแรกในคริสต์ทศวรรษที่ 2010.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยรามคำแหงและพ.ศ. 2553 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2554

ทธศักราช 2554 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2011 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยรามคำแหงและพ.ศ. 2554 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2556

ทธศักราช 2556 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2013 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคารตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยรามคำแหงและพ.ศ. 2556 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2558

ทธศักราช 2558 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2015 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดีตามปฏิทินเกรกอเรียน นับเป็นปีที่ 2015 ตามกำหนดสากลศักร.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยรามคำแหงและพ.ศ. 2558 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2559

ทธศักราช 2559 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2016 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันศุกร์ และเป็น.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยรามคำแหงและพ.ศ. 2559 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2560

ทธศักราช 2560 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2017 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ (ลิงก์ไปยังปฏิทิน) ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยรามคำแหงและพ.ศ. 2560 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2561

ทธศักราช 2561 เป็นปีปัจจุบัน ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2018 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยรามคำแหงและพ.ศ. 2561 · ดูเพิ่มเติม »

พรรัมภา สุขได้พึ่ง

รรัมภา สุขได้พึ่ง หรือ แพร เป็นนักแสดงชาวไทย เกิดเมื่อวันที่ 19 กรกฎาคม พ.ศ. 2527 ที่โรงพยาบาลสมุทรปราการ มีพี่น้อง 2 คน จบการศึกษาปริญญาตรี คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยรามคำแหงและพรรัมภา สุขได้พึ่ง · ดูเพิ่มเติม »

พรสุดา ถาวราภา

รสุดา ถาวราภา หรือชื่อเล่นว่า เจแอน (เกิด: 20 มกราคม พ.ศ. 2532 จังหวัดภูเก็ต) เป็นนักร้องและนักแสดงชาวไทยซึ่งเป็นที่รู้จักจากการเป็นศิลปินดูโอ้ในโปรเจกต์ Croissong Long Long Do ภายใต้สังกัดแกรมมี่ ร่วมกับ ลิช่า อาทิตรา บริสุท.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยรามคำแหงและพรสุดา ถาวราภา · ดูเพิ่มเติม »

พระบรมวงศานุวงศ์

ระบรมวงศานุวงศ์ในรัชกาลที่ 9 ภายในงานฉลองสิริราชสมบัติครบ 60 ปี พระบรมวงศานุวงศ์ หมายถึง พระประยูรญาติใหญ่น้อยทั้งหมดทุกราชสกุลของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว โดยประกอบด้วย 2 คำ คือ.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยรามคำแหงและพระบรมวงศานุวงศ์ · ดูเพิ่มเติม »

พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว

งชาติสยามในรัชกาลที่ 4 ธงช้างเผือก พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหามงกุฎ พระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (พระราชสมภพ 18 ตุลาคม พ.ศ. 2347 - สวรรคต 1 ตุลาคม พ.ศ. 2411) พระมหากษัตริย์ไทยรัชกาลที่ 4 แห่งราชวงศ์จักรี มีพระนามเดิมว่า "เจ้าฟ้ามงกุฎ" เสด็จพระราชสมภพในวันพฤหัสบดี ขึ้น 14 ค่ำ เดือน 11 ปีชวด ตรงกับวันที่ 18 ตุลาคม พ.ศ. 2347 ในรัชสมัย รัชกาลที่ 1 ณ นิวาสสถานพระราชวังพระราชนิเวศน์ พระราชวังเดิม ด้านใต้ของวัดอรุณราชวรารามอ.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยรามคำแหงและพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว · ดูเพิ่มเติม »

พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช

ระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช (5 ธันวาคม พ.ศ. 2470 — 13 ตุลาคม พ.ศ. 2559) เป็นพระมหากษัตริย์ไทย รัชกาลที่ 9 แห่งราชวงศ์จักรี เสด็จสู่พระราชสมบัติตั้งแต่วันที่ 9 มิถุนายน..

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยรามคำแหงและพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช · ดูเพิ่มเติม »

พระราชบัญญัติ

พระราชบัญญัติ (พ.ร.บ.) คือบทกฎหมายที่ใช้บังคับอยู่เป็นประจำตามปรกติ เพื่อวางระเบียบบังคับความประพฤติของบุคคลรวมทั้งองค์กรและเจ้าหน้าที่ของรัฐ เป็นบทบัญญัติแห่งกฎหมายที่มีฐานะสูงกว่าบทกฎหมายอื่น ๆ นอกจากรัฐธรรมนูญ ก่อนประกาศใช้บังคับ พระราชบัญญัติมีอยู่ชนิดเดียว แต่บัดนี้รัฐธรรมนูญฯ ได้บัญญัติให้มีพระราชบัญญัติขึ้นอีกชนิดหนึ่ง เรียกว่า “พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญ” ซึ่งรัฐธรรมนูญฯ บังคับให้ตราขึ้นเพื่อกำหนดสาระสำคัญในรายละเอียดในกรณีบางเรื่องที่รัฐธรรมนูญกำหนดหลักการไว้ เช่น พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยคณะกรรมการการเลือกตั้ง พ.ศ. 2541 การตราพระราชบัญญัตินั้นจะทำได้ก็แต่โดยคำแนะนำและยินยอมของรัฐสภา และเมื่อพระมหากษัตริย์ได้ทรงลงพระปรมาภิไธย และประกาศในราชกิจจานุเบกษาแล้ว ก็มีผลใช้บังคับเป็นกฎหมายได้ คำว่า พระราชบัญญัติ เป็นชื่อเรียกกฎหมายที่บัญญัติขึ้นโดยประเทศที่มีพระมหากษัตริย์เป็นผู้อนุญาต สำหรับประเทศอื่นที่พระมหากษัตริย์ไม่ใช่ผู้อนุญาต (เช่นประธานาธิบดี) จะเรียกว่า รัฐบัญญัติ หมวดหมู่:บ่อเกิดของกฎหมาย.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยรามคำแหงและพระราชบัญญัติ · ดูเพิ่มเติม »

พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ (ประเทศไทย)

ัณฑสถานแห่งชาติ เป็นหน่วยงานในสังกัดสำนักพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ กรมศิลปากร กระทรวงวัฒนธรรม พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติของไทยมีประวัติความเป็นมาที่ยาวนาน นับตั้งแต่ครั้งสมัยรัชกาลที่ 4 ปัจจุบัน มีพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติทั่วทุกภาค และกระจายในหลายจังหวัด ดังนี้ พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติแบ่งตาม.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยรามคำแหงและพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ (ประเทศไทย) · ดูเพิ่มเติม »

พ่อขุนรามคำแหงมหาราช

อขุนรามคำแหงมหาราช หรือ พญาร่วง หรือ พระบาทกมรเตงอัญศรีรามราช เป็นพระมหากษัตริย์พระองค์ที่ 3 ในราชวงศ์พระร่วงแห่งราชอาณาจักรสุโขทัย เสวยราชย์ประมาณ พ.ศ. 1822 ถึงประมาณ พ.ศ. 1841 พระองค์ทรงเป็นกษัตริย์พระองค์แรกของไทยที่ได้รับการยกย่องเป็น "มหาราช" ด้วยทรงบำเพ็ญพระราชกรณียกิจอันทรงคุณประโยชน์แก่แผ่นดิน ทรงรวบรวมอาณาจักรไทยจนเป็นปึกแผ่นกว้างขวาง ทั้งยังได้ทรงประดิษฐ์ตัวอักษรไทยขึ้น ทำให้ชาติไทยได้สะสมความรู้ทางศิลปะ วัฒนธรรม และวิชาการต่าง ๆ สืบทอดกันมากว่าเจ็ดร้อยปี:3.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยรามคำแหงและพ่อขุนรามคำแหงมหาราช · ดูเพิ่มเติม »

กฎหมาย

กฎหมาย เป็นระบบของกฎและแนวทางปฏิบัติซึ่งบังคับใช้ผ่านสถาบันทางสังคมเพื่อควบคุมพฤติกรรม ในทุกที่ที่เป็นไปได้ กฎหมายก่อร่างการเมือง เศรษฐศาสตร์และสังคมในหลายวิถีทาง และใช้เป็นสื่อกลางความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลในทางสังคม กฎหมายสัญญาวางระเบียบทุกอย่างตั้งแต่การซื้อตั๋วรถโดยสารประจำทางถึงการซื้อขายบนตลาดตราสารอนุพันธ์ กฎหมายว่าด้วยทรัพย์สินนิยามสิทธิและหนี้ซึ่งเกี่ยวข้องกับการโอนและกรรมสิทธิ์ของสังหาชิดมทรัพย์ส่วนตัวและอสังหาริมทรัพย์ กฎหมายทรัสต์ (Trust law) ใช้กับสินทรัพย์ที่ถือไว้เพื่อการลงทุนและความมั่นคงทางการเงิน ขณะที่กฎหมายละเมิด (tort) อนุญาตให้เรียกร้องให้มีการจ่ายค่าสินไหมทดแทนหากสิทธิหรือทรัพย์สินของบุคคลได้รับความเสียหาย หากความเสียหายนั้นถูกประกาศว่า มิชอบด้วยกฎหมายในบทบัญญัติแห่งกฎหมาย กฎหมายอาญาให้วิธีการซึ่งรัฐสามารถดำเนินคดีกับผู้กระทำผิดได้ กฎหมายรัฐธรรมนูญกำหนดกรอบสำหรับการบัญญัติกฎหมาย การคุ้มครองสิทธิมนุษยชน และการเลือกตั้งผู้แทนทางการเมือง กฎหมายปกครองใช้เพื่อทบทวนการวินิจฉัยของหน่วยงานภาครัฐ ขณะที่กฎหมายระหว่างประเทศควบคุมกิจการระหว่างรัฐเอกราชในกิจกรรมตั้งแต่การค้าไปจนถึงระเบียบทางสิ่งแวดล้อมหรือการปฏิบัติทางทหาร นักปรัชญากรีก อริสโตเติล เขียนไว้เมื่อ 350 ปีก่อนคริสตกาลว่า "นิติธรรมดีกว่าการปกครองของปัจเจกบุคคลใด ๆ" ระบบกฎหมายกล่าวถึงสิทธิและความรับผิดชอบในหลายวิถีทาง ความแตกต่างทั่วไปสามารถตัดสินได้ระหว่างเขตอำนาจซีวิลลอว์ ซึ่งประมวลกฎหมายของตน และระบบคอมมอนลอว์ ที่ซึ่งผู้พิพากษาบัญญัติกฎหมายนั้นไม่ถูกรวบรวม ในบางประเทศ ศาสนาเป็นที่มาของกฎหมาย กฎหมายเป็นบ่อเกิดอันมีคุณค่าของการสอบสวนอย่างคงแก่เรียน ไปยังประวัติศาสตร์กฎหมาย ปรัชญา การวิเคราะห์เศรษฐกิจหรือสังคมวิทยา กฎหมายยังยกประเด็นที่สำคัญและซับซ้อนเกี่ยวข้องกับความเสมอภาค ความเป็นธรรมและความยุติธรรม ผู้ประพันธ์ อานาตอล ฟร็องส์ กล่าวใน..

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยรามคำแหงและกฎหมาย · ดูเพิ่มเติม »

กรมศิลปากร

กรมศิลปากร เป็นหน่วยงานของรัฐซึ่งมีภารกิจคุ้มครอง ป้องกัน อนุรักษ์ บำรุงรักษา ฟื้นฟู ส่งเสริม สร้างสรรค์ เผยแพร่ จัดการศึกษา ค้นคว้า วิจัย พัฒนา สืบทอดศิลปะและทรัพย์สินมรดกทางศิลปวัฒนธรรมของชาติ เพื่อธำรงคุณค่าและเอกลักษณ์ของความเป็นชาติ อันจะนำไปสู่การพัฒนาที่ยั่งยืนของสังคมไทยและความมั่นคงของชาต.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยรามคำแหงและกรมศิลปากร · ดูเพิ่มเติม »

กรุงเทพมหานคร

กรุงเทพมหานคร เป็นเมืองหลวงและนครที่มีประชากรมากที่สุดของประเทศไทย เป็นศูนย์กลางการปกครอง การศึกษา การคมนาคมขนส่ง การเงินการธนาคาร การพาณิชย์ การสื่อสาร และความเจริญของประเทศ เป็นเมืองที่มีชื่อยาวที่สุดในโลก ตั้งอยู่บนสามเหลี่ยมปากแม่น้ำเจ้าพระยา มีแม่น้ำเจ้าพระยาไหลผ่านและแบ่งเมืองออกเป็น 2 ฝั่ง คือ ฝั่งพระนครและฝั่งธนบุรี กรุงเทพมหานครมีพื้นที่ทั้งหมด 1,568.737 ตร.กม.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยรามคำแหงและกรุงเทพมหานคร · ดูเพิ่มเติม »

กวิยณัฎฐ์ แฮร์มันน์

กวิยณัฎฐ์ แฮร์มันน์ หรือชื่อเดิมว่า วัลเณซ่า พวง แฮร์มันน์ เมืองโคตร (Vanessa Poung Herrmann Muangkod, 17 กรกฎาคม พ.ศ. 2534) มีชื่อเล่นว่า ณฉัตร และเรียกแทนตัวเองว่า วัล มิสไทยแลนด์เวิลด์ ปี 2012 และเป็นตัวแทนสาวไทยในการประกวดมิสเวิลด์ปีเดียวกันนั้น ซึ่งจัดขึ้นในเขตปกครองตนเองมองโกเลียใน สาธารณรัฐประชาชนจีน.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยรามคำแหงและกวิยณัฎฐ์ แฮร์มันน์ · ดูเพิ่มเติม »

กิตติพัฒน์ สมานตระกูลชัย

ว กิตติพัฒน์ สมานตระกูลชัย เกิด 20 สิงหาคม 2536 เป็นนักแสดงวัยรุ่น โดยเริ่มมีการแสดงเรื่องแรกคือ มึงกู เพื่อนกันจนวันตาย ในบท อาร์ม แต่ยังไม่ค่อยเป็นที่รู้จัก จนมาแสดง ม.6/5 ปากหมาท้าผี ในบท บิว ทำให้มีชื่อเสียงตั้งแต่ตอนนั้นมา #ทุกคนอาจจะยังไม่รู้ว่าพี่บิวของเรามีน้องสาวที่ชื่อว่าบิ๊งเป็นน้องสาวสุดรักสุดหวงของบิวเลยก็ว่าได้แต่น้องบิ๊งยังไม่เคยเปิดตัวจริงให้ใครได้เห็นเลย น้องบิ๊งหรือในชื่อณัฐชลิตาถ้าใครอยากพบตัวจริงครั้งหน้าเราจะมาเล่าถึงประวัติตัวตนที่แท้จริงของน้องบิ๊งกัน นิสัยก็จะคล้ายๆกันไม่แตกต่างกันเลยและถ้าพูดถึงผลงานน้องบิ๊งของเราก็จะมาแสดงคู่กับพี่บิวพี่นิกพี่เจมส์และคนอื่นๆอีกในค่ายพระนครฟิล์มถ้าอยากเห็นตัวจริงทุกคนรองานเปิดตัวหนังใหม่ได้เลยทั้งหมดพวกเราขอฝากน้องบิ๊ง ณัฐชลิตาน้องใหม่ของพวกเราด้วยนะครั.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยรามคำแหงและกิตติพัฒน์ สมานตระกูลชัย · ดูเพิ่มเติม »

กิตติพงษ์ ปลื้มปรีดาพร

กิตติพงษ์ ปลื้มปรีดาพร ชื่อเล่น ปู้ หรือ ปู้ เดอะสตาร์ เกิดเมื่อวันที่ 25 พฤษภาคม พ.ศ. 2533 เป็นที่รู้จักจากการแข่งขันรายการ เดอะสตาร์ ค้นฟ้าคว้าดาว ปี 11 ได้รับตำแหน่งรองชนะเลิศอันดับ 6.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยรามคำแหงและกิตติพงษ์ ปลื้มปรีดาพร · ดูเพิ่มเติม »

กีฬามหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 1

กีฬามหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 1 จัดขึ้นระหว่างวันที่ 18 - 25 พฤศจิกายน พ.ศ. 2517 ณ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ จัดแข่งขันทั้งสิ้น 12 ชนิดกีฬา โดยมีนักศึกษาจาก 8 มหาวิทยาลัยเข้าร่วมแข่งขัน การแข่งขันครั้งนึ้ องค์การนักศึกษาร่วมกับชมรมกีฬาเป็นผู้ดำเนินการจัดการแข่งขัน งบประมาณได้จากการรวมทุนขององค์การนักศึกษา ส่วนระเบียบการแข่งขันใช้ของสมาคมกีฬาเป็นหลัก.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยรามคำแหงและกีฬามหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 1 · ดูเพิ่มเติม »

กีฬามหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 10

กีฬามหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 10 จัดการแข่งขันวันที่ 24 - 31 ตุลาคม พ.ศ. 2526 ณ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ จังหวัดชลบุรี โดยมีมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒเป็นเจ้าภาพจัดการแข่งขัน จัดการแข่งขัน 17 ชนิดกีฬา มีมหาวิทยาลัยเข้าร่วมแข่งขัน 13 มหาวิทยาลั.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยรามคำแหงและกีฬามหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 10 · ดูเพิ่มเติม »

กีฬามหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 11

กีฬามหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 11 จัดการแข่งขันวันที่ 24 - 31 ตุลาคม พ.ศ. 2527 ณ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย กรุงเทพมหานคร โดยมีจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยเป็นเจ้าภาพจัดการแข่งขัน จัดการแข่งขัน 18 ชนิดกีฬา มีมหาวิทยาลัยเข้าร่วมแข่งขัน 13 มหาวิทยาลัย การแข่งขันครั้งนี้คณะกรรมการกีฬามหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทยได้กำหนดคุณสมบัติของนักกีฬา ดังนี้.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยรามคำแหงและกีฬามหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 11 · ดูเพิ่มเติม »

กีฬามหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 12

กีฬามหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 12 จัดการแข่งขันวันที่ 24 - 31 ตุลาคม พ.ศ. 2528 ณ มหาวิทยาลัยขอนแก่น จังหวัดขอนแก่น โดยมีมหาวิทยาลัยขอนแก่นเป็นเจ้าภาพจัดการแข่งขัน จัดการแข่งขัน 19 ชนิดกีฬา มีมหาวิทยาลัยเข้าร่วมแข่งขัน 13 มหาวิทยาลั.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยรามคำแหงและกีฬามหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 12 · ดูเพิ่มเติม »

กีฬามหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 13

กีฬามหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 13 จัดการแข่งขันวันที่ 3 - 10 พฤศจิกายน พ.ศ. 2529 ณ มหาวิทยาลัยรามคำแหง กรุงเทพมหานคร โดยมีมหาวิทยาลัยรามคำแหงเป็นเจ้าภาพจัดการแข่งขัน จัดการแข่งขัน 19 ชนิดกีฬา มีมหาวิทยาลัยเข้าร่วมแข่งขัน 26 มหาวิทยาลัย มีนักกีฬาเข้าร่วมการแข่งขันจำนวน 4,292 คน ซึ่งสูงสุดนับตั้งแต่มีการแข่งขันมา การแข่งขันกีฬาในครั้งนี้ คณะกรรมการอำนวยการกีฬามหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทยมีนโยบายส่งเสริมให้สถาบันอุดมศึกษาเอกชนเข้าร่วมแข่งขันได้แต่ต้องเสียค่าสมัครเข้าร่วมการแข่งขัน.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยรามคำแหงและกีฬามหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 13 · ดูเพิ่มเติม »

กีฬามหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 14

กีฬามหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 14 จัดการแข่งขันวันที่ 27 ตุลาคม - 3 พฤศจิกายน พ.ศ. 2530 ณ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี โดยมีมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์เป็นเจ้าภาพจัดการแข่งขัน จัดการแข่งขัน 19 ชนิดกีฬา มีมหาวิทยาลัยเข้าร่วมแข่งขัน 27 มหาวิทยาลัย ในการแข่งขันครั้งนี้สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าได้แยกเป็น 3 สถาบัน คือ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี และสถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง และเข้าร่วมการแข่งขัน รวมทั้ง จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยได้เริ่มโครงงานพัฒนากีฬาชาติขึ้น โดยรับนักกีฬาทีมชาติเข้าศึกษาด้วยวิธีพิเศษเป็นมหาวิทยาลัยแรกและมีนักกีฬาในโครงการส่วนหนึ่งเข้าร่วมการแข่งขันครั้งนี้ นอกจากนี้ คณะกรรมการกีฬามหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทยยังได้ปรับปรุงแก้ไขข้อบังคับ ระเบียบ และการดำเนินการให้เหมาะสมและมีประสิทธิภาพครั้งสำคัญ โดยกำหนดให้นักกีฬาที่เข้าร่วมแข่งขัน ตั้งแต่ชั้นปีที่ 2 ต้องมีผลการเรียนในปีที่ผ่านมาไม่ต่ำกว่า 9 หน่วยกิต.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยรามคำแหงและกีฬามหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 14 · ดูเพิ่มเติม »

กีฬามหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 15

กีฬามหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 15 จัดการแข่งขันวันที่ 25 ตุลาคม - 1 พฤศจิกายน พ.ศ. 2531 ณ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ วิทยาเขตบางแสน โดยมีมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒเป็นเจ้าภาพจัดการแข่งขัน จัดการแข่งขัน 24 ชนิดกีฬา มีมหาวิทยาลัยเข้าร่วมแข่งขัน 31 มหาวิทยาลัย การแข่งขันในครั้งนี้คณะกรรมการกีฬามหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทยมีประกาศตัดสิทธิ์นักกีฬาที่ไม่ได้ปฏิบัติตามข้อบังคับเกี่ยวกับคุณสมบัตินักกีฬาและเอกสารการสมัครไม่ครบถ้วนตามกำหน.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยรามคำแหงและกีฬามหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 15 · ดูเพิ่มเติม »

กีฬามหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 16

กีฬามหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 16 จัดการแข่งขันวันที่ 17 - 24 ตุลาคม พ.ศ. 2532 ณ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ จังหวัดเชียงใหม่ โดยมีมหาวิทยาลัยเชียงใหม่เป็นเจ้าภาพจัดการแข่งขัน จัดการแข่งขัน 19 ชนิดกีฬา มีมหาวิทยาลัยเข้าร่วมแข่งขัน 34 มหาวิทยาลัย การแข่งขันในครั้งนี้คณะกรรมการกีฬามหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทยกำหนดให้นักกีฬาที่เข้าร่วมแข่งขัน ตั้งแต่ชั้นปีที่ 2 ต้องมีผลการเรียนในปีที่ผ่านมาไม่ต่ำกว่า 12 หน่วยกิต และเกิดปัญหาเกี่ยวกับคุณสมบัตินักกีฬามวยสากลสมัครเล่น จนทำให้ต้องนำไปทบทวน เพื่อปรับปรุงข้อบังคับและระเบียบใหม่อีกครั้ง.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยรามคำแหงและกีฬามหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 16 · ดูเพิ่มเติม »

กีฬามหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 17

กีฬามหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 17 จัดการแข่งขันวันที่ 20 - 27 ตุลาคม พ.ศ. 2533 ณ มหาวิทยาลัยขอนแก่น โดยมีมหาวิทยาลัยขอนแก่นเป็นเจ้าภาพจัดการแข่งขัน จัดการแข่งขัน 19 ชนิดกีฬา มีมหาวิทยาลัยเข้าร่วมแข่งขัน 33 มหาวิทยาลัย คณะกรรมการกีฬามหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทยมีมติให้มหาวิทยาลัยเอกชนสมัครเข้ามาเป็นสมาชิกได้เหมือนกับมหาวิทยาลัยของรัฐ ทำให้มีมหาวิทยาลัยสมัครเข้าร่วมการแข่งขันมากขึ้นกว่าเดิม โดยเฉพาะกีฬาประเภททีมต้องมีการแข่งขันรอบคัดเลือกเพื่อให้เหลือทีมตามจำนวนที่กำหนดในแต่ละชนิดกีฬ.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยรามคำแหงและกีฬามหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 17 · ดูเพิ่มเติม »

กีฬามหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 18

กีฬามหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 18 จัดการแข่งขันวันที่ 23 - 30 พฤศจิกายน พ.ศ. 2534 ณ มหาวิทยาลัยรามคำแหง กรุงเทพมหานคร โดยมีมหาวิทยาลัยรามคำแหงเป็นเจ้าภาพจัดการแข่งขัน จัดการแข่งขัน 20 ชนิดกีฬา มีมหาวิทยาลัยเข้าร่วมแข่งขัน 36 มหาวิทยาลัย โดยมหาวิทยาลัยนเรศวร มหาวิทยาลัยบูรพา และมหาวิทยาลัยอุบลราชธานีสมัครเข้าแข่งขันเป็นครั้งแรก การแข่งขันในครั้งนี้คณะอนุกรรมการเทคนิคกีฬาในคณะกรรมการบริหารกีฬามหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทยเริ่มนำระบบคอมพิวเตอร์มาใช้ในขั้นตอนการสมัคร และมีนักกีฬาจำนวนมาก ถูกตัดสิทธิ์ไม่ให้เข้าแข่งขัน เนื่องจากคุณสมบัติและเอกสารไม่คร.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยรามคำแหงและกีฬามหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 18 · ดูเพิ่มเติม »

กีฬามหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 19

กีฬามหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 19 จัดการแข่งขันวันที่ 8 - 15 มกราคม พ.ศ. 2535 ณ มหาวิทยาลัยมหิดล โดยมีมหาวิทยาลัยมหิดลเป็นเจ้าภาพจัดการแข่งขัน จัดการแข่งขัน 22 ชนิดกีฬา โดยจัดการแข่งขันกีฬากอล์ฟขึ้นเป็นครั้งแรก มีมหาวิทยาลัยเข้าร่วมแข่งขัน 36 มหาวิทยาลัย จำนวนนักกีฬา 5,636 คน การแข่งขันในครั้งนี้คณะอนุกรรมการเทคนิคกีฬาในคณะกรรมการบริหารมหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทยพิจารณารูปแบบจัดการแข่งขันขึ้นใหม่และให้กีฬาประเภททีมลดจำนวนลงเหลือ 12 - 16 ทีม โดยจัดการแข่งขันแบบลีกหรือใช้แบบโซน ซึ่งจะเริ่มใช้ในการแข่งขันกีฬามหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 20 และมีการทดลองจัดวอลเลย์บอลหญิงรอบคัดเลือกให้เหลือ 12 ทีม.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยรามคำแหงและกีฬามหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 19 · ดูเพิ่มเติม »

กีฬามหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 2

กีฬามหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 2 จัดการแข่งขันวันที่ 9 - 17 ธันวาคม พ.ศ. 2518 โดยมีจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เป็นเจ้าภาพจัดการแข่งขัน จัดการแข่งขัน 15 ชนิดกีฬา มีมหาวิทยาลัยเข้าร่วมแข่งขัน 12 มหาวิทยาลัย และปีแรกที่มหาวิทยาลัยรามคำแหงได้เริ่มเข้าร่วมการแข่งขัน การแข่งขันครั้งนี้มีการจัดตั้งคณะกรรมการบริหารกีฬามหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย โดยมีศาสตราจารย์ปัจจัย บุนนาค เป็นประธาน ผู้ช่วยศาสตราจารย์ จรินทร์ ธานีรัตน์ เป็นเลขาธิการ และผู้แทนจากสถาบันสมาชิกเป็นกรรมการ นอกจากนี้ ยังจัดตั้งคณะกรรมการร่างข้อบังคับคณะกรรมการกีฬามหาวิทยาลัยแห่งประเทศไท..

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยรามคำแหงและกีฬามหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 2 · ดูเพิ่มเติม »

กีฬามหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 20

กีฬามหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 20 จัดการแข่งขันวันที่ 8 - 15 มกราคม พ.ศ. 2536 ณ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ (วิทยาเขตบางเขน) กรุงเทพมหานคร โดยมีมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์เป็นเจ้าภาพจัดการแข่งขัน จัดการแข่งขัน 22 ชนิดกีฬา มีมหาวิทยาลัยเข้าร่วมแข่งขัน 36 มหาวิทยาลั.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยรามคำแหงและกีฬามหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 20 · ดูเพิ่มเติม »

กีฬามหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 21

กีฬามหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 21 หรือ จามจุรีเกมส์ จัดการแข่งขันวันที่ 19 - 26 พฤศจิกายน พ.ศ. 2537 ณ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย กรุงเทพมหานคร โดยมีจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยเป็นเจ้าภาพจัดการแข่งขัน จัดการแข่งขัน 23 ชนิดกีฬา มีมหาวิทยาลัยเข้าร่วมแข่งขัน 39 มหาวิทยาลั.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยรามคำแหงและกีฬามหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 21 · ดูเพิ่มเติม »

กีฬามหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 22

กีฬามหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 22 หรือ แม่โดมเกมส์ จัดการแข่งขันวันที่ 2- 9 ธันวาคม พ.ศ. 2538 ณ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์รังสิต จังหวัดปทุมธานี โดยมีมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์เป็นเจ้าภาพจัดการแข่งขัน จัดการแข่งขัน 23 ชนิดกีฬ.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยรามคำแหงและกีฬามหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 22 · ดูเพิ่มเติม »

กีฬามหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 23

กีฬามหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 23 หรือ แม่โจ้เกมส์ จัดการแข่งขันวันที่ 19 - 26 มกราคม พ.ศ. 2539 ณ สถาบันเทคโนโลยีเกษตรแม่โจ้ จังหวัดเชียงใหม่ โดยมีสถาบันเทคโนโลยีเกษตรแม่โจ้เป็นเจ้าภาพจัดการแข่งขัน จัดการแข่งขัน 15 ชนิดกีฬา มีมหาวิทยาลัยเข้าร่วมแข่งขัน 36 มหาวิทยาลั.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยรามคำแหงและกีฬามหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 23 · ดูเพิ่มเติม »

กีฬามหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 24

กีฬามหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 24 หรือ หัวหมากเกมส์ จัดการแข่งขันวันที่ 14 - 21 มกราคม พ.ศ. 2540 ณ มหาวิทยาลัยรามคำแหง กรุงเทพมหานคร โดยมีมหาวิทยาลัยรามคำแหงเป็นเจ้าภาพจัดการแข่งขัน จัดการแข่งขัน 21 ชนิดกีฬา มีมหาวิทยาลัยเข้าร่วมแข่งขัน 42 มหาวิทยาลัย และมีการชิงชัย 172 เหรียญทอง.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยรามคำแหงและกีฬามหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 24 · ดูเพิ่มเติม »

กีฬามหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 25

กีฬามหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 25 หรือ ศาลายาเกมส์ จัดการแข่งขันวันที่ 9 - 16 มกราคม พ.ศ. 2541 ณ มหาวิทยาลัยมหิดล วิทยาเขตศาลายา จังหวัดนครปฐม โดยมีมหาวิทยาลัยมหิดลเป็นเจ้าภาพจัดการแข่งขัน จัดการแข่งขัน 16 ชนิดกีฬา มีมหาวิทยาลัยเข้าร่วมแข่งขัน 41 มหาวิทยาลัย มีการชิงชัย 163 เหรียญทอง.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยรามคำแหงและกีฬามหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 25 · ดูเพิ่มเติม »

กีฬามหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 26

กีฬามหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 26 หรือ นนทรีเกมส์ จัดการแข่งขันวันที่ 29 มกราคม - 5 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2542 ณ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ จังหวัดนครปฐม โดยมีมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์เป็นเจ้าภาพจัดการแข่งขัน จัดการแข่งขัน 21 ชนิดกีฬา กีฬาสาธิต 2 ชนิดกีฬา มีมหาวิทยาลัยเข้าร่วมแข่งขัน 46 มหาวิทยาลั.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยรามคำแหงและกีฬามหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 26 · ดูเพิ่มเติม »

กีฬามหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 27

กีฬามหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 27 หรือ องครักษ์เกมส์ จัดการแข่งขันวันที่ 4- 10 ธันวาคม พ.ศ. 2543 ณ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ วิทยาเขตองครักษ์ จังหวัดนครนายก โดยมีมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒเป็นเจ้าภาพจัดการแข่งขัน จัดการแข่งขัน 18 ชนิดกีฬา มีมหาวิทยาลัยเข้าร่วมแข่งขัน 51 มหาวิทยาลัย มีการชิงชัยทั้งสิ้น 143 เหรียญทอง.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยรามคำแหงและกีฬามหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 27 · ดูเพิ่มเติม »

กีฬามหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 28

กีฬามหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 28 หรือ ณิวัฒนาเกมส์ จัดการแข่งขันวันที่ 7- 14 มกราคม พ.ศ. 2544 ณ มหาวิทยาลัยณิวัฒนา จังหวัดสุพรรณบุรี โดยมีมหาวิทยาลัยณิวัฒนาเป็นเจ้าภาพจัดการแข่งขัน จัดการแข่งขัน 18 ชนิดกีฬา กีฬาสาธิต 1 ชนิดกีฬา มีการชิงชัยทั้งสิ้น 186 เหรียญทอง.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยรามคำแหงและกีฬามหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 28 · ดูเพิ่มเติม »

กีฬามหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 29

กีฬามหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 29 หรือ แม่โดมเกมส์ จัดการแข่งขันวันที่ 9- 16 ธันวาคม พ.ศ. 2545 ณ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์รังสิต จังหวัดปทุมธานี โดยมีมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์เป็นเจ้าภาพจัดการแข่งขัน จัดการแข่งขัน 25 ชนิดกีฬา มีมหาวิทยาลัยเข้าร่วมการแข่งขัน 58 มหาวิทยาลัย มีการชิงชัยทั้งสิ้น 217 เหรียญทอง.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยรามคำแหงและกีฬามหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 29 · ดูเพิ่มเติม »

กีฬามหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 3

กีฬามหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 3 จัดการแข่งขันวันที่ 25 ธันวาคม พ.ศ. 2519 - 4 มกราคม พ.ศ. 2520 โดยมีมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์เป็นเจ้าภาพจัดการแข่งขัน จัดการแข่งขัน 12 ชนิดกีฬา มีมหาวิทยาลัยเข้าร่วมแข่งขัน 13 มหาวิทยาลั.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยรามคำแหงและกีฬามหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 3 · ดูเพิ่มเติม »

กีฬามหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 30

กีฬามหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 30 หรือ ศรีปทุมเกมส์ จัดการแข่งขันวันที่ 11- 18 มกราคม พ.ศ. 2546 ณ มหาวิทยาลัยศรีปทุม กรุงเทพมหานคร โดยมีมหาวิทยาลัยศรีปทุมเป็นเจ้าภาพจัดการแข่งขัน จัดการแข่งขัน 21 ชนิดกีฬา กีฬาสาธิต 1 ชนิดกีฬา คือ เรือพาย มีมหาวิทยาลัยเข้าร่วมการแข่งขัน 58 มหาวิทยาลัย มีการชิงชัยทั้งสิ้น 194 เหรียญทอง.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยรามคำแหงและกีฬามหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 30 · ดูเพิ่มเติม »

กีฬามหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 31

กีฬามหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 31 หรือ ทองกวาวเกมส์ จัดการแข่งขันวันที่ 10- 17 มกราคม พ.ศ. 2547 ณ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ จังหวัดเชียงใหม่ โดยมีมหาวิทยาลัยเชียงใหม่เป็นเจ้าภาพจัดการแข่งขัน.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยรามคำแหงและกีฬามหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 31 · ดูเพิ่มเติม »

กีฬามหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 32

กีฬามหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 32 หรือ สุรนารีเกมส์ จัดการแข่งขันวันที่ 8- 15 มกราคม พ.ศ. 2548 ณ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี จังหวัดนครราชสีมา โดยมีมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารีเป็นเจ้าภาพจัดการแข่งขัน.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยรามคำแหงและกีฬามหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 32 · ดูเพิ่มเติม »

กีฬามหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 33

กีฬามหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 33 หรือ ศาลายาเกมส์ จัดการแข่งขันวันที่ 23 -30 มกราคม 2549 ณ มหาวิทยาลัยมหิดล ศาลายา จังหวัดนครปฐม โดยมีมหาวิทยาลัยมหิดลเป็นเจ้าภาพจัดการแข่งขัน.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยรามคำแหงและกีฬามหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 33 · ดูเพิ่มเติม »

กีฬามหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 34

กีฬามหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 34 หรือ ราชพฤกษ์เกมส์ จัดการแข่งขันวันที่ 19 –26 มกราคม 2550 ณ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ องครักษ์ จังหวัดนครนายก โดยมีมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒเป็นเจ้าภาพจัดการแข่งขัน โดยจัดการแข่งขัน 25 ชนิดกีฬา มีมหาวิทยาลัยเข้าร่วมการแข่งขัน 115 มหาวิทยาลัย มีการชิงชัยทั้งสิ้น 255 เหรียญทอง 255 เหรียญเงิน 323 เหรียญทองแดง และมีคำขวัญว่า "กีฬาสีเขียวเพื่อคุณภาพชีวิต สติปัญญา วิชาการ และกัลยาณมิตร" การแข่งขันในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อเฉลิมฉลองในวโรกาสอันเป็นมิ่งมหามงคลยิ่งที่พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชฉลองสิริราชสมบัติครบ 60 ปี 9 มิถุนายน 2549 และพระราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา 80 พรรษา 5 ธันวาคม 2550.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยรามคำแหงและกีฬามหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 34 · ดูเพิ่มเติม »

กีฬามหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 35

กีฬามหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 35 หรือ วลัยลักษณ์เกมส์ จัดแข่งขันระหว่างวันที่ 7 - 14 มกราคม..

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยรามคำแหงและกีฬามหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 35 · ดูเพิ่มเติม »

กีฬามหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 36

กีฬามหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 36 หรือ "หัวหมากเกมส์" จัดขึ้นวันที่ 11-18 มกราคม 2552 ณ มหาวิทยาลัยรามคำแหง.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยรามคำแหงและกีฬามหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 36 · ดูเพิ่มเติม »

กีฬามหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 37

กีฬามหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 37 หรือ แม่โดมเกมส์ เป็นการแข่งกีฬาของนิสิตนักศึกษาในระดับอุดมศึกษา โดยในครั้งนี้มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์เป็นเจ้าภาพในการจัดการแข่งขัน โดยจะจัดการแข่งขันขึ้นในระหว่างวันที่ 22 - 30 มกราคม พ.ศ. 2553 ณ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์รังสิต ซึ่งมีสถาบันอุดมศึกษาจำนวน 111 แห่งเข้าร่วมแข่งขันใน 25 ชนิดกีฬา จำนวน 262 เหรียญทอง นอกจากนี้ ยังมีกีฬาสาธิตอีก 2 ชนิดกีฬา ได้แก่ กีฬาวีลแชร์และว่ายน้ำด้วยตีนกบ เพื่อแสดงให้เห็นว่านักศึกษาพิการมีความสามารถและมีส่วนร่วมในกิจกรรมต่าง ๆ ของมหาวิทยาลัยได้เท่าเทียมกับนักศึกษาทั่วไป สำหรับตราสัญลักษณ์ในการแม่โดมเกมส์ออกแบบเป็นรูปตึกโดมอันเกิดจากรูปคนสีเหลืองและคนสีแดงหันหน้าเข้าหากันแล้วชูธงชาติไทย โดยใช้คำขวัญว่า "Sports for Unity - We all are Thai" หรือ "สามัคคีที่แดนโดม" ส่วนสัญลักษณ์นำโชคนั้น คือ นกปรีดีชูคบเพลิงที่เปลวไฟเป็นรูป ๗๕ อันสื่อความหมายถึง การเฉลิมฉลองในโอกาสครบรอบ 75 ปี แห่งการสถาปนามหาวิทยาลัยธรรมศาสตร.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยรามคำแหงและกีฬามหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 37 · ดูเพิ่มเติม »

กีฬามหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 38

กีฬามหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 38 หรือ จามจุรีเกมส์ 38 เป็นการแข่งขันกีฬาระหว่างเหล่านิสิตนักศึกษาระดับอุดมศึกษาในประเทศไทย จัดขึ้น ณ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ระหว่างวันที่ 15 - 24 มกราคม..

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยรามคำแหงและกีฬามหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 38 · ดูเพิ่มเติม »

กีฬามหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 39

กีฬามหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 39 เป็นการแข่งกีฬาของนิสิตนักศึกษาในระดับอุดมศึกษาในประเทศไทย จัดการแข่งขันระหว่างวันที่ 1-11 พฤษภาคม..

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยรามคำแหงและกีฬามหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 39 · ดูเพิ่มเติม »

กีฬามหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 4

กีฬามหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 4 จัดการแข่งขันวันที่ 27 ธันวาคม พ.ศ. 2520 - 4 มกราคม พ.ศ. 2521 โดยมีมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ วิทยาเขตพลศึกษาเป็นเจ้าภาพจัดการแข่งขัน จัดการแข่งขัน 13 ชนิดกีฬา มีมหาวิทยาลัยเข้าร่วมแข่งขัน 11 มหาวิทยาลั.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยรามคำแหงและกีฬามหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 4 · ดูเพิ่มเติม »

กีฬามหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 40

กีฬามหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 40 หรือ "พลบดีเกมส์" จัดขึ้นระหว่างวันที่ 10-19 มกราคม..

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยรามคำแหงและกีฬามหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 40 · ดูเพิ่มเติม »

กีฬามหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 41

กีฬามหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 41 โดยมีมหาวิทยาลัยขอนแก่นเป็นเจ้าภาพจัดการแข่งขัน หลังจากที่เคยเป็นเจ้าภาพมาแล้ว 2 ครั้ง คือ ครั้งที่ 12 (พ.ศ. 2527) และ ครั้งที่ 17 (พ.ศ. 2532) หลังจากนั้นก็ไม่ได้เป็นเจ้าภาพอีกเลย แต่มหาวิทยาลัยขอนแก่นได้เสนอชื่อ เพื่อชิงเป็นเจ้าภาพกีฬามหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 41 หลังจากที่ไม่ได้เป็นเจ้าภาพนานกว่า 25 ปี.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยรามคำแหงและกีฬามหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 41 · ดูเพิ่มเติม »

กีฬามหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 42

กีฬามหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 42 หรือ นนทรีเกมส์ จัดที่จังหวัดนครปฐม โดยมีมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์เป็นเจ้าภาพจัดการแข่งขันเพื่อเฉลิมฉลองวาระที่มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ครบรอบ 72 ปี ระหว่างวันที่ 15 - 24 มกราคม..

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยรามคำแหงและกีฬามหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 42 · ดูเพิ่มเติม »

กีฬามหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 43

กีฬามหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 43 หรือ "กันเกราเกมส์" จัดที่จังหวัดอุบลราชธานี โดยมีมหาวิทยาลัยอุบลราชธานีเป็นเจ้าภาพจัดการแข่งขัน ระหว่างวันที่ 9–18 มกราคม..

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยรามคำแหงและกีฬามหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 43 · ดูเพิ่มเติม »

กีฬามหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 44

กีฬามหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 44 หรือ สุรนารีเกมส์ 44 เป็นการแข่งกีฬาของนิสิตนักศึกษาในระดับอุดมศึกษาในประเทศไทย จัดการแข่งขันระหว่างวันที่ 21 กุมภาพันธ์-2 มีนาคม..

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยรามคำแหงและกีฬามหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 44 · ดูเพิ่มเติม »

กีฬามหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 45

กีฬามหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 45 หรือ ราชมงคลธัญบุรีเกมส์ โดยมีมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี เป็นเจ้าภาพจัดการแข่งขัน พร้อมทั้งมีมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ และมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ร่วมเป็นเจ้าภาพด้วย กำหนดการจัดการแข่งขัน ระหว่างวันที่ 22–31 มกราคม..

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยรามคำแหงและกีฬามหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 45 · ดูเพิ่มเติม »

กีฬามหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 5

กีฬามหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 5 จัดการแข่งขันวันที่ 22 - 28 มกราคม พ.ศ. 2521 โดยมีมหาวิทยาลัยในกรุงเทพมหานคร 8 แห่งเป็นเจ้าภาพจัดการแข่งขัน จัดการแข่งขัน 13 ชนิดกีฬา มีมหาวิทยาลัยเข้าร่วมแข่งขัน 13 มหาวิทยาลัย โดยสถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้า (ขณะนั้นรวมเป็นสถาบันเดียวกัน) เข้าร่วมการแข่งขันเป็นครั้งแรก การแข่งขันในครั้งนี้คณะกรรมการกีฬามหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทยได้เริ่มเข้ามามีบทบาทในจัดการแข่งขันโดยเริ่มดำเนินการเกี่ยวกับระเบียบการแข่งขันแต่ละชน.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยรามคำแหงและกีฬามหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 5 · ดูเพิ่มเติม »

กีฬามหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 6

กีฬามหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 6 จัดการแข่งขันวันที่ 29 ธันวาคม พ.ศ. 2522 - 6 มกราคม พ.ศ. 2523 โดยมีมหาวิทยาลัยในกรุงเทพมหานคร 4 แห่งเป็นเจ้าภาพจัดการแข่งขัน จัดการแข่งขัน 18 ชนิดกีฬา มีมหาวิทยาลัยเข้าร่วมแข่งขัน 13 มหาวิทยาลัย การแข่งขันในครั้งนี้คณะกรรมการกีฬามหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทยกำหนดให้นักกีฬาแต่ละคนมีสิทธิ์เข้าแข่งขันชิงเหรียญทองได้ไม่เกิน 3 เหรียญ เพราะต้องการให้นิสิตนักศึกษาเข้าร่วมการแข่งขันได้มากขึ้น.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยรามคำแหงและกีฬามหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 6 · ดูเพิ่มเติม »

กีฬามหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 7

กีฬามหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 7 จัดการแข่งขันวันที่ 9 - 16 ธันวาคม พ.ศ. 2523 โดยมีมหาวิทยาลัยในกรุงเทพมหานคร 5 แห่งเป็นเจ้าภาพจัดการแข่งขัน จัดการแข่งขัน 19 ชนิดกีฬา มีมหาวิทยาลัยเข้าร่วมแข่งขัน 13 มหาวิทยาลั.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยรามคำแหงและกีฬามหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 7 · ดูเพิ่มเติม »

กีฬามหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 8

กีฬามหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 8 จัดการแข่งขันวันที่ 25 ตุลาคม - 1 พฤศจิกายน พ.ศ. 2524 โดยมีมหาวิทยาลัยเชียงใหม่เป็นเจ้าภาพจัดการแข่งขัน จัดการแข่งขัน 19 ชนิดกีฬา มีมหาวิทยาลัยเข้าร่วมแข่งขัน 13 มหาวิทยาลัย การแข่งขันในครั้งนี้คณะกรรมการกีฬามหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทยกำหนดให้จัดการแข่งขันในช่วง 2 สัปดาห์สุดท้ายของเดือนตุลาคม เพราะมหาวิทยาลัยส่วนใหญ่ปิดภาคการศึกษาทำให้ลดปัญหาในเรื่องการจัดที่พักให้กับนักกีฬาที่เข้าร่วมการแข่งขัน นอกจากนี้ ยังเป็นครั้งแรกที่ทบวงมหาวิทยาลัยให้การสนับสนุนในด้านงบประมาณจัดการแข่งขัน การเดินทาง เบี้ยเลี้ยงนักกีฬาและเจ้าหน้าที่ โดยใช้งบประมาณกิจกรรมนักศึกษาที่ได้รับการสนับสนุนจากรัฐบาล.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยรามคำแหงและกีฬามหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 8 · ดูเพิ่มเติม »

กีฬามหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 9

กีฬามหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 9 จัดการแข่งขันวันที่ 24 - 31 ตุลาคม พ.ศ. 2525 โดยมีมหาวิทยาลัยในกรุงเทพมหานคร 5 แห่งเป็นเจ้าภาพจัดการแข่งขัน จัดการแข่งขัน 19 ชนิดกีฬา มีมหาวิทยาลัยเข้าร่วมแข่งขัน 13 มหาวิทยาลั.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยรามคำแหงและกีฬามหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 9 · ดูเพิ่มเติม »

ฐากูร การทิพย์

กูร การทิพย์ หรือ ป๊อป เป็น นักแสดง นักร้อง และ นายแบบ ชาวไทย เป็นนักแสดงกลุ่มเพาวเวอร์ทรี สังกัด สถานีโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 3 แจ้งเกิดจากเวทีประกวดร้องเพลง "เดอะซิงเกอร์" (The Singer) ครั้งที่ 1 ด้วยการผ่านเข้ารอบ 10 คนสุดท้าย และผลงานที่ทำให้เป็นที่รู้จักคือ "ชลนที" ในละคร รักนี้หัวใจมีครี.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยรามคำแหงและฐากูร การทิพย์ · ดูเพิ่มเติม »

ฐิภารินทร์ ยอดธนาสวัสดิ์

รินทร์ ยอดธนาสวัสดิ์ หรือ กล้วย เดอะซิงเกอร์ เป็นนักแสดงสังกัดสถานีวิทยุโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 3 ภายหลังมีผลงานเพลงโดยใช้ชื่อในวงการเพลงว่า กล้วย คลองหอยโข่ง.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยรามคำแหงและฐิภารินทร์ ยอดธนาสวัสดิ์ · ดูเพิ่มเติม »

ฝนทิพย์ วัชรตระกูล

ฝนทิพย์ วัชรตระกูล (ปุ๊กลุก) เป็นมิสไทยแลนด์ยูนิเวิร..

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยรามคำแหงและฝนทิพย์ วัชรตระกูล · ดูเพิ่มเติม »

ภรภัสสรณ์ ชัยอนันต์นิธิ

รภัสสรณ์ ชัยอนันต์นิธิ (ชื่อเล่น: ไอซ์) เป็นนักร้องไทย ได้รับรางวัลชนะเลิศรายการ ทรู อะคาเดมี่ แฟนเทเชีย ซีซั่นที่ 9.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยรามคำแหงและภรภัสสรณ์ ชัยอนันต์นิธิ · ดูเพิ่มเติม »

ภราดร ศรีชาพันธุ์

ราดร ศรีชาพันธุ์ (ชื่อเล่น บอล, เกิด 14 มิถุนายน พ.ศ. 2522) ฉายา "ซูเปอร์บอล" เป็นนักเทนนิสชาวไทย และเป็นอดีตนักเทนนิสชายชาวเอเชียที่มีอันดับสูงที่สุดในประวัติศาสตร์ด้วยอันดับ 9 ของโลกในปี พ.ศ. 2546 ภราดรเริ่มเล่นในระดับอาชีพเมื่อปี พ.ศ. 2540 และในรายการเอทีพี ปี พ.ศ. 2541 โดยจบปีด้วยอันดับท้ายๆ ของมือวางร้อยอันดับแรกของเอทีพีมาหลายปี จนกระทั่งปี พ.ศ. 2545 สามารถเป็นขึ้นมือวาง 30 อันดับแรก ภายหลังจากสามารถเอาชนะ อังเดร อากัสซี ในรายการวิมเบิลดัน และขึ้นเป็นอันดับ 9 ของโลกในปี 2546.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยรามคำแหงและภราดร ศรีชาพันธุ์ · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาไทย

ษาไทย เป็นภาษาราชการของประเทศไทย ภาษาไทยเป็นภาษาในกลุ่มภาษาไท ซึ่งเป็นกลุ่มย่อยของตระกูลภาษาไท-กะได สันนิษฐานว่า ภาษาในตระกูลนี้มีถิ่นกำเนิดจากทางตอนใต้ของประเทศจีน และนักภาษาศาสตร์บางส่วนเสนอว่า ภาษาไทยน่าจะมีความเชื่อมโยงกับตระกูลภาษาออสโตร-เอเชียติก ตระกูลภาษาออสโตรนีเซียน และตระกูลภาษาจีน-ทิเบต ภาษาไทยเป็นภาษาที่มีระดับเสียงของคำแน่นอนหรือวรรณยุกต์เช่นเดียวกับภาษาจีน และออกเสียงแยกคำต่อคำ.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยรามคำแหงและภาษาไทย · ดูเพิ่มเติม »

ภูวดล เวชวงศา

มข์ ภูวดล เวชวงศา เกิด 5 กันยายน 2535 เป็นนักแสดงวัยรุ่นที่โด่งดังมาจากภาพยนตร์ ม.6/5 และมีผลงานละครครั้งแรกของเขาเรื่อง รักออกฤทธิ์ คู่กับ อารดา อารยวุฒิ ทางช่อง3 และจากนั้นก็มีผลงานมาเรื่อยๆจนถึงปัจจุบัน.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยรามคำแหงและภูวดล เวชวงศา · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิทยาลัย

มหาวิทยาลัย (University) หมายถึง สถานศึกษาที่จัดการศึกษาระดับอุดมศึกษาทั้งในด้านวิชาการและวิชาชีพชั้นสูงหลากหลายสาขาวิชา เพื่อให้ประกาศนียบัตร อนุปริญญา หรือปริญญา แก่ผู้สำเร็จการศึกษาในหลายระดับรวมถึง ปริญญาตรี ปริญญาโท และปริญญาเอก รวมทั้งการทำการวิจัยและให้บริการทางวิชาการแก่สังคม.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยรามคำแหงและมหาวิทยาลัย · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิทยาลัยรามคำแหง สาขาวิทยบริการเฉลิมพระเกียรติ จังหวัดชัยภูมิ

มหาวิทยาลัยรารามคำแหง สาขาวิทยบริการฯ จังหวัดชัยภูมิ (Ramkhamheangh Univrsity Chaiyaphum Campus in Honour of His Majesty The King) เป็นสาขามหาวิทยาลัยแต่ไม่เทียบเท่าวิทยาเขต ให้บริการการศึกษาในส่วนภูมิภาคของมหาวิทยาลัยรามคำแหง จัดการเรียนการสอนในระดับปริญญาตรี และบัณฑิตศึกษา (ปริญญาโท) เพื่อเป็นการขยายโอกาสในการศึกษาระดับอุดมศึกษาในส่วนภูมิภาค ปัจจุบัน ตั้งอยู่ที่ ตำบลโคกเริงรมย์ อำเภอบำเหน็จณรงค์ จังหวัดชัยภูม.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยรามคำแหงและมหาวิทยาลัยรามคำแหง สาขาวิทยบริการเฉลิมพระเกียรติ จังหวัดชัยภูมิ · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิทยาลัยรามคำแหง สาขาวิทยบริการเฉลิมพระเกียรติ จังหวัดลพบุรี

มหาวิทยาลัยรามคำแหง สาขาวิทยบริการเฉลิมพระเกียรติ จังหวัดลพบุรี เป็นสาขามหาวิทยาลัยแต่ไม่เทียบเท่าวิทยาเขตของ มหาวิทยาลัยรามคำแหง ที่ตั้งอยู่ใน อำเภอเมือง จังหวัดลพบุรี.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยรามคำแหงและมหาวิทยาลัยรามคำแหง สาขาวิทยบริการเฉลิมพระเกียรติ จังหวัดลพบุรี · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิทยาลัยรามคำแหง สาขาวิทยบริการเฉลิมพระเกียรติ จังหวัดอุดรธานี

มหาวิทยาลัยรามคำแหง สาขาวิทยาบริการเฉลิมพระเกียรติ จังหวัดอุดรธานี (อังกฤษ: Ramkhamhaeng University Udon Thani Campus in Honour of His Majesty The King) เป็นสาขามหาวิทยาลัยแต่ไม่เทียบเท่าวิทยาเขต ให้บริการการศึกษาในส่วนภูมิภาคของมหาวิทยาลัยรามคำแหง.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยรามคำแหงและมหาวิทยาลัยรามคำแหง สาขาวิทยบริการเฉลิมพระเกียรติ จังหวัดอุดรธานี · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิทยาลัยรามคำแหง สาขาวิทยบริการเฉลิมพระเกียรติ จังหวัดขอนแก่น

มหาวิทยาลัยรามคำแหง สาขาวิทยาบริการเฉลิมพระเกียรติ จังหวัดขอนแก่น (อังกฤษ:Ramkhamhaeng University KhonKaen Campus in Honour of His Majesty The King) เป็นสาขาวิทยบริการ(แต่ไม่เทียบเท่าวิทยาเขต) ให้บริการการศึกษาในส่วนภูมิภาคของมหาวิทยาลัยรามคำแหง.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยรามคำแหงและมหาวิทยาลัยรามคำแหง สาขาวิทยบริการเฉลิมพระเกียรติ จังหวัดขอนแก่น · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิทยาลัยรามคำแหง สาขาวิทยบริการเฉลิมพระเกียรติ จังหวัดเพชรบูรณ์

มหาวิทยาลัยรารามคำแหง สาขาวิทยบริการเฉลิมพระเกียรติ จังหวัดเพชรบูรณ์ (Ramkhamheangh Univrsity Phetchabun Campus in Honour of His Majesty The King) เป็นสาขามหาวิทยาลัยแต่ไม่เทียบเท่าวิทยาเขต ให้บริการการศึกษาในส่วนภูมิภาคของมหาวิทยาลัยรามคำแหง จัดการเรียนการสอนในระดับปริญญาตรี ปริญญาโท และปริญญาเอก เพื่อเป็นการขยายโอกาสในการศึกษาระดับอุดมศึกษาในส่วนภูมิภาค ปัจจุบัน ตั้งอยู่ที่ตำบลฝายนาแซง อำเภอหล่มสัก จังหวัดเพชรบูรณ.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยรามคำแหงและมหาวิทยาลัยรามคำแหง สาขาวิทยบริการเฉลิมพระเกียรติ จังหวัดเพชรบูรณ์ · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช

มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช (ื่อย่อ: ม., STOU) เป็นสถาบันอุดมศึกษาของรัฐแบบไม่จำกัดรับจำนวน (มหาวิทยาลัยเปิด) แห่งเดียวของประเทศไทย และเป็นมหาวิทยาลัยเปิดโดยใช้ระบบการศึกษาทางไกลแห่งเดียวในประเทศไทย มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชจัดตั้งขึ้นเพื่อขยายและกระจายโอกาสทางการศึกษาระดับอุดมศึกษาแก่ประชาชน มีลักษณะเป็นมหาวิทยาลัยในระบบเปิด ดำเนินการดำเนินการสอนโดยใช้ระบบการสอนทางไกลซึ่งพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานชื่อ "มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช" ตามพระนามกรมของพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว เมื่อครั้งทรงดำรงพระอิสริยยศเป็นกรมหลวงสุโขทัยธรรมราชา และพระราชทานพระบรมราชานุญาตให้ใช้พระราชลัญจกรในรัชกาลที่ 7 ซึ่งเป็นรูปพระแสงศรสามองค์ นำมาประกอบกับเจดีย์ทรงพุ่มข้าวบิณฑ์ซึ่งเป็นสัญลักษณ์ของ กรุงสุโขทัย เป็นตราประจำมหาวิทยาลัย เมื่อวันที่ 5 กันยายน พ.ศ. 2521 พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชได้ทรงลงพระปรมาภิไธยใน พระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช พุทธศักราช 2521 มหาวิทยาลัยจึงกำหนดวันที่ 5 กันยายน ของทุกปีเป็นวันคล้ายวันสถาปนามหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชจัดการเรียนการสอนในระดับปริญญาตรีแบบมหาวิทยาลัยเปิดโดยรับนักศึกษาไม่จำกัดจำนวน ปัจจุบันมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชเปิดการศึกษาถึงระดับดุษฎีบัณฑิตในบางสาขาวิชา โดยมีการสอบคัดเลือกเพื่อเข้าศึกษาเหมือนมหาวิทยาลัยปิดทั่วไป มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชไม่มีชั้นเรียนตามปกติเหมือนมหาวิทยาลัยทั่วไป แต่ดำเนินการสอนโดยใช้ระบบการสอนทางไกล ซึ่งจัดการเรียนการสอนโดยเน้นให้นักศึกษาเรียนรู้ด้วยตนเองจากเอกสารชุดวิชาจากสื่อสารสนเทศต่าง ๆ ที่ทางมหาวิทยาลัยจัดไว้ให้นักศึกษา เช่น สื่อสิ่งพิมพ์ สื่ออิเล็กทรอนิกส์และสื่อต่าง ๆ เป็นต้น ผู้ที่จบการศึกษาจากมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชในอดีต ได้รับพระมหากรุณาธิคุณให้เข้ารับพระราชทานปริญญาบัตรจากพระหัตถ์พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช แต่ในปัจจุบันสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร เสด็จพระราชดำเนินปฏิบัติพระราชกรณียกิจในการพระราชทานปริญญาบัตรแก่บัณฑิต จากมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชจนถึงปัจจุบัน ภายหลัง รัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2557 คณะรักษาความสงบแห่งชาติ ได้ออกประกาศที่ 1/2560 เข้าควบคุมมหาวิทยาลั.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยรามคำแหงและมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (Thammasat University) หรือเรียกโดยย่อว่า ม. (TU) เป็นมหาวิทยาลัยแห่งที่สองของประเทศไทย ก่อตั้งในชื่อ "มหาวิทยาลัยวิชาธรรมศาสตร์และการเมือง" หรือ "ม..ก." (The University of Moral and Political Sciences หรือ UMPS) เมื่อวันที่ 27 มิถุนายน..

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยรามคำแหงและมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ · ดูเพิ่มเติม »

มิกค์ ทองระย้า

มิกค์ ทองระย้า เป็นนักแสดงชาวไทยสังกัดสถานีโทรทัศน์สีกองทัพบกช่อง 7.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยรามคำแหงและมิกค์ ทองระย้า · ดูเพิ่มเติม »

มิสแกรนด์ไทยแลนด์ 2016

มิสแกรนด์ไทยแลนด์ 2016 (Miss Grand Thailand 2016) เป็นการประกวดมิสแกรนด์ไทยแลนด์ครั้งที่ 4 เก็บตัวการประกวดที่จังหวัดอุดรธานี ระหว่างวันที่ 14-20 มิถุนายน..

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยรามคำแหงและมิสแกรนด์ไทยแลนด์ 2016 · ดูเพิ่มเติม »

มณีรัตน์ คำอ้วน

มณีรัตน์ คำอ้วน (ชื่อเล่น: เอ๋; 11 พฤศจิกายน พ.ศ. 2528 —) เป็นนักแสดงลูกครึ่งไทย-บังกลาเทศซึ่งเกิดและโตในประเทศไทย มีชื่อเสียงจากผลงานภาพยนตร์เรื่อง เพื่อนสนิท รับบท "นุ้ย" และจากซิทคอมเรื่อง เทวดาสาธุ รับบท "พลอยใส".

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยรามคำแหงและมณีรัตน์ คำอ้วน · ดูเพิ่มเติม »

มนุษยศาสตร์

นักปรัชญาเพลโต มนุษยศาสตร์ (humanities) เป็นกลุ่มของสาขาวิชาที่เกี่ยวกับการศึกษาสภาวะแห่งมนุษย์โดยส่วนใหญ่ใช้กรรมวิธีเชิงวิเคราะห์, วิจารณญาณ หรือการคาดการณ์ซึ่งแตกต่างจากการเข้าสู่ปัญหาด้วยกรรมวิธีเชิงประจักษ์ด้วยธรรมชาติ, สังคมศาสตร์ โดยธรรมเนียมทั่วไปมนุษยศาสตร์รวมถึงสาขาวิชาภาษาศาสตร์โบราณและภาษาศาสตร์สมัยใหม่, วรรณคดี ประวัติศาสตร์ ปรัชญา ศาสนา ทัศนศิลป์ ศิลปะการแสดง และดนตรี บางครั้งมีการรวมเอาสาขาวิชาอื่นเพิ่มเข้าไปด้วย ได้แก่ มานุษยวิทยา ภูมิภาคศึกษา การสื่อสารและวัฒนธรรมศึกษา แม้ว่าสาขาวิชาเหล่านี้มักถูกจัดไว้ในสาขาสังคมศาสตร์ นักวิชาการที่อยู่ในสายของสาขาวิชานี้ บางครั้งอาจเรียกตนเองว่าเป็น "นักมนุษยนิยม" อย่างไรก็ตามคำดังกล่าวก็ได้ใช้เรียกนักปรัชญาสาขามนุษยนิยมแต่ก็ยังไม่เป็นที่ยอมรั.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยรามคำแหงและมนุษยศาสตร์ · ดูเพิ่มเติม »

รัฐมนตรี

รัฐมนตรี คือผู้เป็นสมาชิกของคณะรัฐมนตรี รับผิดชอบร่วมกับคณะรัฐมนตรีในนโยบายทั่วไปของรัฐบาลในการบริหารราชการแผ่นดิน, ถ้าเป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงหรือทบวง ก็เป็นผู้บังคับบัญชาสูงสุดในกระทรวงหรือทบวงที่ตนว่าการและรับผิดชอบในการบริหารราชการกระทรวงหรือทบวงนั้นด้วยอีกฐานะหนึ่ง ในอดีต รัฐมนตรี เป็นที่ปรึกษาราชการบ้านเมืองในสมัยสมบูรณาญาสิทธิร.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยรามคำแหงและรัฐมนตรี · ดูเพิ่มเติม »

รัฐศาสตร์

รัฐศาสตร์ (political science) เป็นสาขาวิชาที่เกิดขึ้นในราวศตวรรษที่ 19 ซึ่งนักรัฐศาสตร์ยุคแรกนั้นพัฒนากระบวนวิชาขึ้นมาให้สอดคล้องกับแนวนิยมทางวิทยาศาสตร์ สารานุกรมบริทานิกา คอนไซส์ (Britanica Concise Encyclopedia) อธิบายรัฐศาสตร์ว่า เป็นการศึกษาเกี่ยวกับการปกครองและการเมืองด้วยแนวทางประจักษ์นิยม (empiricism) นักรัฐศาสตร์คือนักวิทยาศาสตร์ที่พยายามแสวงหา และทำความเข้าใจธรรมชาติของการเมือง ส่วนพจนานุกรมการเมืองของออกซ์ฟอร์ด (Oxford Dictionary of Politics) นิยามว่า รัฐศาสตร์เป็นการศึกษาเรื่องรัฐ รัฐบาล/การปกครอง (government) หรือการเมือง กล่าวอย่างรวบรัดรัฐศาสตร์เป็นวิชาในสายสังคมศาสตร์ สาขาหนึ่งซึ่งแบ่งการศึกษาออกเป็นสาขาต่างๆ อาทิ ปรัชญาการเมือง ประวัติศาสตร์การเมือง ประวัติศาสตร์ความคิดทางการเมือง ทฤษฎีการเมือง อุดมการณ์ทางการเมือง การบริหารรัฐกิจ หรือการบริหารจัดการสาธารณะ หรือ รัฐประศาสนศาสตร์ การเมืองเปรียบเทียบ (comparative politics), การพัฒนาการเมือง, สถาบันทางการเมือง, การเมืองระหว่างประเทศ การปกครองและการบริหารรัฐ (national politics), การเมืองการปกครองท้องถิ่น (local politics) เป็นต้น ซึ่งสาขาต่างๆเหล่านี้อาจแปรเปลี่ยนไปตามแต่ละสถาบันว่าจะจัดการเรียนการสอนอย่างไร อย่างไรก็ตามหากจะเรียกว่าการจัดกระบวนวิชาใดนั้นเป็นรัฐศาสตร์หรือไม่ ก็ขึ้นกับว่าการจัดการเรียนการสอนดังกล่าวใช้มโนทัศน์ "การเมือง" เป็นมโนทัศน์หลัก (crucial concept/key concept) หรือไม่ แต่โดยจารีตของกระบวนวิชา(scholar) นั้นรัฐศาสตร์ จะมีสาขาย่อยที่เป็นหลักอย่างน้อย 3 สาขาคือ สาขาการปกครอง (government), สาขาการบริหารกิจการสาธารณะ (public administration) และความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ(international relation).

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยรามคำแหงและรัฐศาสตร์ · ดูเพิ่มเติม »

รัตนโกสินทร์ (แก้ความกำกวม)

รัตนโกสินทร์ อาจจะหมายถึง.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยรามคำแหงและรัตนโกสินทร์ (แก้ความกำกวม) · ดูเพิ่มเติม »

ราชินีนาถ

ราชินีนาถ อาจหมายถึง.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยรามคำแหงและราชินีนาถ · ดูเพิ่มเติม »

รณภพ รากะรินทร์

รณภพ รากะรินทร์ (เกิด: 27 มิถุนายน พ.ศ. 2529) เคยเป็นผู้ประกาศข่าวสำนักข่าวไทย ทางสถานีโทรทัศน์โมเดิร์นไนน์ นายแบบนิตยสาร พิธีกรรายการโทรทัศน์หรือกิจกรรมต่างๆ และอดีตนักร้อง จบการศึกษาระดับปริญญาตรีจากคณะศึกษาศาสตร์ (จิตวิทยา) มหาวิทยาลัยศิลปากร และคณะมนุษยศาสตร์ (สื่อสารมวลชน) มหาวิทยาลัยรามคำแหง.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยรามคำแหงและรณภพ รากะรินทร์ · ดูเพิ่มเติม »

ลีนา จังจรรจา

ลีนา จังจรรจา เป็นที่รู้จักในชื่อ ลีน่าจัง (เกิด 14 กันยายน พ.ศ. 2502) เป็นอดีตหัวหน้าพรรคมหาประชาชน เคยลงสมัครรับเลือกตั้งเป็นผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครในปี 2547, 2551 และ 2552 นอกจากนี้ ยังเปิดร้านขายเครื่องสำอาง "ไฮโซไซตี้" ที่ประตูน้ำเซ็นเตอร์ และประกอบอาชีพทนายความ.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยรามคำแหงและลีนา จังจรรจา · ดูเพิ่มเติม »

วราวุธ โพธิ์ยิ้ม

วราวุธ โพธิ์ยิ้ม (ชื่อเล่น: ตั้ม เกิดเมื่อวันที่ 14 ธันวาคม พ.ศ. 2536) เป็นผู้ชนะจากการประกวดเดอะสตาร์ ค้นฟ้าคว้าดาว ปี 9.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยรามคำแหงและวราวุธ โพธิ์ยิ้ม · ดูเพิ่มเติม »

วราเทพ รัตนากร

ร.วราเทพ รัตนากร อดีตรัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี และอดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ อดีตที่ปรึกษาศูนย์รักษาความสงบ ในรัฐบาลนางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงการคลัง ในรัฐบาลพันตำรวจโท ทักษิณ ชินวัตร อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร 7 สมัยจากจังหวัดกำแพงเพชรและแบบบัญชีรายชื่อตามลำดับ อดีตแกนนำ..

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยรามคำแหงและวราเทพ รัตนากร · ดูเพิ่มเติม »

วันชัย สอนศิริ

วันชัย สอนศิริ (เกิด 13 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2497) เป็นสมาชิกสภาขับเคลื่อนการปฏิรูปประเทศ กรรมการในคณะกรรมการปฏิรูปประเทศด้านการเมือ ในรัฐบาล พลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา ทนายความ, นักพูด ผู้บรรยายเรื่องกฎหมายทั่วไปของสภาทนายความ มีชื่อเสียงมาจากการให้ความรู้ทางกฎหมาย ในวิทยุคลื่นร่วมด้วยช่วยกัน ต่อมาเป็นผู้จัดรายการเล่าข่าว จากข่าวหนังสือพิมพ์ โดยสอดแทรกความรู้ด้านกฎหมาย และเรื่องขำขัน ทางสถานีโทรทัศน์ไอทีวี และยูบีซี โดยจัดรายการคู่กับ ประมาณ เลืองวัฒนะวณิช ทั้งคู่มีชื่อเสียงเป็นที่รู้จักในชื่อ "สองทนาย" หรือ "ทนายคู่หู" ในรายการร่วมมือร่วมใจทางทีไอทีวีแต่ได้ออกมาในปี พ.ศ. 2550 หลังการเปลี่ยนโครงสร้างสถานีของไอทีวีเป็นทีไอทีวี ปัจจุบันเป็นอาจารย์สอนกฎหมายอยู่ที่คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยรังสิต, นักจัดรายการคุยสบายๆกับทนายวันชัยทางสถานีวิทยุคลื่นFM.98 MHz ทุกวันจันทร์ - ศุกร์ 15.00 - 17.00 น.คู่กับมัลลิกา บุญมีตระกูล เคยเป็นพิธีกรรายการ “9 ร่วมใจ คนไทยไม่ทิ้งกัน” ทางโมเดิร์นไนน์ทีวี ซึ่งปฐมทัศน์เมื่อวันจันทร์ที่ 21 กรกฎาคม..

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยรามคำแหงและวันชัย สอนศิริ · ดูเพิ่มเติม »

วาโย อัศวรุ่งเรือง

นายแพทย์ วาโย อัศวรุ่งเรือง หรือ เก่ง เดอะสตาร์ (27 ธันวาคม พ.ศ. 2530) เป็นนักร้องและนักแสดงชาวไทย และเป็นที่รู้จักจากการแข่งขันรายการเดอะสตาร์ 6.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยรามคำแหงและวาโย อัศวรุ่งเรือง · ดูเพิ่มเติม »

วิชัย ศรีวัฒนประภา

วิชัย ศรีวัฒนประภา (สกุลเดิม: รักศรีอักษร) นักธุรกิจชาวไทยที่มีชื่อเสียง ปัจจุบันเป็นเจ้าของกลุ่มกิจการคิง เพาเวอร์ และประธานสโมสรฟุตบอลเลสเตอร์ ซิตี้ ในอังกฤษ.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยรามคำแหงและวิชัย ศรีวัฒนประภา · ดูเพิ่มเติม »

วิชุดา พินดั้ม

วิชุดา พินดั้ม (ชื่อเล่น: แหม่ม) เป็นนักแสดงชาวไทย เกิดเมื่อวันจันทร์ที่ 3 มกราคม พ.ศ. 2520 เข้าสู่วงการตั้งแต่เด็ก โดยรับบทเป็นดาราเด็กในละครโทรทัศน์หลายเรื่อง เช่น มณีร้าว คุณแม่เพื่อนรัก และเป็นนางแบบวัยรุ่น ต่อมาจึงมีผลงานแสดงละครและภาพยนตร์อีกหลายเรื่องจนถึงปัจจุบัน จบการศึกษาระดับปริญญาตรี จากคณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยรามคำแหงและวิชุดา พินดั้ม · ดูเพิ่มเติม »

วิระยา ชวกุล

ท่านผู้หญิงวิระยา ชวกุล (ชื่อเล่น: น้อย; เกิด: 28 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2477) เป็นกรรมการของมูลนิธิในพระราชินูปถัมภ์หลายแห่ง และปรากฏบทบาททางการเมือง.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยรามคำแหงและวิระยา ชวกุล · ดูเพิ่มเติม »

วิรัช ชินวินิจกุล

วิรัช ชินวินิจกุล (เกิด 7 พฤศจิกายน พ.ศ. 2495) เป็นอดีตองคมนตรีและอดีตนายกสภามหาวิทยาลัยรามคำแหง อดีตสมาชิกสภาขับเคลื่อนการปฏิรูปประเทศ,อดีตรองประธานศาลฎีกา,เลขาธิการสำนักงานศาลยุติธรรม,เลขานุการศาลฎีกา,ผู้พิพากษาศาลฎีก.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยรามคำแหงและวิรัช ชินวินิจกุล · ดูเพิ่มเติม »

วิศวกรรมศาสตร์

การจะออกแบบสร้างกังหันลมในทะเลต้องใช้ความรู้ทางวิศวกรรมในหลายๆสาขาประกอบเข้าด้วยกัน วิศวกรรมอาจจะหมายถึงพระวิศวกรรม วิศวกรรมศาสตร์ เป็นสาขาความรู้และวิชาชีพเกี่ยวกับการประยุกต์ใช้ประยุกตวิทยา (เทคโนโลยี), วิทยาศาสตร์และความรู้ทางคณิตศาสตร์เพื่อการใช้ประโยชน์จากกฎทางธรรมชาติและทรัพยากรทางกายภาพให้เกิดประโยชน์สูงสุด, เพื่อช่วยในการออกแบบและประยุกต์ใช้ วัสดุ, โครงสร้าง, เครื่องจักร, เครื่องมือ, ระบบ และ กระบวนการ เพื่อการตอบสนองต่อจุดประสงค์ที่ต้องการได้อย่างปลอดภัยและเชื่อถือได้ American Engineers' Council for Professional Development (ECPD, ซึ่งต่อมาคือ ABET) ได้ให้นิยามเกี่ยวกับวิศวกรรมศาสตร์เอาไว้ดังนี้.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยรามคำแหงและวิศวกรรมศาสตร์ · ดูเพิ่มเติม »

วิจิตรา ตริยะกุล

วิจิตรา ตริยะกุล หรือ แนน (เกิด 10 พฤศจิกายน พ.ศ. 2522) เป็นนักแสดง ชาวไท.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยรามคำแหงและวิจิตรา ตริยะกุล · ดูเพิ่มเติม »

วิทยาศาสตร์

วิทยาศาสตร์ คำว่า "วิทยาศาสตร์" มักถูกใช้เพื่อแทนคำว่า "Science" ในภาษาอังกฤษ แต่ถ้าจะกล่าวให้ตรงความหมายแล้ว เราใช้คำว่า "วิทยาศาสตร์" เพื่อหมายถึง "Exact science" ซึ่งไม่รวมสาขาวิชาทางสังคมศาสตร์เอาไว้ แม้ว่าสาขาวิชาทางสังคมศาสตร์จะใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์เช่นเดียวกัน การแบ่งแยกดังกล่าวมีขึ้นเนื่องจากความแตกต่างในด้านเนื้อหาและธรรมชาติของการศึกษา มิใช่เรื่องของความจริงหรือความถูกต้องแต่อย่างใด คำว่า "Science" ในภาษาอังกฤษจะมีความหมายเทียบเท่ากับคำว่า "ศาสตร์" หมายถึง ความรู้เกี่ยวกับสิ่งต่าง ๆ ในธรรมชาติทั้งที่มีชีวิตและไม่มีชีวิต รวมทั้งกระบวนการประมวลความรู้เชิงประจักษ์ ที่เรียกว่ากระบวนการทางวิทยาศาสตร์ และกลุ่มขององค์ความรู้ที่ได้จากกระบวนการดังกล่าว การศึกษาในด้านวิทยาศาสตร์ยังถูกแบ่งย่อยออกเป็น วิทยาศาสตร์ธรรมชาติ และ วิทยาศาสตร์ประยุกต์ คำว่า science ในภาษาอังกฤษ ซึ่งแปลว่า วิทยาศาสตร์นั้น มาจากภาษาลาติน คำว่า scientia ซึ่งหมายความว่า ความรู้ ในคริสต์ศตวรรษที่ 17 ฟรานซิส เบคอนได้พยายามคิดค้นวิธีมาตรฐานในการอุปนัย เพื่อนำมาใช้สร้างทฤษฎีหรือกฎต่าง ๆ ทางวิทยาศาสตร์จากข้อมูลที่ทดลองหรือสังเกตได้จากธรรมชาติ เป็นผู้ถอนรื้อและปรับปรุงแนวความคิดเกี่ยวกับวิทยาศาสตร์สมัยเก่า ที่ยึดกับแนวความคิดของอริสโตเติลทิ้งไป.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยรามคำแหงและวิทยาศาสตร์ · ดูเพิ่มเติม »

วิทยาศาสตร์สุขภาพ

วิทยาศาสตร์สุขภาพ คือ สาขาวิชาวิทยาศาสตร์ประยุกต์ที่ศึกษาเกี่ยวกับสุขภาพของมนุษย์และสัตว์ วิทยาศาสตร์สุขภาพสามารถแบ่งออกได้ 2 ส่วน ส่วนแรก คือ การศึกษา วิจัย และความรู้ที่เกี่ยวกับสุขภาพ ส่วนที่ 2 คือ การนำความรู้ดังกล่าวมาประยุกต์ใช้เพื่อพัฒนาสุขภาพ, รักษาโรค และทำความเข้าใจการทำงานของร่างกายมนุษย์และสัตว์ งานวิจัยด้านนี้วางอยู่บนฐานของชีววิทยา, เคมี และฟิสิกส์ รวมไปถึงความรู้ด้านสังคมศาสตร์ เช่น สังคมวิทยาการแพท.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยรามคำแหงและวิทยาศาสตร์สุขภาพ · ดูเพิ่มเติม »

วิทย์สรัช สุขวัฒนศิริ

วิทย์สรัช สุขวัฒนศิริ (ชื่อเล่น: เต้) เป็นนักร้องชาวไทย เกิดเมื่อวันที่ 23 กรกฎาคม พ.ศ. 2526 เป็นคนกรุงเทพมหานคร ศึกษาที่คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง และ มหาวิทยาลัยภาษาและวัฒนธรรมปักกิ่ง.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยรามคำแหงและวิทย์สรัช สุขวัฒนศิริ · ดูเพิ่มเติม »

วุฒิศักดิ์ ลาภเจริญทรัพย์

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ วุฒิศักดิ์ ลาภเจริญทรัพย์ อธิการบดีมหาวิทยาลัยรามคำแหง กรรมการอิสระ บริษัท บางกอก โพสต์ จำกัด (มหาชน) อดีตรักษาการอธิการบดีมหาวิทยาลัยรามคำแหง ดำรงตำแหน่งผู้ช่วยศาสตราจารย์ประจำคณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยรามคำแหงและวุฒิศักดิ์ ลาภเจริญทรัพย์ · ดูเพิ่มเติม »

วีรินทร์ทิรา นาทองบ่อจรัส

วีรินทร์ทิรา นาทองบ่อจรัส (ชื่อเดิม: อินทิรา นาทองบ่อ) ผู้ประกาศข่าวในพระราชสำนัก สถานีวิทยุโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 3 อดีตรองโฆษกประจำสำนักนายกรัฐมนตรี ในรัฐบาลนายสมัคร สุนทรเวช และรัฐบาลนายสมชาย วงศ์สวัสดิ์ ในสังกัดพรรคชาติไท.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยรามคำแหงและวีรินทร์ทิรา นาทองบ่อจรัส · ดูเพิ่มเติม »

วนิดา เติมธนาภรณ์

วนิดา เติมธนาภรณ์ (ชื่อเล่น กิ๊บซี่; เกิด 10 กันยายน พ.ศ. 2526) เป็นนักแสดง และนักร้องชาวไทย อีกทั้งเป็นหนึ่งในสมาชิก เกิร์ลลี่ เบอร์รี.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยรามคำแหงและวนิดา เติมธนาภรณ์ · ดูเพิ่มเติม »

ศกลรัตน์ วรอุไร

กลรัตน์ วรอุไร ชื่อเล่นว่า โฟร์ (เกิด 25 ตุลาคม พ.ศ. 2529) เป็นนักร้อง นักแสดง อดีตสมาชิกวงโฟร์-ม.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยรามคำแหงและศกลรัตน์ วรอุไร · ดูเพิ่มเติม »

ศรราม เทพพิทักษ์

รราม เทพพิทักษ์ เกิดเมื่อวันที่ 22 สิงหาคม พ.ศ. 2516 ที่กรุงเทพมหานคร เป็นนักแสดง นักร้อง ชาวไทย เป็นบุตรของ ชุมพร เทพพิทักษ์ นักแสดงอาวุโส โดยชื่อ ศรราม ตั้งมาจากชื่อของตัวเอกในภาพยนตร์​เรื่อง หนึ่งน.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยรามคำแหงและศรราม เทพพิทักษ์ · ดูเพิ่มเติม »

ศรุชา เพชรโรจน์

รุชา เพชรโรจน์ หรือชื่อเดิมว่า สุพรรษา เพชรโรจน์ (ชื่อเล่น: ญิ๋งญิ๋ง) เป็นนักแสดงและนางแบบหญิงชาวไทย มีชื่อเสียงจากการรับบทเป็น ไวน์ จากละครเรื่อง สงครามนางงาม.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยรามคำแหงและศรุชา เพชรโรจน์ · ดูเพิ่มเติม »

สกาวใจ พูนสวัสดิ์

กาวใจ พูนสวัสดิ์ เป็นนักแสดง พิธีกรชาวไท.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยรามคำแหงและสกาวใจ พูนสวัสดิ์ · ดูเพิ่มเติม »

สภาผู้แทนราษฎร

ผู้แทนราษฎร เป็นหน่วยหนึ่งในกระบวนการนิติบัญญัติ โดยทั่วไปมักเป็นสภาล่างในระบบสภาคู.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยรามคำแหงและสภาผู้แทนราษฎร · ดูเพิ่มเติม »

สมเกียรติ จันทร์พราหมณ์

มเกียรติ จันทร์พราหมณ์ พิธีกรและนักแสดงชาวไทย เกิดเมื่อวันที่ 22 เมษายน พ.ศ. 2518 ณ อำเภอแกลง จังหวัดระยอง โดยจบการศึกษาระดับประถมศึกษาที่ โรงเรียนวัดชากมะกรูดและจบจากมัธยมศึกษาที่โรงเรียนเทพศิรินทร์ (DSA107) และระดับปริญญาตรีจากคณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง มีผลงานสร้างชื่อในวงการบันเทิงคือ พิธีกรรายการยุทธการขยับเหงือกเมื่อปี พ.ศ. 2540 ด้านชีวิตส่วนตัว สมรสกับอารดา พิมสาร (มด) เมื่อวันที่ 1 มกราคม 2550 ที่ร้านของเจ้าสาว ร้านนัติมอเตอร์ ตัวแทนจำหน่ายร.ฮอนด้.ห้วยแก้ว อ.เมือง.เชียงใหม่ หลังจากที่คบหามาได้ 2 ปี มีบุตรสาว 1 คนชื่อ โมลีดา (นกยูง) เกิดเมื่อวันที่ 29 กรกฎาคม 2552 แม้จะเป็นดารานักแสดงในวงการบันเทิง แต่โดยส่วนตัวแล้ว เป็นคนที่ติดตามการเมืองมาตลอด และเคยเป็นพรีเซ็นเตอร์ในการรณรงค์การเลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร ในปี พ.ศ. 2547 ด้ว.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยรามคำแหงและสมเกียรติ จันทร์พราหมณ์ · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ

อมพลหญิง จอมพลเรือหญิง จอมพลอากาศหญิง สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ (พระนามเดิม: หม่อมราชวงศ์สิริกิติ์ กิติยากร; พระราชสมภพ 12 สิงหาคม พ.ศ. 2475) เป็นสมเด็จพระบรมราชินีนาถในพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช เป็นสมเด็จพระบรมราชชนนีพันปีหลวงในสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร และโดยพระชนมายุจึงนับเป็นพระกุลเชษฐ์พระองค์ปัจจุบันในพระบรมราชจักรีวงศ์ เนื่องจากสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินี เป็นผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ขณะที่พระราชสวามีเสด็จออกผนวช ระหว่างวันที่ 22 ตุลาคม พ.ศ. 2499 - 5 พฤศจิกายน พ.ศ. 2499ราชกิจจานุเบกษา,, เล่ม 73, ตอน 76ก, 25 กันยายน..

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยรามคำแหงและสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร

มเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร (พระราชสมภพ 28 กรกฎาคม พ.ศ. 2495) เป็นพระมหากษัตริย์ไทย รัชกาลที่ 10 แห่งราชวงศ์จักรี เสด็จขึ้นทรงราชย์เมื่อวันที่ 13 ตุลาคม..

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยรามคำแหงและสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี

ตราจารย์ พลเอกหญิง พลเรือเอกหญิง พลอากาศเอกหญิง นายกองใหญ่ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี (2 เมษายน พ.ศ. 2498) เป็นพระราชธิดาในพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช และสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ และเป็นพระโสทรกนิษฐภคินีในสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร เสด็จพระราชสมภพเมื่อวันเสาร์ที่ 2 เมษายน..

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยรามคำแหงและสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี · ดูเพิ่มเติม »

สัณฐาน ชยนนท์

ลตำรวจโท ดร.สัณฐาน ชยนนท์ อดีตผู้ช่วยผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติ สำนักงานตำรวจแห่งชาติ อดีตผู้บัญชาการตำรวจนครบาล (ผบ.ชน.) เกิดเมื่อวันที่ 26 พฤษภาคม พ.ศ. 2495 ที่จังหวัดสงขลา เดิมมีนามสกุลว่า "คงกำเนิด" จบการศึกษาระดับประถมศึกษาจากโรงเรียนสามัคคีวิทยา จังหวัดยะลา, มัธยมศึกษาตอนต้นจากโรงเรียนโยธินบูรณะ, โรงเรียนเตรียมทหารรุ่นที่ 12 (ตท.12-รุ่นเดียวกับ พล.อ.ประยุทธ์ จันทร์โอชา และ พล.ร.อ.พะจุณณ์ ตามประทีป), โรงเรียนนายร้อยตำรวจ รุ่นที่ 28 (นรต.28-รุ่นเดียวกับ พล.อ.วิเชียร พจน์โพธิ์ศรี, พล.ต.อ.ภาณุพงศ์ สิงหรา ณ อยุธยา, พล.ต.อ.ปานศิริ ประภาวัต), ปริญญาโท สาขารัฐประศาสนศาสตร์ จากสถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ (นิด้า) และหลักสูตรบริหารงานตำรวจชั้นสูง รุ่นที่ 17..

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยรามคำแหงและสัณฐาน ชยนนท์ · ดูเพิ่มเติม »

สังคมศาสตร์

กลุ่มวิชาสังคมศาสตร์ (social science) คือ สาขาวิชาที่ใช้ระเบียบวิธีทางวิทยาศาสตร์เพื่อศึกษาโลกในเรื่องที่เกี่ยวข้องกับความสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์ หน่วยสังคมต่าง ๆ ของมนุษย์ รวมทั้งพฤติกรรมของมนุษย์ในแง่มุมต่าง ๆ วิชาในสังคมศาสตร์แตกต่างจากวิชาในกลุ่มมนุษยศาสตร์ เนื่องจากหลาย ๆ สาขาวิชาในสังคมศาสตร์เน้นการหาความรู้และความสัมพันธ์ของปัจจัยต่าง ๆ ที่ส่งผลต่อการดำเนินพฤติกรรมของมนุษย์และปรากฏการณ์ทางสังคมด้วยกระบวนการแบบปฏิฐานและประจักษ์นิยม ทั้งเชิงปริมาณ (quantitative method) และเชิงคุณภาพ (qualitative method) อย่างเป็นวิทยาศาสตร์ อย่างไรก็ตาม บางสาขาก็อาจจะนำระเบียบวิธีเชิงคุณภาพแบบการตีความ การคาดการณ์ วิเคราห์ตามหลักปรัชญาและตรรกะ หรือความเชื่อส่วนบุคคล และการวิจารณ์มาใช้ในการอธิบายพฤติกรรมในบางกรณีที่เหมาะสมหากจำเป็น อย่างไรก็ตาม ระเบียบวิธีการศึกษาทางสังคมศาสตร์แบบใหม่ได้รับอิทธิพลจากสังคมศาสตร์แบบอเมริกันอย่างมาก ทำให้การศึกษาแบบปฏิฐานนิยมได้รับความนิยมและการยอมรับมากกว่าระเบียบวิธีแบบเก่าที่คล้ายคลึงกับสาขามนุษยศาสตร์ พระเจ้าวรวงศ์เธอ กรมหมื่นนราธิปพงศ์ประพันธ์ (2529: 129) ทรงกล่าวถึงความหมายของสังคมศาสตร์และขอบเขตของการศึกษาวิชานี้ไว้ว่า สังคมศาสตร์เป็นวิชาที่เกี่ยวกับวิถีชีวิตของมนุษย์ในทางสังคม เศรษฐกิจ และการเมือง ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์ตามความเป็นจริง สามารถแบ่งออกได้เป็น 2 กลุ่มใหญ่ คือ.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยรามคำแหงและสังคมศาสตร์ · ดูเพิ่มเติม »

สำนักวิชาสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง

ำนักวิชาสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง เป็นหน่วยงานการศึกษาหนึ่งในมหาวิทยาลัยรามคำแหงเปิดทำการสอนในระดับปริญญาตรี ปริญญาโท และปริญญาเอก.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยรามคำแหงและสำนักวิชาสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง · ดูเพิ่มเติม »

สำนักข่าวไทย

ตราสัญลักษณ์สำนักข่าวไทย เริ่มใช้เมื่อเดือนกรกฎาคม พ.ศ. 2557 สำนักข่าวไทย (Thai News Agency ชื่อย่อ: สขท.; TNA) เป็นหน่วยงานประกอบกิจการข่าวสาร ของบริษัท อสมท จำกัด (มหาชน) จัดตั้งขึ้น เมื่อวันที่ 16 มิถุนายน พ.ศ. 2520 ถือเป็นสำนักข่าวแห่งแรกของประเทศไทย มีหน้าที่รับผิดชอบหลัก ในการผลิต รวบรวม จัดเก็บ วิเคราะห์ และรายงานข่าว เพื่อนำเสนอออกอากาศ ทั้งทางวิทยุกระจายเสียง วิทยุโทรทัศน์ สื่ออิเล็กทรอนิกส์ และสื่ออื่นๆ เช่น อินเทอร์เน็ต สื่อทางคอมพิวเตอร์ออนไลน์ และโทรศัพท์เคลื่อนที่ ตลอดจนนำข้อมูลข่าวสารเพื่อใช้แลกเปลี่ยน กับกลุ่มความร่วมมือในต่างประเทศ และเป็นหนึ่งในศูนย์กลางการแลกเปลี่ยน และนำเสนอข่าวในประเทศไทย ไปสู่นานาประเทศทั่วโลก ทั้งนี้ ยังเปิดศูนย์ข่าวในส่วนภูมิภาคอีก 4 แห่งคือ ศูนย์ข่าวเชียงใหม่ ศูนย์ข่าวขอนแก่น ศูนย์ข่าวหาดใหญ่ และศูนย์ข่าวระยอง.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยรามคำแหงและสำนักข่าวไทย · ดูเพิ่มเติม »

สุพรรณิการ์

อกสุพรรณิการ์แบบชั้นเดียวในบราซิล กำลังแก้ไข สุพรรณิการ์ สุพรรณิการ์ เป็นไม้ผลัดใบที่มีถิ่นกำเนิดในแถบทุ่งหญ้าเขตร้อนแซราดู (Cerrado) ในทวีปอเมริกาใต้ (บริเวณประเทศบราซิล, โบลิเวีย, ปารากวัย) แต่ปัจจุบันพบได้ทั่วไปในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้เช่นกัน สุพรรณิการ์มีลักษณะทางพฤกษศาสตร์ใกล้เคียงกับฝ้ายคำมาก ข้อแตกต่างที่สำคัญประการหนึ่งคือ ฝ้ายคำจะออกดอกเพียงชั้นเดียว มี 5 กลีบ และบานทีละดอก ในขณะที่สุพรรณิการ์จะมีทั้งชนิดที่ออกดอกชั้นเดียวและชนิดที่ออกดอกซ้อนกันเป็นกระจุกแน่น โดยบานพร้อม ๆ กัน ในประเทศไทยนิยมปลูกสุพรรณิการ์เป็นไม้ประดับ โดยได้รับการกำหนดให้เป็นพันธุ์ไม้มงคลพระราชทานประจำจังหวัดนครนายก และเป็นดอกไม้ประจำจังหวัดนครนายก สระบุรี บุรีรัมย์ สุพรรณบุรี และอุทัยธานี.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยรามคำแหงและสุพรรณิการ์ · ดูเพิ่มเติม »

สุภาพร มะลิซ้อน

ร มะลิซ้อน (ชื่อเล่น: ฝ้าย) มิสแกรนด์ไทยแลนด์ 2016.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยรามคำแหงและสุภาพร มะลิซ้อน · ดูเพิ่มเติม »

สุขุม นวลสกุล

รองศาสตราจารย์ สุขุม นวลสกุล อดีตอธิการบดีมหาวิทยาลัยรามคำแหง อดีตคณบดีคณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง นักพูด และนักวิชาการทางรัฐศาสตร์ เกิดเมื่อวันที่ 8 เดือนมกราคม พ.ศ. 2486 ที่จังหวัดยะลา โดยเป็นลูกคนสุดท้องในบรรดาพี่น้องทั้งหมด 8 คน (ชาย 4 หญิง 4) บิดามีบรรดาศักดิ์เป็นหลวงก่อนการเปลี่ยนแปลงการปครอง พ.ศ. 2475 โดยที่ครอบครัวมีธุรกิจประเภทอสังหาริมทรัพย์ เริ่มศึกษาที่โรงเรียนอัสสัมชัญศรีราชา แล้วไปศึกษาต่อยังโรงเรียนอัสสัมชัญ โดยขณะเรียนได้เรียนในสายวิทยาศาสตร์เพราะมีความตั้งใจจะเป็นแพทย์ แต่คะแนนวิทชาทางเคมีหรือชีววิทยาได้ไม่ดี แต่กลับได้คะแนนดีในวิชาภาษาไทย จึงเปลี่ยนไปสอบเอนทรานซ์สายสังคมศาสตร์แทน ซึ่งสอบได้คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ จบการศึกษาในปี พ.ศ. 2511 (รุ่นที่ 15) ด้วยการใช้เวลาศึกษานานถึง 5 ปี ต่อมาได้เรียนระดับปริญญาโทวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (รัฐศาสตร์และสังคมวิทยา) มหาวิทยาลัยเท็กซัส เอแอนด์เอ็ม (Master of Science Texas A & M University) สหรัฐอเมริกา และได้ศึกษาเพิ่มเติมที่สถาบันจิตวิทยาความมั่นคง กองบัญชาการทหารสูงสุด ได้รับประกาศนียบัตรสงครามจิตวิทยา เมื่อครั้งจบปริญญาตรี ได้ทำงานเป็นคอลัมนิสต์ในนิตยสารมวยไทยอยู่ 6 เดือน ก่อนจะเดินทางไปศึกษาต่อที่สหรัฐอเมริกา เมื่อจบปริญญาโทในปี พ.ศ. 2514 ได้เข้าทำงานเป็นอาจาย์ในมหาวิทยาลัยรามคำแหง ซึ่งเพิ่งก่อตั้ง นับเป็นคณาจารย์รุ่นบุกเบิกของมหาวิทยาลัยด้วยคนหนึ่ง จนกระทั่งได้รับตำแหน่งทางวิชาการเป็นรองศาสตราจารย์ และได้เป็นคณบดีคณะรัฐศาสตร์ จนถึงตำแหน่งอธิการบดี เมื่อปลายปี พ.ศ. 2525 และยุติการรับราชการตั้งแต่ปี พ.ศ. 2542 ก่อนเกษียณอายุราชการจริงหลายปี นอกจากนี้แล้วในทางการเมือง เคยเป็นที่ปรึกษาทางการมืองให้แก่นายกรัฐมนตรี พล.อ.เปรม ติณสูลานนท์ ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2524-พ.ศ. 2531 ซึ่งเป็นช่วงสุดท้ายของการดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีของ พล.อ.เปรม ในระหว่างดำรงตำแหน่งอธิการบดี ได้เกิดเหตุนักศึกษาของมหาวิทยาลัยรามคำแหงผู้หนึ่ง ได้เข้าทำร้ายร่างกาย พล.อ.เปรม ด้วยการชกหน้าและด่าทอด้วยคำหยาบคาย ขณะที่ พล.อ.เปรมเป็นประธานในพิธีปิดการแข่งขันกีฬามหาวิทยาลัย ที่ทางมหาวิทยาลัยรามคำแหงเป็นเจ้าภาพ จน พล.อ.เปรมต้องเข้ารักษาตัวที่โรงพยาบาล ทาง ร.สุขุมในฐานะอธิการบดีและที่ปรึกษาของ พล.อ.เปรม ได้แสดงความรับผิดชอบด้วยการลาออกทันที แต่ทว่าทางสภามหาวิทยาลั.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยรามคำแหงและสุขุม นวลสกุล · ดูเพิ่มเติม »

สีชมพู

ีชมพู เป็นสีที่เกิดจากการผสมสีแดงและสีขาว ในบางครั้งจะถูกกล่าวถึงในลักษณะสีแดงอ่อน สีชมพูมักจะถูกใช้ในการกล่าวถึงลักษณะของเด็กหญิง ซึ่งนิยมใช้ควบคู่กับ สีน้ำเงินหรือสีฟ้า ที่จะแสดงถึงเด็กชาย ในภาษาเหนือ เรียกสีชมพูว่า "จมออน" (จม-ออน).

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยรามคำแหงและสีชมพู · ดูเพิ่มเติม »

สีม่วง

อกไม้สีม่วงอ่อน สีม่วง เป็นสีที่ผสมระหว่างสีน้ำเงินและสีแดง โดยปกติสีจะมีอยู่สองโทน คือ สีโทนร้อน และ สีโทนเย็น แต่สีม่วงเป็นสีที่อยู่ตรงกลางระหว่าง สีโทนร้อน และ สีโทนเย็น ซึ่งนอกจากสีม่วงแล้วยังมีสีเหลืองอีกสีหนึ่งที่มีลักษณะดังกล่าว จึงสามารถเลือกใช้สีม่วงเข้าไปผสมผสานได้กับสีทั้งสองโทน.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยรามคำแหงและสีม่วง · ดูเพิ่มเติม »

สีส้ม

ีส้ม เป็นหนึ่งในกลุ่มสีโทนร้อน แสงสีส้มที่มองเห็นได้มีความยาวคลื่นราว 590 นาโนเมตร สีเพลิง เป็น รูปลักษณ์ของสีออกคล้ายสีแสด ซึ่งมีความเข้มกว่าสีส้ม.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยรามคำแหงและสีส้ม · ดูเพิ่มเติม »

สีทอง

สีทอง เป็นสีเหลืองแกมส้ม และเป็นสีของทองคำในธรรมชาติ ทอง.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยรามคำแหงและสีทอง · ดูเพิ่มเติม »

สีขาว

ีขาว คือ โทนสี หรือ การรับรู้ที่เกิดจากแสงไปกระตุ้นเซลล์สีรูปกรวยทั้ง 3 แบบในดวงตาของมนุษย์ในปริมาณที่เกือบจะเท่ากันและมีความสว่างสูงสุดเมื่อเทียบกับสิ่งแวดล้อมรอบข้าง สีขาว เป็นสีที่เกิดจากการรวมความเข้มของแสงสเปกตรัมที่มองเห็นได้ เป็นสีที่เต็มไปด้วยความสว่าง แต่ไม่มีสีสัน แหล่งกำเนิดของแสงสีขาวมีอยู่หลายแหล่ง เช่น ดวงอาทิตย์ในเวลากลางวัน, หลอดไฟแบบไส้, หลอดไฟแบบฟลูออเรสเซนท์ และหลอด LED สีขาว สีขาวยังมีความพิเศษอยู่อีกอย่างหนึ่ง ก็คือ เป็นสีที่เกิดจากการผสมกันระหว่างแสงสีปฐมภูมิ ซึ่งได้แก่ สีแดง, เขียว และน้ำเงิน (RGB) โดยเรียกกระบวนการนี้ว่า การผสมแสงสี (additive mixing) ซึ่งพบได้ทั่วไปในเทคโนโลยีการแสดงผล แสงสีขาวที่สะท้อนออกมาจากวัตถุจะสามารถมองเห็นได้ก็ต่อเมื่อไม่มีสเปกตรัมของแสงส่วนไหนที่สะท้อนมากกว่าส่วนอื่นๆและวัตถุที่สะท้อนแสงนั้นมีมุมตกกระทบที่เหมาะสมที่จะทำให้เกิดการกระจัดกระจายของแสง (diffusion) ได้.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยรามคำแหงและสีขาว · ดูเพิ่มเติม »

สีครีม

ีครีม (cream) เป็นสีของครีมที่ผลิตจากวัวที่กินพืชที่อุดมไปด้วยสารแคโรทีนอยด์สีเหลืองในทุ่งหญ้าเลี้ยงสัตว์ สารบางตัวจะรวมตัวกับแสง ให้โทนสีเหลืองจนถึงสีขาว สีครีมจัดรวมอยู่กับดินสอสีสีเหลือง เช่นเดียวกับสีชมพูทีจัดรวมอยู่กับสีแดง หากนำสีเหลืองและสีขาวมาผสมกันจะเกิดเป็นสีครีมขึ้นมา การใช้คำว่า ครีม (cream) เป็นชื่อสีมีบันทึกครั้งแรกในอังกฤษในปี..

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยรามคำแหงและสีครีม · ดูเพิ่มเติม »

สีน้ำเงิน

ีน้ำเงิน เป็นหนึ่งในแม่สี ทั้งแม่สีทางแสง และทางวัตถุธาตุ เป็นแม่สีที่มีความยาวคลื่นต่ำที่สุด แสงสีน้ำเงินมีบริเวณช่วงคลื่นระหว่าง 440-490 นาโนเมตร เป็นสีที่ใกล้เคียงกับสีฟ้าและสีกรมท่า และถือเป็น 1 ในแม่สีร่วมกับ สีแดง และสีเขียว สีน้ำเงิน เป็นสีในกลุ่มสีโทนเย็น สีน้ำเงินเป็นสีที่สร้างความสุขุมเยือกเย็น หนักแน่นและละเอียดรอบคอบ ใช้ในการสร้างแรงบันดาลใจและการแสดงออกทางศิลปะได้ดีอีกด้วย ขณะที่สีฟ้าให้ความรู้สึกแบบเดียวกับสีเขียว คือ สบายตา ให้ความรู้สึกเป็นอิสระ ปลอดโปร่ง โล่งใจ ลดความร้อนรุ่มกระวนกระวายใจลงได้.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยรามคำแหงและสีน้ำเงิน · ดูเพิ่มเติม »

สีแดง

ีแดง คือสีมีความถี่ของแสงที่ต่ำที่สุด ที่ตามนุษย์สามารถแยกแยะได้ แสงสีแดงมีบริเวณช่วงคลื่นระหว่าง 630-760 นาโนเมตร สีแดงเป็นสีอย่างสีเลือดหรือสีชาด, ใช้ประกอบสิ่งต่าง ๆ บางอย่างโดยอนุโลมตามลักษณะสี เป็นชื่อเรียกเฉพาะ เช่น มดแดง ผ้าแดง จัดเป็น 1 ในแม่สี 3 สี ร่วมกับสีเขียว, สีน้ำเงิน.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยรามคำแหงและสีแดง · ดูเพิ่มเติม »

สีเหลือง

ีเหลือง เป็น 1 ใน 3 แม่สี ร่วมกับสีแดง และสีน้ำเงิน โดยปกติสีจะมีอยู่สองโทน คือ สีโทนร้อน และ สีโทนเย็น แต่สีเหลืองเป็นสีที่อยู่ตรงกลางระหว่าง สีโทนร้อน และ สีโทนเย็น จึงสามารถเลือกใช้สีเหลืองเข้าไปผสมผสานได้กับสีทั้งสองโทน ซึ่งนอกจากสีเหลืองแล้วยังมีสีม่วงอีกสีหนึ่งที่มีลักษณะดังกล่าว.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยรามคำแหงและสีเหลือง · ดูเพิ่มเติม »

สีเขียว

ีเขียว เป็นสีสีหนึ่งบนคลื่นที่ตามองเห็น ตั้งอยู่ระหว่างสีน้ำเงินและสีเหลือง สีเขียวเกิดจากแสงที่ความยาวคลื่นประมาณ 495-570 นาโนเมตร สีเขียวในแม่สีเชิงลบที่ใช้สำหรับระบายสีและพิมพ์สีเกิดจากสีเหลืองผสมกับสีน้ำเงิน หรือสีเหลืองผสมกับสีน้ำเงินอมเขียว ในระบบสี RGB ที่พบในโทรทัศน์และจอคอมพิวเตอร์ เป็นสีที่มาจากแม่สีเชิงบวก ร่วมกับสีแดงและสีน้ำเงิน ซึ่งต่างก็ผสมกันจนกลายเป็นสีอื่น ๆ ได้ ในภาษาอังกฤษใหม่ คำว่า green (สีเขียว) มาจากคำภาษาอังกฤษกลางว่า grene จากรากศัพท์ภาษาเยอรมันเดียวกันกับคำว่าคำว่า "grass" และ "grow" สีเขียวเป็นสีของการปลูกหญ้าและใบไม้ ด้วยเหตุนี้สีเขียวจึงเป็นสีของฤดูใบไม้ผลิ ความเจริญเติบโต และธรรมชาติEva Heller, Psychologie de la couleur- effets et symboliques.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยรามคำแหงและสีเขียว · ดูเพิ่มเติม »

สถาบันอุดมศึกษาของรัฐ

้รับรางวัลโนเบลมาก แห่งหนึ่งในโลก สถาบันอุดมศึกษาของรัฐ หรือ มหาวิทยาลัยรัฐ คือ สถาบันอุดมศึกษาที่ได้รับอุดหนุนงบประมาณส่วนใหญ่จากรัฐ โดยผ่านรัฐบาลกลางหรือรัฐบาลท้องถิ่น ในประเทศไทย หมายถึงสถาบันอุดมศึกษาในสังกัดสำนักงานคณะกรรมการอุดมศึกษา (เดิมคือ ทบวงมหาวิทยาลัย) ประกอบด้วยทั้ง มหาวิทยาลัยจำกัดรับในระบบราชการ เช่น มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ ฯลฯ มหาวิทยาลัยจำกัดรับนอกระบบราชการ (สถาบันอุดมศึกษาในกำกับของรัฐบาล) เช่น มหาวิทยาลัยมหิดล จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี และมหาวิทยาลัยไม่จำกัดรับ ได้แก่ มหาวิทยาลัยรามคำแหง และมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช ในสหรัฐอเมริกา วิธีการสมัครเข้าเรียนใน มหาวิทยาลัยรัฐและมหาวิทยาลัยเอกชน ไม่แตกต่างกัน สิ่งที่แตกต่างกันอย่างเห็นได้ชัดคือค่าเรียน ชื่อเรียกอย่างไม่เป็นทางการของกลุ่มมหาวิทยาลัยรัฐชั้นนำในสหรัฐอเมริกาคือ พับลิกไอวี โดยเปรียบเทียบกับ ไอวีลีก ซึ่งเป็นกลุ่มมหาวิทยาลัยเอกชนชั้นนำ ในสหราชอาณาจักร สถาบันอุดมศึกษาเกือบทั้งหมดเป็นมหาวิทยาลัยรัฐ ยกเว้นเพียงแห่งเดียว คือมหาวิทยาลัยบัคกิ้งแฮม.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยรามคำแหงและสถาบันอุดมศึกษาของรัฐ · ดูเพิ่มเติม »

สถานีโทรทัศน์สีกองทัพบกช่อง 7

นีโทรทัศน์สีกองทัพบกช่อง 7 (Bangkok Broadcasting Television Channel 7) เป็นสถานีโทรทัศน์ภาคพื้นดินซึ่งออกอากาศด้วยระบบภาพสีแห่งแรกในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ และเป็นสถานีโทรทัศน์แห่งที่ 3 ของประเทศไทย ดำเนินกิจการภายใต้สัญญาสัมปทานกับกองทัพบก เริ่มแพร่ภาพเมื่อวันที่ 1 ธันวาคม พ.ศ. 2510 ในระบบวีเอชเอฟ เดิมออกอากาศเป็นภาพขาวดำ ทางช่องสัญญาณที่ 9ราชกิจจานุเบกษา,, เล่ม 86 ตอน 10 ง หน้า 241, 4 กุมภาพัน..

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยรามคำแหงและสถานีโทรทัศน์สีกองทัพบกช่อง 7 · ดูเพิ่มเติม »

สนธิ บุญยรัตกลิน

ลเอก สนธิ บุญยรัตกลิน (เกิด 2 ตุลาคม พ.ศ. 2489) อดีตรองนายกรัฐมนตรี ผู้บัญชาการทหารบกของไทยและก็เป็น ผู้บัญชาการทหารบกของไทยคนแรกที่มาจากชาวไทยมุสลิม และอดีตหัวหน้าคณะปฏิรูปการปกครองในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข ในเหตุการณ์ รัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2549 อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบบัญชีรายชื่อ และหัวหน้าพรรคมาตุภูมิ อดีตรองผู้อำนวยการเสริมสร้างสันติสุข จังหวัดชายแดนภาคใต้.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยรามคำแหงและสนธิ บุญยรัตกลิน · ดูเพิ่มเติม »

อภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ

อภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ หรือชื่อเกิดว่า มาร์ค อภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ (ละติน: Mark Abhisit Vejjajiva) เกิด 3 สิงหาคม..

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยรามคำแหงและอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ · ดูเพิ่มเติม »

อสมท

ริษัท อสมท จำกัด (มหาชน) (MCOT Public Company Limited; ชื่อย่อ: บมจ.อสมท, MCOT PCL.) เป็นรัฐวิสาหกิจในรูปบริษัทมหาชนจำกัด และเป็นกิจการสื่อสารมวลชน ภายใต้การกำกับของรัฐบาลไทย โดยสำนักนายกรัฐมนตรี ประกอบธุรกิจสื่อสารมวลชน อันประกอบด้วย กิจการวิทยุโทรทัศน์ แพร่ภาพออกอากาศตลอด 24 ชั่วโมง จากสถานีแม่ข่ายในกรุงเทพมหานคร ไปยังสถานีเครือข่ายในภูมิภาค 53 สถานี มีพื้นที่ให้บริการครอบคลุมเกือบทั่วประเทศไทย กิจการวิทยุกระจายเสียง ส่งกระจายเสียงด้วยระบบเอฟเอ็ม ทั้งในส่วนกลาง และส่วนภูมิภาค จำนวน 53 สถานี และในระบบเอเอ็ม ในส่วนกลาง 2 สถานี สำนักข่าวไทย ดำเนินการผลิต รวบรวม จัดเก็บ และวิเคราะห์ข่าวสาร ทั้งทางสื่อโทรทัศน์ และวิทยุกระจายเสียง รวมไปถึงสื่ออิเล็กทรอนิกส์ โดยที่ทำการส่วนกลางในปัจจุบัน ตั้งอยู่เลขที่ 63/1 ถนนพระราม 9 แขวงห้วยขวาง เขตห้วยขวาง กรุงเทพมหานคร.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยรามคำแหงและอสมท · ดูเพิ่มเติม »

อักษรย่อ

อักษรย่อ หรือ คำย่อ หรือ รัสพจน์ เป็นการนำอักษรบางตัวในคำหนึ่งๆ ใช้เรียกแทนคำเต็ม โดยมากจะเป็นพยัญชนะ อาจใส่จุดหรือไม่ใส่หลังอักษรนั้นๆ นิยมนำอักษรต้นพยางค์ แต่บางครั้งก็มีการใช้อักษรท้ายพยางค์ก็มี และบางครั้งอักษรย่อก็สามารถอ่านได้เป็นพยางค์ใหม่ ในภาษาไทย เมื่ออักษรย่อมีตั้งแต่ 2 ตัวขึ้นไป จะใส่จุดที่ตัวสุดท้ายเพียงจุดเดียว (ไม่ใส่ทีละอักษร) ยกเว้นบางตัวที่เคยมีใช้กันมาก่อนจนเป็นที่ยอมรับแล้ว เช่น น..

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยรามคำแหงและอักษรย่อ · ดูเพิ่มเติม »

อักษรไทย

อักษรไทย เป็นอักษรที่ใช้เขียนภาษาไทย และภาษากลุ่มน้อยอื่น ๆ ในประเทศไทย มีพยัญชนะ 44 รูป สระ 21 รูป วรรณยุกต์ 4 รูป และเครื่องหมายอื่น ๆ อีกจำนวนหนึ่ง พยัญชนะไทยจะเรียงตัวไปตามแนวนอน จากซ้ายไปขวา ส่วนสระจะอยู่หน้า บน ล่าง และหลังพยัญชนะประกอบคำแล้วแต่ชนิดของสระ อักษรไทยไม่มีการแยกอักษรตัวใหญ่หรืออักษรตัวเล็กอย่างอักษรโรมัน และไม่มีการเว้นวรรคระหว่างคำ เมื่อจบหนึ่งประโยคจะลงท้ายด้วยการเว้นวรรค กับมีเครื่องหมายวรรคตอนจำนวนหนึ่ง ภาษาไทยมีตัวเลขเป็นของตัวเอง แต่นิยมใช้เลขอารบิกเป็นส่วนใหญ่ในชีวิตประจำวัน.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยรามคำแหงและอักษรไทย · ดูเพิ่มเติม »

อัญรินทร์ ธีราธนันพัฒน์

อัญรินทร์ ธีราธนันพัฒน์ ชื่อเล่น ทับทิม เป็นนักแสดงชาวไทย สังกัด สถานีโทรทัศน์สีกองทัพบกช่อง 7.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยรามคำแหงและอัญรินทร์ ธีราธนันพัฒน์ · ดูเพิ่มเติม »

อารีย์ วิรัฐถาวร

อารีย์ วิรัฐถาวร ในการแข่งขันโอลิมปิก 2004 ที่กรุงเอเธนส์ อารีย์ วิรัฐถาวร เกิดวันที่ 26 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2523 ที่ตำบลบ้านเหนือ อำเภอเมือง จังหวัดกาญจนบุรี จบการศึกษาจากคณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง อารีย์ เล่นกีฬายกน้ำหนักตั้งแต่อายุ 12 ปี ร่วมรุ่นกับ อุดมพร พลศักดิ์ และแตงโม พ่วงโพธิ์ ติดทีมชาติครั้งแรก ในการแข่งขันซีเกมส์ ครั้งที่ 21 ที่กัวลาลัมเปอร์ ประเทศมาเลเซีย แต่ไม่ประสบความสำเร็จ และการแข่งขันซีเกมส์ ครั้งที่ 22 ที่ประเทศเวียดนาม ได้เหรียญเงินในรุ่น 48 กิโลกรัมหญิง และเอเชียนเกมส์ ที่เมืองปูซาน ประเทศเกาหลีใต้ แต่ไม่ประสบความสำเร็จ อารีย์ มาประสบความสำเร็จจากการแข่งขันโอลิมปิก 2004 ที่กรุงเอเธนส์ ประเทศกรีซ โดยได้เหรียญทองแดง ในรุ่น 48 กิโลกรัมหญิง โดยเป็นนักกีฬาไทยคนแรกที่ได้รับเหรียญรางวัลในการแข่งขันครั้งนี้ และเป็นนักกีฬาหญิงไทยคนที่ 2 ต่อจาก เกษราภรณ์ สุตา ที่ได้เหรียญรางวัลโอลิมปิก ปัจจุบัน อารีย์รับราชการเป็นทหารเรือ (ทร.) ยศ นาวาตรีหญิง (น.ต.).

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยรามคำแหงและอารีย์ วิรัฐถาวร · ดูเพิ่มเติม »

อาณาจักรสุโขทัย

อาณาจักรสุโขทัย เคยเป็นรัฐในอดีตรัฐหนึ่ง ตั้งอยู่บนที่ราบลุ่มแม่น้ำยม สถาปนาขึ้นราวพุทธศตวรรษที่ 18 ในฐานะสถานีการค้าของรัฐละโว้ หลังจากนั้นราวปี 1800 พ่อขุนบางกลางหาวและพ่อขุนผาเมือง ได้ร่วมกันกระทำการยึดอำนาจจากขอมสบาดโขลญลำพง ซึ่งทำการเป็นผลสำเร็จและได้สถาปนาเอกราชให้รัฐสุโขทัยเป็นอาณาจักรสุโขทัย และมีความเจริญรุ่งเรืองตามลำดับและเพิ่มถึงขีดสุดในสมัยพ่อขุนรามคำแหงมหาราช ก่อนจะค่อย ๆ ตกต่ำ และประสบปัญหาทั้งจากปัญหาภายนอกและภายใน จนต่อมาถูกรวมเป็นส่วนหนึ่งของอาณาจักรอยุธยาไปในที.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยรามคำแหงและอาณาจักรสุโขทัย · ดูเพิ่มเติม »

อินเทอร์เน็ต

วิถีการจัดเส้นทางผ่านส่วนหนึ่งของอินเทอร์เน็ต อินเทอร์เน็ต (Internet) หมายถึง เครือข่ายคอมพิวเตอร์ที่มีขนาดใหญ่ มีการเชื่อมต่อระหว่างเครือข่ายหลาย ๆ เครือข่ายทั่วโลก โดยใช้ภาษาที่ใช้สื่อสารกันระหว่างคอมพิวเตอร์ที่เรียกว่า โพรโทคอล (protocol) ผู้ใช้เครือข่ายนี้สามารถสื่อสารถึงกันได้ในหลาย ๆ ทาง อาทิ อีเมล เว็บบอร์ด และสามารถสืบค้นข้อมูลและข่าวสารต่าง ๆ รวมทั้งคัดลอกแฟ้มข้อมูลและโปรแกรมมาใช้ได้.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยรามคำแหงและอินเทอร์เน็ต · ดูเพิ่มเติม »

อธิการบดี

อธิการบดี เป็นตำแหน่งผู้บังคับบัญชาสูงสุดและรับผิดชอบงานทั้งปวงของมหาวิทยาลั.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยรามคำแหงและอธิการบดี · ดูเพิ่มเติม »

อติมา ธนเสนีวัฒน์

อติมา ธนเสนีวัฒน์ แต่งงานกับ เรืออากาศเอก อำมฤต สันตกุล 22-09-2012 อติมา ธนเสนีวัฒน์ เกิดเมื่อวันที่ 22 ตุลาคม พ.ศ. 2528 เป็นนักแสดงชาวไท.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยรามคำแหงและอติมา ธนเสนีวัฒน์ · ดูเพิ่มเติม »

อนุพงษ์ เผ่าจินดา

ลเอก อนุพงษ์ เผ่าจินดา (ชื่อเล่น: ป็อก, เกิด 10 ตุลาคม 2492) สมาชิกคณะรักษาความสงบแห่งชาติ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทยคนปัจจุบัน และรองประธานคณะที่ปรึกษาคณะรักษาความสงบแห่งชาติ กรรมการในคณะกรรมการบริหารราชการแผ่นดินตามกรอบการปฏิรูปประเทศยุทธศาสตร์ชาติ และการสร้างความสามัคคีปรองดอง ประธานกรรมการคณะกรรมการกำกับการทวงถามหนี้ ประธานกรรมการในคณะกรรมการส่งเสริมกิจการฮัจย์แห่งประเทศไทยhttp://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2559/A/104/1.PDF ผู้บัญชาการกองอาสารักษาดินแดน ประธานการประชุมคณะกรรมการศูนย์อำนวยการความปลอดภัยทางถนน สภานายกพิเศษแห่งสภาวิศวกร และอดีตผู้บัญชาการทหารบก.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยรามคำแหงและอนุพงษ์ เผ่าจินดา · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดสุโขทัย

ทัย (ᩈᩩᨠᩮ᩠ᨡᩣᨴᩱ᩠ᨿ, เดิมสะกดว่า ศุโขไทย) เป็นจังหวัดหนึ่งในภาคกลางของประเทศไทย มีอาณาเขตติดต่อกับจังหวัดแพร่ อุตรดิตถ์ พิษณุโลก กำแพงเพชร ตาก และลำปาง (เรียงตามเข็มนาฬิกาจากด้านเหนือ).

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยรามคำแหงและจังหวัดสุโขทัย · ดูเพิ่มเติม »

จารึกพ่อขุนรามคำแหง

รึกหลักที่ 1 (จารึกพ่อขุนรามคำแหง) ลักษณะของตัวอักษรไทยที่ใช้ในจารึกหลักที่ 1 จารึกพ่อขุนรามคำแหง หรือ จารึกหลักที่ 1 เป็นศิลาจารึกที่บันทึกประวัติศาสตร์สมัยกรุงสุโขทัย ศิลาจารึกนี้ เจ้าฟ้ามงกุฎฯ (ต่อมาคือ พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว) ขณะผนวชอยู่เป็นผู้ทรงค้นพบเมื่อวันกาบสี ขึ้น 8 ค่ำ เดือน 3..

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยรามคำแหงและจารึกพ่อขุนรามคำแหง · ดูเพิ่มเติม »

จิรศักดิ์ ปานพุ่ม

รศักดิ์ ปานพุ่ม หรือชื่อเดิม จิระศักดิ์ ปานพุ่ม ชื่อเล่น แมว (10 พฤษภาคม พ.ศ. 2513) เป็นนักร้องและนักดนตรีชาวไทย เขาเป็นหัวหน้าวง Type One Error ในสังกัด สหภาพดนตรี.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยรามคำแหงและจิรศักดิ์ ปานพุ่ม · ดูเพิ่มเติม »

จีรนันท์ มะโนแจ่ม

ีรนันท์ มะโนแจ่ม ชื่อเล่น ยุ้ย เกิดวันพุธที่ 18 กุมภาพัน..

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยรามคำแหงและจีรนันท์ มะโนแจ่ม · ดูเพิ่มเติม »

จีเอ็มเอ็ม แกรมมี่

ริษัท จีเอ็มเอ็ม แกรมมี่ จำกัด (มหาชน) เป็นบริษัทแม่ของกิจการบันเทิง ซึ่งประกอบด้วย กลุ่มธุรกิจดนตรี, สื่อ, ภาพยนตร์, ดิจิตอล, สถานีโทรทัศน์ดาวเทียม, สถานีวิทยุ, สื่อสิ่งพิมพ์, และ อีเวนต์เมเนจเม้นท์ แบบครบวงจร ขนาดใหญ่ที่สุดในประเทศไทย ก่อตั้งโดย ไพบูลย์ ดำรงชัยธรรม และเรวัต พุทธินันทน์ เมื่อวันที่ 11 พฤศจิกายน พ.ศ. 2526 และเป็นค่ายเพลงที่ดีที่สุดอันดับ 1 ของประเทศไทย และอันดับ 3 ของเอเชีย จากการจัดอันดับของนิตยสารชื่อดังของอังกฤษ นอกจากนี้ยังเป็นบริษัทที่มีคนอยากเข้าทำงานมากที่สุดเป็นอันดับที่ 8 ของประเทศไทยอีกด้วย จีเอ็มเอ็ม แกรมมี่ ทำธุรกิจทางด้านดนตรี สื่อ ภาพยนตร์ ดิจิตอล สถานีโทรทัศน์ดาวเทียม สถานีวิทยุ สื่อสิ่งพิมพ์ และ อีเวนต์เมเนจเม้นท์ เป็นต้น โดยระยะแรกดำเนินธุรกิจหลักสร้างสรรค์ผลงาน เพลงไทยสากล โดยออกอัลบั้มชุดแรก นิยายรักจากก้อนเมฆ โดย แพทย์หญิงพันทิวา สินรัชตานันท์ และผลิตรายการทีวี 3 รายการ ได้แก่ ยิ้มใส่ไข่, มันกว่าแห้ว และ เสียงติดดาว จากนั้นจึงเริ่มขยายกิจการ ไปสู่ธุรกิจผลิตรายการโทรทัศน์และรายการวิทยุ บริษัทได้ขยายการดำเนินธุรกิจเข้าสู่ธุรกิจบันเทิงอื่นๆ เช่น วิทยุ, ภาพยนตร์, การจัดคอนเสิร์ต, การศึกษา, สื่อสิ่งพิมพ์ รวมทั้งธุรกิจร้านค้าปลีกเพื่อจัดจำหน่ายสินค้าต่างๆ ของบริษัทในเครือ เช่นเทปและซีดีเพลงการขยายธุรกิจดังกล่าวส่งให้บริษัทดำเนินธุรกิจอย่างครบวงจร และเป็นผู้นำในอุตสาหกรรมบันเทิงไทยในปี พ.ศ. 2544 ข้อมูลเมื่อ เมษายน..

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยรามคำแหงและจีเอ็มเอ็ม แกรมมี่ · ดูเพิ่มเติม »

ถนอม กิตติขจร

อมพล จอมพลเรือ จอมพลอากาศ ถนอม กิตติขจร (11 สิงหาคม พ.ศ. 2454—16 มีนาคม พ.ศ. 2547) เป็น อดีตนายกรัฐมนตรีคนที่ 10 ของประเทศไทย ผู้บัญชาการทหารบก รัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม และ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ ผู้ซึ่งเป็นหัวหน้าคณะรัฐบาลในเหตุการณ์ 14 ตุลา ปี 2516 ซึ่งเป็นเหตุการณ์การประท้วงของ นิสิต นักศึกษา และประชาชน โดยในเหตุการณ์ ทหารได้ใช้อาวุธสงครามเข้าปราบปรามนักศึกษาประชาชนที่ชุมนุมเรียกร้องรัฐธรรมนูญ จนทำให้มีผู้เสียชีวิตเป็นจำนวนมาก เป็นผลให้ จอมพล ถนอม กิตติขจร ต้องประกาศลาออกจากตำแหน่ง และเดินทางออกจากประเทศ พร้อมกับ จอมพล ประภาส จารุเสถียร และ พ.อ.ณรงค์ กิตติขจร ภายหลังเหตุการณ์ จอมพล ถนอม กิตติขจร ก็ได้เดินทางกลับ แล้วบวชเป็นพระสามเณร เป็นชนวนไปสู่การ ขับไล่ ของนักศึกษาธรรมศาสตร์ จนโยงไปสู่เหตุการณ์ 6 ตุลา ปี 2519 ทำให้มีผู้บาดเจ็บ เสียชีวิต และสูญหายจำนวนมาก จอมพล ถนอม กิตติขจร เคยดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีถึง 4 สมัย เป็นระยะเวลาถึง 10 ปี 6 เดือนเศษ และนับจากการเปลี่ยนการปกครอง พ.ศ. 2475 เป็นต้นมา นายทหารที่มาจากคนธรรมดาสามัญที่ครองยศจอมพลสายทหารบก มีด้วยกัน 7 คน จอมพลถนอมเป็นคนที่ 6 จอมพลประภาส จารุเสถียรเป็นคนที่ 7 แต่ผู้ที่มีอายุยืนที่สุด คือจอมพลถนอม จึงกลายเป็น "จอมพลคนสุดท้าย" จอมพลถนอมถึงแก่อสัญกรรมด้วยโรคเส้นเลือดในสมองแตกเมื่อกลางดึก เมื่อวันที่ 16 มิถุนายน..

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยรามคำแหงและถนอม กิตติขจร · ดูเพิ่มเติม »

ถนนรามคำแหง

นนรามคำแหง (Thanon Ramkhamhaeng) เป็นถนนสายหนึ่งในกรุงเทพมหานคร ฝั่งตะวันออก มีความยาวรวมทั้งหมดประมาณ 18 กิโลเมตร แบ่งออกเป็น 2 ช่วงคือ.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยรามคำแหงและถนนรามคำแหง · ดูเพิ่มเติม »

ทรู อะคาเดมี่ แฟนเทเชีย ซีซั่นที่ 6

‎ ทรู อคาเดมี่ แฟนเทเชีย ซีซั่นที่ 6 เริ่มเข้าบ้านวันที่ 29 มิถุนายน 2552 มีจำนวนนักล่าฝัน 12 คน เป็น ชาย 5 คน หญิง 7 คน จากออดิชั่นสด 10 คนและจาก ออนไลน์ 2 คน ฤดูกาลนี้เป็นฤดูกาลแรกที่นักล่าฝันเริ่มต้นมีจำนวนเท่าเดิมคือ 12 คน หลังจากในซีซั่นที่ 3, 4 และ 5 มีนักล่าฝันเริ่มต้นมากกว่า 12 คน.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยรามคำแหงและทรู อะคาเดมี่ แฟนเทเชีย ซีซั่นที่ 6 · ดูเพิ่มเติม »

ทรู อะคาเดมี่ แฟนเทเชีย ซีซั่นที่ 8

‎ ทรู อคาเดมี่ แฟนเทเชีย ซีซั่นที่ 8 เป็นรายการเรียลลิตี้โชว์ค้นหานักร้องเพื่อประดับวงการบันเทิง ในชุด ทรู อะคาเดมี่ แฟนเทเชีย โดยในซีซั่นนี้เป็นครั้งที่สองทรูใช้เครือข่ายสังคมออนไลน์ (ทวิตเตอร์และเฟซบุ๊ก) ในการประชาสัมพันธ์รายการร่วมกับเว็บไซต์หลักและอายุของผู้เข้าสมัครเปลี่ยนเป็น 15-25 เป็นซีซั่นที่สองจากเดิมที่ 18-28 ปี และสิ่งที่แตกต่าง คือ การคัดเลือกจากสถาบันการศึกษา 12 คนและออดิชั่นอีก 12 คนรวมเป็น 24 คน ที่จะได้เข้าร่วมรายการทรู อคาเดมี่ แฟนเทเชีย ซีซั่นที่ 8 แต่เนื่องจากผู้สมัครออดิชั่นทางสถาบันมีคุณสมบัติเพียงพอที่จะเป็นนักล่าฝันเพียง 9 คน ทำให้มีผู้มีสิทธิ์ที่จะเข้าบ้านจากออดิชั่นสดและคลิปรวม 15 คนรวมเป็น 24 คนเท่าเดิม.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยรามคำแหงและทรู อะคาเดมี่ แฟนเทเชีย ซีซั่นที่ 8 · ดูเพิ่มเติม »

ทวิช กลิ่นประทุม

นายทวิช กลิ่นประทุม เกิดเมื่อวันที่ 9 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2473 เป็นบุตรคนที่ 3 ของนายสมชาย กับนางอรุณี กลิ่นประทุม มีพี่น้อง 4 คน และเป็นอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จังหวัดมหาสารคาม และจังหวัดราชบุรี อดีตหัวหน้าพรรคธรรมสังคม เคยดำรงตำแหน่งรองนายกรัฐมนตรี สมัยรัฐบาลหม่อมราชวงศ์คึกฤทธิ์ ปราโมช เป็นรัฐมนตรีว่าการทบวงมหาวิทยาลัยหลายสมัย รัฐมนตรีว่าการกระทรวงคมนาคม และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เป็นบิดาของนายสรอรรถ กลิ่นประทุม อดีตรัฐมนตรีหลายสมัย นายทวิช เสียชีวิตเมื่อวันที่ 26 กรกฎาคม พ.ศ. 2549.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยรามคำแหงและทวิช กลิ่นประทุม · ดูเพิ่มเติม »

ทัช ณ ตะกั่วทุ่ง

ทัช ณ ตะกั่วทุ่ง (เกิด 17 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2512) เป็นนักร้อง, นักแสดงที่มีชื่อเสียง ภายใต้สังกัด อาร์เอส, อาร์สยาม ตามลำดับ แรกเริ่มเข้าวงการเป็นนักร้องแนวเพลงสตริง ก่อนจะหันมาร้องเพลงลูกทุ่ง โดยมีเพลงฮิตสร้างชื่อเสียง ได้แก่ เพลง มือที่สาม, เท้าไฟ, ลื่น, ไม่มีที่ไป, กลัวเบื่อ, จำไว้เลย, ห่วงฉันบ้างไหม เป็นต้น สำหรับช่องทางการติดตามผลงาน Facebook:touch natakuatoong Instargram:touch_natakuatoong Twiter:touchthunder Youtube:ทัช ณ ตะกั่วทุ่ง Line:@touchthunder.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยรามคำแหงและทัช ณ ตะกั่วทุ่ง · ดูเพิ่มเติม »

ขัตติยะ สวัสดิผล

ลตรี ขัตติยะ สวัสดิผล หรือเป็นที่รู้จักในชื่อ.แดง (2 มิถุนายน พ.ศ. 2494 — 17 พฤษภาคม พ.ศ. 2553) เป็นทหารบกชาวไทย เริ่มเป็นที่รู้จักของคนทั่วไปเมื่อมีคดีความการรื้อบาร์เบียร์ย่านซอยสุขุมวิท 10 และถูก พล.ต.อ.สันต์ ศรุตานนท์ อดีตผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติ ฟ้องเรียกค่าเสียหายที่กล่าวหาว่า พล.ต.อ.สันต์ มีพฤติกรรมในการใช้อำนาจโดยมิชอบและละเว้นการปฏิบัติหน้าที่ รวมทั้งทุจริตการจัดซื้อ-จัดจ้าง การทำสำนวนคดีรื้อถอนบาร์เบียร์ที่มีพฤติการณ์ช่วยเหลือนายชูวิทย์ กมลวิศิษฎ์ และเป็นผู้มีส่วนร่วมในการอุ้มนายชูวิทย์จากโรงแรมดิเอมเมอรัลด์ รัชดาภิเษก จึงเป็นจุดเริ่มต้นของการเขียนหนังสือ คม....แดง ขึ้น อันเป็นหนังสืออัตชีวประวัติและรวบรวมความคิดคำพูดของ พล.ต.ขัตติยะ เอง.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยรามคำแหงและขัตติยะ สวัสดิผล · ดูเพิ่มเติม »

ณัฐรัตน์ นพรัตยาภรณ์

ณัฐรัตน์ นพรัตยาภรณ์ ชื่อเล่น ไอซ์ หรือ ไอซ์ซึ เกิดเมื่อวันที่ 22 มกราคม พ.ศ. 2534 เป็นนักแสดงและนายแบบชาวไทย มีชื่อเสียงจากการเป็นนายแบบไทยคนแรกที่ได้เข้าสังกัดเกาหลีและเดินแบบในงานต่าง.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยรามคำแหงและณัฐรัตน์ นพรัตยาภรณ์ · ดูเพิ่มเติม »

ณัฐวรา วงศ์วาสนา

ณัฐวรา วงศ์วาสนา ชื่อเล่น มิ้นท์ เป็นนักแสดงชาวไทย ชื่อเกิดคือ วณิชชา วงศ์วาสนา เปลี่ยนชื่อเป็น เพชรา ต่อมาได้มีการเปลี่ยนชื่ออีกครั้ง และใช้จนถึงปัจจุบันคือ ณัฐวรา ตามคำแนะนำของผู้จัดการส่วนตัว ซึ่งณัฐวราเป็นนักแสดงในสังกัดของ ศุภชัย ศรีวิจิตร' และเซ็นสัญญาเป็นนักแสดงของช่อง 3 กับละครเรื่องแรก เงารักลวงใจ ในปี 2554 เธอมีผลงานที่เป็นที่รู้จักจากบท ชมพูแพร ในละครเรื่อง เกมร้ายเกมรัก.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยรามคำแหงและณัฐวรา วงศ์วาสนา · ดูเพิ่มเติม »

ณิชารีย์ โชคประจักษ์ชัด

ณิชารีย์ โชคประจักษ์ชัด (เกิด 19 กรกฎาคม พ.ศ. 2534) ชื่อเล่น วาววา เป็นนักแสดงและนางแบบชาวไทยเชื้อสายจีน มีผลงานที่เป็นที่รู้จักจากละครเรื่อง The Sixth Sense สื่อรักสัมผัสหัวใจ และ บางระจัน.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยรามคำแหงและณิชารีย์ โชคประจักษ์ชัด · ดูเพิ่มเติม »

ณปภัช วัฒนากมลวุฒิ

ณปภัช วัฒนากมลวุฒิ (เกิดวันที่ สังกัดค่ายกามิกาเซ่ ในเครือบริษัท อาร์เอส จำกัด (มหาชน) จบการศึกษาอนุบาลจาก โรงเรียนยุววิทย์ จบการศึกษาประถมศึกษาจาก โรงเรียนราชินีบน จบการศึกษามัธยมศึกษาจาก โรงเรียนโยธินบูรณะ โครงการภาคภาษาอังกฤษ แผนกสาย อังกฤษ-จีน ปัจจุบันสำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรี คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง เมื่อ 22 มิถุนายน พ.ศ. 2560 ใช้ระยะเวลาเรียน 3 ปี 6 เดือน เคยมีผลงานทางด้านรายการโทรทัศน์ โดยเป็นพิธีกรรายการ "Teenclub" ทาง ททบ.5 และมีผลงานภาพยนตร์เรื่องแรก คือเรื่อง "Super แหบ-แสบ-สะบัด" โดยแสดงคู่กับฟิล์ม รัฐภูมิ โตคงทรัพย์ และเคยเป็นดารารับเชิญซิตคอมเรื่องบริษัทสร้างสุข ตอน เหนือดวง รับบทเป็นหญิงสาวที่คลั่งเรื่องโชคชะตาชื่อ เนย และในละครสั้น “หนังดังวันหยุด” ทางสถานีโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 3 กับการร่วมงานครั้งแรกกับ ศุภวัฒน์ ชูสุวรรณ ซึ่งเป็นนักร้องนำวง เล้าโลม และผู้กำกับอย่าง อี๊ด โปงลางสะออน ต่อมาได้เป็นพิธีกรรายการ Stop Me Babe คู่กับแนนนี่(เกิร์ลลี่ เบอร์รี่) ทางช่อง “ย๊าค ทีวี” ฟรี ทีวี อันเซ็นเซอร์ สำหรับคนรุ่นใหม่ 24 ชั่วโมง รายการแรกที่สองสาวจะพาเที่ยวในแบบ เซ็กซี่ เปรี้ยว ซน ซ่าส์ แสนซน ทุกวันอาทิตย์ 22.00 น. เป็นต้นไป ต่อมามดได้อยู่โปรเจกต์พิเศษอย่าง "เซเว่นเดส์ 2" ซึ่งประกอบไปด้วย มด Sunday, จินนี่ Monday, เนย Tuesday, โบว์ Wednesday, แบม Thursday, ป๊อปปี้ Friday และ บูม Saturday โดยมดเป็นสาววันอาทิตย์ที่มี คาแร๊กเตอร์เป็น สาวที่มีความน่ารัก, ความสดใส, ชอบเต้น โดยเปิดตัวเพลงแรกของโปรเจกต์อย่างเพลง "Angry Boo" ซึ่งมีหนุ่มโทโมะจากวง เค-โอติก มาร่วมแสดงในเอ็มวีด้วย และผลงานในละครเรื่องแรกอย่าง “น้องเมีย” ซึ่งมดก็ได้รับเล่นในเรื่องนี้ด้วย ออกอากาศทางช่อง 8 อินฟินิตี้ โดยมีผู้กำกับคือเมย์ เฟื่องอารมย์ โดยเรื่องนี้ถือเป็นละครเรื่องแรกที่มดได้เข้าไปร่วมแสดงละครแบบเต็มๆทั้งเรื่องโดย มดแสดงเป็นตัวร้ายชื่อว่า"มะเฟือง" ซึ่งเมื่อออกมากระแสตอบรับดีมาก ทำให้ มด ลุยงานละคร เป็นเรื่องที่ 2 คือ "ข้าวนอกนา" แสดงเป็น "อีดำ" ซึ่งออกอากาศเมื่อต้นเดือนเมษายน พ.ศ. 2556 ปัจจุบันเป็นนักแสดงของ ช่อง 8 และปัจจุบันไปเป็นแอร์โฮสเต.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยรามคำแหงและณปภัช วัฒนากมลวุฒิ · ดูเพิ่มเติม »

ดนุพร ปุณณกันต์

นุพร ปุณณกันต์ (เกิด 3 กันยายน พ.ศ. 2514) อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร ระบบบัญชีรายชื่อ และรองเลขาธิการพรรคเพื่อไทย กรรมการผู้จัดการบริษัททูทเวนตี้ทรี จำกัด เป็นอดีตรองโฆษกประจำสำนักนายกรัฐมนตรีใน ครม.ทักษิณ 2 อดีตที่ปรึกษารัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข และเป็นอดีตนักแสดงที่มีชื่อเสียง.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยรามคำแหงและดนุพร ปุณณกันต์ · ดูเพิ่มเติม »

คิม ไชยแสนสุข

รองศาสตราจารย์คิม ไชยแสนสุข (4 กรกฎาคม พ.ศ. 2498 —) อดีตอธิการบดีมหาวิทยาลัยรามคำแหง (พ.ศ. 2550 — พ.ศ. 2554).

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยรามคำแหงและคิม ไชยแสนสุข · ดูเพิ่มเติม »

คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยรามคำแหง

ณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยรามคำแหง (Faculty of Business Administration Ramkhamhaeng University) เป็นคณะหนึ่งในมหาวิทยาลัยรามคำแหง ที่จัดการเรียนการสอนหลักสูตรด้านวิชาบริหารธุรกิจ ก่อตั้งขึ้นตามพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยรามคำแหงในปี..

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยรามคำแหงและคณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยรามคำแหง · ดูเพิ่มเติม »

คณะพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง

ณะพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง เปิดสอนหลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ และปริญญาโทถึงปริญญาเอก นับเป็นสถาบันการศึกษาที่เปิดสอนการพัฒนาทรัพยากร มนุษย์ เป็นแห่งที่2ของประเทศไทย ตั้งแต่ปี..

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยรามคำแหงและคณะพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง · ดูเพิ่มเติม »

คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง

ณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง ก่อตั้งขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 2514 โดยเป็นหนึ่งในสี่คณะที่กำเนิดขึ้นพร้อมกับการจัดตั้งมหาวิทยาลัยรามคำแหง เมื่อแรกเริ่มมีทำหน้าที่สอนวิชาพื้นฐานด้านมนุษยศาสตร์และวิทยาศาสตร์ให้แก่คณะอื่น ๆ ต่อมาได้มีการพัฒนาเรื่อยๆมาจนเปิดหลักสูตร ทางด้านสายสังคมศาสตร์, วิทยาศาสตร์ และครอบคลุมไปยังด้านสาขามานุษยวิทยา, สังคมวิทยา รวมไปถึงภาษาต่างประเทศ ในปัจจุบันคณะมนุษยศาสตร์เปิดสอนหลักสูตรทั้งระดับปริญญาตรี ปริญญาโท และปริญญาเอก.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยรามคำแหงและคณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง · ดูเพิ่มเติม »

คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง

ณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง (Faculty of Political Science Ramkhamhaeng University) ก่อตั้งเมื่อ พ.ศ. 2516 โดยในระยะแรกได้เปิดสอนเป็นสาขารัฐศาสตร์ สังกัดคณะนิติศาสตร์มาตั้งแต่ พ.ศ. 2515.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยรามคำแหงและคณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง · ดูเพิ่มเติม »

คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

ณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย (Faculty of Political Science, Chulalongkorn University) เป็นส่วนราชการไทยระดับคณะวิชา สังกัดจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ ถือได้ว่าเป็นคณะวิชาที่เก่าแก่ที่สุดแห่งหนึ่งของประเทศ เป็นคณะรัฐศาสตร์แห่งแรกของประเทศไทย และเป็น 1 ใน 4 คณะแรกตั้งของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เปิดทำการเรียนการสอนทั้งในระดับปริญญาตรี ปริญญาโท และปริญญาเอก อีกทั้งยังเป็นคณะที่ได้รับการเลือกเข้าศึกษาจากผู้ที่ได้คะแนนสูงสุดจากการคัดเลือกบุคคลเข้าศึกษาต่อในระดับปริญญาตรีด้วยระบบ Admission ถึง 4 ปีซ้อน (2553 - 2556).

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยรามคำแหงและคณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย · ดูเพิ่มเติม »

คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง

ณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง เป็นคณะที่ผลิตบัณฑิตด้านวิศวกรรมและเทคโนโลยีของ มหาวิทยาลัยรามคำแหงและเป็นมหาวิทยาลัยเปิดแห่งเดียว ที่ทำการสอนด้านนี้.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยรามคำแหงและคณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง · ดูเพิ่มเติม »

คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง

ณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง (Faculty of Science Ramkhamhaeng University) เป็นคณะหนึ่งในมหาวิทยาลัยรามคำแหงซึ่งเปิดสอนวิชาที่เกี่ยวข้องกับวิทยาศาสตร์ในแขนงต่าง.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยรามคำแหงและคณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง · ดูเพิ่มเติม »

คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง

ณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง เป็นคณะในมหาวิทยาลัยรามคำแหง ที่เปิดสอนวิชาด้านศิลปกรรมศาสตร์ มีพระราชกฤษฎีกาจัดตั้งคณะศิลปกรรมศาสตร์ขึ้นในมหาวิทยาลัยรามคำแหง นับเป็นคณะทางศิลปศาสตร์ ของมหาวิทยาลัยรามคำแหง นอกจากด้านการสอนแล้ว คณะศิลปกรรมศาสตร์ยังทำหน้าที่วิจัย บุกเบิก และพัฒนาวิชาการด้านศิลปกรรม รวมทั้งทะนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรมตามนโยบายของมหาวิทยาลั.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยรามคำแหงและคณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง · ดูเพิ่มเติม »

คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง

ณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง (Faculty of Education Ramkhamhaeng University) เป็นหนึ่งในสี่คณะแรกที่ก่อตั้งขึ้นพร้อมกับมหาวิทยาลัยรามคำแหง เมื่อวันที่ 26 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2514.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยรามคำแหงและคณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง · ดูเพิ่มเติม »

คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง

ณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง (Faculty of Public Health Ramkhamhaeng University) เป็นคณะที่ดำเนินการสอนรายวิชาด้านสาธารณสุขศาสตร์ของมหาวิทยาลัยรามคำแหง และเป็นคณะที่จัดตั้งเป็นหน่วยงานภายในของ กองบริการการศึกษา โดยเริ่มเปิดสอน ระดับปริญญาตรี 2 หลักสูตร และ ระดับปริญญาโท 1 หลักสูตร.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยรามคำแหงและคณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง · ดูเพิ่มเติม »

คณะสื่อสารมวลชน มหาวิทยาลัยรามคำแหง

ณะสื่อสารมวลชน มหาวิทยาลัยรามคำแหง เป็นส่วนราชการไทยระดับคณะวิชา สังกัดมหาวิทยาลัยรามคำแหง กระทรวงศึกษาธิการเดิมชื่อ คณะเทคโนโลยีการสื่อสารมวลชน โดยเป็นคณะวิชาในแขนงคณะเทคโนโลยีการสื่อสารมวลชนหรือที่เรียกทั่วไปว่า "นิเทศศาสตร์" เป็นการผสมผสานศาสตร์ทางด้านศิลปะและเทคโนโลยี บูรณาการเข้าไว้กัน.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยรามคำแหงและคณะสื่อสารมวลชน มหาวิทยาลัยรามคำแหง · ดูเพิ่มเติม »

คณะธุรกิจการบริการ มหาวิทยาลัยรามคำแหง

ณะธุรกิจการบริการ มหาวิทยาลัยรามคำแหง (Faculty of Business service Ramkhamhaeng University) เป็นคณะที่ดำเนินการสอนรายวิชาด้านสาขาธุรกิจการบริการ เป็นธุรกิจที่เกี่ยวกับการบริการในรูปแบบต่าง ๆ เพื่อตอบสนองความต้องการของผู้บริโภค เช่น ความสะดวก สบาย ความปลอดภัย ความบันเทิง โดยคิดค่าบริการเป็นค่าตอบแทน เช่น ธุรกิจการท่องเที่ยว ธุรกิจการโรงแรม ธุรกิจการขนส่ง ธุรกิจร้านอาหาร โรงพยาบาล ของมหาวิทยาลัยรามคำแหง และเป็นคณะที่จัดตั้งเป็นหน่วยงานภายในของ กองบริการการศึกษา โดยเริ่มเปิดสอนหลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต ระดับปริญญาตรี ในหลักสูตร 1 สาขาว.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยรามคำแหงและคณะธุรกิจการบริการ มหาวิทยาลัยรามคำแหง · ดูเพิ่มเติม »

คณะทัศนมาตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง

ณะทัศนมาตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง เดิมเป็นหน่วยงานในสังกัด สถาบันวิทยาสตร์สุภาพ มหาวิทยาลัยรามคำแหง ได้พัฒนามาจากหลักสูตรทัศนมาตรศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาทัศนมาตรศาสตร์ ซึ่งเป็นสถาบันอุดมศึกษาแห่งแรกของประเทศที่ให้ความสำคัญด้านการแพทย์ด้านสายตาและสุขภาพตาโดยเน้นการดูแล แก้ไข และป้องกันสุขภาพของระบบการมองเห็น ซึ่งรวมตั้งแต่สุขภาพของลูกตาไปจนถึงอวัยวะที่อยู่รอบ ๆ เช่นระบบกล้ามเนื้อ กระดูก และระบบประสาท ที่เกี่ยวเนื่องกับระบบการเห็น เป็นหลักสูตร 6 ปีและ มีการผลิตบุคลากรสาขาวิชาทัศนมาตรศาสตร์ ในระดับปริญญาบัณฑิตเมื่อปีเปิดสอนมาแล้วถึง 17 ปี โดยความร่วมมือกับมหาวิทยาลัยอินเดียน่า ประเทศสหรัฐอเมริกา และอีกหลายมหาวิทยาลัยที่ส่งผู้เชียวชาญด้านทัศนมาตรศาสตร์ ระดับโลกมาสอนนักศึกษา และผลิตบัณฑิตสาขาวิทยาศาสตร์สุขภาพ มาอย่างต่อเนื่อง.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยรามคำแหงและคณะทัศนมาตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง · ดูเพิ่มเติม »

คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง

ณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง เป็นส่วนราชการไทยระดับคณะวิชา สังกัดมหาวิทยาลัยรามคำแหง กระทรวงศึกษาธิการ โดยจัดตั้งขึ้นพร้อมกับมหาวิทยาลัยรามคำแหงอาศัยข้อบังคับและพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยรามคำแหง มีบทบาทสำคัญเกี่ยวกับการเมืองการปกครองของประเทศไทยในอดีตและต่อเนื่องมาจนถึงปัจจุบัน ได้ตอบสนองความต้องการของคนในสังคมด้วยการเปิดโอกาสทางการศึกษาเพื่อผลิตบัณฑิตที่มีความรู้อย่างมีคุณธรรมเพื่อนำความรู้ที่ได้ไปใช้ในการพัฒนาประเทศให้เจริญก้าวหน้าต่อไป ปัจจุบันคงเปิดดำเนินการและมีพัฒนาการอย่างต่อเนื่องเพื่อให้เกิดผลตอบรับที่ดีและการปรับตัวเพื่อเข้าสู่ประชาคมอาเซียน.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยรามคำแหงและคณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง · ดูเพิ่มเติม »

คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง

ณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง (Faculty of Economics Ramkhamhaeng University) เป็นคณะหนึ่งในมหาวิทยาลัยรามคำแหง ที่จัดการเรียนการสอนหลักสูตรด้านวิชาเศรษฐศาสตร์ โดยเริ่มดำเนินการมาตั้งแต่ปี..

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยรามคำแหงและคณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง · ดูเพิ่มเติม »

คณิศ ปิยะปภากรกูล

ณิศ ปิยะปภากรกูล อดีต ศิลปิน นักแสดง นักร้อง (อดีตสมาชิกวงบี-โอ-วาย) และนายแบบชาวไทยสังกัดวิริยะ พงษ์อาจหาญ ปัจจุบันเขาออกจากวงการไปเป็นเชฟทำอาหาร.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยรามคำแหงและคณิศ ปิยะปภากรกูล · ดูเพิ่มเติม »

ต่าย อรทัย

ต่าย อรทัย (เกิด 27 มีนาคม พ.ศ. 2523) ชื่อเล่น ต่าย เป็นนักร้องชาวไทยค่ายแกรมมี่โกลด์ในเครือจีเอ็มเอ็ม แกรมมี่ เจ้าของฉายา สาวดอกหญ้าและราชินีลูกทุ่ง เธอมียอดขายสูงที่สุดของวงการลูกทุ่งไทย เพราะเธอสามารถทำยอดขายได้ทะลุถึง 1 ล้านตลับ ทั้งหมด 3 อัลบั้มติดต่อกัน ได้แก่ อัลบั้มชุดที่ 1 ดอกหญ้าในป่าปูน, อัลบั้มชุดที่ 2 ขอใจกันหนาว และอัลบั้มชุดพิเศษอยู่ในใจเสมอ ในปี 2557 เพลงเจ้าชายของชีวิต ในอัลบั้มชุดที่ 10 เจ้าชายของชีวิต ยังมียอดดาวโหลดสูงสุดของแกรมมี่โกลด์อีกด้ว.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยรามคำแหงและต่าย อรทัย · ดูเพิ่มเติม »

ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน

ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (ASEAN Economic Community: AEC) คือ การร่วมกันทางเศรษฐกิจของประเทศในเขตอาเซียน เพื่อผลประโยชน์ในอำนาจการต่อรองทางเศรษฐกิจ การส่งออก และการนำเข้าของสินค้า จะเริ่มใช้ใน พ.ศ. 2558 ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ดำเนินการควบคู่ไปกับ ประชาคมการเมืองและความมั่นคงอาเซียน (ASEAN Political-Security Community: APSC) และประชาคมสังคม-วัฒนธรรมอาเซียน (ASEAN Socio-Cultural Community: ASCC) ซึ่งเป็นสามส่วนหลักของประชาคมอาเซียน แม้อาเซียนจะมิได้มีสนธิสัญญาหรือกฎบัตรมาตั้งแต่ต้น แต่เมื่อเวลาผ่านไปอาเซียนก็ได้พัฒนาความร่วมมือโดยอาศัยฐานในทางกฎหมายระหว่างประเทศมากขึ้น เช่น การที่สมาชิกอาเซียนได้จัดทำสนธิสัญญาไมตรี และความร่วมมือในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (Treaty of Amity and Cooperation in Southeast Asia 1976 หรือ TAC) ซึ่งก็เป็นการนำหลักกฎหมายระหว่างประเทศที่มีอยู่เดิมแล้วมาเน้นย้ำระหว่างรัฐในภูมิภาค เช่น หลักการเคารพอำนาจอธิปไตยของรัฐ หลักการไม่แทรกแซงกิจการอันเป็นการภายในของแต่ละรัฐ ซึ่งปรากฏอยู่ในกฏบัตรสหประชาชาติอยู่แล้ว เป็นต้น และอาเซียนก็ได้อาศัยหลักในสนธิสัญญาดังกล่าวมาเป็นหลักการที่อาเซียนยึดถือ และเป็นข้อแม้ในการต่อรองกับรัฐที่ไม่ใช่สมาชิกให้ลงนามเป็นภาคีก่อนจะได้รับให้เข้าร่วมประชุมกับอาเซียนนั่นเอง ข้อพิจารณาสำคัญคือสนธิสัญญาดังกล่าวมิได้เกี่ยวข้องหรือทำขึ้นกับอาเซียนโดยตรง และอาเซียนก็มิได้มีความสามารถในการทำสนธิสัญญาโดยตนเอง เพียงแต่รัฐที่อยู่ในบริเวณเอเชียอาคเนย์ได้เข้าเป็นภาคีสนธิสัญญาดังกล่าวเพื่อประโยชน์ร่วมกันในภูมิภาคและอาศัยอาเซียนเป็นเครื่องมือในการดำเนินความร่วมมือและพันธกรณีหรือหน้าที่ตามสนธิสัญญานั้นย่อมส่งผลกระทบต่อการดำเนินความร่วมมือภายใต้กรอบอาเซียนโดยปริยาย นอกจากนี้ อาเซียนยังได้เป็นเวทีที่ทำให้เกิดสนธิสัญญาในเรื่องอื่น ๆ เช่น การทำให้ภูมิภาคปลอดจากอาวุธนิวเคลียร์ หรือล่าสุดในด้านการต่อต้านการก่อการร้าย ตลอดจนความตกลงเรื่องเศรษฐกิจและความร่วมมือเฉพาะด้าน เช่น ด้านการส่งเสริมสวัสดิการสังคม การศึกษา การป้องกันและปราบปรามอาชญากรรมข้ามชาติสิ่งแวดล้อม การจัดการภัยพิบัติ ฯลฯ ซึ่งล้วนอาศัยอาเซียนเป็นกลไกสำคัญทั้งสิ้น ดังนั้น แม้ในทางรูปแบบแล้วจะไม่ถือว่าอาเซียนได้ตั้งอยู่บนฐานกฎหมายระหว่างประเทศ แต่ในทางเนื้อหากฎหมายระหว่างประเทศและความตกลงเหล่านี้ก็จะได้มีอิทธิพลต่อการดำเนินของอาเซียนในช่วงเวลาที่ผ่านม.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยรามคำแหงและประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน · ดูเพิ่มเติม »

ประภาศน์ อวยชัย

ตราจารย์ ประภาศน์ อวยชัย (18 ธันวาคม พ.ศ. 2467 - 10 มิถุนายน พ.ศ. 2560) อดีตอธิการบดีมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรม และอดีตประธานสภานิติบัญญัติแห่งชาต.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยรามคำแหงและประภาศน์ อวยชัย · ดูเพิ่มเติม »

ประภาส จารุเสถียร

อมพล จอมพลเรือ จอมพลอากาศ พลตำรวจเอก ประภาส จารุเสถียร (5 ธันวาคม พ.ศ. 2455 — 18 สิงหาคม พ.ศ. 2540) อดีตรองนายกรัฐมนตรี, อดีตผู้บัญชาการทหารบก, อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย, อดีตอธิบดีกรมตำรวจ และอดีตอธิการบดีจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลั.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยรามคำแหงและประภาส จารุเสถียร · ดูเพิ่มเติม »

ประมาณ เลืองวัฒนะวณิช

นายประมาณ เลืองวัฒนะวณิช ประมาณ เลืองวัฒนะวณิช อดีตกรรมการบริหารสภาทนายความ เคยเป็นพิธีกรรายการโทรทัศน์ให้ความรู้และให้คำปรึกษาด้านกฎหมายคู่กับวันชัย สอนศิริ ในรายการ "แจ้งความ" ทางสถานีโทรทัศน์ไอทีวี ตั้งแต..

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยรามคำแหงและประมาณ เลืองวัฒนะวณิช · ดูเพิ่มเติม »

ประจวบ ไชยสาส์น

นายประจวบ ไชยสาส์น นายกสภามหาวิทยาลัยรามคำแหง อดีตหัวหน้าพรรคเสรีธรรม อดีตเลขาธิการพรรคชาติพัฒนา อดีตรัฐมนตรีว่าการทบวงมหาวิทยาลัย ในรัฐบาลของนายชวน หลีกภัย และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงอื่นๆ อีกหลายกระทรวง และเป็นบิดาของนายต่อพงษ์ ไชยสาส์น และนายจักรพรรดิ ไชยสาส์น สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จังหวัดอุดรธานี พรรคเพื่อไทย นายประจวบ ไชยสาส์น เป็นที่รู้จักกันในฉายา "อีดี้อีสาน".

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยรามคำแหงและประจวบ ไชยสาส์น · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศพม่า

ม่า หรือ เมียนมา (မြန်မာ,, มฺยะหฺม่า) มีชื่อทางการว่า สาธารณรัฐแห่งสหภาพพม่า หรือ สาธารณรัฐแห่งสหภาพเมียนมา (ပြည်ထောင်စု သမ္မတ မြန်မာနိုင်ငံတော်, ปหฺยี่เด่าง์ซุ ตัมมะดะ มฺยะหฺม่า ไหฺน่หฺงั่นด่อ) เป็นรัฐเอกราชในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ มีพรมแดนติดกับอินเดีย บังกลาเทศ จีน ลาว และไทย หนึ่งในสามของพรมแดนพม่าที่มีความยาว 1,930 กิโลเมตรเป็นแนวชายฝั่งตามอ่าวเบงกอลและทะเลอันดามัน ด้วยพื้นที่ 676,578 ตารางกิโลเมตร ประเทศพม่าเป็นประเทศที่ใหญ่เป็นอันดับที่ 40 ของโลก และใหญ่เป็นอันดับที่ 2 ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ สำมะโนของประเทศในปี 2557 เผยว่าประเทศพม่ามีประชากรน้อยกว่าที่คาดการณ์ โดยมีบันทึกประชากร 51 ล้านคน มีเมืองหลวง คือ กรุงเนปยีดอ และนครใหญ่สุด คือ ย่างกุ้ง อารยธรรมช่วงต้นของประเทศพม่ามีนครรัฐปยูที่พูดภาษาตระกูลทิเบต-พม่าในพม่าตอนบน และราชอาณาจักรมอญในพม่าตอนล่าง ในคริสต์ศตวรรษที่ 9 ชาวพม่าได้เข้าครอบครองบริเวณลุ่มแม่น้ำอิรวดีตอนบน และสถาปนาราชอาณาจักรพุกามในช่วงคริสต์ทศวรรษที่ 1050 ภาษาและวัฒนธรรมพม่าพร้อมด้วยศาสนาพุทธนิกายเถรวาทค่อย ๆ ครอบงำในประเทศ อาณาจักรพุกามล่มสลายเพราะการบุกครองของมองโกลและรัฐหลายรัฐกำเนิดขึ้น ในคริสต์ศตวรรษที่ 16 ราชวงศ์ตองอูสร้างเอกภาพอีกครั้ง และช่วงสั้น ๆ เป็นจักรวรรรดิใหญ่สุดในประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ต้นศตวรรษที่ 19 ราชวงศ์คองบองได้ปกครองพื้นที่ประเทศพม่าและควบคุมมณีปุระและอัสสัมในช่วงสั้น ๆ ด้วย บริติชพิชิตพม่าหลังสงครามอังกฤษ-พม่าทั้งสามครั้งในคริสต์ศตวรรษที่ 19 และประเทศกลายเป็นอาณานิคมบริติช ประเทศพม่าได้รับเอกราชใน..

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยรามคำแหงและประเทศพม่า · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศศรีลังกา

รีลังกา (ශ්රී ලංකා; இலங்கை) หรือชื่อทางการว่า สาธารณรัฐสังคมนิยมประชาธิปไตยศรีลังกา (ශ්රී ලංකා ප්රජාතාන්ත්රික සමාජවාදී ජනරජය; இலங்கை சனநாயக சோசலிசக் குடியரசு) เป็นประเทศเกาะในมหาสมุทรอินเดียตอนเหนือ นอกชายฝั่งตะวันออกเฉียงใต้ของอนุทวีปอินเดีย ชื่อในอดีตได้แก่ ลังกา ลังกาทวีป สิงหลทวีป และ ซีลอน ซึ่งเป็นชื่อที่ใช้ในสมัยอาณานิคมจนถึง พ.ศ. 2517 มีพรมแดนทางทะเลติดต่อกับอินเดียทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือ และมัลดีฟส์ทางทิศตะวันตกเฉียงใต้.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยรามคำแหงและประเทศศรีลังกา · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศอินเดีย

อินเดีย (India; भारत, ออกเสียง) หรือชื่อทางการว่า สาธารณรัฐอินเดีย (Republic of India; भारत गणराज्य) ตั้งอยู่ในทวีปเอเชียใต้ เป็นพื้นที่ส่วนใหญ่ของอนุทวีปอินเดีย มีประชากรมากเป็นอันดับที่สองของโลก และเป็นประเทศประชาธิปไตยที่มีประชากรมากที่สุดในโลก โดยมีประชากรมากกว่าหนึ่งพันล้านคน มีภาษาพูดร้อยแปดสิบแปดภาษาโดยประมาณ ด้านเศรษฐกิจ อินเดียมีอำนาจการซื้อมากเป็นอันดับที่สี่ของโลก ทั้งนี้ อาณาเขตทางทิศเหนือติดกับจีน เนปาล และภูฏาน ทางตะวันตกเฉียงเหนือติดกับปากีสถาน ทางตะวันออกติดพม่า ทางตะวันตกเฉียงใต้จรดมหาสมุทรอินเดีย ทางตะวันออกเฉียงใต้ติดศรีลังกา ล้อมรอบบังกลาเทศทางทิศเหนือ ทิศตะวันออก และทิศตะวันตก นอกนั้นยังมีเขตแดนทางทะเลต่อเนื่องกับน่านน้ำไทย พม่า และอินโดนีเซีย และด้วยพื้นที่ 3,287,590 ตารางกิโลเมตร อินเดียจึงเป็นประเทศที่ใหญ่ที่สุดอันดับ 7 ของโลก.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยรามคำแหงและประเทศอินเดีย · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศไทย

ประเทศไทย มีชื่ออย่างเป็นทางราชการว่า ราชอาณาจักรไทย เป็นรัฐชาติอันตั้งอยู่ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เดิมมีชื่อว่า "สยาม" รัฐบาลประกาศเปลี่ยนชื่อเป็นประเทศไทยอย่างเป็นทางการตั้งแต่ปี 2482 ประเทศไทยมีขนาดใหญ่เป็นอันดับที่ 50 ของโลก มีเนื้อที่ 513,115 ตารางกิโลเมตร และมีประชากรมากเป็นอันดับที่ 20 ของโลก คือ ประมาณ 66 ล้านคน กรุงเทพมหานครเป็นศูนย์กลางการบริหารราชการแผ่นดินและนครใหญ่สุดของประเทศ และการปกครองส่วนภูมิภาค จัดระเบียบเป็น 76 จังหวัด แม้จะมีการสถาปนาระบอบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญและประชาธิปไตยระบบรัฐสภาในปี 2475 แต่กองทัพยังมีบทบาทในการเมืองไทยสูง ล่าสุด เกิดรัฐประหารเมื่อวันที่ 22 พฤษภาคม 2557 และมีการปกครองแบบเผด็จการทหารนับแต่นั้น พบหลักฐานการอยู่อาศัยอย่างต่อเนื่องในอาณาเขตประเทศไทยปัจจุบันตั้งแต่ 20,000 ปีก่อนคริสตกาล ชาวไทเริ่มอพยพเข้าสู่บริเวณนี้ในคริสต์ศตวรรษที่ 11 แล้วเข้ามาตั้งแว่นแคว้นต่าง ๆ ที่สำคัญได้แก่ อาณาจักรสุโขทัย อาณาจักรล้านนาและอาณาจักรอยุธยา นักประวัติศาสตร์มักถือว่าอาณาจักรสุโขทัยเป็นจุดเริ่มต้นของประวัติศาสตร์ไทย ต่อมาอาณาจักรอยุธยาค่อย ๆ เรืองอำนาจมากขึ้นจนเป็นมหาอำนาจในภูมิภาคในปลายคริสต์ศตวรรษที่ 14 การติดต่อกับชาติตะวันตกเริ่มด้วยผู้แทนทางทูตชาวโปรตุเกสในปี 2054 อาณาจักรรุ่งเรืองอย่างมากในรัชกาลสมเด็จพระนารายณ์มหาราช (ครองราชย์ปี 2199–2231) แต่หลังจากนั้นค่อย ๆ เสื่อมอำนาจโดยมีสาเหตุส่วนหนึ่งจากการผลัดแผ่นดินที่มีการนองเลือดหลายรัชกาล จนสุดท้ายกรุงศรีอยุธยาถูกทำลายสิ้นเชิงในปี 2310 สมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรีทรงรวบรวมแผ่นดินที่แตกออกเป็นก๊กต่าง ๆ และสถาปนาอาณาจักรธนบุรีที่มีอายุ 15 ปี ความวุ่นวายในช่วงปลายอาณาจักรนำไปสู่การสำเร็จโทษพระองค์โดยพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช ปฐมราชวงศ์จักรีแห่งกรุงรัตนโกสินทร์ ช่วงต้นกรุงรัตนโกสินทร์ ประเทศเผชิญภัยคุกคามจากชาติใกล้เคียง แต่หลังรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวเป็นต้นมา ชาติตะวันตกเริ่มมีอิทธิพลในภูมิภาคเป็นอย่างมาก นำไปสู่การเข้าเป็นภาคีแห่งสนธิสัญญาไม่เป็นธรรมหลายฉบับ กระนั้น สยามไม่ตกเป็นอาณานิคมของตะวันตกชาติใด มีการปรับให้สยามทันสมัยและรวมอำนาจปกครองในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (ครองราชย์ปี 2411–53) สยามเข้าร่วมกับฝ่ายสัมพันธมิตรในสงครามโลกครั้งที่หนึ่งในปี 2460; ในปี 2475 เกิดการปฏิวัติเปลี่ยนแปลงการปกครองสู่ระบอบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญโดยไม่เสียเลือดเนื้อ คณะราษฎรมีบทบาทนำทางการเมือง และในพุทธทศวรรษ 2480 นายกรัฐมนตรี จอมพล แปลก พิบูลสงคราม ดำเนินนโยบายชาตินิยมเข้มข้น ระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง ไทยเข้ากับฝ่ายอักษะ แต่ฝ่ายสัมพันธมิตรส่วนใหญ่ไม่ยอมรับการประกาศสงคราม ในช่วงสงครามเย็น ประเทศไทยเป็นพันธมิตรกับสหรัฐซึ่งสนับสนุนรัฐบาลทหารมาก รัฐประหารที่มีจอมพล สฤษดิ์ ธนะรัชต์เป็นหัวหน้าคณะในปี 2500 ทำให้คณะราษฎรหมดอำนาจ รัฐบาลฟื้นฟูพระราชอำนาจและมีมาตรการต่อต้านคอมมิวนิสต์ในภูมิภาค ผลของเหตุการณ์ 14 ตุลา 2516 ทำให้เกิดประชาธิปไตยระบบรัฐสภาช่วงสั้น ๆ ประเทศไทยมีนายกรัฐมนตรีจากการเลือกตั้งครั้งแรกในปี 2531 หลังพุทธทศวรรษ 2540 มีวิกฤตการเมืองระหว่างฝ่ายที่สนับสนุนและต่อต้านอดีตนายกรัฐมนตรีทักษิณ ชินวัตรมาจนปัจจุบัน รวมทั้งเกิดรัฐประหารสองครั้ง โดยครั้งล่าสุดเกิดในปี 2557 รัฐธรรมนูญฉบับปัจจุบันเป็นฉบับที่ 20 ประกาศใช้เมื่อวันที่ 6 เมษายน 2560 หลังมีการลงประชามติรับร่างเมื่อหนึ่งปีก่อน ประเทศไทยเป็นสมาชิกสหประชาชาติ เอเปก อีกทั้งเป็นร่วมผู้ก่อตั้งอาเซียน ประเทศไทยเป็นพันธมิตรของสหรัฐตั้งแต่สนธิสัญญาซีโต้ในปี 2497 ถือเป็นประเทศอำนาจนำภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และประเทศอำนาจปานกลางในเวทีโลก ประเทศไทยเป็นประเทศที่มีรายได้ปานกลาง-สูงและประเทศอุตสาหกรรมใหม่ มีรายได้หลักจากภาคอุตสาหกรรมและบริการ การเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจทำให้มีการอพยพเข้าสู่เมืองในคริสต์ศตวรรษที่ 20 ตามประมาณการในปี 2560 จีดีพีของประเทศไทยมีมูลค่าราว 432,898 ล้านดอลลาร์สหรัฐ นับว่าเศรษฐกิจไทยเป็นเศรษฐกิจใหญ่สุดเป็นอันดับ 2 ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และใหญ่เป็นอันดับที่ 26 ของโลก.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยรามคำแหงและประเทศไทย · ดูเพิ่มเติม »

ปวีณา หงสกุล

นางปวีณา หงสกุล (5 กรกฎาคม พ.ศ. 2492 -) อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ ในรัฐบาลนางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร นักการเมืองสตรีชาวไทย เคยดำรงตำแหน่งรัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี และ รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงแรงงานและสวัสดิการสังคม ในรัฐบาลนายชวน หลีกภัย อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกรุงเทพมหานครหลายสมัย เป็นที่รู้จักในบทบาทของนักสังคมสงเคราะห์และผู้ดำเนินงานในนามมูลนิธิปวีณ.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยรามคำแหงและปวีณา หงสกุล · ดูเพิ่มเติม »

ปัทมา ลีสวัสดิ์ตระกูล

ณหญิงปัทมา ลีสวัสดิ์ตระกูล (Khunying Patama Leeswadtrakul) กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิในคณะกรรมการบริหารสถาบันเพื่อการยุติธรรมแห่งประเทศไทย กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิในคณะกรรมการส่งเสริม ศิลปะร่วมสมัยชุดใหม่สมัยคณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 61 ภายหลังรัฐประหารในนามคณะรักษาความสงบแห่งชาติอดีตประธานคณะกรรมการกองทุนส่งเสริมงานวัฒนธรรม นักธุรกิจหญิงชาวไทย ประธานกรรมการโรงแรมอโนมา แกรนด์ กรุงเทพ, โรงแรมเฟลิกซ์ ริเวอร์แคว รีสอร์ท กาญจนบุรี กรรมการบริษัท บริษัท จีสตีล จำกัด (มหาชน) และนักกิจกรรมสังคม.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยรามคำแหงและปัทมา ลีสวัสดิ์ตระกูล · ดูเพิ่มเติม »

ปณิธาน วัฒนายากร

รองศาสตราจารย์ ปณิธาน วัฒนายากร เกิดเมื่อวันที่ 16 ธันวาคม พ.ศ. 2503 เป็นกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิในคณะกรรมการเตรียมการด้านการรักษาความมั่นคงปลอดภัยไซเบอร์แห่งชาติที่ปรึกษารองนายกรัฐมนตรี (พลเอกประวิตร วงษ์สุวรรณ) ที่ปรึกษาและกรรมการคณะกรรมการเตรียมการเพื่อสร้างความสามัคคีปรองดอง ในรัฐบาลพลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา กรรมการในคณะกรรมการจัดทำยุทธศาสตร์ชาติด้านความมั่นคง อาจารย์จากคณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เคยดำรงตำแหน่ง รองเลขาธิการนายกรัฐมนตรีฝ่ายการเมือง ปฏิบัติหน้าที่โฆษกประจำสำนักนายกรัฐมนตรี ในรัฐบาลนายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ ร.ปณิธาน เป็นนักวิชาการทางด้านรัฐศาสตร์ เชี่ยวชาญการเมืองเปรียบเทียบ ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ และความมั่นคงศึกษา เป็นที่ปรึกษาด้านความมั่นคงแก่รัฐบาลหลายสมัย ตั้งแต่สมัย รัฐบาลนายชวน หลีกภัย พันตำรวจโททักษิณ ชินวัตร พลเอกสุรยุทธ์ จุลานนท์ และพลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา ดร.ปณะธาน เป็นหนึ่งในผู้มีส่วนร่วมในการร่างพระราชบัญญัติการรักษาความมั่นคงภายในราชอาณาจักร..

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยรามคำแหงและปณิธาน วัฒนายากร · ดูเพิ่มเติม »

นลินทิพย์ เพิ่มภัทรสกุล

นลินทิพย์ เพิ่มภัทรสกุล เป็นนักแสดงชาวไทย เกิดเมื่อวันที่ 27 กันยายน พ.ศ. 2530 จบการศึกษาระดับปริญญาตรี คณะมนุษยศาสตร์ เอกภาษาอังกฤษ มหาวิทยาลัยกรุงเทพ และระดับปริญญาโท คณะบริหารการจัดการ มหาวิทยาลัยรามคำแหง มีผลงานแจ้งเกิดคือภาพยนตร์ ชัมบาลา ต่อมาได้มีผลงานการแสดง อาทิ นัดกับนัด ปัจจุบันเป็นนักแสดงและผู้ดำเนินรายการ ตลก 6 ฉาก.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยรามคำแหงและนลินทิพย์ เพิ่มภัทรสกุล · ดูเพิ่มเติม »

นักแสดง

กเบื้องหลังการถ่ายทำละคร นักแสดงกำลังซ้อมการแสดง นักแสดง คือ บุคคลที่ประกอบอาชีพเป็นผู้แสดง เช่น ศิลปิน, นักรำ, นักเต้น, นักดนตรี ซึ่งแสดง ท่าทาง ร้องกล่าว พากย์ แสดงตามบทเพื่อเผยแพร่ต่อผู้ชม และอื่นอื่น ซึ่งเป็นผู้มีลิขสิทธิ์ตามหลักทั่วไป กล่าวคือ เป็นผู้ที่ได้ใช้ความคิดสร้างสรรค์งานขึ้นมา นักแสดงนั้น ไม่จำกัดว่าจะเป็นบุคคลเพศ, อาชีพ, หรือ อายุเท่าไร แต่จำเป็นต้องมีความสามารถทางด้านการการแสดงออกทางสีหน้า อารมณ์และองค์ประกอบอื่น ๆ ร่วมด้วย โดยมาก คำว่า นักแสดง มักจะใช้เรียกว่า ดารา เสมอไป.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยรามคำแหงและนักแสดง · ดูเพิ่มเติม »

นารา เทพนุภา

นารา เทพนุภา เกิดวันที่ 15 กันยายน..

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยรามคำแหงและนารา เทพนุภา · ดูเพิ่มเติม »

นิพิฏฐ์ อินทรสมบัติ

นิพิฏฐ์ อินทรสมบัติ รองหัวหน้าพรรคประชาธิปัตย์ ดูแลพื้นที่ภาคใต้ อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงวัฒนธรรม ในรัฐบาลอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ และสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดพัทลุงพรรคประชาธิปัตย์หลายสมัย เกิดวันที่ 30 เมษายน..

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยรามคำแหงและนิพิฏฐ์ อินทรสมบัติ · ดูเพิ่มเติม »

นิมิตร ลักษมีพงศ์

นิมิตร ลักษมีพงศ์ หรือ บ็อบบี้โบเต๋ เป็นคนเชียงใหม่ เป็นนักจัดรายการวิทยุที่เป็นที่รู้จักมายาวนาน ไม่ว่าจะการจัดรายการวิทยุที่สไมล์เรดิโอ ดีเจคลื่น 102.5 Get Radio และปัจจุบันที่ 98.5 Good FM ในช่วงเวลา 19.30 - 23.00 น. นอกจากนี้ยังมีผลงานแสดง ทั้งโฆษณา ภาพยนตร์ ละคร.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยรามคำแหงและนิมิตร ลักษมีพงศ์ · ดูเพิ่มเติม »

นิติภูมิธณัฐ มิ่งรุจิราลัย

ร้อยตำรวจเอก นิติภูมิธณัฐ มิ่งรุจิราลัย เดิมชื่อ นิติภูมิ นวรัตน์ (ชื่อเล่น: หมู; 5 มิถุนายน พ.ศ. 2503 —) เกิดที่ บ้านดงกลาง ตำบลเขาสมิง อำเภอเขาสมิง จังหวัดตราด แต่มาเติบโตที่บ้านซึ้งล่าง ตำบลวันยาว อำเภอขลุง จังหวัดจันทบุรี บิดาชื่อ มิ่ง อยู่พร้อม มารดาชื่อ เชื้อน อยู่พร้อม (สกุลเดิมกลิ่นอยู่ มีเชื้อสายสกุลชัชวาลย์, พูลเกษม และเจริญลาภ) มีเชื้อสายฝ่ายแม่เป็นคนจีนแซ่ลี้ และบรรพบุรุษบางสายมาจากอินเดีย เขานับถือศาสนาพุทธ จบการศึกษาระดับปริญญาเอกทางประวัติศาสตร์ จากสถาบันเอเชียและแอฟริกาศึกษา มหาวิทยาลัยมอสโก อดีตสหภาพโซเวียต เดิมนามสกุล อยู่พร้อม แต่เปลี่ยนมาใช้นามสกุลของบิดาบุญธรรมคือ หม่อมราชวงศ์เชาวน์ นวรัตน์ และเมื่อวันจันทร์ที่ 12 กันยายน..

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยรามคำแหงและนิติภูมิธณัฐ มิ่งรุจิราลัย · ดูเพิ่มเติม »

นิติศาสตร์

นิติศาสตร์ เป็นวิชาที่ว่าด้วยกฎหมายและกระบวนการยุติธรรม.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยรามคำแหงและนิติศาสตร์ · ดูเพิ่มเติม »

นโยบายสถานศึกษาเปิด

นโยบายสถานศึกษาเปิด (open-door academic policy) เป็นแนวคิดการจัดการศึกษาที่รับนักเรียนไม่จำกัดจำนวนและไม่มีชั้นเรียน ใช้การจัดการเรียนการสอนแบบทางไกล โดยผู้ศึกษาต้องเรียนรู้ด้วยตนเองจากเอกสารการเรียนต่าง ๆ ที่มหาวิทยาลัยจัดทำขึ้น โดยมีการวัดแต้มประเมินความรู้ต่างไปจากมหาวิทยาลัยปิด สถาบันอุดมศึกษาที่จัดการศึกษาเช่นนี้เรียกว่า มหาวิทยาลัยเปิด (open university) หรือบางครั้งก็เรียกว่า ตลาดวิชา มหาวิทยาลัยเปิด เป็นรูปแบบหนึ่งที่แสดงออกถึงความพยายามของรัฐบาลในการที่จะขยายโอกาสการศึกษาระดับอุดมศึกษาแก่ประชาชนให้มากที่สุด ปัจจุบันในประเทศไทยมีมหาวิทยาลัยเปิดของรัฐเพียงแห่งเดียว คือ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช (พ.ศ. 2521) โดยมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชจัดการเรียนการสอนแบบทางไกล และมีมหาวิทยาลัยเอกชนเปิดทำการสอนในระบบออนไลน์ด้วย เช่น มหาวิทยาลัยพิษณุโลก มหาวิทยาลัยรังสิต สถาบันรัชต์ภาคย์ เป็นต้น นอกจากนั้นยังมีโครงการความร่วมมือของมหาวิทยาลัยแห่งในการจัดการศึกษาทางไกล ผ่านระบบออนไลน์ ในชื่อ มหาวิทยาลัยไซเบอร์ไท.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยรามคำแหงและนโยบายสถานศึกษาเปิด · ดูเพิ่มเติม »

แกรมมี่โกลด์

ริษัท แกรมมี่โกลด์ จำกัด เป็นบริษัทในเครือของจีเอ็มเอ็ม แกรมมี่ โดยได้แยกออกมาเป็นค่ายเพลงลูกทุ่งและหมอลำและได้เปิดตัวเมื่อราวเดือนกันยายน..

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยรามคำแหงและแกรมมี่โกลด์ · ดูเพิ่มเติม »

แอนดริว เกร้กสัน

แอนดริว ชาลี เกร้กสัน (เกิด 1 กันยายน พ.ศ. 2521) เป็นนักแสดงลูกครึ่งไทย-อังกฤษ เข้าสู่วงการบันเทิงตั้งแต่อายุ 13 ปี โดยคำชักชวนของ พจน์ อานนท์ ซึ่งพบแอนดริวในขณะที่กำลังเล่นเกมส์อยู่แถวบ้าน ย่านสุขุมวิท มีผลงานครั้งแรกคือการถ่ายแบบ, ถ่ายโฆษณาฮานามิกับไมโล จากนั้นในปี 2536 ได้แสดงภาพยนตร์เรื่องแรกคือ กองร้อย 501 ริมแดง แสดงคู่กับ สุวนันท์ คงยิ่ง และได้เล่นละครเรื่องแรกคือ สิบหนึ่งเพื่อนกัน เขามีผลงานสร้างชื่อจากละคร ธรณีนี่นี้ใครครอง จากนั้นก็มีชื่อเสียงอย่างมากในละครเรื่อง ลูกไม้ไกลต้น และ ทางผ่านกามเทพ ต่อมาเขาได้ก้าวเข้ามาสู่ฐานะผู้จัดละครในนามบริษัทของตนเองที่ใช้ชื่อว่า มานา โปรดักชั่น ซึ่งได้ผลิตละครเรื่องแรกคือ สะดุดรัก ทางด้านการศึกษา จบการศึกษาระดับอนุบาลจาก โรงเรียนสวนดอกไม้ ระดับประถมศึกษาจาก โรงเรียนกันตบุตรพร้อมพงษ์ ระดับมัธยมศึกษาจาก โรงเรียนปทุมคงคา และระดับอุดมศึกษาจาก คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง ทางด้านชีวิตส่วนตัว มีพี่ชาย 1 คนชื่อ เฮนรี โรบิน เกร้กสัน.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยรามคำแหงและแอนดริว เกร้กสัน · ดูเพิ่มเติม »

โฟร์-มด

ฟร์-มด เป็นวงดนตรีหญิงแนวป็อป สัญชาติไทย ซึ่งประกอบด้วย ศกลรัตน์ วรอุไร หรือโฟร์ และณปภัช วัฒนากมลวุฒิ หรือมด สังกัดค่าย กามิกาเซ่ บริษัท อาร์เอส โปรโมชั่น จำกัด ที่มาของชื่อวงคือ เอาชื่อเล่นของทั้งสองคนมารวมกัน จึงมีชื่อวงว่า "โฟร์-มด".

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยรามคำแหงและโฟร์-มด · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยรามคำแหง

รงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยรามคำแหง (ฝ่ายมัธยม) ตั้งอยู่ถนนรามคำแหง แขวงหัวหมาก เขตบางกะปิ กรุงเทพมหานคร สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ ตั้งอยู่ในพื้นที่ของมหาวิทยาลัยรามคำแหง เปิดสอนตั้งแต่ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ถึงระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 เป็นโรงเรียนแบบสหศึกษา (ชาย - หญิง).

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยรามคำแหงและโรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยรามคำแหง · ดูเพิ่มเติม »

ไชยา มิตรชัย

มิตรชัย หรือชื่อจริงว่า เสมา สมบูรณ์ เป็นนักแสดงลิเกชาวไทยที่มีชื่อเสียง ซึ่งต่อมาได้เป็นนักร้องและนักแสดง.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยรามคำแหงและไชยา มิตรชัย · ดูเพิ่มเติม »

ไตรภพ ลิมปพัทธ์

ตรภพ ลิมปพัทธ์ เกิดเมื่อวันที่ 11 กรกฎาคม พ.ศ. 2497 พิธีกร และ นักแสดงชาวไทย หนึ่งในผู้ร่วมก่อตััง และ ประธานบริษัท บอร์น แอนด์ แอสโซซิเอดท์ จำกัด และ ผู้อำนวยการสถานีโทรทัศน์ไอทีวี (ในอดีต).

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยรามคำแหงและไตรภพ ลิมปพัทธ์ · ดูเพิ่มเติม »

เกิร์ลลีเบอร์รี

กิร์ลลีเบอร์รี (Girly Berry) เป็นวงนักร้องไทยหญิงล้วน แห่งค่ายอาร์เอสโปรโมชั่น ซึ่งมีจำนวนกลุ่ม 4 คน คือ วนิดา เติมธนาภรณ์ (กิ๊บซี่), ปิยา พงศ์กุลภา (กิฟท์ซ่า), ภัทรนันท์ ดีรัศมี (แนนนี่) และ มนัญญา ลิ่มเสถียร (เบลล์).

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยรามคำแหงและเกิร์ลลีเบอร์รี · ดูเพิ่มเติม »

เมลดา สุศรี

มลดา สุศรี เป็น นักแสดง นักร้อง นางแบบ ชาวไทย ในสังกัดสถานีโทรทัศน์สีกองทัพบกช่อง 7 เข้าวงการบันเทิงจากการเป็นนักร้อง เกิร์ลกรุป วง คิส มี ไฟฟ์ จากค่าย กามิกาเซ่ และเริ่มเข้าประกวดและได้รับตำแหน่ง ไทยซุปเปอร์โมเดล 2013 มีผลงานในวงการบันเทิง เช่น ละครโทรทัศน์ อาทิเช่น ใยกัลยา, คาดเชือก.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยรามคำแหงและเมลดา สุศรี · ดูเพิ่มเติม »

เรืองไกร ลีกิจวัฒนะ

รืองไกร ลีกิจวัฒนะ นายเรืองไกร ลีกิจวัฒนะ สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบบัญชีรายชื่อพรรคเพื่อไทย สมาชิกวุฒิสภาของไทย (สว.) ด้วยการสรรหา ตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 นายเรืองไกรเป็นที่รู้จักเป็นครั้งแรกของสังคมด้วยการปรากฏเป็นข่าวในต้นปี พ.ศ. 2549 ว่า กรมสรรพากรได้คืนเช็คให้แก่นายเรืองไกร แต่นายเรืองไกรไม่ได้ไปขึ้นเงิน เพราะเป็นกรณีเปรียบเทียบกับกรณีที่กรณีตระกูลชินวัตรและดามาพงศ์ขายหุ้นกลุ่มบริษัทชินคอร์ปได้ ซึ่งนายเรืองไกร ซื้อหุ้นบริษัท ทางด่วนกรุงเทพ จำกัด (มหาชน) ต่อจากบิดาในราคา 10 บาท จากราคาตลาด 21 บาท ต้องเสียภาษี แต่กรณีของตระกูลชินวัตรและดามาพงศ์กลับไม่ต้องเสียภาษี และนายเรืองไกรยังได้ยื่นฟ้องร้องเรื่องการที่กรมสรรพากรกระทำการนี้ด้วยสองมาตรฐานอีกด้วย จากกรณีนี้ทางฝ่ายพรรคไทยรักไทยและกลุ่มผู้สนับสนุน.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร ได้กล่าวหาว่า นายเรืองไกรมีความสนิทสนมกับคุณหญิงจารุวรรณ เมณฑกา อดีตผู้ว่าการตรวจเงินแผ่นดิน ซึ่งฝ่ายที่สนับสนุน.ต.ท.ทักษิณ ถือว่าเป็นบุคคลที่อยู่ตรงข้ามกับฝ่ายตน หลังจากนั้น นายเรืองไกรได้สมัครลงเลือกตั้งสมาชิกวุฒิสภากรุงเทพมหานคร ในวันที่ 19 เมษายน พ.ศ. 2549 โดยได้หมายเลข 222 แต่ไม่ได้รับการเลือกตั้ง นายเรืองไกรได้รับคัดเลือกให้เป็นสมาชิกวุฒิสภาในแบบสรรหา เมื่อวันที่ 2 มีนาคม พ.ศ. 2551 ซึ่งนายเรืองไกรจัดอยู่ในกลุ่ม 40 สว. หลังจากนั้น ชื่อของนายเรืองไกรปรากฏเป็นข่าวอีกในเดือนพฤษภาคม ว่าได้ยื่นฟ้องร้อง นายสมัคร สุนทรเวช นายกรัฐมนตรี ว่าการจัดรายการโทรทัศน์ชิมไป บ่นไป ทางช่อง 3 เป็นการผิดรัฐธรรมนูญมาตรา 267 ในเรื่องผลประโยชน์ทับซ้อน หรือไม่ ซึ่งศาลรัฐธรรมนูญก็ได้ตัดสินให้นายสมัครพ้นจากตำแหน่ง ในวันที่ 9 กันยายน ปีเดียวกัน จากเหตุการณ์การตรวจสอบการกระทำของภาครัฐอันมิชอบหลายกรณีนี้ ทำให้นายเรืองไกรได้รับฉายาว่า "แจ็คผู้ฆ่ายักษ์" และในวันที่ 14 ธันวาคม ปีเดียวกันนั้น สภามหาวิทยาลัยรังสิตได้มีมติมอบปริญญาดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ สาขาวิชาผู้นำทางสังคม ธุรกิจและการเมือง แก่นายเรืองไกร พร้อมกับคณะกรรมการตรวจสอบการกระทำที่ก่อให้เกิดความเสียหายแก่รัฐ หรือ คต.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยรามคำแหงและเรืองไกร ลีกิจวัฒนะ · ดูเพิ่มเติม »

เสรี สุวรรณภานนท์

รี สุวรรณภานนท์ เป็นประธานกรรมาธิการปฏิรูปกฎหมายและกระบวนการยุติธรรม สภาปฏิรูปแห่งชาติ เป็นอดีตสมาชิกวุฒิสภากรุงเทพมหานคร อดีตสมาชิกสภาร่างรัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2550 และสภาร่างรัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2539.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยรามคำแหงและเสรี สุวรรณภานนท์ · ดูเพิ่มเติม »

เหตุการณ์ 14 ตุลา

หตุการณ์ 14 ตุลา หรือ วันมหาวิปโยค เป็นเหตุการณ์การก่อการกำเริบโดยประชาชนครั้งสำคัญในประวัติศาสตร์การเมืองไทย เป็นเหตุการณ์ที่มีนักศึกษาและประชาชนมากกว่า 5 แสนคนชุมนุมเพื่อเรียกร้องรัฐธรรมนูญจากรัฐบาลเผด็จการจอมพลถนอม กิตติขจร นำไปสู่คำสั่งของรัฐบาลให้ใช้กำลังทหารเข้าปราบปราม ระหว่างวันที่ 14 ถึง 15 ตุลาคม พ.ศ. 2516 จนมีผู้เสียชีวิตกว่า 77 ราย บาดเจ็บ 857 ราย และสูญหายอีกจำนวนมาก เหตุการณ์ครั้งนี้ได้เกิดขึ้นด้วยสาเหตุที่สะสมก่อนหน้านี้หลายประการทั้ง ข่าวการทุจริตในรัฐบาล การพบซากสัตว์ป่าจากอุทยานในเฮลิคอปเตอร์ทหาร การถ่ายโอนอำนาจของจอมพลถนอม กิตติขจรต่อจากจอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต์ ซึ่งเป็นช่วงเวลาที่รัฐบาลทหารเข้าปกครองประเทศนานเกือบ 15 ปี และรวมถึงการรัฐประหารตัวเอง พ.ศ. 2514 ซึ่งเป็นชนวนเหตุที่ทำให้ประชาชนเบื่อหน่ายการปกครองในระบอบเผด็จการทหารและต้องการเรียกร้องรัฐธรรมนูญที่เป็นประชาธิปไตยขึ้น การประท้วงเริ่มขึ้นอย่างเด่นชัดเมื่อมีการตีพิมพ์ "บันทึกลับจากทุ่งใหญ่" ออกเผยแพร่ทำให้เกิดความสนใจในหมู่ประชาชน สู่การเดินแจกใบปลิวเรียกร้องรัฐธรรมนูญของนิสิตนักศึกษาในสถานที่ต่างๆในกรุงเทพฯ จนถูกทหารควบคุมตัว ภายหลังเป็นที่รู้จักกันในฐานะ "13 ขบถรัฐธรรมนูญ" ทำให้เกิดความไม่พอใจครั้งใหญ่แก่มวลนักศึกษาและประชาชนเป็นอย่างมาก เกิดการประท้วงเริ่มต้นที่มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ สู่การเดินประท้วงในถนนราชดำเนิน โดยมีประชาชนทยอยเข้าร่วมจำนวนมาก ทำให้รัฐบาลได้ทำการสลายการชุมนุมจนมีผู้เสียชีวิตและบาดเจ็บเป็นจำนวนมาก จนเมื่อพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช และสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี ได้มีพระราชดำรัสทางโทรทัศน์รวมการเฉพาะกิจแห่งประเทศไทยต่อเหตุการณ์ครั้งนี้ ในเวลาต่อมาจอมพลถนอม กิตติขจรก็ได้ประกาศลาออกและได้เดินทางออกต่างประเทศรวมถึง.อ.ณรงค์ กิตติขจร และจอมพลประภาส จารุเสถียร กลุ่มบุคคลที่ประชาชนในสมัยนั้นเรียกว่า "3 ทรราช" เหตุการณ์ 14 ตุลา เป็นการลุกฮือของประชาชนครั้งแรกที่เรียกร้องประชาธิปไตยไทยสำเร็จและยังถือเป็นการรวมตัวของประชาชนมากที่สุดครั้งหนึ่งในประวัติศาสตร์ไทย จนกลายเป็นแรงบันดาลใจให้แก่ภาคประชาชนในประเทศอื่น ๆ ทำตามในเวลาต่อมา เช่น ที่ เกาหลีใต้ในเหตุการณ์จลาจลที่เมืองกวางจู เป็นต้นหนังสือ มาร์ค เขาชื่อ...

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยรามคำแหงและเหตุการณ์ 14 ตุลา · ดูเพิ่มเติม »

เอกชัย ศรีวิชัย

อกชัย ศรีวิชัย ชื่อเล่น เอก เป็นนักร้อง นักแสดงชาวไทย เกิดเมื่อวันจันทร์ที่ 10 กันยายน พ.ศ. 2505 เป็นชาวอำเภอท่าศาลา จังหวัดนครศรีธรรมราช เป็นเจ้าของเพลงดัง "หมากัด" เขายังมีผลงานแสดงภาพยนตร์อีกหลายเรื่อง.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยรามคำแหงและเอกชัย ศรีวิชัย · ดูเพิ่มเติม »

เจริญ สิริวัฒนภักดี

นายกองเอก เจริญ สิริวัฒนภักดี (จีน:苏旭明; พินอิน:Sū Xùmíng) (เคียกเม้ง แซ่โซว, เจริญ ศรีสมบูรณานนท์) (เกิด 2 พฤษภาคม พ.ศ. 2487) คือนักธุรกิจชาวไทยเชื้อสายจีน ประกอบธุรกิจหลายแขนง อาทิ อุตสาหกรรมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ ธุรกิจอสังหาริมทรัพย์ เฯลฯ ปัจจุบันดำรงตำแหน่งเป็นประธานกรรมการบริษัทไทยเบฟเวอเรจประธานกรรมการบริหาร บริษัท ทีซีซี แลนด์ แอสเสท เวิรด์ จำกัด ประธานกรรมการบริษัท บริษัท เบอร์ลี่ ยุคเกอร์ จำกัด (มหาชน) เจ้าของบริษัทเบียร์ช้าง และ บริษัทในเครือ สมาชิกสมาคมวัฒนธรรมและเศรษฐกิจไทย-จีน อดีตอุปนายกอาวุโส ในสมาคมกรีฑาแห่งประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ์ นอกจากนั้นยังเข้าเป็นผู้สนับสนุนหลักของสโมสรฟุตบอลเอฟเวอร์ตันในฟุตบอลพรีเมียร์ลีก เจ้าของกิจการ โรงแรม พลาซ่า แอททินี่ ในกรุงเทพมหานคร และในนครนิวยอร์ก สหรัฐอเมริกา จากการจัดอันดับโดยนิตยสารฟอร์บ (ข้อมูล ณ เดือนกุมภาพันธ์ พ.ศ. 2559) เจริญ สิริวัฒนภักดี มีทรัพย์สินรวมทั้งหมด 10,700 ล้านดอลลาร์สหรัฐ โดยเป็นมหาเศรษฐีอันดับที่ 1 ของประเทศไทย (อันดับ 2 คือนายธนินท์ เจียรวนนท์ เจ้าของธุรกิจเครือเจริญโภคภัณฑ์ อันดับ 3 คือนายวาณิช ไชยวรรณ เจ้าของธุรกิจไทยประกันชีวิต คิดเป็นมหาเศรษฐีอันดับที่ 94 ของโลก นายกองเอก เจริญ สิริวัฒนภักดี สมรสแล้วกับ คุณหญิงวรรณา สิริวัฒนภักดี มีบุตร 5 คน (ชาย 2 คน หญิง 3 คน) ได้แก.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยรามคำแหงและเจริญ สิริวัฒนภักดี · ดูเพิ่มเติม »

เจิมมาศ จึงเลิศศิริ

นางเจิมมาศ จึงเลิศศิริ รองเลขาธิการพรรคประชาธิปัตย์ อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร กรุงเทพมหานคร สังกัดพรรคประชาธิปัตย์ และอดีตสภากรุงเทพมหานคร.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยรามคำแหงและเจิมมาศ จึงเลิศศิริ · ดูเพิ่มเติม »

เทือกเขาหิมาลัย

วเทียมของเทือกเขาหิมาลัย เทือกเขาหิมาลัย (Himalaya Range) เป็นเทือกเขาในทวีปเอเชีย ที่แยกอนุทวีปอินเดียทางทิศใต้ ออกจากที่ราบสูงทิเบตทางทิศเหนือ เป็นที่ที่มียอดเขาที่สูงที่สุดในโลก เช่น ยอดเขาเอเวอเรสต์ และยอดเขากันเจนชุงคา (Kanchenjunga) และยังประกอบด้วยยอดเขาที่มีความสูงมากกว่า 7,200 เมตร (23,600 ฟุต) มากกว่าหนึ่งร้อยยอด ในทางศัพทมูลวิทยา คำว่า หิมาลัย มาจากภาษาสันสกฤต หมายถึง "ที่อยู่ของหิมะ" (หิม + อาลย) เป็นจุดกำเนิดของระบบแม่น้ำที่สำคัญของโลกหลายสาย เช่น แอ่งแม่น้ำสินธุ และแอ่งแม่น้ำคงคา-พรหมบุตร แม่น้ำสาละวิน และแม่น้ำโขง เทือกเขาหิมาลัยทอดยาวพาดผ่านพื้นที่ของ 5 ประเทศ — ปากีสถาน อินเดีย จีน ภูฏาน เนปาล — พื้นที่ลุ่มน้ำของแม่น้ำหิมาลัยเป็นที่อยู่ของผู้คนราว 750 ล้านคน ซึ่งรวมถึงชาวบังคลาเทศ เทือกเขาหิมาลัยหมายรวมถึงเทือกเขาการาโกรัม ฮินดูกูช และเทือกเขาอื่น ๆ ที่เล็กกว่า เมื่อรวมกันแล้วเทือกเขาหิมาลัยเป็นระบบที่สูงที่สุดในโลก และเป็นบ้านของยอดเขาที่สูงที่สุด ซึ่งรวมถึงยอดเขาเอเวอเรสต์และเคทู.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยรามคำแหงและเทือกเขาหิมาลัย · ดูเพิ่มเติม »

เทคโนโลยี

นาโนเทคโนโลยีเป็นที่สนใจในศตวรรษปัจจุบัน เทคโนโลยี หรือ เทคนิควิทยา มีความหมายค่อนข้างกว้าง โดยทั่วไปหมายถึงธรรมชาติวิทยาและต่อเนื่องมาถึงวิทยาศาสตร์ มาเป็นวิธีการปฏิบัติและประยุกต์ใช้เพื่อช่วยในการทำงานหรือแก้ปัญหาต่าง ๆ อันก่อให้เกิดวัสดุ อุปกรณ์ เครื่องมือ เครื่องจักร แม้กระทั่งองค์ความรู้นามธรรมเช่น ระบบหรือกระบวนการต่าง ๆ เพื่อให้การดำรงชีวิตของมนุษย์ง่ายและสะดวกยิ่งขึ้น สาขาวิชาศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิร.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยรามคำแหงและเทคโนโลยี · ดูเพิ่มเติม »

เขตบางกะปิ

ตบางกะปิ เป็น 1 ใน 50 เขตการปกครองของกรุงเทพมหานคร อยู่ในกลุ่มเขตกรุงเทพตะวันออก ซึ่งถือเป็นเขตที่อยู่อาศัยรองรับการขยายตัวของเมือง ทางทิศตะวันออก (ตอนใต้).

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยรามคำแหงและเขตบางกะปิ · ดูเพิ่มเติม »

เฉลิม อยู่บำรุง

ร้อยตำรวจเอก เฉลิม อยู่บำรุง นักการเมืองไทย สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรฝั่งธนบุรีหลายสมัย อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงแรงงาน อดีตรองนายกรัฐมนตรีและสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบบัญชีรายชื่อ สังกัดพรรคเพื่อไทย อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย รัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรม รัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี และหัวหน้าพรรคมวลชน ระหว่างวันที่ 21 มกราคม 2557 ถึง 18 มีนาคม 2557 เขาเป็นผู้อำนวยการศูนย์รักษาความสงบ ตามคำสั่งคำสั่งที่ พิเศษ 1/2557 เรื่องจัดตั้งศูนย์รักษาความสงบ โดย ยิ่งลักษณ์ ชินวัตร.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยรามคำแหงและเฉลิม อยู่บำรุง · ดูเพิ่มเติม »

เปาวลี พรพิมล

ปาวลี พรพิมล หรือ พรพิมล เฟื่องฟุ้ง นักร้องลูกทุ่งและนักแสดงหญิงชาวไทย มีชื่อเสียงมากจากภาพยนตร์ เรื่อง พุ่มพวง โดยรับบทเป็น พุ่มพวง ดวงจันทร์ เกิดวันพฤหัสบดีที่ 2 มกราคม พ.ศ. 2535 บ้านเกิดอยู่ที่ อำเภอด่านช้าง จังหวัดสุพรรณบุรี.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยรามคำแหงและเปาวลี พรพิมล · ดูเพิ่มเติม »

1 กรกฎาคม

วันที่ 1 กรกฎาคม เป็นวันที่ 182 ของปี (วันที่ 183 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 183 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยรามคำแหงและ1 กรกฎาคม · ดูเพิ่มเติม »

1 กันยายน

วันที่ 1 กันยายน เป็นวันที่ 244 ของปี (วันที่ 245 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 121 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยรามคำแหงและ1 กันยายน · ดูเพิ่มเติม »

10 ธันวาคม

วันที่ 10 ธันวาคม เป็นวันที่ 344 ของปี (วันที่ 345 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 21 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยรามคำแหงและ10 ธันวาคม · ดูเพิ่มเติม »

12 พฤษภาคม

วันที่ 12 พฤษภาคม เป็นวันที่ 132 ของปี (วันที่ 133 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 233 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยรามคำแหงและ12 พฤษภาคม · ดูเพิ่มเติม »

12 มกราคม

วันที่ 12 มกราคม เป็นวันที่ 12 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 353 วันในปีนั้น (354 วันในปีอธิกสุรทิน).

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยรามคำแหงและ12 มกราคม · ดูเพิ่มเติม »

13 พฤษภาคม

วันที่ 13 พฤษภาคม เป็นวันที่ 133 ของปี (วันที่ 134 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 232 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยรามคำแหงและ13 พฤษภาคม · ดูเพิ่มเติม »

13 มกราคม

วันที่ 13 มกราคม เป็นวันที่ 13 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 352 วันในปีนั้น (353 วันในปีอธิกสุรทิน).

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยรามคำแหงและ13 มกราคม · ดูเพิ่มเติม »

14 กุมภาพันธ์

วันที่ 14 กุมภาพันธ์ เป็นวันที่ 45 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 320 วันในปีนั้น (321 วันในปีอธิกสุรทิน).

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยรามคำแหงและ14 กุมภาพันธ์ · ดูเพิ่มเติม »

14 มกราคม

วันที่ 14 มกราคม เป็นวันที่ 14 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 351 วันในปีนั้น (352 วันในปีอธิกสุรทิน).

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยรามคำแหงและ14 มกราคม · ดูเพิ่มเติม »

14 เมษายน

วันที่ 14 เมษายน เป็นวันที่ 104 ของปี (วันที่ 105 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 261 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยรามคำแหงและ14 เมษายน · ดูเพิ่มเติม »

15 กุมภาพันธ์

วันที่ 15 กุมภาพันธ์ เป็นวันที่ 46 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 319 วันในปีนั้น (320 วันในปีอธิกสุรทิน).

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยรามคำแหงและ15 กุมภาพันธ์ · ดูเพิ่มเติม »

15 มกราคม

วันที่ 15 มกราคม เป็นวันที่ 15 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 350 วันในปีนั้น (351 วันในปีอธิกสุรทิน).

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยรามคำแหงและ15 มกราคม · ดูเพิ่มเติม »

15 เมษายน

วันที่ 15 เมษายน เป็นวันที่ 105 ของปี (วันที่ 106 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 260 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยรามคำแหงและ15 เมษายน · ดูเพิ่มเติม »

16 กันยายน

วันที่ 16 กันยายน เป็นวันที่ 259 ของปี (วันที่ 260 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 106 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยรามคำแหงและ16 กันยายน · ดูเพิ่มเติม »

16 มกราคม

วันที่ 16 มกราคม เป็นวันเกิดของผมเอง.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยรามคำแหงและ16 มกราคม · ดูเพิ่มเติม »

17 พฤศจิกายน

วันที่ 17 พฤศจิกายน เป็นวันที่ 321 ของปี (วันที่ 322 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 44 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยรามคำแหงและ17 พฤศจิกายน · ดูเพิ่มเติม »

17 กันยายน

วันที่ 17 กันยายน เป็นวันที่ 260 ของปี (วันที่ 261 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 105 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยรามคำแหงและ17 กันยายน · ดูเพิ่มเติม »

18 กันยายน

วันที่ 18 กันยายน เป็นวันที่ 261 ของปี (วันที่ 262 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 104 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยรามคำแหงและ18 กันยายน · ดูเพิ่มเติม »

18 มกราคม

วันที่ 18 มกราคม เป็นวันที่ 18 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 347 วันในปีนั้น (348 วันในปีอธิกสุรทิน).

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยรามคำแหงและ18 มกราคม · ดูเพิ่มเติม »

18 มิถุนายน

วันที่ 18 มิถุนายน เป็นวันที่ 169 ของปี (วันที่ 170 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 196 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยรามคำแหงและ18 มิถุนายน · ดูเพิ่มเติม »

19 สิงหาคม

วันที่ 19 สิงหาคม เป็นวันที่ 231 ของปี (วันที่ 232 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 134 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยรามคำแหงและ19 สิงหาคม · ดูเพิ่มเติม »

2 กันยายน

วันที่ 2 กันยายน เป็นวันที่ 245 ของปี (วันที่ 246 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 120 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยรามคำแหงและ2 กันยายน · ดูเพิ่มเติม »

2 ตุลาคม

วันที่ 2 ตุลาคม เป็นวันที่ 275 ของปี (วันที่ 276 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 90 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยรามคำแหงและ2 ตุลาคม · ดูเพิ่มเติม »

20 กันยายน

วันที่ 20 กันยายน เป็นวันที่ 263 ของปี (วันที่ 264 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 102 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยรามคำแหงและ20 กันยายน · ดูเพิ่มเติม »

20 สิงหาคม

วันที่ 20 สิงหาคม เป็นวันที่ 232 ของปี (วันที่ 233 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 133 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยรามคำแหงและ20 สิงหาคม · ดูเพิ่มเติม »

20 ตุลาคม

วันที่ 20 ตุลาคม เป็นวันที่ 293 ของปี (วันที่ 294 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 72 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยรามคำแหงและ20 ตุลาคม · ดูเพิ่มเติม »

21 กันยายน

วันที่ 21 กันยายน เป็นวันที่ 264 ของปี (วันที่ 265 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 101 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยรามคำแหงและ21 กันยายน · ดูเพิ่มเติม »

21 ตุลาคม

วันที่ 21 ตุลาคม เป็นวันที่ 294 ของปี (วันที่ 295 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 71 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยรามคำแหงและ21 ตุลาคม · ดูเพิ่มเติม »

22 มิถุนายน

วันที่ 22 มิถุนายน เป็นวันที่ 173 ของปี (วันที่ 174 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 192 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยรามคำแหงและ22 มิถุนายน · ดูเพิ่มเติม »

22 ตุลาคม

วันที่ 22 ตุลาคม เป็นวันที่ 295 ของปี (วันที่ 296 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 70 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยรามคำแหงและ22 ตุลาคม · ดูเพิ่มเติม »

23 ตุลาคม

วันที่ 23 ตุลาคม เป็นวันที่ 296 ของปี (วันที่ 297 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 69 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยรามคำแหงและ23 ตุลาคม · ดูเพิ่มเติม »

26 พฤศจิกายน

วันที่ 26 พฤศจิกายน เป็นวันที่ 330 ของปี (วันที่ 331 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 35 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยรามคำแหงและ26 พฤศจิกายน · ดูเพิ่มเติม »

28 พฤศจิกายน

วันที่ 28 พฤศจิกายน เป็นวันที่ 332 ของปี (วันที่ 333 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 33 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยรามคำแหงและ28 พฤศจิกายน · ดูเพิ่มเติม »

28 กรกฎาคม

วันที่ 28 กรกฎาคม เป็นวันที่ 209 ของปี (วันที่ 210 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 156 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยรามคำแหงและ28 กรกฎาคม · ดูเพิ่มเติม »

3 มีนาคม

วันที่ 3 มีนาคม เป็นวันที่ 62 ของปี (วันที่ 63 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 303 วันในปีนั้น/.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยรามคำแหงและ3 มีนาคม · ดูเพิ่มเติม »

3 ตุลาคม

วันที่ 3 ตุลาคม เป็นวันที่ 276 ของปี (วันที่ 277 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 89 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยรามคำแหงและ3 ตุลาคม · ดูเพิ่มเติม »

30 พฤษภาคม

วันที่ 30 พฤษภาคม เป็นวันที่ 150 ของปี (วันที่ 151 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 215 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยรามคำแหงและ30 พฤษภาคม · ดูเพิ่มเติม »

5 กรกฎาคม

วันที่ 5 กรกฎาคม เป็นวันที่ 186 ของปี (วันที่ 187 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 179 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยรามคำแหงและ5 กรกฎาคม · ดูเพิ่มเติม »

6 กรกฎาคม

วันที่ 6 กรกฎาคม เป็นวันที่ 187 ของปี (วันที่ 188 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 178 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยรามคำแหงและ6 กรกฎาคม · ดูเพิ่มเติม »

7 พฤษภาคม

วันที่ 7 พฤษภาคม เป็นวันที่ 127 ของปี (วันที่ 128 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 238 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยรามคำแหงและ7 พฤษภาคม · ดูเพิ่มเติม »

7 กุมภาพันธ์

วันที่ 7 กุมภาพันธ์ เป็นวันที่ 38 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 327 วันในปีนั้น (328 วันในปีอธิกสุรทิน).

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยรามคำแหงและ7 กุมภาพันธ์ · ดูเพิ่มเติม »

7 มีนาคม

วันที่ 7 มีนาคม เป็นวันที่ 66 ของปี (วันที่ 67 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 299 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยรามคำแหงและ7 มีนาคม · ดูเพิ่มเติม »

8 พฤษภาคม

วันที่ 8 พฤษภาคม เป็นวันที่ 128 ของปี (วันที่ 129 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 237 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยรามคำแหงและ8 พฤษภาคม · ดูเพิ่มเติม »

8 กุมภาพันธ์

วันที่ 8 กุมภาพันธ์ เป็นวันที่ 39 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 326 วันในปีนั้น (327 วันในปีอธิกสุรทิน).

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยรามคำแหงและ8 กุมภาพันธ์ · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

ม.รามม.รามคำแหงมร.

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »