เรากำลังดำเนินการเพื่อคืนค่าแอป Unionpedia บน Google Play Store
ขาออกขาเข้า
🌟เราได้ทำให้การออกแบบของเราง่ายขึ้นเพื่อการนำทางที่ดีขึ้น!
Instagram Facebook X LinkedIn

สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 18

ดัชนี สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 18

มาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 18 (13 กันยายน พ.ศ. 2535 - 19 พฤษภาคม พ.ศ. 2538) เป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรของประเทศไทย มีจำนวนสมาชิกทั้งสิ้น 360 คน โดยมาจากการเลือกตั้งแบบแบ่งเขตทั้งหมด จากการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป กันยายน พ.ศ.

สารบัญ

  1. 360 ความสัมพันธ์: บรรหาร ศิลปอาชาชวลิต ยงใจยุทธชวน หลีกภัยชัชวาลย์ ชมภูแดงบัญญัติ บรรทัดฐานชัย ชิดชอบชัยภักดิ์ ศิริวัฒน์ชาญชัย ปทุมารักษ์ชาติชาย ชุณหะวัณชำนิ ศักดิเศรษฐ์ชิงชัย มงคลธรรมชินวรณ์ บุณยเกียรติชินวุธ สุนทรสีมะบุญชู ตรีทองบุญชู โรจนเสถียรบุญชง วีสมหมายบุญพันธ์ แขวัฒนะบุญส่ง สมใจบุญเอื้อ ประเสริฐสุวรรณบุญเท่ง ทองสวัสดิ์ชุมพล ศิลปอาชาบุณคณาวัฒน์ ภู่จีนาพันธุ์ชูชาติ หาญสวัสดิ์ชูชีพ หาญสวัสดิ์พ.ศ. 2535พ.ศ. 2538พรพิชญ์ พัฒนกุลเลิศพรรคชาติพัฒนา (พ.ศ. 2535)พรรคชาติไทยพรรคพลังธรรมพรรคกิจสังคมพรรคราษฎร (พ.ศ. 2529)พรรคความหวังใหม่พรรคประชากรไทยพรรคประชาธิปัตย์พรรคเสรีธรรม (พ.ศ. 2535)พรรคเอกภาพพรเทพ เตชะไพบูลย์พวงเล็ก บุญเชียงพิมพา จันทร์ประสงค์พิศาล มูลศาสตรสาทรพิษณุ พลไวย์พินิจ จันทรสุรินทร์พินิจ จันทร์สมบูรณ์พินิจ จารุสมบัติพิเชษฐ พันธุ์วิชาติกุลพูนสวัสดิ์ มูลศาสตรสาทรพูนสุข โลหะโชติพงษ์อุดม ตรีสุขีกมล จิระพันธุ์วาณิช... ขยายดัชนี (310 มากกว่า) »

บรรหาร ศิลปอาชา

รรหาร ศิลปอาชา (19 สิงหาคม พ.ศ. 2475 – 23 เมษายน พ.ศ. 2559) เป็นนักการเมืองชาวไทย ดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีไทยคนที่ 21 ประธานกรรมการมูลนิธิบรรหาร-แจ่มใส ศิลปอาชา ประธานที่ปรึกษาพรรคชาติไทยพัฒนา อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดสุพรรณบุรี 11 สมัย อดีตนายกสภามหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา อดีตนายกสภาสถาบันการพลศึกษา อดีตกรรมการผู้จัดการ บริษัท สหศรีชัยก่อสร้าง จำกัด และอดีตหัวหน้าพรรคชาติไทย ทั้งเป็นพี่ชายของชุมพล ศิลปอาชา อดีตรองนายกรัฐมนตรี.

ดู สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 18และบรรหาร ศิลปอาชา

ชวลิต ยงใจยุทธ

ลเอก พลเรือเอก พลอากาศเอก ชวลิต ยงใจยุทธ (15 พฤษภาคม พ.ศ. 2475 —) เป็นนายกรัฐมนตรีของประเทศไทย คนที่ 22 อดีตรองนายกรัฐมนตรี อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงแรงงานและสวัสดิการสังคม อดีตผู้บัญชาการทหารบกและอดีดรักษาการผู้บัญชาการทหารสูงสุด เป็นเจ้าของสมญา "ขงเบ้งแห่งกองทัพบก" เคยได้รับการแต่งตั้งให้เป็น สมาชิกวุฒิสภา ขณะดำรงตำแหน่งทางทหาร เป็นผู้ก่อตั้ง และหัวหน้า พรรคความหวังใหม่ คนแรก และเป็นอดีต..หลายสมัย มีคะแนนเสียงหนาแน่นในจังหวัดนครพนม สื่อมวลชนและประชาชนทั่วไป เรียก พล.อ.ชวลิต ว่า "บิ๊กจิ๋ว" และในพื้นที่ภาคอีสาน เรียก พล.อ.ชวลิต ว่า "พ่อใหญ่จิ๋ว" นอกจากนี้แล้วยังมีอีกฉายาหนึ่งว่า "จิ๋วหวานเจี๊ยบ" จากการมีบุคลิกพูดจาอ่อนนิ่ม นุ่มนวล.

ดู สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 18และชวลิต ยงใจยุทธ

ชวน หลีกภัย

วน หลีกภัย (28 กรกฎาคม พ.ศ. 2481 —) เป็นนายกรัฐมนตรีไทยคนที่ 20 ดำรงตำแหน่งสองสมัย ปัจจุบันเป็นประธานสภาที่ปรึกษาพรรคประชาธิปัต.

ดู สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 18และชวน หลีกภัย

ชัชวาลย์ ชมภูแดง

ัชวาลย์ ชมภูแดง อดีตรัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี ในรัฐบาลของพลเอกสุจินดา คราประยูร อดีตรองโฆษกประจำสำนักนายกรัฐมนตรี ในรัฐบาลพันตำรวจโท ทักษิณ ชินวัตร อดีตหัวหน้าพรรคพลังสังคมประชาธิปไตย และอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จังหวัดร้อยเอ็.

ดู สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 18และชัชวาลย์ ชมภูแดง

บัญญัติ บรรทัดฐาน

ัญญัติ บรรทัดฐาน กรรมการที่ปรึกษาพรรคประชาธิปัตย์ อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบบัญชีรายชื่อ สังกัดพรรคประชาธิปัตย์ และอดีตหัวหน้าพรรคประชาธิปัต.

ดู สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 18และบัญญัติ บรรทัดฐาน

ชัย ชิดชอบ

ัย ชิดชอบ (5 เมษายน พ.ศ. 2471 —) เป็นสมาชิกสภาขับเคลื่อนการปฏิรูปประเทศ อดีตสมาชิกสภาปฏิรูปแห่งชาติ อดีตประธานรัฐสภา และอดีตประธานสภาผู้แทนราษฎร อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร​แบบสัดส่วน พรรคภูมิใจไทย ได้รับเลือกเป็นตัวแทนพรรคพลังประชาชน ในการเลือกประธานสภาผู้แทนราษฎรแทนนายยงยุทธ ติยะไพรัช ที่โดนใบแดง ก่อนหน้านี้เป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร (ส.ส.)หลายสมัย และสมาชิกวุฒิสภา(ส.ว.)จังหวัดบุรีรัม.

ดู สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 18และชัย ชิดชอบ

ชัยภักดิ์ ศิริวัฒน์

นายกองเอก ชัยภักดิ์ ศิริวัฒน์ หรือ บิ๊กแนต อดีตหัวหน้าพรรคราษฎร และอดีตรัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงคมนาคม และกระทรวงมหาดไทย อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดอุตรดิตถ์หลายสมัย ปัจจุบันดำรงตำแหน่งนายกสมาคมฮอกกี้แห่งประเทศไท.

ดู สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 18และชัยภักดิ์ ศิริวัฒน์

ชาญชัย ปทุมารักษ์

นายชาญชัย ปทุมารักษ์ (11 เมษายน พ.ศ. 2479 - 6 เมษายน พ.ศ. 2555) อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ และ อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดนครปฐม 9 สมั.

ดู สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 18และชาญชัย ปทุมารักษ์

ชาติชาย ชุณหะวัณ

ลเอก พลเรือเอก พลอากาศเอก ชาติชาย ชุณหะวัณ (5 เมษายน พ.ศ. 2463 — 6 พฤษภาคม พ.ศ. 2541) เป็นนายกรัฐมนตรีไทยคนที่ 17 และเคยดำรงตำแหน่งรองนายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรีในหลายกระทรวงคือ กระทรวงการต่างประเทศ กระทรวงอุตสาหกรรม และ กระทรวงกลาโหม พลเอกชาติชาย เป็นผู้ก่อตั้งพรรคการเมือง 2 พรรค และได้ดำรงตำแหน่งหัวหน้าพรรค คือ พรรคชาติไทย และ พรรคชาติพัฒน.

ดู สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 18และชาติชาย ชุณหะวัณ

ชำนิ ศักดิเศรษฐ์

ำนิ ศักดิเศรษฐ์ (3 มีนาคม พ.ศ. 2490-) รองหัวหน้าพรรคประชาธิปัตย์ กรรมการในคณะกรรมการพัฒนาพรรคการเมืองเพื่อการปฏิรูปประเทศตามรัฐธรรมนูญ ตามคำสั่งคณะกรรมการการเลือกตั้งที่ 14/2560 และ อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบบัญชีรายชื่อพรรคประชาธิปัตย์ อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงมหาดไทย 2 สมัย เป็นหนึ่งในกำลังสำคัญของพรรคประชาธิปัตย์ในพื้นที่ภาคใต้.

ดู สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 18และชำนิ ศักดิเศรษฐ์

ชิงชัย มงคลธรรม

นายชิงชัย มงคลธรรม หัวหน้าพรรคความหวังใหม่ อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ และรัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี ในรัฐบาลของพลเอกชวลิต ยงใจยุท.

ดู สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 18และชิงชัย มงคลธรรม

ชินวรณ์ บุณยเกียรติ

นายชินวรณ์ บุณยเกียรติ อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ ในรัฐบาลของนายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ อดีตประธานคณะกรรมการประสานงานพรรคร่วมรัฐบาลของนายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ เหรัญญิกพรรคประชาธิปัตย์ และอดีต..นครศรีธรรมราช 6 สมัย มีผลงานทั้งด้านการเมือง และนิติบัญญัติมากม.

ดู สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 18และชินวรณ์ บุณยเกียรติ

ชินวุธ สุนทรสีมะ

ันเอก ชินวุธ สุนทรสีมะ เป็นอดีตรัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี ในรัฐบาลนายชวน หลีกภัย (ชวน 1) ในสัดส่วนของพรรคพลังธรรม และเป็นอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกรุงเทพมหานคร 2 สมั.อ.ชินวุธเป็นนักเรียนนายร้อยเทคนิคหลักสูตร 5 ปี รุ่นที่ 10 (เข้าศึกษาเมื่อปี พ.ศ.

ดู สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 18และชินวุธ สุนทรสีมะ

บุญชู ตรีทอง

นายบุญชู ตรีทอง (21 พฤษภาคม พ.ศ. 2488 -) อดีตรัฐมนตรีว่าการทบวงมหาวิทยาลัย ในรัฐบาลของนายบรรหาร ศิลปอาชา รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงการคลัง ในรัฐบาลนายชวน หลีกภัย และอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จังหวัดลำปาง.

ดู สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 18และบุญชู ตรีทอง

บุญชู โรจนเสถียร

นายบุญชู โรจนเสถียร (20 มกราคม พ.ศ. 2464 — 19 มีนาคม พ.ศ. 2550) อดีตรองนายกรัฐมนตรี, รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง หลายสมัย เคยดำรงตำแหน่งกรรมการผู้จัดการใหญ่ธนาคารกรุงเทพ ได้รับการยกย่องให้เป็น "ซาร์เศรษฐกิจ".

ดู สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 18และบุญชู โรจนเสถียร

บุญชง วีสมหมาย

นายบุญชง วีสมหมาย (13 มีนาคม พ.ศ. 2474 - 19 เมษายน พ.ศ. 2546) อดีตเลขาธิการนายกรัฐมนตรี ในสมัยของพลเอกชวลิต ยงใจยุทธ และอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดศรีสะเกษ อดีตรองประธานสภาผู้แทนราษฎร อดีตสมาชิกว.

ดู สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 18และบุญชง วีสมหมาย

บุญพันธ์ แขวัฒนะ

นายบุญพันธ์ แขวัฒนะ เป็นอดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข ในรัฐบาลของพลเอกสุจินดา คราประยูร และรัฐบาลชวน หลีกภัย (1) และเป็นอดีตรองนายกรัฐมนตรี รัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี ในรัฐบาลบรรหาร ศิลปอาชา อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดพระนครศรีอยุธยา 9 สมั.

ดู สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 18และบุญพันธ์ แขวัฒนะ

บุญส่ง สมใจ

นายบุญส่ง สมใจ (11 กันยายน พ.ศ. 2472 - ???) อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ และ อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดปราจีนบุรี 9 สมั.

ดู สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 18และบุญส่ง สมใจ

บุญเอื้อ ประเสริฐสุวรรณ

ลตรี บุญเอื้อ ประเสริฐสุวรรณ (ชื่อเดิม: กิมกุ่ย) (13 เมษายน พ.ศ. 2462 - 13 ตุลาคม พ.ศ. 2559) อดีตประธานรัฐสภา ประธานสภาผู้แทนราษฎร อดีตรองนายกรัฐมนตรี และสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดสุพรรณบุรี.

ดู สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 18และบุญเอื้อ ประเสริฐสุวรรณ

บุญเท่ง ทองสวัสดิ์

ญเท่ง ทองสวัสดิ์ (15 เมษายน พ.ศ. 2455 - 1 พฤศจิกายน พ.ศ. 2542) เป็นอดีตประธานรัฐสภาและประธานสภาผู้แทนราษฎรไทย อดีตรองนายกรัฐมนตรี อดีตรัฐมนตรีหลายกระทรวง และเป็นอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรรวม 16 สมัย ซึ่งมากที่สุดในโลก รวมถึงผู้ร่วมก่อตั้งพรรคประชาธิปัตย์ ได้รับฉายาจากนักสื่อมวลชนว่า เท่งเที่ยงถึง.

ดู สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 18และบุญเท่ง ทองสวัสดิ์

ชุมพล ศิลปอาชา

มพล ศิลปอาชา (6 มิถุนายน พ.ศ. 2483 — 21 มกราคม พ.ศ. 2556) เป็น รองนายกรัฐมนตรี และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา ในรัฐบาลยิ่งลักษณ์ ชินวัตร หัวหน้าพรรคชาติไทยพัฒนา และเคยดำรงตำแหน่งรัฐมนตรีหลายสมัย ตลอดจนตำแหน่งทางการเมืองอื่น ๆ และยังเคยดำรงตำแหน่งนายกสภามหาวิทยาลัยศิลปากร.

ดู สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 18และชุมพล ศิลปอาชา

บุณคณาวัฒน์ ภู่จีนาพันธุ์

นายบุณคณาวัฒน์ ภู่จีนาพันธุ์ (เกิด 19 มีนาคม พ.ศ. 2495) หรือ บุณยวัฒน์ ภู่จีนาพันธุ์ หรือชื่อเดิม บุญช่วย ภู่จีนาพันธุ์ อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดเชียงใหม่ 3 สมั.

ดู สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 18และบุณคณาวัฒน์ ภู่จีนาพันธุ์

ชูชาติ หาญสวัสดิ์

นายกองเอก ชูชาติ หาญสวัสดิ์ อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงมหาดไทย ในรัฐบาลของนางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร เป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จังหวัดปทุมธานี สังกัดพรรคเพื่อไทย เป็นน้องชายของนายชูชีพ หาญสวัสดิ์ อดีตรัฐมนตรี.

ดู สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 18และชูชาติ หาญสวัสดิ์

ชูชีพ หาญสวัสดิ์

นายชูชีพ หาญสวัสดิ์ (30 กันยายน 2487 -) อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงพาณิชย์ รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงศึกษาธิการ รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงพาณิชย์ และสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดปทุมธานี ปัจจุบันต้องโทษจำคุกในเรือนจำพิเศษกรุงเท.

ดู สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 18และชูชีพ หาญสวัสดิ์

พ.ศ. 2535

ทธศักราช 2535 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1992 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันพุธตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ดู สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 18และพ.ศ. 2535

พ.ศ. 2538

ทธศักราช 2538 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1995 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ดู สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 18และพ.ศ. 2538

พรพิชญ์ พัฒนกุลเลิศ

แพทย์หญิงพรพิชญ์ พัฒนกุลเลิศ (เกิด 25 สิงหาคม พ.ศ. 2497) อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดนราธิวาส 3 สมั.

ดู สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 18และพรพิชญ์ พัฒนกุลเลิศ

พรรคชาติพัฒนา (พ.ศ. 2535)

รรคชาติพัฒนา (National Development Party) เป็นพรรคการเมืองที่จดทะเบียนเมื่อวันที่ 20 เมษายน พ.ศ. 2525 ในชื่อพรรคปวงชนชาวไทย ต่อมาในเดือนกรกฎาคม พ.ศ.

ดู สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 18และพรรคชาติพัฒนา (พ.ศ. 2535)

พรรคชาติไทย

รรคชาติไทย (Chart Thai Party) เป็นอดีตพรรคการเมืองในประเทศไทย เคยมีบทบาททางการเมืองระดับชาติช่วงปี..

ดู สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 18และพรรคชาติไทย

พรรคพลังธรรม

รรคพลังธรรม เป็นพรรคการเมืองขนาดกลาง หัวหน้าพรรคคนแรก คือ พล.ต.จำลอง ศรีเมือง ก่อตั้งในปี..

ดู สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 18และพรรคพลังธรรม

พรรคกิจสังคม

รรคกิจสังคม (Social Action Party) ก่อตั้งขึ้นในวันที่ 4 พฤศจิกายน พ.ศ. 2517 โดย หม่อมราชวงศ์คึกฤทธิ์ ปราโมช โดยให้ชื่อว่า "กิจสังคม" โดยแปลตรงตัวจากภาษาอังกฤษ โดยนำชื่อพรรคมาจากพรรคการเมืองนี้ในประเทศอังกฤษ พรรคมีสมาชิกที่ได้แจ้งต่อนายทะเบียนพรรคการเมืองไว้ จำนวน 27,413 คน และมีสาขาพรรคจำนวน 4 สาขา หม่อมราชวงศ์คึกฤทธิ์ ปราโมช ผู้ก่อตั้งพรรค และหัวหน้าพรรคคนแรกให้เหตุผลว.

ดู สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 18และพรรคกิจสังคม

พรรคราษฎร (พ.ศ. 2529)

รรคราษฎร ชื่อเดิม พรรคสหชาติ ก่อตั้งขึ้นเป็นพรรคการเมือง ในปี..

ดู สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 18และพรรคราษฎร (พ.ศ. 2529)

พรรคความหวังใหม่

ัญลักษณ์พรรคความหวังใหม่แบบเดิม พรรคความหวังใหม่ (New Aspiration Party; ย่อว่า ควม.) เป็นพรรคการเมืองหนึ่งในประเทศไทย เคยมีบทบาททางการเมืองระดับประเทศระหว่างปี..

ดู สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 18และพรรคความหวังใหม่

พรรคประชากรไทย

รรคประชากรไทย (Thai Citizen Party - TCP, ย่อว่า: ปชท.) เป็นพรรคการเมืองในประเทศไทย ก่อตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 9 มีนาคม พ.ศ. 2522 ณ บริเวณสนามชัยข้างพระบรมมหาราชวัง โดยมี นายสมัคร สุนทรเวช เป็นหัวหน้าพรรค เพื่อการเลือกตั้งในวันที่ 22 เมษายน พ.ศ.

ดู สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 18และพรรคประชากรไทย

พรรคประชาธิปัตย์

รรคประชาธิปัตย์ (Democrat Party - DP, ย่อ: ปชป.) ก่อตั้งเมื่อวันที่ 5 เมษายน พ.ศ. 2489 เป็นพรรคการเมืองจดทะเบียนที่เก่าแก่ที่สุดของไทยที่ยังดำเนินการอยู่ พรรคมีสมาชิกที่ได้แจ้งต่อนายทะเบียนพรรคการเมืองไว้ จำนวน 2,895,933 คน นับเป็นพรรคการเมืองที่มีสมาชิกมากที่สุดในประเทศไทย และมีสาขาพรรคจำนวน 175.

ดู สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 18และพรรคประชาธิปัตย์

พรรคเสรีธรรม (พ.ศ. 2535)

รรคเสรีธรรม (Liberal Integrity Party) เป็นพรรคการเมืองของประเทศไทยในอดีต จดทะเบียนเมื่อวันที่ 21 กรกฎาคม พ.ศ. 2535 มีสำนักงานตั้งอยู่เลขที่ 113/1617 ถนนเทอดดำริ แขวงถนนนครไชยศรี เขตดุสิต กรุงเทพมหานคร เมื่อวันที่ 14 กรกฎาคม พ.ศ.

ดู สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 18และพรรคเสรีธรรม (พ.ศ. 2535)

พรรคเอกภาพ

รรคเอกภาพ (Solidarity Party) เป็นพรรคการเมืองของประเทศไทย ก่อตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 10 มีนาคม พ.ศ. 2526ราชกิจจานุเบกษา เล่ม 119 ตอนที่ 22ง วันที่ 14 มีนาคม 2545 ในนาม พรรคประชาไทย โดยมีนายทวี ไกรคุปต์ เป็นหัวหน้าพรรค ต่อมาในวันที่ 27 พฤษภาคม พ.ศ.

ดู สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 18และพรรคเอกภาพ

พรเทพ เตชะไพบูลย์

นายพรเทพ เตชะไพบูลย์ อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงอุตสาหกรรม ในรัฐบาลของนายชวน หลีกภัย (สมัยแรก) และอดีตรองผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร.

ดู สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 18และพรเทพ เตชะไพบูลย์

พวงเล็ก บุญเชียง

นางพวงเล็ก บุญเชียง (เกิด 18 มีนาคม พ.ศ. 2493) อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงพาณิชย์ และเป็นอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดพะเยา 7 สมั.

ดู สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 18และพวงเล็ก บุญเชียง

พิมพา จันทร์ประสงค์

มพา จันทร์ประสงค์ อดีตรัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี ในรัฐบาลของนายชวน หลีกภัย และอดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงคมนาคม ในรัฐบาลของนายบรรหาร ศิลปอาชา และอดีตกรรมการบริหารพรรคไทยรักไทย ต่อมาได้เป็นสมาชิกพรรคประชาธิปัต.

ดู สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 18และพิมพา จันทร์ประสงค์

พิศาล มูลศาสตรสาทร

ล มูลศาสตรสาทร (10 พฤษภาคม 2472 - 27 มีนาคม 2539) อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงวิทยาศาสตร์ และอดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงแรงงานและสวัสดิการสังคม และอดีตเลขาธิการพรรคความหวังใหม.

ดู สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 18และพิศาล มูลศาสตรสาทร

พิษณุ พลไวย์

ษณุ พลไวย์ (17 ธันวาคม พ.ศ. 2506 - 17 มกราคม พ.ศ. 2559) อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดพิษณุโลก 3 สมัย และ อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรระบบบัญชีรายชื่อ.

ดู สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 18และพิษณุ พลไวย์

พินิจ จันทรสุรินทร์

ระวังสับสนกับ: พินิจ จันทร์สมบูรณ์ ดร.พินิจ จันทรสุรินทร์ อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ในรัฐบาลพลเอกสุจินดา คราประยูร อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงมหาดไทย ในรัฐบาลพลเอกชาติชาย ชุณหะวัณ และเป็นอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดลำปางหลายสมั.

ดู สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 18และพินิจ จันทรสุรินทร์

พินิจ จันทร์สมบูรณ์

ระวังสับสนกับ: พินิจ จันทรสุรินทร์ นายพินิจ จันทร์สมบูรณ์ (9 พฤศจิกายน พ.ศ. 2498 - 3 พฤษภาคม พ.ศ. 2557) อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดกาญจนบุรี 3 สมัย และ อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรระบบบัญชีรายชื่อ.

ดู สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 18และพินิจ จันทร์สมบูรณ์

พินิจ จารุสมบัติ

นายพินิจ จารุสมบัติ กรรมการสภามหาวิทยาลัยผู้ทรงคุณวุฒิของมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ อดีตรองนายกรัฐมนตรี อดีตหัวหน้าพรรคเสรีธรรม เคยร่วมต่อสู้กับพรรคคอมมิวนิสต์แห่งประเทศไทย ช่วงหลังเหตุการณ์ 6 ตุลาคม พ.ศ.

ดู สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 18และพินิจ จารุสมบัติ

พิเชษฐ พันธุ์วิชาติกุล

นายพิเชษฐ พันธุ์วิชาติกุล สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดกระบี่ สังกัดพรรคประชาธิปัตย์ และอดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงการคลัง.

ดู สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 18และพิเชษฐ พันธุ์วิชาติกุล

พูนสวัสดิ์ มูลศาสตรสาทร

ูนสวัสดิ์ มูลศาสตรสาทร อดีตนักการเมืองชาวสุรินทร์ที่มีชื่อเสียง, อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงแรงงานและสวัสดิการสังคม และอดีตนักมวยไทยชื่อดัง นายพูนสวัสดิ์ เกิดเมื่อวันที่ 11 ธันวาคม..

ดู สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 18และพูนสวัสดิ์ มูลศาสตรสาทร

พูนสุข โลหะโชติ

นางสาวพูนสุข โลหะโชติ (เกิด 12 มกราคม พ.ศ. 2502) อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดน่าน 5 สมั.

ดู สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 18และพูนสุข โลหะโชติ

พงษ์อุดม ตรีสุขี

นายพงษ์อุดม ตรีสุขี (เกิด 16 พฤศจิกายน พ.ศ. 2488) อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดพระนครศรีอยุธยา 3 สมั.

ดู สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 18และพงษ์อุดม ตรีสุขี

กมล จิระพันธุ์วาณิช

นายกมล จิระพันธุ์วาณิช (เกิด 14 มีนาคม พ.ศ. 2475) อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดลพบุรี 8 สมั.

ดู สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 18และกมล จิระพันธุ์วาณิช

กร ทัพพะรังสี

นายกร ทัพพะรังสี (14 กันยายน 2488 -) นายกสภามหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา อดีตรองหัวหน้าพรรคประชาราช อดีตรองนายกรัฐมนตรี และรัฐมนตรีหลายกระทรวง เป็นบุตรของ นายอรุณ ทัพพะรังสี (บุตร พระยานราธรหิรัญรัฐ กับคุณหญิงหวาน) และ นางพร้อม ทัพพะรังสี (สกุลเดิม "ชุณหะวัณ" เป็นบุตรีของจอมพลผิน ชุณหะวัณ) เนื่องจากสืบเชื้อสายจากนักการเมืองซอยราชครู ทำให้ได้รับการขนานนามให้เป็น “ทายาทราชครู รุ่นที่ 3” ด้านครอบครัวสมรส กับ ระพีพรรณ ทัพพะรังสี มีบุตรชื่อ กฤตพณ ทัพพะรังสี และ กมลสุทธิ์ ทัพพะรังสี โดย กมลสุทธิ์ ทัพพะรังสี บุตรชายสมรสกับ อุษณา มหากิจศิริ บุตรสาว ประยุทธ มหากิจศิริ ในปี..

ดู สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 18และกร ทัพพะรังสี

กระบี่

กระบี่ อาจหมายถึง; เขตการปกครอง.

ดู สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 18และกระบี่

กระแส ชนะวงศ์

ตราจารย์ นายแพทย์ กระแส ชนะวงศ์ นายกสภามหาวิทยาลัยนเรศวร และนายกสภาสถาบันการจัดการปัญญาภิวัฒน์ อดีตรัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ รัฐมนตรีว่าการทบวงมหาวิทยาลัย อดีตหัวหน้าพรรคพลังใหม่ อดีตรองหัวหน้าพรรคพลังธรรม อดีตรองหัวหน้าพรรคความหวังใหม่ และเป็นอดีตสมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ ในปี..

ดู สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 18และกระแส ชนะวงศ์

กริช กงเพชร

กริช กงเพชร (เกิด 30 กันยายน พ.ศ. 2486) อดีตรองประธานสภาผู้แทนราษฎรไทย อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ และอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดมหาสารคาม 9 สมั.

ดู สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 18และกริช กงเพชร

กรุงเทพมหานคร

กรุงเทพมหานคร เป็นเมืองหลวงและนครที่มีประชากรมากที่สุดของประเทศไทย เป็นศูนย์กลางการปกครอง การศึกษา การคมนาคมขนส่ง การเงินการธนาคาร การพาณิชย์ การสื่อสาร และความเจริญของประเทศ เป็นเมืองที่มีชื่อยาวที่สุดในโลก ตั้งอยู่บนสามเหลี่ยมปากแม่น้ำเจ้าพระยา มีแม่น้ำเจ้าพระยาไหลผ่านและแบ่งเมืองออกเป็น 2 ฝั่ง คือ ฝั่งพระนครและฝั่งธนบุรี กรุงเทพมหานครมีพื้นที่ทั้งหมด 1,568.737 ตร.กม.

ดู สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 18และกรุงเทพมหานคร

กอร์ปศักดิ์ สภาวสุ

นายกอร์ปศักดิ์ สภาวสุ เลขาธิการนายกรัฐมนตรี อดีตรองนายกรัฐมนตรีฝ่ายเศรษฐกิจในรัฐบาลของนายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ และรองหัวหน้าพรรคประชาธิปัตย์ เกิดวันที่ 28 มีนาคม พ.ศ.

ดู สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 18และกอร์ปศักดิ์ สภาวสุ

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป กันยายน พ.ศ. 2535

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป กันยายน..

ดู สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 18และการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป กันยายน พ.ศ. 2535

กำชัย เรืองกาญจนเศรษฐ์

นายกำชัย เรืองกาญจนเศรษฐ์ (เกิด 9 ธันวาคม พ.ศ. 2488) อดีตรัฐมนตรี และอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดสุรินทร์ 5 สมั.

ดู สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 18และกำชัย เรืองกาญจนเศรษฐ์

กิตติศักดิ์ หัตถสงเคราะห์

นายกิตติศักดิ์ หัตถสงเคราะห์ อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงคมนาคม ในรัฐบาลของนางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร เป็นอดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม และอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดอุดรธานี.

ดู สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 18และกิตติศักดิ์ หัตถสงเคราะห์

กุเทพ ใสกระจ่าง

ร้อยโท ดร.กุเทพ ใสกระจ่าง (15 สิงหาคม พ.ศ. 2495 - 18 กันยายน พ.ศ. 2555) อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร ศรีสะเกษ เขต 2 เป็นอดีตโฆษกพรรคพลังประชาชน และอดีตรองโฆษกประจำสำนักนายกรัฐมนตรี ในรัฐบาลของพันตำรวจโท ดร.ทักษิณ ชินวัตร.

ดู สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 18และกุเทพ ใสกระจ่าง

กนก ลิ้มตระกูล

นายกนก ลิ้มตระกูล (เกิด 22 กันยายน พ.ศ. 2499) เป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรอุตรดิตถ์ เขต 5 ได้รับการเลือกตั้งเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรครั้งแรกในปี พ.ศ.

ดู สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 18และกนก ลิ้มตระกูล

ภิญโญ นิโรจน์

ร.ภิญโญ นิโรจน์ อดีตรัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี ในรัฐบาลของนายชวน หลีกภัย อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จังหวัดนครสวรรค์ ปัจจุบันเป็นประธานสโมสรฟุตบอลจังหวัดนครสวรรค์ และเป็นที่ปรึกษาสมาคมนักวิทยุสมัครเล่นจังหวัดนครสวรร.

ดู สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 18และภิญโญ นิโรจน์

ภูมิ สาระผล

ูมิ สาระผล อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงพาณิชย์ ในรัฐบาลของนางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร เป็นอดีตรองโฆษกประจำสำนักนายกรัฐมนตรี และสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จังหวัดขอนแก่น สังกัดพรรคเพื่อไท.

ดู สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 18และภูมิ สาระผล

ภูมินทร์ ลีธีระประเสริฐ

นายแพทย์ ภูมินทร์ ลีธีระประเสริฐ รองโฆษกประจำสำนักนายกรัฐมนตรี ในรัฐบาลนายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จังหวัดศรีสะเกษ.

ดู สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 18และภูมินทร์ ลีธีระประเสริฐ

มอนอินทร์ รินคำ

นายมอนอินทร์ รินคำ เป็นอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดเชียงใหม่ 2 สมัย ได้รับเลือกตั้งครั้งแรกในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ.

ดู สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 18และมอนอินทร์ รินคำ

มั่น พัธโนทัย

มั่น พัธโนทัย (21 มกราคม พ.ศ. 2484 -) อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงการคลัง ในรัฐบาลนายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ อดีตรองนายกรัฐมนตรี และอดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ในรัฐบาลนายสมชาย วงศ์สวั.

ดู สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 18และมั่น พัธโนทัย

มารุต บุนนาค

ตราจารย์พิเศษ มารุต บุนนาค อดีตประธานรัฐสภา และประธานสภาผู้แทนราษฎร ประธานตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ และรัฐมนตรีหลายกระทรวง ปัจจุบันวางมือทางการเมือง แต่ยังคงดำรงตำแหน่งกรรมการที่ปรึกษาพรรคประชาธิปัต.

ดู สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 18และมารุต บุนนาค

มานะ มหาสุวีระชัย

มานะ มหาสุวีระชัย อดีตหัวหน้าพรรคแทนคุณแผ่นดิน อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จังหวัดศรีสะเกษ สังกัดพรรคประชาธิปัตย์ เกิดวันที่ 31 มีนาคม พ.ศ.

ดู สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 18และมานะ มหาสุวีระชัย

มาโนชญ์ วิชัยกุล

นายมาโนชญ์ วิชัยกุล (เกิด 12 กันยายน พ.ศ. 2486) อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดนครศรีธรรมราช 9 สมั.

ดู สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 18และมาโนชญ์ วิชัยกุล

มุข สุไลมาน

มุข สุไลมาน (1 กันยายน พ.ศ. 2492 -) กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิในคณะกรรมการส่งเสริมกิจการฮัจย์แห่งประเทศไทย และอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จังหวัดปัตตานี ปัจจุบันสังกัดพรรคเพื่อไทยอดีตเลขานุการ รมว.มท.

ดู สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 18และมุข สุไลมาน

มณฑล ไกรวัตนุสสรณ์

นายมณฑล ไกรวัตนุสสรณ์ (เกิด 1 มกราคม พ.ศ. 2482) นายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดสมุทรสาคร อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดสมุทรสาคร หลายสมั.

ดู สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 18และมณฑล ไกรวัตนุสสรณ์

มงคล จงสุทธนามณี

นายมงคล จงสุทธนามณี (เกิด 22 กรกฎาคม พ.ศ. 2489) อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดเชียงราย 7 สมั.

ดู สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 18และมงคล จงสุทธนามณี

มนตรี พงษ์พานิช

นายมนตรี พงษ์พานิช (9 พ.ย. 2486 - 12 มิ.ย. 2543) อดีตรองนายกรัฐมนตรี และรัฐมนตรีว่าการหลายกระทรวง อาทิ กระทรวงพาณิชย์ กระทรวงคมนาคม กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ และกระทรวงสาธารณสุข และเป็นผู้อนุมัติ "โครงการโฮปเวลล์" เมื่อปี..

ดู สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 18และมนตรี พงษ์พานิช

ยิ่งพันธ์ มนะสิการ

นายยิ่งพันธ์ มนะสิการ (23 พฤศจิกายน พ.ศ. 2480 - 22 ธันวาคม พ.ศ. 2546) เป็นอดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และสิ่งแวดล้อม อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จังหวัดพิษณุโลก และอดีตนายกสภามหาวิทยาลัยนเรศวร.

ดู สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 18และยิ่งพันธ์ มนะสิการ

ยุทธ อังกินันทน์

นายยุทธ อังกินันทน์ (เกิด 6 เมษายน พ.ศ. 2479) อดีตรัฐมนตรี และอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดเพชรบุรี 7 สมั.

ดู สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 18และยุทธ อังกินันทน์

ยงยศ อรุณเวสสะเศรษฐ

นายยงยศ อรุณเวสสะเศรษฐ (26 กรกฎาคม พ.ศ. 2503 - 17 ธันวาคม พ.ศ. 2553) อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดระยอง 5 สมั.

ดู สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 18และยงยศ อรุณเวสสะเศรษฐ

ระวี กิ่งคำวงศ์

นายระวี กิ่งคำวงศ์ (เกิด 18 มกราคม พ.ศ. 2493) อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดมุกดาหาร 4 สมัย และ อดีตสมาชิกวุฒิสภาจังหวัดมุกดาหาร.

ดู สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 18และระวี กิ่งคำวงศ์

ระวี หิรัญโชติ

นายระวี หิรัญโชติ อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม ในรัฐบาลของนายชวน หลีกภัย อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จังหวัดร้อยเอ็ด อดีตเลขาธิการพรรคกิจสังคม และอดีตกรรมการบริหารพรรคไทยรักไท.

ดู สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 18และระวี หิรัญโชติ

รักเกียรติ สุขธนะ

นายรักเกียรติ สุขธนะ (4 เมษายน พ.ศ. 2497-) อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดอุดรธานี 7 สมัย และอดีตรัฐมนตรี 5 สมัย เมื่อปี..

ดู สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 18และรักเกียรติ สุขธนะ

รำรี มามะ

รำรี มามะ (เกิด 1 มกราคม พ.ศ. 2493) สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดนราธิวาส 4 สมั.

ดู สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 18และรำรี มามะ

ลลิตา ฤกษ์สำราญ

รองศาสตราจารย์ ดร.ลลิตา ฤกษ์สำราญ อดีตรองประธานสภาผู้แทนราษฎร คนที่ 2..กรุงเทพฯ หลายสมัย เกิดวันที่ 23 กุมภาพันธ์ พ.ศ.

ดู สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 18และลลิตา ฤกษ์สำราญ

ลาภศักดิ์ ลาภาโรจน์กิจ

นายลาภศักดิ์ ลาภาโรจน์กิจ (เกิด 11 มิถุนายน พ.ศ. 2484) อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดสงขลา 6 สมั.

ดู สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 18และลาภศักดิ์ ลาภาโรจน์กิจ

ลดาวัลลิ์ วงศ์ศรีวงศ์

นางลดาวัลลิ์ วงศ์ศรีวงศ์ อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงแรงงานและสวัสดิการสังคม ในรัฐบาลของพันตำรวจโททักษิณ ชินวัตร อดีตโฆษกประจำสำนักนายกรัฐมนตรี ที่เป็นสตรีคนแรกของประเทศไทยในคณะรัฐบาลของนายอานันท์ ปันยารชุน อดีตโฆษกพรรคประชาธิปัตย์ และอดีตผู้ประกาศข่าวช่อง 11.

ดู สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 18และลดาวัลลิ์ วงศ์ศรีวงศ์

วรรณรัตน์ ชาญนุกูล

นายแพทย์ วรรณรัตน์ ชาญนุกูล หัวหน้าพรรคชาติพัฒนา อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรม ในรัฐบาลของนางสาว ยิ่งลักษณ์ ชินวัตรและอดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงพลังงาน ในรัฐบาลของนายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ และรัฐบาลของนายสมชาย วงศ์สวั.

ดู สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 18และวรรณรัตน์ ชาญนุกูล

วราเทพ รัตนากร

ร.วราเทพ รัตนากร อดีตรัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี และอดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ อดีตที่ปรึกษาศูนย์รักษาความสงบ ในรัฐบาลนางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงการคลัง ในรัฐบาลพันตำรวจโท ทักษิณ ชินวัตร อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร 7 สมัยจากจังหวัดกำแพงเพชรและแบบบัญชีรายชื่อตามลำดับ อดีตแกนนำ..

ดู สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 18และวราเทพ รัตนากร

วัชรินทร์ เกตะวันดี

วัชรินทร์ เกตะวันดี อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงสาธารณสุข ในรัฐบาลพลเอกเปรม ติณสูลานนท์ เป็นอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดเลย 5 สมัย และอดีตกรรมการที่ปรึกษาพรรคประชาธิปัต.

ดู สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 18และวัชรินทร์ เกตะวันดี

วัฒนา อัศวเหม

วัฒนา อัศวเหม อดีตรัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงอุตสาหกรรมและกระทรวงมหาดไทย อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดสมุทรปราการ อดีตหัวหน้าพรรคราษฎร อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดสมุทรปราการ 11 สมัย จนได้รับฉายา "เจ้าพ่อปากน้ำ" นายวัฒนา ได้ถูก ป.ป..

ดู สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 18และวัฒนา อัศวเหม

วันมูหะมัดนอร์ มะทา

วันมูหะมัดนอร์ มะทา นักการเมืองมุสลิม แกนนำกลุ่มวาดะห์ อดีตประธานรัฐสภาและประธานสภาผู้แทนราษฎรคนแรกในประวัติศาสตร์ที่เป็นชาวไทยมุสลิม อดีตรองนายกรัฐมนตรี มีชื่อเรียกกันโดยทั่วไปว่า "วันนอร์" เคยดำรงตำแหน่งสำคัญ เช่น ประธานรัฐสภาและประธานสภาผู้แทนราษฎร รองนายกรัฐมนตรี รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย รัฐมนตรีว่าการกระทรวงคมนาคม (2 สมัย) และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ วันมูหะมัดนอร์ มะทา เป็น อดีต..

ดู สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 18และวันมูหะมัดนอร์ มะทา

วาสิต พยัคฆบุตร

วาสิต พยัคฆบุตร (9 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2496 —) อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดลำปาง 7 สมั..

ดู สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 18และวาสิต พยัคฆบุตร

วิชัย ชัยจิตวณิชกุล

นายแพทย์วิชัย ชัยจิตวณิชกุล เป็นอดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงพาณิชย์ ในรัฐบาลพลเอกชวลิต ยงใจยุทธ อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดอุดรธานี และอดีตกรรมการบริหารพรรคไทยรักไท.

ดู สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 18และวิชัย ชัยจิตวณิชกุล

วิชัย วงศ์ไชย

ัชกร ดร.วิชัย วงศ์ไชย อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จังหวัดเชียงใหม่ พรรคพลังธรรม เป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรที่มีบทบาทในทางด้านการเมืองคนสำคัญของพรรคพลังธรรม จนได้รับการแต่งตั้งเป็นรองหัวหน้าพรรคพลังธรรม (กำกับดูแลภาคเหนือ) เกิดเมื่อวันที่ 6 กุมภาพัน..

ดู สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 18และวิชัย วงศ์ไชย

วิรัช รัตนเศรษฐ

วิรัช รัตนเศรษฐ อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ในรัฐบาลของนายชวน หลีกภัย และสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จังหวัดนครราชสีมาหลายสมั.

ดู สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 18และวิรัช รัตนเศรษฐ

วิรัช ร่มเย็น

นายวิรัช ร่มเย็น อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดระนอง พรรคประชาธิปัตย์ และกรรมการบริหารพรรคประชาธิปัตย์ เกิดเมื่อวันที่ 5 กันยายน พ.ศ.

ดู สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 18และวิรัช ร่มเย็น

วิลาศ จันทร์พิทักษ์

ัชกร วิลาศ จันทร์พิทักษ์ สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร (ส.ส.) กรุงเทพมหานคร สังกัดพรรคประชาธิปัต.

ดู สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 18และวิลาศ จันทร์พิทักษ์

วิวรรธนไชย ณ กาฬสินธุ์

นายวิวรรธนไชย ณ กาฬสินธุ์ หรือวิวัฒนไชย ณ กาฬสินธุ์ อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จังหวัดกาฬสิน.

ดู สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 18และวิวรรธนไชย ณ กาฬสินธุ์

วิสาร เตชะธีราวัฒน์

นายกองเอก วิสาร เตชะธีราวัฒน์ เป็นอดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงมหาดไทย และอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดเชียงราย 8 สมั.

ดู สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 18และวิสาร เตชะธีราวัฒน์

วิจิตร สุวิทย์

ันตำรวจโทวิจิตร สุวิทย์ (เกิด 4 พฤษภาคม พ.ศ. 2483) อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดสงขลา 4 สมั.

ดู สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 18และวิจิตร สุวิทย์

วิทยา คุณปลื้ม

วิทยา คุณปลื้ม (ชื่อเล่น: ป๊อก) (27 มิถุนายน พ.ศ. 2508 —) นักการเมืองชาวไทย เกิดที่จังหวัดชลบุรี อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดชลบุรี 5 สมัย ตั้งแต..

ดู สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 18และวิทยา คุณปลื้ม

วิทยา แก้วภราดัย

นายวิทยา แก้วภราดัย (5 มกราคม 2498 -; ชื่อเล่น: น้อย) อดีตสมาชิกสภาขับเคลื่อนการปฏิรูปประเทศ อดีตประธานวิปรัฐบาล อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข รองหัวหน้าพรรคประชาธิปัตย์ แล..นครศรีธรรมราช หลายสมัย สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรี สาขานิติศาสตรบัณฑิต จาก จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ขณะเรียนปี 4 นายวิทยาเป็นหนึ่งในนิสิตที่เข้าร่วมการชุมนุมที่มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ และได้รับบาดเจ็บถูกยิงที่ขาในเหตุการณ์ 6 ตุล..

ดู สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 18และวิทยา แก้วภราดัย

วิทยา เทียนทอง

นายวิทยา เทียนทอง (เกิด 5 พฤษภาคม พ.ศ. 2484) อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดปราจีนบุรี และ อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดสระแก้ว รวม 8 สมัย รวมถึง อดีตสมาชิกวุฒิสภาจังหวัดสระแก้ว ปัจจุบันต้องโทษในเรือนจำพิเศษกรุงเท.

ดู สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 18และวิทยา เทียนทอง

วิฑูรย์ วงษ์ไกร

นายวิฑูรย์ วงษ์ไกร (เกิด 1 ตุลาคม พ.ศ. 2494) อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดยโสธร 5 สมั.

ดู สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 18และวิฑูรย์ วงษ์ไกร

วิฑูรย์ นามบุตร

นายวิฑูรย์ นามบุตร (23 กันยายน 2502 -) อดีตรองหัวหน้าพรรคประชาธิปัตย์ อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดอุบลราชธานี 6 สมัย เกิดที่ตำบลเขื่องใน อำเภอเขื่องใน จังหวัดอุบลราชธานี เป็นบุตรของ นายลา นามบุตร และนางพิมพา นามบุตร ก่อนเข้าสู่วงการเมืองประกอบอาชีพเป็นทนายความ.

ดู สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 18และวิฑูรย์ นามบุตร

วินัย สมพงษ์

ันเอกวินัย สมพงษ์ สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร แบบบัญชีรายชื่อ พรรคประชาธิปัตย์ อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงคมนาคม ในรัฐบาลของนายชวน หลีกภัย และเป็นนักการเมืองที่มีความซื่อสัตย์ จนได้รับฉายาจากสื่อมวลชนว่า นายไม้บรรทัด และเป็นผู้ยกเลิกโครงการโฮบเวลล์ และริเริ่มโครงการรถไฟความเร็วสูงในประเทศไทย เมื่อปี..

ดู สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 18และวินัย สมพงษ์

วินัย เสนเนียม

นายวินัย เสนเนียม (22 สิงหาคม พ.ศ. 2501 - 20 ตุลาคม พ.ศ. 2552) อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดสงขลา 6 สมั.

ดู สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 18และวินัย เสนเนียม

วิเชียร ขาวขำ

วิเชียร ขาวขำ (28 มีนาคม พ.ศ. 2499 -) นายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดอุดรธานี อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร แบบบัญชีรายชื่อ สังกัดพรรคเพื่อไทย และเป็นหนึ่งในแกนนำแนวร่วมประชาธิปไตยต่อต้านเผด็จการแห่งชาติ (นปช.).

ดู สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 18และวิเชียร ขาวขำ

วิเชียร คันฉ่อง

นายวิเชียร คันฉ่อง (เกิด 27 กรกฎาคม พ.ศ. 2486) อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดตรัง 6 สมัย และอดีตสมาชิกวุฒิสภาจังหวัดตรัง.

ดู สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 18และวิเชียร คันฉ่อง

วิเศษ ใจใหญ่

นายวิเศษ ใจใหญ่ (เกิด 7 มีนาคม พ.ศ. 2482) เป็นบุคคลล้มละลาย อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดประจวบคีรีขันธ์ 7 สมัย และ อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรระบบบัญชีรายชื่อ อดีตผู้ช่วยเลขานุการรัฐมนตรีว่าการกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี อดีตผู้ช่วยเลขานุการรัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรม อดีตผู้ช่วยเลขานุการรัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ.

ดู สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 18และวิเศษ ใจใหญ่

วุฒิ สุโกศล

ลตำรวจตรีวุฒิ สุโกศล อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงแรงงานและสวัสดิการสังคม ในรัฐบาลของนายชวน หลีกภัย และอดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงศึกษาธิการ อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จังหวัดนครราชสีมา จากนั้นในปี..

ดู สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 18และวุฒิ สุโกศล

วุฒิชัย สงวนวงศ์ชัย

นายวุฒิชัย สงวนวงศ์ชัย อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงอุตสาหกรรม ในรัฐบาลของนายชวน หลีกภัย อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จังหวัดชัยภูมิ สังกัดพรรคไทยรักไทย และเป็นหนึ่งในกรรมการบริหารที่ถูกตัดสิทธิ์ทางการเมือง (บ้านเลขที่ 111).

ดู สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 18และวุฒิชัย สงวนวงศ์ชัย

วีระกร คำประกอบ

นายวีระกร คำประกอบ เป็นอดีตรัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี ในรัฐบาลพลเอกชวลิต ยงใจยุทธ เป็นอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดนครสวรรค์ 7 สมัย และเป็นบุตรชายของนายสวัสดิ์ คำประกอบอดีตรัฐมนตรีหลายกระทรวง และอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดนครสวรรค์ 12 สมั.

ดู สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 18และวีระกร คำประกอบ

ศิริศักดิ์ อ่อนละมัย

นายศิริศักดิ์ อ่อนละมัย (เกิด 15 สิงหาคม พ.ศ. 2493) อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดชุมพร 6 สมั.

ดู สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 18และศิริศักดิ์ อ่อนละมัย

สมบัติ รอดโพธิ์ทอง

ลตรี สมบัติ รอดโพธิ์ทอง เป็นอดีตแกนกบฏยังเติร์ก เมื่อปี..

ดู สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 18และสมบัติ รอดโพธิ์ทอง

สมชาย สุนทรวัฒน์

นายกองเอก สมชาย สุนทรวัฒน์ อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ในรัฐบาลชวน 2 อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงมหาดไทย ในรัฐบาลของพันตำรวจโททักษิณ ชินวัตร อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จังหวัดสระบุรี และเป็นผู้ร่วมก่อตั้งพรรคไทยรักไท.

ดู สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 18และสมชาย สุนทรวัฒน์

สมชาย เพศประเสริฐ

ันตำรวจโท สมชาย เพศประเสริฐ อดีตรองหัวหน้าพรรคเพื่อไทย (แกนนำกลุ่มอีสานพัฒนา) อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จังหวัดนครราชสีมา อดีตรองโฆษกประจำสำนักนายกรัฐมนตรี อดีตเลขานุการรัฐมนตรีกระทรวงวิทยาศาสตร์และสิ่งแวดล้อม และอดีตโฆษกกระทรวงมหาดไท.

ดู สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 18และสมชาย เพศประเสริฐ

สมพร อัศวเหม

นายสมพร อัศวเหม เป็นอดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงพาณิชย์ ในรัฐบาลพลเอกชวลิต ยงใจยุทธ และเป็นอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดสมุทรปราการ 5 สมั.

ดู สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 18และสมพร อัศวเหม

สมพงษ์ อมรวิวัฒน์

นายสมพงษ์ อมรวิวัฒน์ (3 กรกฎาคม พ.ศ. 2484 -) อดีตรองนายกรัฐมนตรี อดีตรัฐมนตรีหลายกระทรวง อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร ระบบสัดส่วน สังกัดพรรคพลังประชาชน อดีตรองหัวหน้าพรรคสามัคคีธรรม และอดีตแกนนำกลุ่ม 16.

ดู สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 18และสมพงษ์ อมรวิวัฒน์

สมศักดิ์ ปริศนานันทกุล

นายสมศักดิ์ ปริศนานันทกุล (27 เมษายน 2494 -) อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ อดีตรองหัวหน้าพรรคชาติไทย และอดีต..อ่างทอง หลายสมัย เคยดำรงตำแหน่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ และรองประธานสภาผู้แทนราษฎร.

ดู สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 18และสมศักดิ์ ปริศนานันทกุล

สมศักดิ์ เกียรติสุรนนท์

นายสมศักดิ์ เกียรติสุรนนท์ (27 มิถุนายน 2497 —) อดีตประธานรัฐสภา และประธานสภาผู้แทนราษฎร รองหัวหน้าพรรคเพื่อไทย แกนนำกลุ่มขุนค้อน ประธานสภาสถาบันพระปกเกล้า สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดขอนแก่น พรรคเพื่อไทย อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรม และอดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงวัฒนธรรม.

ดู สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 18และสมศักดิ์ เกียรติสุรนนท์

สมศักดิ์ เทพสุทิน

นายสมศักดิ์ เทพสุทิน แกนนำกลุ่มสามมิตร หรือ กลุ่มวังน้ำยม และ กลุ่มมัชฌิมาเดิม กลุ่มอดีต..

ดู สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 18และสมศักดิ์ เทพสุทิน

สมัคร สุนทรเวช

มัคร สุนทรเวช (ชื่อจีน: 李沙馬 Lǐ Shāmǎ; 13 มิถุนายน พ.ศ. 2478 – 24 พฤศจิกายน พ.ศ. 2552) เป็นนายกรัฐมนตรีไทยคนที่ 25 และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม หัวหน้าพรรคพลังประชาชน อดีตผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร และผู้ก่อตั้งพรรคประชากรไทย เกิดที่กรุงเทพมหานคร เป็นนักการเมืองเก่าแก่ ที่มีเสียงพูดและลีลาการพูดเป็นเอกลักษณ์ เคยดำรงตำแหน่งสำคัญมากมาย เช่น รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย รัฐมนตรีว่าการกระทรวงคมนาคม (2 สมัย) ได้ฉายาจากสื่อมวลชนทั่วไปว่า "น้าหมัก" "ออหมัก" หรือ "ชมพู่" (มาจากลักษณะจมูกของสมัคร) "ชาวนา" (จากกรณีกลุ่มงูเห่า) เป็นต้น สมัครเริ่มทำงานหลังจบนิติศาสตร์ ธรรมศาสตร์ เป็นสื่อมวลชนสายการเมือง โดยเขียนบทความ และความคิดเห็น ทางการเมืองแบบไม่ประจำใน หนังสือพิมพ์สยามรัฐ, สยามรัฐสัปดาห์วิจารณ์ และชาวกรุง ตั้งแต..

ดู สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 18และสมัคร สุนทรเวช

สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร

มาชิกสภาผู้แทนราษฎร หรือ..

ดู สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 18และสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร

สมาน ภุมมะกาญจนะ

มาน ภุมมะกาญจนะ (1 มกราคม พ.ศ. 2479 - 4 พฤษภาคม พ.ศ. 2555) อดีตนักการเมืองชาวไทย เป็นอดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงอุตสาหกรรม.

ดู สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 18และสมาน ภุมมะกาญจนะ

สมานฉันท์ ชมภูเทพ

ร.สมานฉันท์ ชมภูเทพ (ชื่อเดิม: สมาน ชมภูเทพ) อดีตนายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดลำพูน (อบจ.) และอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดลำพูน สังกัดพรรคประชาธิปัตย์ เป็นที่รู้จักในนาม "หนานหล้า".

ดู สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 18และสมานฉันท์ ชมภูเทพ

สมุทร มงคลกิติ

ร.สมุทร มงคลกิติ เป็นอดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ในรัฐบาลนายชวน หลีกภัย (ชวน 1) อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกรุงเทพมหานคร 4 สมัย และอดีตรองหัวหน้าพรรคพลังธรรม.

ดู สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 18และสมุทร มงคลกิติ

สมคิด นวลเปียน

นายสมคิด นวลเปียน (เกิด 20 กรกฎาคม พ.ศ. 2490) อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดพัทลุง 3 สมั.

ดู สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 18และสมคิด นวลเปียน

สรอรรถ กลิ่นประทุม

นายสรอรรถ กลิ่นประทุม นายกสมาคมแห่งสถาบันพัฒนาการเมืองและการเลือกตั้ง นักการเมืองแกนนำกลุ่มราชบุรี อดีตรองหัวหน้าพรรคไทยรักไทย อดีตรัฐมนตรีหลายกระทรวง และอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จังหวัดราชบุรี ปัจจุบันดำรงตำแหน่งเป็นประธานคณะกรรมการที่ปรึกษาพรรคภูมิใจไท.

ดู สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 18และสรอรรถ กลิ่นประทุม

สฤต สันติเมทนีดล

ร.สฤต สันติเมทนีดล เป็นอดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงศึกษาธิการ ในรัฐบาลนายชวน หลีกภัย อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดขอนแก่น 1 สมัย และแบบบัญชีรายชื่อ 2 สมัย สังกัดพรรคไทยรักไทย และเป็นสมาชิกบ้านเลขที่ 111.

ดู สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 18และสฤต สันติเมทนีดล

สวัสดิ์ สืบสายพรหม

วัสดิ์ สืบสายพรหม (เกิด 8 มกราคม พ.ศ. 2490) อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ และอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดศรีสะเกษ 4 สมัย และอดีตนายกเทศมนตรีเทศบาลตำบลเมืองขุขัน.

ดู สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 18และสวัสดิ์ สืบสายพรหม

สวัสดิ์ คำประกอบ

นายสวัสดิ์ คำประกอบ (23 ตุลาคม พ.ศ. 2462 - 28 กันยายน พ.ศ. 2557) อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรม รัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงสาธารณสุข และอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดนครสวรรค์ 12 สมั.

ดู สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 18และสวัสดิ์ คำประกอบ

สัมพันธ์ ทองสมัคร

นายสัมพันธ์ ทองสมัคร กรรมการที่ปรึกษาพรรคประชาธิปัตย์ แล..

ดู สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 18และสัมพันธ์ ทองสมัคร

สัมพันธ์ เลิศนุวัฒน์

ัมพันธ์ เลิศนุวัฒน์ เป็นอดีตรัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี ในรัฐบาลของพลเอกชวลิต ยงใจยุทธ อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงพาณิชย์ ในรัฐบาลพลเอกสุจินดา คราประยูร อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรหลายสมั.

ดู สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 18และสัมพันธ์ เลิศนุวัฒน์

สังข์ทอง ศรีธเรศ

ังข์ทอง ศรีธเรศ อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงศึกษาธิการ ในรัฐบาลของนายชวน หลีกภัย และรัฐบาลของพลเอกชวลิต ยงใจยุทธ อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดกาฬสินธุ์ 7 สมั.

ดู สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 18และสังข์ทอง ศรีธเรศ

สันติ ชัยวิรัตนะ

นายสันติ ชัยวิรัตนะ (12 พฤศจิกายน พ.ศ. 2488 - 24 พฤษภาคม พ.ศ. 2543) อดีตรัฐมนตรี และอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดชัยภูมิ 7 สมั.

ดู สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 18และสันติ ชัยวิรัตนะ

สาวิตต์ โพธิวิหค

วิตต์ โพธิวิหค กรรมการที่ปรึกษาพรรคประชาธิปัตย์ อดีตรัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี 2 สมัย อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร กรุงเทพมหานคร หลายสมั.

ดู สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 18และสาวิตต์ โพธิวิหค

สำเภา ประจวบเหมาะ

นายสำเภา ประจวบเหมาะ (21 พฤษภาคม พ.ศ. 2475 - 15 ธันวาคม พ.ศ. 2559) อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ และอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดประจวบคีรีขันธ์ 9 สมั.

ดู สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 18และสำเภา ประจวบเหมาะ

สุชาติ ตันเจริญ

นายกองเอก สุชาติ ตันเจริญ อดีตรองประธานสภาผู้แทนราษฎร อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงมหาดไทย อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดฉะเชิงเทรา 8 สมัย อดีตรองหัวหน้าพรรคชาติไทย และพรรคไทยรักไทย อีกทั้งยังเป็นอดีต..ในกลุ่ม 16.

ดู สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 18และสุชาติ ตันเจริญ

สุชาติ แก้วนาโพธิ์

นายสุชาติ แก้วนาโพธิ์ (เกิด 23 มิถุนายน พ.ศ. 2488) อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดชุมพร 6 สมั.

ดู สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 18และสุชาติ แก้วนาโพธิ์

สุชาติ โชคชัยวัฒนากร

นายสุชาติ โชคชัยวัฒนากร อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงคมนาคม ในรัฐบาลของนายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ และอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จังหวัดมหาสารคาม สังกัดพรรคภูมิใจไท.

ดู สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 18และสุชาติ โชคชัยวัฒนากร

สุชน ชามพูนท

นายสุชน ชามพูนท ที่ปรึกษารองนายกรัฐมนตรี (นายยงยุทธ วิชัยดิษฐ) อดีตรัฐมนตรีว่าการทบวงมหาวิทยาลัย อดีตรัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงการคลัง และอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรหลายสมั.

ดู สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 18และสุชน ชามพูนท

สุพัฒน์ ธรรมเพชร

นายสุพัฒน์ ธรรมเพชร (เกิด 9 เมษายน พ.ศ. 2497) อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดพัทลุง 6 สมั.

ดู สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 18และสุพัฒน์ ธรรมเพชร

สุรพร ดนัยตั้งตระกูล

นายสุรพร ดนัยตั้งตระกูล อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงศึกษาธิการ ในรัฐบาลพลเอกชวลิต ยงใจยุทธ อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดร้อยเอ็.

ดู สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 18และสุรพร ดนัยตั้งตระกูล

สุรพล เกียรติไชยากร

นายสุรพล เกียรติไชยากร สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จังหวัดเชียงใหม่ พรรคเพื่อไทย ได้รับเลือกตั้งครั้งแรก ในการเลือกตั้ง..

ดู สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 18และสุรพล เกียรติไชยากร

สุรวิทย์ คนสมบูรณ์

นายแพทย์ สุรวิทย์ คนสมบูรณ์ อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงสาธารณสุข อดีตรัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรีในรัฐบาลของนางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร และสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดชัยภูมิ เขต 7 สังกัดพรรคเพื่อไท.

ดู สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 18และสุรวิทย์ คนสมบูรณ์

สุรศักดิ์ เทียมประเสริฐ

นายสุรศักดิ์ เทียมประเสริฐ เป็นอดีตรัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี ในรัฐบาลนายชวน หลีกภัย (ชวน 1) และเป็นอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดอุบลราชธานี.

ดู สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 18และสุรศักดิ์ เทียมประเสริฐ

สุรินทร์ พิศสุวรรณ

รรมศาสตราภิชาน สุรินทร์ พิศสุวรรณ (Surin Abdul Halim bin Ismail Pitsuwan, สุรินทร์ อับดุล ฮาลิม บิน อิสมาอิล พิศสุวรรณ; 28 ตุลาคม พ.ศ. 2492 – 30 พฤศจิกายน พ.ศ.

ดู สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 18และสุรินทร์ พิศสุวรรณ

สุรเชษฐ์ มาศดิตถ์

นายสุรเชษฐ์ มาศดิตถ์ ผู้ช่วยเลขาธิการพรรคประชาธิปัต..

ดู สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 18และสุรเชษฐ์ มาศดิตถ์

สุรเชษฐ์ แวอาแซ

นายสุรเชษฐ์ แวอาแซ (เกิด 1 เมษายน พ.ศ. 2495) สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดนราธิวาส 5 สมั.

ดู สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 18และสุรเชษฐ์ แวอาแซ

สุวัจน์ ลิปตพัลลภ

วัจน์ ลิปตพัลลภ นายกสภามหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา อดีตรองนายกรัฐมนตรี ในรัฐบาลของดร.ทักษิณ ชินวัตร อดีตรัฐมนตรีว่าการทบวงมหาวิทยาลัย และอดีตรัฐมนตรีว่าการหลายกระทรวง เป็นหนึ่งในแกนนำพรรครวมชาติพัฒนา (ปัจจุบันคือ พรรคชาติพัฒนาเพื่อแผ่นดิน) แต่ไม่ได้ลงสมัครรับเลือกตั้งทั่วไป 23 ธันวาคม พ.ศ.

ดู สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 18และสุวัจน์ ลิปตพัลลภ

สุวิทย์ คุณกิตติ

นายสุวิทย์ คุณกิตติ (17 ตุลาคม 2500 -) ประธานที่ปรึกษาพรรคกิจสังคม อดีตหัวหน้าพรรคเพื่อแผ่นดิน..ขอนแก่น 7 สมัย อดีตรองนายกรัฐมนตรี เคยดำรงตำแหน่งเป็นรัฐมนตรีในหลายกระทรวงทั้งกระทรวงยุติธรรม กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ กระทรวงวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม กระทรวงศึกษาธิการ กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร กระทรวงอุตสาหกรรม และกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม.

ดู สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 18และสุวิทย์ คุณกิตติ

สุวโรช พะลัง

นายสุวโรช พะลัง เป็นอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จังหวัดชุมพร สังกัดพรรคประชาธิปัตย์ และเคยเป็นกรรมการบริหารพรรคประชาธิปัต.

ดู สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 18และสุวโรช พะลัง

สุธรรม แสงประทุม

รรม แสงประทุม อดีตประธานกรรมการบริษัท อสมท จำกัด (มหาชน), อดีตรัฐมนตรีว่าการทบวงมหาวิทยาลัย อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงศึกษาธิการ กับอดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงมหาดไทย ในรัฐบาลพันตำรวจโท ดร.ทักษิณ ชินวัตร สมัยที่ 1, ผู้ร่วมก่อตั้งพรรคไทยรักไทย และอดีตเลขาธิการศูนย์กลางนิสิตนักศึกษาแห่งประเทศไท.

ดู สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 18และสุธรรม แสงประทุม

สุทัศน์ เงินหมื่น

ทัศน์ เงินหมื่น กรรมการที่ปรึกษาพรรคประชาธิปัตย์ อดีตรองนายกรัฐมนตรี และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรม และเป็นบิดาของนายอภิวัฒน์ เงินหมื่น สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จังหวัดอำนาจเจริญ.

ดู สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 18และสุทัศน์ เงินหมื่น

สุดารัตน์ เกยุราพันธุ์

ร.คุณหญิง สุดารัตน์ เกยุราพันธุ์ (1 พฤษภาคม 2504 -) เป็นนักการเมือง เคยร่วมประท้วงในเหตุการณ์พฤษภาทมิฬ อดีตรัฐมนตรีเคยดำรงตำแหน่งที่สำคัญในรัฐบาล พันตำรวจโท ทักษิณ ชินวัตร ปัจจุบันเป็นประธานมูลนิธิไทยพึ่งไท.

ดู สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 18และสุดารัตน์ เกยุราพันธุ์

สุดิน ภูยุทธานนท์

นายสุดิน ภูยุทธานนท์ (เกิด 20 กันยายน พ.ศ. 2480) อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดปัตตานี 6 สมั.

ดู สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 18และสุดิน ภูยุทธานนท์

สุนทร วิลาวัลย์

นายสุนทร วิลาวัลย์ เป็นอดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงสาธารณสุข ในรัฐบาลพลเอกชวลิต ยงใจยุทธ และอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดปราจีนบุรี 8 สมั.

ดู สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 18และสุนทร วิลาวัลย์

สุเมธ พรมพันห่าว

มธ พรมพันห่าว อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จังหวัดหนองคาย อดีตเลขาธิการพรรคเสรีธรรม และเป็นผู้เสนอขอจัดตั้งจังหวัดบึงกาฬต่อสภาผู้แทนราษฎร และคณะรัฐมนตรีเป็นคนแรก เมื่อปี พ.ศ.

ดู สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 18และสุเมธ พรมพันห่าว

สุเทพ อัตถากร

ทพ อัตถากร (17 ตุลาคม พ.ศ. 2480 -) อดีตรัฐมนตรีว่าการทบวงมหาวิทยาลัย ในรัฐบาลของนายชวน หลีกภัย และอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร กรุงเทพมหานคร.

ดู สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 18และสุเทพ อัตถากร

สุเทพ เทือกสุบรรณ

ทพ เทือกสุบรรณ เป็นประธานมูลนิธิมวลมหาประชาชนเพื่อการปฏิรูปประเทศไทย และ ผู้ก่อตั้งวิทยาลัยอาชีวศึกษาภาวนาโพธิคุณ เป็นอดีตรองนายกรัฐมนตรีในรัฐบาลอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ อดีตเลขาธิการพรรคประชาธิปัตย์ และสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดสุราษฎร์ธานีหลายสมัย เคยดำรงตำแหน่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงคมนาคม และรัฐมนตรีช่วยว่าการหลายกระทรวง จนถึงปี 2554 เป็นเลขาธิการพรรคประชาธิปัตย์ เขาลาออกจากตำแหน่งในเดือนพฤศจิกายน 2556 เป็นเลขาธิการ กปปส.

ดู สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 18และสุเทพ เทือกสุบรรณ

สนั่น ขจรประศาสน์

ลตรี สนั่น ขจรประศาสน์ (7 กันยายน พ.ศ. 2478 — 15 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2556) อดีตรองนายกรัฐมนตรี แกนนำพรรคชาติไทยพัฒนา และอดีตเลขาธิการพรรคประชาธิปัตย์ เป็นผู้ก่อตั้ง และเคยดำรงตำแหน่งหัวหน้าพรรคมหาชน เคยดำรงตำแหน่งสำคัญในรัฐบาลเป็น รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย กระทรวงอุตสาหกรรม และกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ มีชื่อที่นิยมเรียกกันทั่วไปว่า ".หนั่น".

ดู สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 18และสนั่น ขจรประศาสน์

สนธยา คุณปลื้ม

นธยา คุณปลื้ม ที่ปรึกษานายกรัฐมนตรีฝ่ายการเมือง (พลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา) อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงวัฒนธรรม อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬาคนแรก อดีตที่ปรึกษานายกรัฐมนตรี(ทักษิณ ชินวัตร) และอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดชลบุรีหลายสมั.

ดู สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 18และสนธยา คุณปลื้ม

ส่งสุข ภัคเกษม

นายส่งสุข ภัคเกษม อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดเชียงใหม่ ได้รับเลือกตั้งครั้งแรก ในการเลือกตั้ง..

ดู สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 18และส่งสุข ภัคเกษม

อภิชาติ ตีรสวัสดิชัย

นายอภิชาติ ตีรสวัสดิชัย (เกิด 14 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2497) สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดสกลนคร เขต 1 ได้รับการเลือกตั้งเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรครั้งแรกในปี พ.ศ.

ดู สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 18และอภิชาติ ตีรสวัสดิชัย

อภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ

อภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ หรือชื่อเกิดว่า มาร์ค อภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ (ละติน: Mark Abhisit Vejjajiva) เกิด 3 สิงหาคม..

ดู สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 18และอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ

อรรถสิทธิ์ (คันคาย) ทรัพยสิทธิ์

นายอรรสิทธิ์ (คันคาย) ทรัพยสิทธิ์ เป็นอดีตรองโฆษกประจำสำนักนายกรัฐมนตรี และเป็นอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดนครพนม 6 สมั.

ดู สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 18และอรรถสิทธิ์ (คันคาย) ทรัพยสิทธิ์

อรรคพล สรสุชาติ

นายอรรคพล สรสุชาติ อดีตผู้อำนวยการสำนักงานส่งเสริมการจัดการประชุมและนิทรรศการ (องค์การมหาชน) อดีตโฆษกประจำสำนักนายกรัฐมนตรี ในรัฐบาลของนายชวน หลีกภัย (2 สมัย).

ดู สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 18และอรรคพล สรสุชาติ

อร่ามอาชว์วัต โล่ห์วีระ

นายอร่ามอาชว์วัต โล่ห์วีระ หรือชื่อเดิม นายอร่าม โล่ห์วีระ เป็นอดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงคมนาคม ในรัฐบาลพลเอกชวลิต ยงใจยุทธ และอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดชัยภูมิ 6 สมั.

ดู สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 18และอร่ามอาชว์วัต โล่ห์วีระ

อลงกรณ์ พลบุตร

นายอลงกรณ์ พลบุตร รองประธานสภาขับเคลื่อนการปฏิรูปประเทศคนที่หนึ่ง กรรมการในคณะกรรมการเตรียมการปฏิรูปประเทศ กรรมการในคณะกรรมการเตรียมการยุทธศาสตร์ชาติ กรรมการในคณะกรรมการเตรียมการเพื่อสร้างความสามัคคีปรองดองตาม คำสั่งหัวหน้าคณะรักษาความสงบแห่งชาติ ที่ 3/2560 อดีตสมาชิกพรรคประชาธิปัตย์ อดีตรองหัวหน้าพรรคประชาธิปัตย์ และอดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงพาณิชย์ ในรัฐบาลของนายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ ในเดือนกุมภาพัน..

ดู สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 18และอลงกรณ์ พลบุตร

อัญชลี วานิช เทพบุตร

อัญชลี วานิช เทพบุตร (5 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2504 -) อดีตเลขาธิการนายกรัฐมนตรี (อภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ) อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดภูเก็ต และอดีตนายทะเบียนพรรคประชาธิปัตย์ เคยเป็นผู้ช่วยเลขานุการรัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ (นิพนธ์ พร้อมพันธุ์) เมื่อ..

ดู สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 18และอัญชลี วานิช เทพบุตร

อากร ฮุนตระกูล

นายอากร ฮุนตระกูล เกิดวันที่ 22 สิงหาคม..

ดู สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 18และอากร ฮุนตระกูล

อารยะ ชุมดวง

นายอารยะ ชุมดวง อดีตเลขาธิการพรรคมวลชน อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดสุโขทัย ได้รับการเลือกตั้งครั้งแรกในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ.

ดู สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 18และอารยะ ชุมดวง

อารีเพ็ญ อุตรสินธุ์

นายกองตรี อารีเพ็ญ อุตรสินธุ์ อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร แบบสัดส่วน กลุ่ม 8 สังกัดพรรคมาตุภูมิ อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงศึกษาธิการ อดีตรองเลขาธิการนายกรัฐมนตรี และอดีตรองหัวหน้าพรรคมาตุภูม.

ดู สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 18และอารีเพ็ญ อุตรสินธุ์

อาจอง ชุมสาย ณ อยุธยา

อาจอง ชุมสาย ณ อยุธยา (เกิด 8 ตุลาคม พ.ศ. 2483-) เป็นวิศวกรชาวไทย ผู้เคยเป็นลูกทีมจำลองแบบชิ้นส่วนระบบลงจอดของงานอวกาศในบริษัทคู่สัญญาของมาร์ติน มาเรียทต้า (ปัจจุบันได้ควบรวมกิจการกลายเป็นบริษัทล็อกฮีด มาร์ติน) ซึ่งเป็นผู้สร้างยานอวกาศไวกิ้งให้กับองค์การนาซาของสหรัฐอเมริกาเพื่อนำไปใช้ในภารกิจสำรวจดาวอังคาร เคยเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร กรุงเทพมหานคร สังกัดพรรคพลังธรรม และ เป็นผู้ก่อตั้งโรงเรียนสัตยาไสที่ดำเนินการตามแนวทางความเชื่อของตนเอง.

ดู สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 18และอาจอง ชุมสาย ณ อยุธยา

อาทิตย์ กำลังเอก

ลเอก พลเรือเอก พลอากาศเอก อาทิตย์ กำลังเอก (31 สิงหาคม พ.ศ. 2468 - 19 มกราคม พ.ศ. 2558) อดีตผู้บัญชาการทหารบก อดีตผู้บัญชาการทหารสูงสุดของไทย อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดเลย และอดีตสมาชิกวุฒิสภา จังหวัดเล.

ดู สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 18และอาทิตย์ กำลังเอก

อาทิตย์ อุไรรัตน์

อาทิตย์ อุไรรัตน์ (9 พฤษภาคม พ.ศ. 2481-) อดีตประธานสภาผู้แทนราษฎร และอดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ อดีตรองหัวหน้าพรรคสามัคคีธรรม อดีตเจ้าของโรงพยาบาลเอกชนในเครือพญาไท เขาได้รับฉายา "วีรบุรุษประชาธิปไตย" จากเหตุการณ์พฤษภาทมิฬ ที่ได้เสนอชื่อ อานันท์ ปันยารชุน เป็นนายกรัฐมนตรีแทน พล.อ.อ.สมบุญ ระหงษ์ ที่กล่าวกันว่าจะมารับช่วงต่อรัฐบาล รสช.

ดู สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 18และอาทิตย์ อุไรรัตน์

อาคม เอ่งฉ้วน

อาคม เอ่งฉ้วน กรรมการบริหารพรรคประชาธิปัตย์ และ สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดกระบี่ 9 สมัย เกิดวันที่ 5 มกราคม พ.ศ.

ดู สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 18และอาคม เอ่งฉ้วน

อานันท์ ปันยารชุน

อานันท์ ปันยารชุน (เกิด 9 สิงหาคม พ.ศ. 2475 —) นายกรัฐมนตรีไทย คนที่ 18 และปลัดกระทรวงการต่างประเทศ เอกอัครราชทูตไทยประจำสหประชาชาติ ประเทศแคนาดา สหรัฐอเมริกา และประเทศเยอรมนี ดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรี 2 สมัย หลังรัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ.

ดู สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 18และอานันท์ ปันยารชุน

อำนวย สุวรรณคีรี

นายอำนวย สุวรรณคีรี อดีตรัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี ในรัฐบาลพลเอกเปรม ติณสูลานนท์ และเป็นอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดสงขลา 9 สมั.

ดู สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 18และอำนวย สุวรรณคีรี

อำนวย ปะติเส

นายอำนวย ปะติเส ที่ปรึกษาคณะรักษาความสงบแห่งชาติและที่ปรึกษารัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ และ อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ในรัฐบาลพลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา อดีตที่ปรึกษารองนายกรัฐมนตรี ม.ร.ว.ปรีดียาธร เทวกุล ในรัฐบาลพลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงการคลัง ในรัฐบาลนายชวน หลีกภัย อดีตเลขานุการรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง และเป็นอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดมหาสารคาม 2 สมั.

ดู สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 18และอำนวย ปะติเส

อำนาจ ชนะวงศ์

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.อำนาจ ชนะวงศ์ เป็นอดีตรองโฆษกประจำสำนักนายกรัฐมนตรี และเป็นอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดขอนแก่น 2 สมั.

ดู สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 18และอำนาจ ชนะวงศ์

อิสสระ สมชัย

อิสสระ สมชัย (เกิด 16 ธันวาคม พ.ศ. 2489) อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ อดีตรองหัวหน้าพรรคประชาธิปัตย์ (ดูแลพื้นที่ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ) อดีต สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดอุบลราชธานีและแบบบัญชีรายชื่อ หลายสมัย และมีบุตรสาวที่เป็นนักการเมืองคือ นางสาวบุญย์ธิดา สมชัย อดีต..อุบลราชธานี.

ดู สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 18และอิสสระ สมชัย

อิทธิ ศิริลัทธยากร

อิทธิ ศิริลัทธยากร อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงคมนาคม ในรัฐบาลของนายบรรหาร ศิลปอาชา อดีตกรรมการบริหารพรรคพลังประชาชน.

ดู สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 18และอิทธิ ศิริลัทธยากร

อุทัย พิมพ์ใจชน

นายอุทัย พิมพ์ใจชน อดีตประธานรัฐสภา และประธานสภาผู้แทนราษฎร อดีต สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดชลบุรี 8 สมั.

ดู สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 18และอุทัย พิมพ์ใจชน

อุดมศักดิ์ ทั่งทอง

นายอุดมศักดิ์ ทั่งทอง (4 สิงหาคม พ.ศ. 2472 - 25 มกราคม พ.ศ. 2554) อดีตรัฐมนตรี 5 รัฐบาล และอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดประจวบคีรีขันธ์ 11 สมั.

ดู สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 18และอุดมศักดิ์ ทั่งทอง

อุดมศิลป์ ศรีแสงนาม

ตราจารย์ นายแพทย์อุดมศิลป์ ศรีแสงนาม เป็นอดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงสาธารณสุข ในรัฐบาลนายชวน หลีกภัย และเป็นอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกรุงเทพมหานคร สังกัดพรรคพลังธรรม ปัจจุบันเป็นประธานเครือข่ายองค์กรงดเหล้าและเครือข่ายลดอุบัติเหตุ, ที่ปรึษาคณะกรรมการสำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ หรือ.

ดู สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 18และอุดมศิลป์ ศรีแสงนาม

อุดมเดช รัตนเสถียร

นายอุดมเดช รัตนเสถียร สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดนนทบุรี พรรคเพื่อไทย และอดีตประธานคณะกรรมการประสานงานพรรคร่วมรัฐบาล (วิปรัฐบาล) และอดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ ในรัฐบาลสมชาย วงศ์สวั.

ดู สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 18และอุดมเดช รัตนเสถียร

อุดร ตันติสุนทร

นายอุดร ตันติสุนทร (เกิด 13 กันยายน พ.ศ. 2476) อดีตรัฐมนตรี และอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดตาก 5 สมั.

ดู สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 18และอุดร ตันติสุนทร

อดิศร เพียงเกษ

รองศาสตราจารย์พิเศษ ดร.อดิศร เพียงเกษ ประธานสถานีประชาชน อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดขอนแก่น และอดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ อดิศรเกิดเมื่อวันที่ 6 กันยายน..

ดู สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 18และอดิศร เพียงเกษ

อดิศักดิ์ โภคกุลกานนท์

นายอดิศักดิ์ โภคกุลกานนท์ เป็นอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร แบบบัญชีรายชื่อ สังกัดพรรคเพื่อไทย และเคยเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จังหวัดอุบลราชธานีหลายสมัย ได้รับเลือกตั้งครั้งแรกในการเลือกตั้ง..

ดู สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 18และอดิศักดิ์ โภคกุลกานนท์

อนุรักษ์ จุรีมาศ

นายอนุรักษ์ จุรีมาศ (3 สิงหาคม 2503 -) อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์คนแรก และอดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงวัฒนธรรม และกรรมการบริหารพรรคชาติไท.

ดู สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 18และอนุรักษ์ จุรีมาศ

อนุวรรตน์ วัฒนพงศ์ศิริ

อนุวรรตน์ วัฒนพงศ์ศิริ อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงพาณิชย์ อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีและการพลังงาน อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ อดีตรัฐมนตรีว่าการทบวงมหาวิทยาลัย อดีตรัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จังหวัดบุรีรัมย์ และอดีตหัวหน้าพรรคเทิดไท.

ดู สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 18และอนุวรรตน์ วัฒนพงศ์ศิริ

จรัส พั้วช่วย

รัส พั้วช่วย อดีตรัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี อดีตรองประธานสภาผู้แทนราษฎร อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงการต่างประเทศ และกระทรวงคมนาคม และอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดเพชรบูรณ.

ดู สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 18และจรัส พั้วช่วย

จองชัย เที่ยงธรรม

นายจองชัย เที่ยงธรรม อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงแรงงานและสวัสดิการสังคม อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงคมนาคม อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดสุพรรณบุรี และอดีตกรรมการบริหารพรรคชาติไท.

ดู สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 18และจองชัย เที่ยงธรรม

จักรพันธุ์ ยมจินดา

ักรพันธุ์ ยมจินดา ผู้ประกาศข่าวซึ่งมีชื่อเสียงเป็นที่รู้จัก จากรายการข่าวทางสถานีโทรทัศน์สีกองทัพบกช่อง 7 ในช่วงปี พ.ศ.

ดู สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 18และจักรพันธุ์ ยมจินดา

จังหวัดชลบุรี

ังหวัดชลบุรี เป็นจังหวัดที่ติดกับอ่าวไทยจังหวัดหนึ่งในภาคตะวันออกของประเทศไทย มีสถานที่ท่องเที่ยวที่มีชื่อเสียงหลายแห่งตั้งอยู่ นอกจากด้านอุตสาหกรรมการท่องเที่ยวแล้วยังเป็นจังหวัดที่มีความสำคัญทางเศรษฐกิจสำคัญของภาคตะวันออกอย่างมาก นอกจากนั้นยังเป็นทั้งในด้านพาณิชยกรรมและอุตสาหกรรมต่าง ๆ ของประเทศ ในอดีตจังหวัดชลบุรีนั้นเคยเป็นแหล่งที่ตั้งของเมืองท่าที่มีความสำคัญมาก แม้แต่ในปัจจุบันนี้ก็ยังคงเป็นที่ตั้งของท่าเรือที่มีความสำคัญของประเทศรองจากท่าเรือกรุงเทพ นั่นก็คือท่าเรือแหลมฉบัง เนื่องจากมีทำเลที่ตั้งเหมาะสม จังหวัดชลบุรีนั้นมีอาณาเขตติดกับจังหวัดฉะเชิงเทรา จังหวัดระยอง และจังหวัดจันทบุรี.

ดู สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 18และจังหวัดชลบุรี

จังหวัดชัยนาท

ังหวัดชัยนาท เดิมสะกดว่า ไชยนาท เป็นจังหวัดหนึ่งในภาคกลางของประเทศไทย มีอาณาเขตติดต่อกับจังหวัดต่าง ๆ ตามเข็มนาฬิกาจากทิศเหนือ ได้แก่ จังหวัดนครสวรรค์ จังหวัดสิงห์บุรี จังหวัดสุพรรณบุรี และจังหวัดอุทัยธานี.

ดู สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 18และจังหวัดชัยนาท

จังหวัดชุมพร

มพร มีชื่อปรากฏมาตั้งแต่ปี พ.ศ. 1098 โดยมีฐานะเป็นเมืองสิบสองนักษัตรของราชอาณาจักรนครศรีธรรมราช ใช้รูปแพะเป็นตราเมือง และเป็นเมืองหน้าด่านฝ่ายเหนือ เพราะอยู่ตอนบนของภาคใต้ ใน พ.ศ.

ดู สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 18และจังหวัดชุมพร

จังหวัดบุรีรัมย์

ังหวัดบุรีรัมย์ เป็นจังหวัดหนึ่งในภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนล่าง มีจำนวนประชากรมากเป็นอันดับที่ 5 รองจากกรุงเทพมหานคร จังหวัดนครราชสีมา จังหวัดอุบลราชธานี และจังหวัดขอนแก่น และมีพื้นที่กว้างเป็นอันดับที่ 17 ของประเทศไท.

ดู สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 18และจังหวัดบุรีรัมย์

จังหวัดพระนครศรีอยุธยา

ังหวัดพระนครศรีอยุธยา เป็นจังหวัดหนึ่งในภาคกลางซึ่งเป็นเขตเศรษฐกิจที่สำคัญ โดยมีผลิตภัณฑ์มวลรวมของจังหวัดมีมูลค่าสูงเป็นอันดับ 3 ของประเทศ และมีประวัติศาสตร์ความเป็นมาที่ยาวนาน เคยมีชื่อเสียงในฐานะเป็นแหล่งปลูกข้าวที่สำคัญ จังหวัดพระนครศรีอยุธยาเป็นจังหวัดที่ไม่มีอำเภอเมือง มีอำเภอพระนครศรีอยุธยาเป็นศูนย์กลางการบริหารจัดการด้านต่าง ๆ ชาวบ้านโดยทั่วไปนิยมเรียกอีกชื่อหนึ่งว่า "กรุงเก่า" หรือ "เมืองกรุงเก่า".

ดู สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 18และจังหวัดพระนครศรีอยุธยา

จังหวัดพะเยา

ังหวัดพะเยา (30px พ(ร)ะญาว) เป็นจังหวัดในภาคเหนือตอนบน บริเวณที่ตั้งของตัวเมืองพะเยาในปัจจุบันอยู่ติดกับกว๊านพะเยา เดิมเป็นที่ตั้งของเมือง ภูกามยาว หรือ พะยาว ที่ก่อตั้งขึ้นเมื่อพุทธศตวรรษที่ 16 โดยกษัตริย์องค์แรกคือ พญาจอมธรรม ซึ่งเป็นราชบุตรองค์หนึ่งจากเมืองหิรัญนครเงินยางเชียงแสน และเป็นบรรพบุรุษของกษัตริย์เมืองพะยาวอีกหลายองค์ เช่น พญาเจือง วีรบุรุษแห่งเผ่าไท-ลาวในพื้นที่ลุ่มแม่น้ำโขง และพญางำเมืองซึ่งได้กระทำสัตย์สาบานเป็นไมตรีต่อกันกับพญามังรายแห่งนครพิงค์เชียงใหม่ และพญาร่วงรามคำแหงแห่งสุโขทัย ภายหลังมีการเปลี่ยนแปลงอำนาจ และตกอยู่ภายใต้อิทธิพลของอาณาจักรล้านนา ในสมัยพญาคำฟู เมื่อถึงสมัยกรุงรัตนโกสินทร์ ใน..

ดู สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 18และจังหวัดพะเยา

จังหวัดพัทลุง

ัทลุง เป็นจังหวัดในภาคใต้ตอนล่างของประเทศไทย เคยเป็นเมืองที่มีประวัติศาสตร์เก่าแก่แห่งหนึ่ง และยังมีสภาพภูมิประเทศทั้งที่ราบ เนินเขา และชายฝั่ง โดยทางทิศตะวันตกของจังหวัด จะเป็นพื้นที่ที่ราบสูงและที่ราบเชิงเขา อันเนื่องมาจากมีพื้นที่ติดต่อกับเทือกเขานครศรีธรรมราช ถัดลงมาทางตอนกลางและทางทิศตะวันออกของจังหวัด จรดทะเลสาบสงขลาจะเป็นที่ราบลุ่ม เหมาะแก่การทำการเกษตรกรรม โดยเฉพาะอย่างยิ่งการทำนาข้าว ชาวภาคใต้จะเรียกจังหวัดนี้ว่า เมืองลุง.

ดู สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 18และจังหวัดพัทลุง

จังหวัดพังงา

ังงา เป็นจังหวัดหนึ่งในภาคใต้ฝั่งตะวันตกของประเทศไท.

ดู สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 18และจังหวัดพังงา

จังหวัดพิษณุโลก

ังหวัดพิษณุโลก เป็นจังหวัดหนึ่งในภาคกลางตอนบนของประเทศไทย มีประชากรในปี..

ดู สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 18และจังหวัดพิษณุโลก

จังหวัดพิจิตร

ังหวัดพิจิตร เป็นจังหวัดหนึ่งที่ตั้งอยู่ทางภาคกลางตอนบนระหว่างจังหวัดนครสวรรค์กับจังหวัดพิษณุโลก มีพื้นที่ประมาณ 4,531 ตารางกิโลเมตร มีประชากรในปี..

ดู สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 18และจังหวัดพิจิตร

จังหวัดกาญจนบุรี

ังหวัดกาญจนบุรี เป็นจังหวัดหนึ่งที่ตั้งอยู่ในภาคตะวันตกของประเทศไทย มีพื้นที่ทั้งหมดประมาณ 19,473 ตารางกิโลเมตร มีพื้นที่ใหญ่เป็นอันดับ 3 ของประเทศ รองจากจังหวัดนครราชสีมา และจังหวัดเชียงใหม่ และมีพื้นที่ใหญ่ที่สุดในภาคตะวันตก มีระยะทางห่างจากกรุงเทพมหานครประมาณ 129 กิโลเมตร มีชายแดนติดต่อกับประเทศพม่าระยะทางประมาณ 370 กิโลเมตร มีอาณาเขตติดต่อกับจังหวัดใกล้เคียง ได้แก่ ทิศเหนือ จรดจังหวัดตากและจังหวัดอุทัยธานี ทิศใต้ จรดจังหวัดราชบุรี ทิศตะวันออก จรดจังหวัดสุพรรณบุรีและนครปฐม ทิศตะวันตก จรดประเทศพม.

ดู สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 18และจังหวัดกาญจนบุรี

จังหวัดกาฬสินธุ์

ังหวัดกาฬสินธุ์ เป็นจังหวัดหนึ่งในภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนกลางหรือตอนบนของประเทศไทย อยู่ห่างจากกรุงเทพมหานครประมาณ 510 กิโลเมตร เป็นจังหวัดที่มีความอุดมสมบูรณ์จังหวัดหนึ่งในภาคอีสาน จากหลักฐานทางโบราณคดีบ่งบอกว่าเคยเป็นที่อยู่อาศัยของเผ่าละว้า ซึ่งมีความเจริญทางด้านอารยธรรมประมาณ 1,600 ปี ต่อมาได้รับพระกรุณาโปรดเกล้าฯ จากพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช ให้ยกฐานะบ้านแก่งสำโรงขึ้นเป็นเมือง และพระราชทานนามว่า “เมืองกาฬสินธุ์” หรือ “เมืองน้ำดำ” ซึ่งเป็นเมืองที่สำคัญทางประวัติศาสตร์มาตั้งแต่สมัยโบราณกาล “กาฬ” แปลว่า “ดำ” “สินธุ์” แปลว่า “น้ำ” กาฬสินธุ์จึงแปลว่า “น้ำดำ” และยังมีแหล่งซากไดโนเสาร์หลายแห่งด้วย โดยเฉพาะอย่างยิ่งในอำเภอสหัสขันธ์ นอกจากนี้ยังมีชื่อเสียงด้านโปงลาง.

ดู สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 18และจังหวัดกาฬสินธุ์

จังหวัดกำแพงเพชร

ังหวัดกำแพงเพชร เป็นจังหวัดหนึ่งที่อยู่ในภาคกลางตอนบนของประเทศไทย มีพื้นที่ประมาณ 8,607 ตารางกิโลเมตร มีประชากรในปี..

ดู สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 18และจังหวัดกำแพงเพชร

จังหวัดภูเก็ต

ูเก็ต เป็นจังหวัดหนึ่งทางภาคใต้ของประเทศไทย เป็นเกาะขนาดใหญ่ที่สุดในประเทศไทย อยู่ในทะเลอันดามัน จังหวัดที่ใกล้เคียงทางทิศเหนือ คือ จังหวัดพังงา ทางทิศตะวันออก คือ จังหวัดพังงาและจังหวัดกระบี่ ทั้งเกาะล้อมรอบด้วยมหาสมุทรอินเดีย และยังมีเกาะที่อยู่ในอาณาเขตของจังหวัดภูเก็ตทางทิศใต้และตะวันออก การเดินทางเข้าสู่ภูเก็ตนอกจากทางเรือแล้ว สามารถเดินทางโดยรถยนต์ซึ่งมีเพียงเส้นทางเดียวผ่านทางจังหวัดพังงา โดยข้ามสะพานสารสินและสะพานคู่ขนาน คือ สะพานท้าวเทพกระษัตรีและสะพานท้าวศรีสุนทร เพื่อเข้าสู่ตัวจังหวัด และทางอากาศโดยมีท่าอากาศยานนานาชาติภูเก็ตรองรับ ท่าอากาศยานนี้ตั้งอยู่ทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือของเกาะ คำว่า ภูเก็ต คาดว่าน่าจะเพี้ยนมาจากคำว่า บูกิต (ในภาษามลายูแปลว่าภูเขา) และคำว่า "ภูเขา" ในภาษาอุรักลาโว้ย เรียกว่า "บูเก๊ะ" หรือที่เคยรู้จักแต่โบราณในนาม เมืองถลาง.

ดู สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 18และจังหวัดภูเก็ต

จังหวัดมหาสารคาม

มหาสารคาม เป็นจังหวัดหนึ่งทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนกลางของประเทศไทย ซึ่งตั้งอยู่กึ่งกลางของภาคตะวันออกเฉียงเหนือ.

ดู สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 18และจังหวัดมหาสารคาม

จังหวัดมุกดาหาร

มุกดาหาร เป็นจังหวัดชายแดน อยู่ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบนของประเทศไทยตั้งอยู่ในแอ่งสกลนคร และอยู่ในกลุ่มจังหวัดภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน2 ห่างจากกรุงเทพมหานครประมาณ 642 กิโลเมตร แยกออกมาจากจังหวัดนครพนมเมื่อวันที่ 27 กันยายน พ.ศ.

ดู สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 18และจังหวัดมุกดาหาร

จังหวัดยะลา

ลา เป็นจังหวัดในภาคใต้ของประเทศไทย มีอาณาเขตติดต่อกับประเทศมาเลเซี.

ดู สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 18และจังหวัดยะลา

จังหวัดยโสธร

ร เป็นจังหวัดในภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนล่างของประเทศไทย เดิมชื่อ บ้านสิงห์ท่า, เมืองยศสุนทร เป็นเมืองเก่าแก่อยู่ริมฝั่งแม่น้ำชีมีประวัติความเป็นมายาวนานกว่า 200 ปี มีประเพณีบุญบั้งไฟที่ยิ่งใหญ่ที่สุด และประเพณีแห่มาลัยข้าวตอก ประเพณีหนึ่งเดียวในโลก จัดตั้งโดยคณะปฏิวัติของจอมพลถนอม กิตติขจร ตามประกาศของคณะปฏิวัติ ฉบับที่ 70 ลงวันที่ 6 กุมภาพันธ์ 2515 อันให้แยกอำเภอยโสธร อำเภอกุดชุม อำเภอเลิงนกทา อำเภอคำเขื่อนแก้ว อำเภอมหาชนะชัย และอำเภอป่าติ้ว ออกจากจังหวัดอุบลราชธานี แล้วรวมกันตั้งเป็นจังหวัดยโสธร และมีผลใช้บังคับตั้งแต่วันที่ 1 มีนาคม 2515 สืบไป โดยมีนายชัยทัต สุนทรพิพิธ รองผู้ว่าราชการจังหวัดอุบลราชธานี เป็นผู้ว่าราชการจังหวัดยโสธรคนแรก.

ดู สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 18และจังหวัดยโสธร

จังหวัดระยอง

ระยอง เป็นจังหวัดหนึ่งในภาคตะวันออกของประเทศไทย เป็นจังหวัดที่มีรายได้ประชากรต่อหัวสูงที่สุดในประเทศ และผลิตภัณฑ์มวลรวมจังหวัดอยู่ในอันดับ 2 ของประเทศไทย เป็นเมืองท่องเที่ยวที่มีแหล่งท่องเที่ยวที่มีชื่อเสียงมากมาย และเป็นเมืองที่มีความสำคัญทางเศรษฐกิจเป็นอย่างมาก ทั้งทางด้านอุตสาหกรรม การท่องเที่ยว และการเกษตรกรรม คำว่าระยองเพี้ยนมาจาก "ราย็อง" เป็นภาษาชองอาจมีความหมายสองอย่าง.

ดู สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 18และจังหวัดระยอง

จังหวัดระนอง

ระนอง เป็นจังหวัดชายฝั่งทะเลตะวันตกของภาคใต้ มีพื้นที่ประมาณ 2,141,250 ไร่ มีพื้นที่ติดต่อทางตะวันออกติดต่อกับจังหวัดชุมพร ทางใต้ติดกับจังหวัดสุราษฎร์ธานีและจังหวัดพังงา ทางตะวันตกติดกับประเทศพม่าและทะเลอันดามัน มีลักษณะพื้นที่เรียวและแคบ มีความยาวถึง 169 กิโลเมตร และมีความแคบในบริเวณอำเภอกระบุรี เพียง 9 กิโลเมตร ระนองเป็นอีกจังหวัดหนึ่งที่มีประวัติความเป็นมายาวนานนับตั้งแต่ครั้งกรุงศรีอยุธยาเรืองอำนาจ เดิมเป็นหัวเมืองขนาดเล็กขึ้นกับเมืองชุมพร คำว่าระนองเพี้ยนมาจากคำว่า แร่นอง เนื่องจากในพื้นที่จังหวัดมีแร่อยู่มากม.

ดู สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 18และจังหวัดระนอง

จังหวัดราชบุรี

ราชบุรี เป็นจังหวัดที่ตั้งอยู่ทางภาคตะวันตก โดยเป็นศูนย์กลางในด้านอุตสาหกรรมแปรรูปสินค้าเกษตร เช่น มะพร้าว ชมพู่ ฝรั่ง มะม่วง และการปศุสัตว์ของประเทศ รวมทั้งเป็นศูนย์กลางในด้านพลังงานของประเทศในปัจจุบัน โดยมีเมืองราชบุรีเป็นศูนย์กลางด้านการปกครอง เศรษฐกิจ และการคมนาคมในภูมิภาค ทิศเหนือติดต่อจังหวัดกาญจนบุรี ทิศใต้ติดต่อจังหวัดเพชรบุรี ทิศตะวันออกติดต่อจังหวัดสมุทรสาคร จังหวัดสมุทรสงคราม และจังหวัดนครปฐม และทิศตะวันตกติดต่อประเทศพม.

ดู สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 18และจังหวัดราชบุรี

จังหวัดร้อยเอ็ด

ร้อยเอ็ด เดิมสะกดว่า ร้อยเอ็จ เป็นจังหวัดบริเวณลุ่มแม่น้ำชีในภาคอีสานตอนกลางหรือตอนบนของไท.

ดู สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 18และจังหวัดร้อยเอ็ด

จังหวัดลพบุรี

ังหวัดลพบุรี เป็นจังหวัดในภาคกลางของประเทศไทย แบ่งการปกครองออกเป็น 11 อำเภอ มีอาณาเขตติดต่อกับจังหวัดอื่นถึง 8 จังหวัด วนตามเข็มนาฬิกาจากทิศเหนือ ได้แก่ จังหวัดเพชรบูรณ์ ชัยภูมิ นครราชสีมา สระบุรี พระนครศรีอยุธยา อ่างทอง สิงห์บุรี และจังหวัดนครสวรรค์ จังหวัดลพบุรีเป็นจังหวัดที่มีพื้นที่อุดมสมบูรณ์เหมาะแก่การเพาะปลูก และมีประวัติศาสตร์ยาวนาน ซึ่งเคยเป็นที่ตั้งศูนย์กลางของอาณาจักรละโว้.

ดู สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 18และจังหวัดลพบุรี

จังหวัดลำพูน

ังหวัดลำพูน (30px หละปูน) เป็นจังหวัดที่มีขนาดเล็กที่สุดในภาคเหนือ นับเป็นอีกจังหวัดหนึ่งที่มีประวัติศาสตร์เก่าแก่ ยาวนาน เคยเป็นที่ตั้งของนครหริภุญชัย ในสมัยพระนางจามเทวีเดิมชื่อเมืองหริภุญไชย เป็นเมืองโบราณ มีอายุประมาณ 1,343 ปี ตามพงศาวดารโยนกเล่าสืบต่อกันถึงการสร้างเมืองหริภุญไชย โดยฤๅษีวาสุเทพ เป็นผู้เกณฑ์พวกเม็งคบุตรหรือชนเชื้อชาติมอญมาสร้างเมืองนี้ขึ้น ในพื้นที่ระหว่างแม่น้ำสองสาย คือ แม่น้ำกวงและแม่น้ำปิง เมื่อมาสร้างเสร็จได้ส่งทูตไปเชิญราชธิดากษัตริย์เมืองละโว้พระนาม “จามเทวี” มาเป็นปฐมกษัตริย์ปกครองเมืองหริภุญไชยสืบราชวงศ์กษัตริย์ต่อมาหลายพระองค์ จนกระทั่งถึงสมัยพญายีบาจึงได้เสียการปกครองให้แก่พญามังราย ผู้รวบรวมแว่นแคว้นทางเหนือเข้าเป็นอาณาจักรล้านนา ถึงแม้ว่าเมืองลำพูนจะตกอยู่ภายใต้การปกครองของอาณาจักรล้านนา แต่ก็ได้เป็นผู้ถ่ายทอดมรดกทางศิลปะและวัฒนธรรมให้แก่ผู้ที่เข้ามาปกครอง ดังปรากฏหลักฐานทั่วไปในเวียงกุมกาม เชียงใหม่ และเชียงราย เมืองลำพูนจึงยังคงความสำคัญในทางศิลปะและวัฒนธรรมของอาณาจักรล้านนา จนกระทั่งสมัยสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช เมืองลำพูนจึงได้เข้ามาอยู่ในราชอาณาจักรไทย มีผู้ครองนครสืบต่อกันมาจนถึงสมัยกรุงรัตนโกสินทร์ ต่อมาภายหลังการเปลี่ยนแปลงการปกครอง..

ดู สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 18และจังหวัดลำพูน

จังหวัดลำปาง

ังหวัดลำปาง (40px) เป็นจังหวัดหนึ่งในภาคเหนือตอนบน ตั้งอยู่ในแอ่งที่ราบล้อมรอบด้วยภูเขา มีประวัติศาสตร์เก่าแก่ยาวนาน มีชื่อเรียกอย่างหลากหลายตั้งแต่ เขลางค์นคร, เวียงละกอน, นครลำปาง ฯลฯ ในภายหลังเป็นที่รู้จักกันดีอีกชื่อหนึ่งว่า เมืองรถม้า ที่สัมพันธ์กับเอกลักษณ์ของลำปาง.

ดู สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 18และจังหวัดลำปาง

จังหวัดศรีสะเกษ

รีสะเกษ เป็นจังหวัดหนึ่งของประเทศไทย อยู่ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนล่าง ลักษณะภูมิประเทศทางตอนใต้เป็นที่สูง และค่อย ๆ ลาดต่ำไปทางเหนือลงสู่ลุ่มแม่น้ำมูลซึ่งอยู่ทางตอนเหนือของจังหวัด ปัจจุบันมีเนื้อที่ 8,840 ตารางกิโลเมตร ประกอบด้วยอำเภอ 22 อำเภอ มีประชากรราว 1.47 ล้านคน ประกอบด้วยกลุ่มชาติพันธุ์หลากหลาย ซึ่งพูดภาษาถิ่นต่าง ๆ กัน อาทิ ภาษาลาว (สำเนียงลาวใต้ซึ้งใช้ครอบคลุมทั้งฝั่งอุบลราชธานีและจำปาศักดิ์), ภาษากูย, ภาษาเยอ และภาษาเขมรถิ่นไทย ส่วนใหญ่เป็นพุทธศาสนิกชนและนับถือผีมาแต่เดิมกรมศิลปากร.

ดู สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 18และจังหวัดศรีสะเกษ

จังหวัดสกลนคร

กลนคร หรืออีกชื่อหนึ่งว่า "เมืองหนองหานหลวง" เป็นจังหวัดหนึ่งในภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบนตั้งอยู่ในแอ่งสกลนคร และเป็นศูนย์ปฏิบัติการกลุ่มจังหวัดภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน2 ซึ่งเป็นแหล่งชุมชนตั้งแต่สมัยก่อนประวัติศาสตร์สืบเนื่องจวบจนปัจจุบัน ทั้งนี้จังหวัดสกลนครยังเป็นเมืองเก่าแก่ที่มีความสำคัญและหลากหลายในด้านต่างๆโดยเฉพาะทางด้านสิ่งแวดล้อมทางธรรมชาติ ประวัติศาสตร์ สังคม การเมือง ศาสนา และวัฒนธรรมทั้งในระดับชาติและระดับท้องถิ่น และเป็นจังหวัดศูนย์กลางในการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์และศูนย์กลางทางการศึกษา อันเป็นสถานที่ตั้งของสถานศึกษาขนาดใหญ่ใน กลุ่มจังหวัดสนุก (สกลนคร นครพนม และมุกดาหาร).

ดู สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 18และจังหวัดสกลนคร

จังหวัดสมุทรสาคร

ังหวัดสมุทรสาคร เป็นจังหวัดหนึ่งในภาคกลางของประเทศไทย อยู่ในพื้นที่กรุงเทพมหานครและปริมณฑล ได้รับการจัดตั้งขึ้นครั้งล่าสุดตามพระราชบัญญัติจัดตั้งจังหวัดสมุทรปราการ จังหวัดนนทบุรี จังหวัดสมุทรสาคร และจังหวัดนครนายก พุทธศักราช 2489 ซึ่งมีผลใช้บังคับตั้งแต่วันที่ 9 พฤษภาคม..

ดู สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 18และจังหวัดสมุทรสาคร

จังหวัดสมุทรสงคราม

ังหวัดสมุทรสงคราม เป็นจังหวัดในภาคกลางของประเทศไทย (หน่วยงานบางแห่งถือเป็นส่วนหนึ่งของภาคตะวันตก) มีขนาดพื้นที่เล็กที่สุดของประเทศ คือประมาณ 416.7 ตารางกิโลเมตร ทั้งยังมีจำนวนประชากรน้อยที่สุดเป็นอันดับ 2 ของประเทศด้วย นับเป็นจังหวัดที่มีความอุดมสมบูรณ์ทางทรัพยากรธรรมชาติสิ่งแวดล้อมและมีชายฝั่งทะเลติดอ่าวไทยยาวประมาณ 23 กิโลเมตรซึ่งมีความอุดมสมบูรณ์มากเพราะเป็นดินดอนปากแม่น้ำ มีภูเขา 1 ลูก (เขายี่สาร) ไม่มีเกาะ มีลักษณะเป็นที่ราบลุ่มโดยพื้นที่ฝั่งตะวันตกจะสูงกว่าฝั่งตะวันออกเล็กน้อย ปลายปี พ.ศ.

ดู สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 18และจังหวัดสมุทรสงคราม

จังหวัดสมุทรปราการ

ังหวัดสมุทรปราการ เป็นจังหวัดหนึ่งในภาคกลางของประเทศไทย และยังเป็นจังหวัดในเขตปริมณฑลของกรุงเทพมหานคร จัดตั้งขึ้นครั้งล่าสุดโดย พระราชบัญญัติจัดตั้งจังหวัดสมุทรปราการ จังหวัดนนทบุรี จังหวัดสมุทรสาคร และจังหวัดนครนายก พุทธศักราช 2489 ซึ่งมีผลใช้บังคับตั้งแต่วันที่ 9 พฤษภาคม พ.ศ.

ดู สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 18และจังหวัดสมุทรปราการ

จังหวัดสระบุรี

ังหวัดสระบุรี เป็นจังหวัดหนึ่งในภาคกลางของประเทศไทย ตั้งอยู่ทางตะวันออกของภาคกลาง นับเป็นเสมือนด่านผ่านระหว่างภาคกลางกับภาคตะวันออกเฉียงเหนือ มีแหล่งท่องเที่ยวมากมายทั้งทางประวัติศาสตร์และแหล่งท่องเที่ยวทางธรรมชาติ และยังเป็นเมืองที่มีความสำคัญต่อภาคอุตสาหกรรมลำดับต้น ๆ ของประเทศไทย สภาพภูมิศาสตร์ของจังหวัดสระบุรี นับว่าเป็นทำเลแห่งการเพาะปลูก ได้รับความอุดมสมบูรณ์จากแม่น้ำสายหลัก คือแม่น้ำป่าสัก และสภาพโดยทั่วไปเป็นที่ราบลุ่ม.

ดู สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 18และจังหวัดสระบุรี

จังหวัดสิงห์บุรี

ังหวัดสิงห์บุรี เป็นจังหวัดหนึ่งที่ตั้งอยู่ในภาคกลางของประเทศไท.

ดู สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 18และจังหวัดสิงห์บุรี

จังหวัดสุพรรณบุรี

รรณบุรี เป็นจังหวัดหนึ่งในภาคกลางของประเทศไทย ห่างจากกรุงเทพมหานคร 107 กิโลเมตร จังหวัดที่อยู่ติดกัน (จากทิศเหนือ วนตามเข็มนาฬิกา) ได้แก่ อุทัยธานี ชัยนาท สิงห์บุรี อ่างทอง พระนครศรีอยุธยา นครปฐม และกาญจนบุรี.

ดู สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 18และจังหวัดสุพรรณบุรี

จังหวัดสุราษฎร์ธานี

ังหวัดสุราษฎร์ธานี มักจะเรียกกันด้วยชื่อสั้น ๆ ว่า สุราษฎร์ฯ ใช้อักษรย่อ สฎ เป็นจังหวัดในภาคใต้ตอนบน มีพื้นที่ขนาดใหญ่เป็นอันดับ 6 ของประเทศไทย และมีประชากรหนาแน่นอันดับ 59 ของประเทศ นับเป็นจังหวัดหนึ่งที่มีประวัติศาสตร์ยาวนาน มีหลักฐานทั้งประวัติศาสตร์และโบราณคดีเก่าแก่ และยังมีแหล่งท่องเที่ยวและอุทยานแห่งชาติหลายแห่ง จังหวัดสุราษฎร์ธานีตั้งอยู่ในฝั่งตะวันออกของภาคใต้ โดยมีสภาพภูมิประเทศที่หลากหลายทั้งที่ราบสูง ภูมิประเทศแบบภูเขา รวมทั้งที่ราบชายฝั่ง มีพื้นที่ครอบคลุมถึงในบริเวณอ่าวไทย ทั้งบริเวณที่เป็นทะเลและเป็นเกาะ เกาะในพื้นที่จังหวัดสุราษฎร์ธานีมีทั้งขนาดใหญ่และขนาดเล็กมากถึง 108 เกาะ นับว่ามากที่สุดเป็นอันดับ 3 ของประเทศ รองมาจากจังหวัดพังงาที่มี 155 เกาะ และจังหวัดภูเก็ตที่มี 154 เกาะ เกาะขนาดใหญ่เป็นที่รู้จักเช่น เกาะสมุย เกาะพะงัน เกาะเต่า และหมู่เกาะอ่างทอง เนื่องจากทำเลที่ตั้งจึงได้รับอิทธิพลจากมรสุมตะวันตกเฉียงใต้ ซึ่งเกิดบริเวณทะเลอันดามันบ้างเป็นครั้งคราวเนื่องจากจะมีแนวเทือกเขาตะนาวศรี เทือกเขาภูเก็ต และเทือกเขานครศรีธรรมราช แถบบริเวณจังหวัดระนอง จังหวัดชุมพร จังหวัดพังงา จังหวัดภูเก็ต และจังหวัดนครศรีธรรมราช เป็นแนวช่วยลดอิทธิพลของลมมรสุมดังกล่าว ในทางกลับกันพื้นที่จังหวัดสุราษฎร์ธานีจะได้รับอิทธิพลจากมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือเป็นส่วนใหญ่ มรสุมตะวันออกเฉียงเหนือปกติจะมีแหล่งกำเนิดบริเวณทะเลจีนใต้และอ่าวไทย ทำให้จังหวัดสุราษฎร์ธานีมีช่วงฤดูฝนกินระยะเวลาตั้งแต่เดือนตุลาคมจนถึงเดือนมกราคม ประชากรส่วนใหญ่นับถือศาสนาพุทธ โดยประกอบอาชีพทางด้านการเกษตรเป็นหลัก โดยใช้พิ้นที่ในการทำการเกษตรประมาณร้อยละ 45 ของพื้นที่ทั้งหมด นอกจากนี้ ยังประกอบอาชีพทางด้านปศุสัตว์ ประมง อุตสาหกรรม รวมทั้งมีการทำเหมืองแร่ด้วย ส่วนการเดินทางมายังจังหวัดสุราษฎร์ธานีสามารถใช้ได้หลายเส้นทาง ทั้งทางรถไฟ เครื่องบิน รถโดยสารประจำทาง เรือ และรถยนต์ส่วนบุคคล สถานที่สำคัญภายในจังหวัดนั้น มีทั้งแหล่งโบราณสถาน เช่น พระบรมธาตุไชยา พระธาตุศรีสุราษฎร์ พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ ไชยา ซากเมืองโบราณสมัยอาณาจักรศรีวิชัย แหล่งท่องเที่ยวทางธรรมชาติ ได้แก่ อุทยานแห่งชาติทั้งอุทยานแห่งชาติทางบก และอุทยานแห่งชาติทางทะเล น้ำตก เกาะ แม่น้ำ เขื่อน วัด และพระอารามหลวง เป็นต้นและยังเป็นแหล่งสืบสานประเพณีที่สำคัญของชาวใต้ คือประเพณีชักพระ ทอดผ้าป่าและแข่งขันเรือยาวชิงถ้วยพระราชทานอีกด้วย นอกจากนี้ ยังมีผลิตผลและผลิตภัณฑ์ทางการเกษตรที่เป็นที่รู้จัก เช่น ไข่เค็มไชยา หอยนางรม และเงาะโรงเรียน ดังที่ปรากฏในคำขวัญของจังหวั.

ดู สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 18และจังหวัดสุราษฎร์ธานี

จังหวัดสุรินทร์

รินทร์ (เขมรถิ่นไทย: ซเร็น) เป็นจังหวัดหนึ่งในภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนล่างหรือ "อีสานใต้" มีชื่อเสียงด้านการเลี้ยงช้าง การทอผ้าไหม ข้าวหอมมะลิสุรินทร์ มีผู้คนหลายเผ่าพันธุ์และภาษา เช่น เขมร กูยและลาวหรือไทยอีสาน มีประชากรมากเป็นอันดับที่ 11 และมีพื้นที่กว้างเป็นอันดับที่ 24.

ดู สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 18และจังหวัดสุรินทร์

จังหวัดสุโขทัย

ทัย (ᩈᩩᨠᩮ᩠ᨡᩣᨴᩱ᩠ᨿ, เดิมสะกดว่า ศุโขไทย) เป็นจังหวัดหนึ่งในภาคกลางของประเทศไทย มีอาณาเขตติดต่อกับจังหวัดแพร่ อุตรดิตถ์ พิษณุโลก กำแพงเพชร ตาก และลำปาง (เรียงตามเข็มนาฬิกาจากด้านเหนือ).

ดู สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 18และจังหวัดสุโขทัย

จังหวัดสงขลา

งขลา เป็นจังหวัดหนึ่งในภาคใต้ตอนล่าง.

ดู สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 18และจังหวัดสงขลา

จังหวัดสตูล

ตูล เป็นจังหวัดที่อยู่ใต้สุดของประเทศไทย (ทางชายฝั่งทะเลอันดามัน) คำว่า สตูล มาจากคำภาษามลายูเกดะห์ว่า เซอตุล (ستول) (ภาษามาเลย์ว่า เซอตุล (setul)) แปลว่ากระท้อน ซึ่งเป็นผลไม้ชนิดหนึ่งที่ขึ้นอยู่ชุกชุมในท้องที่นี้ โดยชื่อเมือง นครสโตยมำบังสการา (Negeri Setoi Mumbang Segara) นั้นหมายความว่า สตูล เมืองแห่งพระสมุทรเทวา ดังนั้น "ตราพระสมุทรเทวา" จึงกลายเป็นตราหรือสัญลักษณ์ของจังหวัดมาตราบเท่าทุกวันนี้.

ดู สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 18และจังหวัดสตูล

จังหวัดหนองคาย

หนองคาย เป็นจังหวัดในภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบนตั้งอยู่ในแอ่งสกลนครและอยู่ในกลุ่มจังหวัดภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน 1 เป็นจังหวัดชายแดนและเป็นจังหวัดที่เงียบสงบ น่าอยู่และน่าท่องเที่ยว มีพื้นที่ส่วนใหญ่ติดฝั่งแม่น้ำโขง ตรงข้ามกับประเทศลาว มีพื้นที่แคบแต่ยาว มีชื่อเสียงด้านการท่องเที่ยว โดยเฉพาะการชมบั้งไฟพญานาคในวันออกพรรษ.

ดู สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 18และจังหวัดหนองคาย

จังหวัดอุบลราชธานี

อุบลราชธานี เป็นจังหวัดขนาดใหญ่ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนล่างซึ่งตั้งอยู่ทางตะวันออกสุดของภาคตะวันออกเฉียงเหนือและของประเทศไทย ทั้งยังเป็นตำบลที่ตั้งของเส้นเวลาหลักของประเทศ ที่เส้นแวง 105 องศาตะวันออก โดยเป็นจังหวัดแรกที่ได้เห็นดวงอาทิตย์ก่อนพื้นที่อื่น ๆ ทั่วประเทศ จังหวัดอุบลราชธานีเป็นเมืองใหญ่ริมฝั่งแม่น้ำมูลที่มีประวัติศาสตร์ที่ยาวนานมากว่า 200 ปี มีพื้นที่กว้างใหญ่ ภายหลังถูกแบ่งออกเป็นจังหวัดใหม่คือจังหวัดยโสธรในปี พ.ศ.

ดู สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 18และจังหวัดอุบลราชธานี

จังหวัดอุทัยธานี

ังหวัดอุทัยธานี เดิมสะกดว่า อุไทยธานี เป็นจังหวัดในภาคกลางของประเทศไทย มีพื้นที่ประมาณ 6,730 ตารางกิโลเมตร มีประชากรในปี..

ดู สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 18และจังหวัดอุทัยธานี

จังหวัดอุตรดิตถ์

ังหวัดอุตรดิตถ์ เดิมสะกดว่า อุตรดิฐ เป็นจังหวัดหนึ่งตั้งอยู่ทางภาคเหนือของประเทศไทย ได้ชื่อว่าเมืองท่าแห่งทิศเหนือ ตำนานอันลึกลับของเมืองลับแล ดินแดนแห่งลางสาดหวานหอม อุตรดิตถ์เป็นเมืองที่มีความสำคัญทางประวัติศาสตร์มายาวนาน โดยมีการค้นพบหลักฐานการตั้งถิ่นฐานของชุมชนมาตั้งแต่สมัยก่อนประวัติศาสตร์ เดิมทีตัวเมืองอุตรดิตถ์ในปัจจุบันนี้เป็นเพียงตำบลชื่อ "บางโพธิ์ท่าอิฐ" แต่เพราะบางโพธิ์ท่าอิฐซึ่งอยู่ริมฝั่งขวาของแม่น้ำน่านมีความเจริญรวดเร็ว เพราะเป็นท่าเรือขนถ่ายสินค้าสำคัญในหัวเมืองฝ่ายเหนือ ดังนั้นในสมัยรัชกาลที่ 5 พระองค์จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ย้ายเมืองหลักมาจากเมืองพิชัยมายังตำบลบางโพธิ์ท่าอิฐ และยกฐานะขึ้นเป็นเมือง "อุตรดิตถ์" ซึ่งมีความหมายว่า ท่าน้ำแห่งทิศเหนือของสยามประเทศ ต่อมาในสมัยรัชกาลที่ 6 เมืองอุตรดิตถ์มีความเจริญขึ้น เมืองอุตรดิตถ์จึงได้รับการยกฐานะขึ้นเป็นจังหวัด จังหวัดอุตรดิตถ์ตั้งอยู่ทางใต้สุดของภาคเหนือตอนล่าง โดยสภาพภูมิศาสตร์จังหวัดอุตรดิตถ์เป็นจังหวัดที่มีภูมิประเทศส่วนใหญ่เป็นภูเขาและที่สูงสลับซับซ้อน ซึ่งจะอยู่ทางตอนเหนือและทางตะวันออกของจังหวัด เนื่องจากทำเลที่ตั้งดังกล่าวจึงทำให้จังหวัดอุตรดิตถ์มีอากาศค่อนข้างร้อนอบอ้าวในฤดูร้อน มีอากาศฝนเมืองร้อนเฉพาะฤดูฝน และมีช่วงฤดูแล้งคั่นอยู่อย่างชัดเจนตั้งแต่ประมาณกลางเดือนตุลาคมถึงเดือนพฤษภาคม เดือนที่ร้อนที่สุดคือเดือนเมษายน จังหวัดอุตรดิตถ์ได้รับอิทธิพลจากมรสุมตะวันออกเฉียงใต้เป็นส่วนใหญ่ มรสุมตะวันออกเฉียงใต้ปกติจะมีแหล่งกำเนิดบริเวณทะเลอันดามัน ทำให้จังหวัดอุตรดิตถ์มีช่วงฤดูฝนกินระยะเวลาตั้งแต่เดือนพฤษภาคมจนถึงเดือนกันยายน โดยเดือนกันยายนเป็นเดือนที่มีปริมาณน้ำฝนเฉลี่ยสูงที่สุด ประชากรส่วนใหญ่กว่าร้อยละ 99.66 นับถือศาสนาพุทธนิกายเถรวาท โดยประกอบอาชีพทางด้านการเกษตรกรรมเป็นหลัก โดยใช้พื้นที่ในการทำการเกษตรประมาณร้อยละ 26.70 ของพื้นที่ทั้งหมด นอกจากนี้ ยังประกอบอาชีพทางด้านปศุสัตว์ รวมทั้งมีการทำพืชไร่ปลูกผลไม้นานาชนิด โดยผลไม้ที่ขึ้นชื่อของจังหวัดอุตรดิตถ์คือลางสาด ส่วนการเดินทางมายังจังหวัดอุตรดิตถ์สามารถใช้เส้นทางได้หลายเส้นทาง ทั้งทางรถไฟ ทางรถโดยสารประจำทาง และทางรถยนต์ส่วนบุคคล สำหรับการเดินทางโดยเครื่องบิน จังหวัดอุตรดิตถ์เคยมีท่าอากาศยาน 1 แห่ง สำหรับการเดินทางพาณิชย์ แต่ปัจจุบันได้ยกเลิกไปแล้ว สถานที่สำคัญภายในจังหวัดนั้น มีทั้งแหล่งโบราณสถาน เช่น วัดพระแท่นศิลาอาสน์ วัดพระฝางสว่างคบุรีมุนีนาถ วัดพระยืนพุทธบาทยุคล วัดพระบรมธาตุทุ่งยั้ง ซากเมืองโบราณสมัยอาณาจักรสุโขทัย แหล่งโบราณคดีก่อนประวัติศาสตร์ แหล่งท่องเที่ยวทางธรรมชาติ เช่น อุทยานแห่งชาติภูสอยดาว อุทยานแห่งชาติต้นสักใหญ่ อุทยานแห่งชาติลำน้ำน่าน และแหล่งท่องเที่ยวอีกมากมาย ทั้งน้ำตก เขื่อนสิริกิติ์ วัด พระพุทธรูปสำคัญของจังหวัด เป็นต้น.

ดู สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 18และจังหวัดอุตรดิตถ์

จังหวัดอ่างทอง

ังหวัดอ่างทอง เป็นจังหวัดหนึ่งในภาคกลางของประเทศไทย ตั้งอยู่ในที่ราบลุ่มแม่น้ำเจ้าพระยา เป็นจังหวัดที่เป็นแหล่งผลิตหัตถกรรมพื้นบ้าน เช่น ตุ๊กตาชาววัง งานจักสาน เป็นต้น.

ดู สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 18และจังหวัดอ่างทอง

จังหวัดจันทบุรี

ังหวัดจันทบุรี เป็นจังหวัดทางชายฝั่งทะเลภาคตะวันออกของประเทศไทย มีเนื้อที่ 6,388 ตารางกิโลเมตร สภาพภูมิประเทศประกอบไปด้วยป่าไม้ ภูเขา ที่ราบสูง ที่ราบลุ่มน้ำ และที่ราบชายฝั่งทะเล ในส่วนของพื้นที่ป่าไม้มีประมาณ 3 ใน 10 ของพื้นที่ทั้งจังหวัด มีอาณาเขตติดต่อกับจังหวัดฉะเชิงเทรา และสระแก้วทางทิศเหนือ ทิศตะวันออกติดกับจังหวัดตราดและประเทศกัมพูชา ทิศใต้ติดกับอ่าวไทย และทิศตะวันตกติดกับจังหวัดระยองและชลบุรี อยู่ห่างจากกรุงเทพมหานครประมาณ 238 กิโลเมตร ประชากรส่วนใหญ่ของจังหวัดจันทบุรีอาศัยอยู่ทางตอนใต้ของจังหวัด โดยอาชีพที่ประชากรในจังหวัดนิยมประกอบอาชีพมากที่สุดคือเกษตรกรรมและประมง และศาสนาที่มีการนับถือมากที่สุดในจังหวัดคือศาสนาพุท.

ดู สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 18และจังหวัดจันทบุรี

จังหวัดขอนแก่น

ังหวัดขอนแก่น เป็นจังหวัดที่มีขนาดพื้นที่ใหญ่เป็นอันดับที่ 6 ของภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และมีประชากรมากเป็นอันดับ 3 ของภาคตะวันออกเฉียงเหนือ เป็นจังหวัดศูนย์ปฏิบัติการของกลุ่มจังหวัดภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนกลาง เมืองขอนแก่นตั้งอยู่ในจุดที่ถนนมิตรภาพ (ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 2) และทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 12 (ถนนสายเศรษฐกิจตะวันออก-ตะวันตก) ตัดผ่าน ซึ่งเป็นเส้นทางสำคัญอีกเส้นหนึ่งในการเดินทางจากภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนกลางเข้าไปสู่ภาคเหนือตอนล่างที่อำเภอหล่มสัก จังหวัดเพชรบูรณ์ และเดินทางเข้าสู่ประเทศลาวทางด้านทิศใต้ของลาว อาณาเขตทางทิศเหนือติดกับจังหวัดเลย จังหวัดหนองบัวลำภู และจังหวัดอุดรธานี ทิศตะวันออกติดกับจังหวัดมหาสารคามและจังหวัดกาฬสินธุ์ ทิศใต้ติดกับจังหวัดบุรีรัมย์และจังหวัดนครราชสีมา ทิศตะวันตกติดกับจังหวัดชัยภูมิและจังหวัดเพชรบูรณ.

ดู สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 18และจังหวัดขอนแก่น

จังหวัดตรัง

ตรัง เป็นจังหวัดในภาคใต้ของประเทศไทย ตรังหรือเมืองทับเที่ยงเป็นจังหวัดท่องเที่ยวอีกแห่งหนึ่งของภาคใต้.

ดู สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 18และจังหวัดตรัง

จังหวัดตราด

ตราด เป็นจังหวัดชายฝั่งทะเลทางภาคตะวันออกของประเทศไทย มีเนื้อที่ 2,819 ตารางกิโลเมตร ติดต่อกับจังหวัดจันทบุรีและประเทศกัมพูชา ตราดนับเป็นเมืองศูนย์กลางการค้าแห่งหนึ่งในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ในช่วงปลายอยุธยา สินค้าที่ส่งออกขายยังแดนไกล โดยเฉพาะของป่า เช่น เขากวาง หนังสัตว์ ไม้หอม และเครื่องเทศต่าง ๆ ล้วนมาจากเขตป่าเขาชายฝั่งทะเลตะวันออก แถบระยอง จันทบุรี ตราด โดยลำเลียงสินค้าผ่านมาตามแม่น้ำเขาสมิง ออกสู่ปากอ่าวตร.

ดู สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 18และจังหวัดตราด

จังหวัดตาก

นมิตรภาพ ไทย-พม่า (แม่สอด-เมียวดี) ทอดข้ามแม่น้ำเมย จังหวัดตาก (30px) เป็นจังหวัดในภาคตะวันตกหรือบางแห่งจัดอยู่ในภาคเหนือตอนล่างของไทย มีพื้นที่มากเป็นอันดับ 4 ของประเทศ แต่มีประชากรเบาบางที่สุดเป็นอันดับ 2 ของประเทศ นับเป็นจังหวัดชายแดนที่สำคัญอีกจังหวัดหนึ่งของไทย มีประวัติศาสตร์เก่าแก่นับแต่สมัยกรุงสุโขทัย ทั้งยังมีแหล่งท่องเที่ยวทางธรรมชาติและวัฒนธรรมที่งดงามหลายแห่งด้วย นอกจากนี้จังหวัดตากยังเป็นจังหวัดที่มีอาณาเขตติดต่อจังหวัดอื่น ๆ ถึง 9 จังหวั.

ดู สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 18และจังหวัดตาก

จังหวัดประจวบคีรีขันธ์

ังหวัดประจวบคีรีขันธ์ เป็นจังหวัดในภาคตะวันตกของประเทศไทย เป็นจังหวัดที่มีรูปร่างยาวในแนวเหนือ-ใต้ และแคบในแนวตะวันออก-ตะวันตก โดยมีส่วนที่แคบที่สุดของประเทศไทย ระยะทางประมาณ 12 กิโลเมตร มีองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่เป็นที่ตั้งศาลากลางจังหวัดอยู่ที่เทศบาลเมืองประจวบคีรีขันธ์ ในขณะที่เมืองที่มีประชากรมากที่สุดในจังหวัด คือ เทศบาลเมืองหัวหิน.

ดู สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 18และจังหวัดประจวบคีรีขันธ์

จังหวัดปราจีนบุรี

ปราจีนบุรี เดิมสะกดว่า ปราจิณบุรี เป็นจังหวัดในภาคตะวันออกของประเทศไทย เป็นเมืองที่มีประวัติศาสตร์ยาวนาน มีการพบซากโบราณสถานในหลายพื้นที่ของจังหวัด นอกจากนี้ยังมีแหล่งท่องเที่ยวทางธรรมชาติหลายแห่ง มีอุทยานแห่งชาติอยู่ในเขตมรดกโลกถึง 3 แห่ง ทั้งยังเป็นจังหวัดที่มีพื้นที่ป่ามากที่สุดในภาคตะวันออกอีกด้วย แต่เดิมจังหวัดปราจีนบุรีมีพื้นที่กว้างใหญ่มาก เนื่องจากในอดีตเคยมีการยุบรวมจังหวัดนครนายกเข้ากับจังหวัดปราจีนบุรีในปี..

ดู สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 18และจังหวัดปราจีนบุรี

จังหวัดปัตตานี

ปัตตานี เป็นจังหวัดในภาคใต้ ติดต่อกับจังหวัดนราธิวาส จังหวัดยะลา และจังหวัดสงขล.

ดู สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 18และจังหวัดปัตตานี

จังหวัดปทุมธานี

ังหวัดปทุมธานี (เดิมสะกดว่า ประทุมธานี) เป็นจังหวัดหนึ่งที่อยู่ในภาคกลางของประเทศไทย เป็นหนึ่งในห้าจังหวัดในพื้นที่ปริมณฑลของกรุงเทพมหานคร ตั้งอยู่บริเวณลุ่มแม่น้ำเจ้าพระยา ทางทิศเหนือของกรุงเทพมหานคร เทศบาลที่ตั้งศาลากลางจังหวัด คือ เทศบาลเมืองปทุมธานี แต่เทศบาลที่มีประชากรมากที่สุดในจังหวัด คือ เทศบาลนครรังสิต ซึ่งตั้งอยู่ในอำเภอธัญบุรี.

ดู สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 18และจังหวัดปทุมธานี

จังหวัดนราธิวาส

นราธิวาส เป็นจังหวัดหนึ่งในภาคใต้ของประเทศไทย เป็นจังหวัดชายแดนใต้สุดของประเทศไทย มีอาณาเขตติดต่อกับประเทศมาเลเซีย ตั้งอยู่บนชายฝั่งทะเลตะวันออกของแหลมมลายู ห่างจากกรุงเทพฯ ทางรถยนต์ประมาณ 1,149 กิโลเมตร โดยมีเนื้อที่ประมาณ 4,475.43 ตารางกิโลเมตร หรือ 2,797,143.75 ไร่ ทิศเหนือติดต่อกับจังหวัดปัตตานีในเขตอำเภอสายบุรี อำเภอไม้แก่น และอ่าวไทย ทิศตะวันออกติดต่อกับอ่าวไทยและรัฐกลันตัน ประเทศมาเลเซีย ทิศใต้ติดต่อกับรัฐกลันตัน ประเทศมาเลเซีย ทิศตะวันตกติดต่อกับจังหวัดยะลาในเขตอำเภอบันนังสตา พื้นที่ส่วนใหญ่เป็นป่าไม้และภูเขา 2 ใน 3 ของพื้นที่ทั้งหมด มีป่าพรุประมาณ 361,860 ไร่ ทางแถบทิศตะวันตกเฉียงใต้จรดทิวเขาสันกาลาคีรีซึ่งเป็นแนวกั้นพรมแดนไทย-มาเลเซีย ลักษณะพื้นที่จะมีความลาดเอียงจากทิศตะวันตกไปสู่ทิศตะวันออก พื้นที่ราบส่วนใหญ่อยู่บริเวณติดกับอ่าวไทยและที่ราบลุ่มบริเวณแม่น้ำ 4 สาย คือ แม่น้ำบางนรา แม่น้ำสายบุรี แม่น้ำตากใบ และแม่น้ำโก-ลก มีประชากรจำนวน 796,239 คน แยกเป็นชาย 393,837 คน หญิง 402,402 คน โดยจังหวัดนราธิวาสมีศูนย์กลางทางเศรษฐกิจ การค้า การลงทุน และการอุตสาหกรรมอยู่ที่อำเภอสุไหงโก-ลก ซึ่งเป็นอำเภอที่มีขนาดใหญ่และมีความเจริญกว่าตัวจังหวัดมาก.

ดู สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 18และจังหวัดนราธิวาส

จังหวัดนครพนม

ังหวัดนครพนม เป็นจังหวัดในภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบนตั้งอยู่ในแอ่งสกลนคร นับเป็นเมืองชายแดนที่มีความอุดมสมบูรณ์ ความสวยงามของทิวทัศน์ และมีความหลากหลายของวัฒนธรรมและชาติพันธุ์ รวมทั้งประวัติศาสตร์ที่ยาวนานมีพระธาตุพนมเป็นปูชนียสถานคู่บ้านคู่เมือง พื้นที่ด้านเหนือและตะวันออกของจังหวัดติดกับแม่น้ำโขงโดยตลอ.

ดู สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 18และจังหวัดนครพนม

จังหวัดนครราชสีมา

นครราชสีมา หรือรู้จักในชื่อ โคราช เป็นจังหวัดที่มีพื้นที่มากที่สุดในประเทศไทยและมีประชากรมากเป็นอันดับ 2 ของประเทศ อยู่ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ชื่อเมืองนครราชสีมาปรากฏครั้งแรกเป็นเมืองพระยามหานครในการปฏิรูปการปกครองในรัชสมัยสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ(ตั้งอยู่ในพื้นที่อำเภอสูงเนิน จังหวัดนครราชสีมา) ในรัชสมัยสมเด็จพระนารายณ์มหาราชทรงมีรับสั่งให้ย้ายเมืองนครราชสีมามาตั้งบริเวณพื้นที่ปัจจุบัน เมื่อ..

ดู สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 18และจังหวัดนครราชสีมา

จังหวัดนครศรีธรรมราช

นครศรีธรรมราช เป็นจังหวัดในประเทศไทย มีประชากรมากที่สุดในภาคใต้และมีขนาดพื้นที่ใหญ่เป็นอันดับ 2 ของภาคใต้ (รองจากสุราษฎร์ธานี) ห่างจากกรุงเทพมหานคร ประมาณ 780 กิโลเมตร มีจังหวัดที่อยู่ติดกันได้แก่ สงขลา พัทลุง ตรัง กระบี่ และสุราษฎร์ธานี ในอดีต มีชื่อเรียกดินแดนแถบนี้หลายชื่อ เช่น ในคัมภีร์มหานิเทศของอินเดีย ที่เขียนขึ้นราวพุทธศตวรรษที่ 7-8 เรียกว่า "ตามพรลิงก์" หรืออาณาจักรตามพรลิงก์, บันทึกโบราณของเมืองจีนเรียก "เซี้ยะ-โท้ว (ถู-กวั่ว) ", "รักตะมฤติกา" (จารึกภาษาสันสกฤต) ซึ่งล้วนหมายถึง "ดินแดนที่มีดินสีแดง", ตะวันตกนิยมเรียกกันมา จนกระทั่งต้นคริสต์ศตวรรษที่ 20 คือ "ลิกอร์" สันนิษฐานว่าชาวโปรตุเกสที่เข้ามาติดต่อค้าขายในสมัยกรุงศรีอยุธยาตอนต้น เป็นผู้เรียกก่อน โดยเพี้ยนมาจากคำว่า "นคร" ส่วนชื่อ "นครศรีธรรมราช" มาจากพระนามของกษัตริย์ผู้ครองนครในอดีต มีพระนามว่า "พระเจ้าศรีธรรมาโศกราช" (ราชวงศ์ศรีธรรมาโศกราช) มีความหมายว่า "นครอันเป็นสง่าแห่งพระราชาผู้ทรงธรรม" หรือ "เมืองแห่งพุทธธรรมของพระราชาผู้ยิ่งใหญ่" ในสมัยกรุงศรีอยุธยาเป็นราชธานี เมืองนครศรีธรรมราชมีฐานะเป็นหัวเมืองชั้นเอกคู่กับเมืองพิษณุโลก มีขุนนางชั้นผู้ใหญ่ระดับเจ้าพระยาเป็นเจ้าเมือง มีบรรดาศักดิ์ตามพระไอยการตำแหน่งนาพลเรือน นาทหารหัวเมือง ว่า เจ้าพระยาศรีธรรมราชชาติเดโชไชยมไหยสุริยาธิบดีอภัยพิรียบรากรมภาห.

ดู สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 18และจังหวัดนครศรีธรรมราช

จังหวัดนครสวรรค์

ังหวัดนครสวรรค์ เป็นจังหวัดที่ตั้งอยู่ระหว่างตอนบนของภาคกลาง มีพื้นที่ประมาณ 9,597 ตารางกิโลเมตร เป็นจังหวัดที่มีความสำคัญในทางประวัติศาสตร์อีกจังหวัดหนึ่งของประเทศไทย มีพื้นที่ติดต่อกับหลายจังหวัด ได้แก่ ด้านเหนือ ติดต่อกับจังหวัดพิจิตรและกำแพงเพชร ทางตะวันออกติดกับจังหวัดเพชรบูรณ์และลพบุรี ด้านใต้ติดกับจังหวัดสิงห์บุรี ชัยนาท และอุทัยธานี ส่วนด้านตะวันตกติดกับจังหวัดตาก.

ดู สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 18และจังหวัดนครสวรรค์

จังหวัดนครปฐม

ังหวัดนครปฐม เป็นจังหวัดหนึ่งในภาคกลางของประเทศไทย เป็นหนึ่งในห้าจังหวัดที่อยู่ในพื้นที่ปริมณฑลของกรุงเทพมหานคร จังหวัดนี้มีประวัติศาสตร์เก่าแก่ยาวนาน เชื่อว่าเป็นที่ตั้งเก่าแก่ของเมืองในสมัยทวารวดี โดยมีหลักฐานทางประวัติศาสตร์และโบราณคดีเป็นจำนวนมาก.

ดู สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 18และจังหวัดนครปฐม

จังหวัดนครนายก

ังหวัดนครนายก เป็นจังหวัดหนึ่งในภาคกลางของประเทศไทย จัดตั้งขึ้นครั้งล่าสุดโดยพระราชบัญญัติจัดตั้งจังหวัดสมุทรปราการ จังหวัดนนทบุรี จังหวัดสมุทรสาคร และจังหวัดนครนายก พุทธศักราช 2489 ซึ่งมีผลใช้บังคับตั้งแต่วันที่ 9 พฤษภาคม..

ดู สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 18และจังหวัดนครนายก

จังหวัดนนทบุรี

ังหวัดนนทบุรี เป็นจังหวัดหนึ่งในภาคกลางของประเทศไทย จัดตั้งขึ้นครั้งล่าสุดโดยพระราชบัญญัติจัดตั้งจังหวัดสมุทรปราการ จังหวัดนนทบุรี จังหวัดสมุทรสาคร และจังหวัดนครนายก พุทธศักราช 2489 ซึ่งมีผลใช้บังคับตั้งแต่วันที่ 9 พฤษภาคม..

ดู สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 18และจังหวัดนนทบุรี

จังหวัดน่าน

ังหวัดน่าน (15px) เป็นจังหวัดหนึ่งในประเทศไทย ตั้งอยู่ทางทิศตะวันออกสุดของภาคเหนือ เป็นที่ตั้งของเมืองที่สำคัญในอดีต อาทิ เมืองวรนคร เวียงศีรษะเกษ อีกทั้งยังเป็นแหล่งกำเนิดต้นน้ำที่สำคัญของแม่น้ำน่าน.

ดู สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 18และจังหวัดน่าน

จังหวัดแพร่

ังหวัดแพร่ (25px) เป็นจังหวัดในภาคเหนือตอนบนของประเทศไทย อดีตนครรัฐอิสระขนาดเล็ก มีลักษณะภูมิประเทศเป็นที่ราบระหว่างภูเขา โดยมีทิวเขาล้อมรอบ และมีแม่น้ำสายสำคัญไหลผ่านคือแม่น้ำยม.

ดู สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 18และจังหวัดแพร่

จังหวัดแม่ฮ่องสอน

ังหวัดแม่ฮ่องสอน (60px; 80px) เป็นจังหวัดในภาคเหนือของประเทศไทย มีความโดดเด่นหลายลักษณะ โดยเฉพาะสภาพภูมิประเทศ ความหลากหลายด้านวัฒนธรรม และความหลากหลายของประชากรจากหลายกลุ่มชาติพันธุ์ นับเป็นจังหวัดที่สถิติน่าสนใจหลายอย่าง เช่น มีประชากรเบาบางที่สุดในประเทศ และมีประชากรน้อยมากเป็นอันดับ 5 ในขณะที่มีพื้นที่มากเป็นอันดับ 8 ของประเทศ แม่ฮ่องสอนได้ชื่อว่าเป็น เมืองสามหมอก เนื่องจากมีสภาพภูมิประเทศเต็มไปด้วยภูเขาสูงสลับซับซ้อน สภาพอากาศมีหมอกปกคลุมตลอดเวลาส่วนใหญ่ของปี นอกจากนี้แม่ฮ่องสอนยังนับเป็นพื้นที่ปลายสุดด้านตะวันตกของประเทศ คือที่เส้นแวง 97.5 องศาตะวันออกในเขตอำเภอแม่สะเรียง (ตะวันออกสุดของประเทศ อยู่ที่อำเภอโขงเจียม จังหวัดอุบลราชธานี ที่ 105.5 องศาตะวันออก) แม่ฮ่องสอนได้รบการสถาปนาขึ้นเป็นเมือง เมื่อปี..

ดู สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 18และจังหวัดแม่ฮ่องสอน

จังหวัดเชียงราย

ังหวัดเชียงราย (55px เจียงฮาย; 50px) เป็นจังหวัดที่ตั้งอยู่ในภาคเหนือตอนบนของประเทศไทย มีภูมิศาสตร์อยู่ทางเหนือสุดของประเทศ ที่ตั้งของเมืองมีความสำคัญทางประวัติศาสตร์ตั้งแต่ยุคก่อตั้งอาณาจักรล้านนา เช่น เมืองเงินยาง เมืองเชียงแสน เมืองเชียงราย เมืองเชียงรายเป็นพื้นที่ดั้งเดิมของชาวไทยวน ปัจจุบันจังหวัดเชียงรายแบ่งการปกครองออกเป็น 18 อำเภอ มีน้ำแม่กก น้ำแม่อิง แม่น้ำรวก และแม่น้ำโขง เป็นแม่น้ำสายสำคัญ ทำเลที่ตั้งของจังหวัดเชียงรายอยู่บริเวณรอยต่อระหว่าง 3 ประเทศ คือ ประเทศไทย ประเทศพม่า และประเทศลาว หรือรู้จักกันในนามของดินแดนสามเหลี่ยมทองคำ ซึ่งอดีตเป็นแหล่งผลิตฝิ่นที่สำคัญของโลก ปัจจุบัน จังหวัดเชียงรายได้รับความสนใจในฐานะประตูสู่พม่า ลาว และจีนตอนใต้ ผ่านทางหลวงเอเชียสาย 2 และทางหลวงเอเชียสาย 3 เมืองเชียงรายมีประวัติศาสตร์อันยาวนาน เป็นที่ตั้งของหิรัญนครเงินยางเชียงแสน ซึ่งเป็นนครหลวงก่อนการกำเนิดอาณาจักรล้านนา มี "คำเมือง" เป็นภาษาท้องถิ่น มีเอกลักษณ์เฉพาะตัวทั้งด้านศิลปะ ประเพณีวัฒนธรรมที่มีความหลากหลายทางชาติพันธุ์ในรูปแบบล้านนา ไทใหญ่ ไทเขิน และไทลื้อจากสิบสองปันนาผสมผสานกัน.

ดู สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 18และจังหวัดเชียงราย

จังหวัดเชียงใหม่

ังหวัดเชียงใหม่ (40px เจียงใหม่) เป็นจังหวัดหนึ่งของไทย ตั้งอยู่ทางภาคเหนือของประเทศ ครอบคลุมพื้นที่ประมาณ 20,107 ตารางกิโลเมตร ซึ่งใหญ่เป็นอันดับ 2 ของประเทศ มีประชากร 1,746,840 คน มากเป็นอันดับ 5 ของประเทศ ในจำนวนนี้เป็นประชากรที่อาศัยอยู่ในเขตเมืองและชานเมือง 960,906 คน โดยจังหวัดเชียงใหม่ทิศเหนือติดต่อกับรัฐฉานของเมียนมา จังหวัดเชียงใหม่ จัดเป็นเมืองใหญ่อันดับที่สองของประเทศไทย รองจากกรุงเทพมหานคร โดยแบ่งการปกครองออกเป็น 25 อำเภอ โดยมีอำเภอเมืองเชียงใหม่เป็นศูนย์กลางของจังหวัด เมื่อ พ.ศ.

ดู สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 18และจังหวัดเชียงใหม่

จังหวัดเพชรบุรี

ังหวัดเพชรบุรี (/เพ็ดชะบุรี/; เดิมสะกดว่า เพ็ชร์บุรี) เป็นจังหวัดหนึ่งในภาคตะวันตก (บ้างก็จัดอยู่ในภาคกลางตอนล่าง ด้านของการพยากรณ์อากาศจัดอยู่ภาคใต้ตอนบน) มีภูมิประเทศทั้งเป็นที่สูงติดเทือกเขาและที่ราบชายฝั่งทะเล มักเรียกชื่อสั้น ๆ ว่า เมืองเพชร เดิมเรียก พริบพรี และจากหลักฐานในสมัยพระเจ้าชัยวรมันที่ 7 ปรากฏชื่อว่า ศรีชัยวัชรปุระ จังหวัดเพชรบุรีมีชื่อเสียงในฐานะแหล่งผลิตน้ำตาล เนื่องจากมีต้นตาลหนาแน่น เป็นเมืองเก่าแก่ มีประวัติศาสตร์ยาวนาน เพชรบุรีเป็นเมืองที่เคยรุ่งเรืองมาตั้งแต่สมัยโบราณและเป็นเมืองหน้าด่านที่สำคัญของไทยในกลุ่มหัวเมืองฝ่ายตะวันตก ปัจจุบันมีวัดเก่าแก่และบ้านเรือนทรงไทยจำนวนมาก นอกจากนี้ยังมีคำพูดติดปากว่า นักเลงเมืองเพชร ปัจจุบันเพชรบุรีเป็นเมืองด่านสำคัญระหว่างภาคกลางและภาคใต้ และยังเป็นเมืองท่องเที่ยวที่สำคัญ เช่น หาดชะอำ หาดปึกเตียน หาดเจ้าสำราญ แหลมหลวง แหลมเหลว และเขื่อนแก่งกระจาน.

ดู สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 18และจังหวัดเพชรบุรี

จังหวัดเพชรบูรณ์

ังหวัดเพชรบูรณ์ เป็นจังหวัดหนึ่งในภาคกลางตอนบนของประเทศไทย มีพื้นที่ประมาณ 12,668 ตารางกิโลเมตร ซึ่งใหญ่เป็นอันดับ 9 ของประเทศ มีประชากร 994,397 คน แบ่งการปกครองออกเป็น 11 อำเภอ และมีเขตเทศบาลเมืองเพชรบูรณ์เป็นศูนย์กลางของจังหวัด เป็นจังหวัดที่มีทรัพยากรธรรมชาติ มีความอุดมสมบูรณ์ และมีแหล่งท่องเที่ยวจำนวนมาก.

ดู สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 18และจังหวัดเพชรบูรณ์

จำลอง ศรีเมือง

ลตรี จำลอง ศรีเมือง แกนนำพันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตย อดีตสมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ อดีตรองนายกรัฐมนตรี และผู้ว่าฯ กรุงเทพฯ 2 สมัย ผู้ก่อตั้ง และหัวหน้าพรรคพลังธรรมคนแรก เป็นแกนนำของผู้ชุมนุมในเหตุการณ์ พฤษภาทมิฬ ปี..

ดู สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 18และจำลอง ศรีเมือง

จำลอง ครุฑขุนทด

ำลอง ครุฑขุนทด อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงศึกษาธิการ ในรัฐบาลของ ดร.ทักษิณ ชินวัตร อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร และอดีตรองหัวหน้าพรรคไทยรักไทย เป็นหนึ่งในผู้ก่อตั้งกลุ่ม 16จำลอง ครุฑขุนทด เข้าร่วมชุมนุมกับแนวร่วมประชาธิปไตยต่อต้านเผด็จการแห่งชาติที่เวทีสะพานผ่านฟ้า เมื่อวันที่ 26 มีนาคม..

ดู สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 18และจำลอง ครุฑขุนทด

จำนงค์ โพธิสาโร

ำนงค์ โพธิสาโร เป็นอดีตนักการเมือง โดยเป็น..

ดู สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 18และจำนงค์ โพธิสาโร

ธวัชวงศ์ ณ เชียงใหม่

วัชวงศ์ ณ เชียงใหม่ (120px) หรือ เจ้าหนุ่ย อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงสาธารณสุข ในรัฐบาลนายบรรหาร ศิลปอาชา อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงการคลัง และอดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงการต่างประเทศ ในรัฐบาลพลเอกชวลิต ยงใจยุทธ อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดเชียงใหม่ 5 สมัย อดีตรองหัวหน้าพรรคความหวังใหม่ และอดีตนายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดเชียงใหม่ ธวัชวงศ์ สืบทอดเชื้อสายราชตระกูล ณ เชียงใหม่ (เจ้าเจ็ดตน) สายของพระเจ้าช้างเผือกธรรมลังกา ซึ่งเป็นสายเดียวกันกับนางยินดี ชินวัตร มารดาของพันตำรวจโททักษิณ ชินวัตร อดีตนายกรัฐมนตรี.

ดู สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 18และธวัชวงศ์ ณ เชียงใหม่

ธานินทร์ ใจสมุทร

นายธานินทร์ ใจสมุทร สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จังหวัดสตูล สังกัดพรรคชาติไทยพัฒนา เป็นอดีตนายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดสตูล และ สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดสตูล 5 สมั.

ดู สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 18และธานินทร์ ใจสมุทร

ธีระวัฒน์ ศิริวันสาณฑ์

นายธีระวัฒน์ ศิริวันสาณฑ์ เป็นอดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงสาธารณสุข ในรัฐบาลนายชวน หลีกภัย (ชวน 2) เป็นอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดนครสวรรค์ สังกัดพรรคกิจสังคม.

ดู สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 18และธีระวัฒน์ ศิริวันสาณฑ์

ธนิต ไตรวุฒิ

นิต ไตรวุฒิ (เกิด 29 พฤศจิกายน พ.ศ. 2487) อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดตราด 3 สมั.

ดู สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 18และธนิต ไตรวุฒิ

ถวิล ฤกษ์หร่าย

นายถวิล ฤกษ์หร่าย (เกิด 22 มิถุนายน พ.ศ. 2482) อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกำแพงเพชร ได้รับการเลือกตั้งเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรครั้งแรกในปี พ.ศ.

ดู สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 18และถวิล ฤกษ์หร่าย

ถวิล จันทร์ประสงค์

วิล จันทร์ประสงค์ (13 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2475 – 18 มีนาคม พ.ศ. 2555) อดีตนักการเมืองชาวไทย และอดีตรัฐมนตรีช่วยการกระทรวงเกษตรและสหกรณ.

ดู สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 18และถวิล จันทร์ประสงค์

ถวิล ไพรสณฑ์

วิล ไพรสณฑ์ อดีตรัฐมนตรีว่าการทบวงมหาวิทยาลัย ในรัฐบาลชวน หลีกภัย (1) อดีตรองประธานสภาผู้แทนราษฎร และสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกรุงเทพมหานคร.

ดู สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 18และถวิล ไพรสณฑ์

ทรงศักดิ์ ทองศรี

ร.ทรงศักดิ์ ทองศรี (20 เมษายน พ.ศ. 2501 —) เป็นสมาชิกกลุ่มเพื่อนเนวิน รองหัวหน้าพรรคภูมิใจไทย อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงคมนาคม ในรัฐบาลของนายสมัคร สุนทรเวช และอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร บุรีรัมย์ เขตที่ 2 สังกัดพรรคพลังประชาชน.

ดู สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 18และทรงศักดิ์ ทองศรี

ทวิช กลิ่นประทุม

นายทวิช กลิ่นประทุม เกิดเมื่อวันที่ 9 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2473 เป็นบุตรคนที่ 3 ของนายสมชาย กับนางอรุณี กลิ่นประทุม มีพี่น้อง 4 คน และเป็นอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จังหวัดมหาสารคาม และจังหวัดราชบุรี อดีตหัวหน้าพรรคธรรมสังคม เคยดำรงตำแหน่งรองนายกรัฐมนตรี สมัยรัฐบาลหม่อมราชวงศ์คึกฤทธิ์ ปราโมช เป็นรัฐมนตรีว่าการทบวงมหาวิทยาลัยหลายสมัย รัฐมนตรีว่าการกระทรวงคมนาคม และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เป็นบิดาของนายสรอรรถ กลิ่นประทุม อดีตรัฐมนตรีหลายสมัย นายทวิช เสียชีวิตเมื่อวันที่ 26 กรกฎาคม พ.ศ.

ดู สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 18และทวิช กลิ่นประทุม

ทวี สุระบาล

นายทวี สุระบาล (เกิด 15 สิงหาคม พ.ศ. 2491) อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดตรัง 6 สมัย และอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรระบบบัญชีรายชื่อ.

ดู สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 18และทวี สุระบาล

ทวี ไกรคุปต์

ทวี ไกรคุปต์ (เกิด 29 พฤษภาคม พ.ศ. 2482) อดีตรัฐมนตรี และอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดราชบุรี 7 สมัย และเป็นอดีตหัวหน้าพรรคประชาไทย (ต่อมาเปลี่ยนชื่อเป็นพรรครวมไทย และพรรคเอกภาพ).

ดู สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 18และทวี ไกรคุปต์

ทศพล สังขทรัพย์

นายทศพล สังขทรัพย์ (เกิด 11 มกราคม พ.ศ. 2499) อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดเลย 7 สมั.

ดู สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 18และทศพล สังขทรัพย์

ทินวัฒน์ มฤคพิทักษ์

ทินวัฒน์ มฤคพิทักษ์ เกิดเมื่อวันที่ 19 มกราคม พ.ศ. 2487 ที่อำเภอนครชัยศรี จังหวัดนครปฐม เป็นพี่ชายของ ประสาร มฤคพิทักษ์ สมาชิกสภาปฏิรูปแห่งชาติ อดีตสมาชิกวุฒิสภา ประธานกรรมการ บริษัท ชีวิตธุรกิจ จำกัด และนักเคลื่อนไหวทางการเมือง จบการศึกษาระดับปริญญาตรีจากคณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ปริญญาโทวิทยาศาสตร์ สาขาสิ่งแวดล้อม มหาวิทยาลัยมหิดล จากนั้นได้เดินทางไปศึกษาต่อด้านการพูดและมนุษยสัมพันธ์ที่สถาบันเดล คาร์เนกี กรุงลอนดอน ประเทศอังกฤษ เมื่อศึกษาจบแล้วเดินทางกลับประเทศไทย ได้ก่อตั้งสถาบันพัฒนาบุคลิกภาพและการพูดในที่ชุมชน เมื่อปี พ.ศ.

ดู สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 18และทินวัฒน์ มฤคพิทักษ์

ขุนทอง ภูผิวเดือน

นายขุนทอง ภูผิวเดือน (3 พฤษภาคม พ.ศ. 2470 - 7 สิงหาคม พ.ศ. 2538) อดีตรัฐมนตรีหลายกระทรวง และ อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดกาฬสินธุ์ 6 สมั.

ดู สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 18และขุนทอง ภูผิวเดือน

ณรงค์ วงศ์วรรณ

ณรงค์ วงศ์วรรณ (25 ธันวาคม พ.ศ. 2468 -) หรือเป็นที่รู้จักว่า "พ่อเลี้ยงเมืองแพร่" อดีตรองนายกรัฐมนตรี อดีตรัฐมนตรีหลายกระทรวง และอดีตหัวหน้าพรรคสามัคคีธรรม เป็นหัวหน้าพรรคการเมืองที่เคยได้รับเลือกตั้ง..มากที่สุดในสภาผู้แทนราษฎร แต่หัวหน้าพรรคไม่ได้รับตำแหน่งนายกรัฐมนตรี.

ดู สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 18และณรงค์ วงศ์วรรณ

ณรงค์ หนานโฮ๊ะ นิยมไทย

นายณรงค์ หนานโฮ๊ะ นิยมไทย (ชื่อรอง หนานโฮ๊ะ) หรือที่รู้จักกันในนาม "หนานโฮ๊ะ" อดีตผู้ช่วยเลขานุการรัฐมนตรีว่าการกระทรวงวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และสิ่งแวดล้อม ในรัฐบาลนายชวน หลีกภัย อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จังหวัดเชียงใหม่ หลายสมัย นักจัดรายการวิทยุ ผู้สื่อข่าวท้องถิ่นที่นำเสนอข่าวในรูปแบบที่ถูกใจชาวบ้าน.

ดู สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 18และณรงค์ หนานโฮ๊ะ นิยมไทย

ณรงค์เลิศ สุรพล

นายณรงค์เลิศ สุรพล อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จังหวัดขอนแก่น พรรคกิจสังคม.

ดู สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 18และณรงค์เลิศ สุรพล

ดุสิต รังคสิริ

นายดุสิต รังคสิริ (เกิด 4 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2484) อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงอุตสาหกรรม และ อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดแพร่ 7 สมั.

ดู สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 18และดุสิต รังคสิริ

คำรณ ณ ลำพูน

นายคำรณ ณ ลำพูน กรรมการที่ปรึกษาพรรคประชาธิปัตย์ เป็นอดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงสาธารณสุข และอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดน่าน.

ดู สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 18และคำรณ ณ ลำพูน

ตรี ด่านไพบูลย์

นายมนตรี ด่านไพบูลย์ หรือ นายตรี ด่านไพบูลย์ สมาชิกวุฒิสภา จังหวัดลำพูน อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงพาณิชย์ อดีตรัฐมนตรีว่าการทบวงมหาวิทยาลัย อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงแรงงานและสวัสดิการสังคม อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จังหวัดลำพูน เกิดเมื่อวันที่ 24 ธันวาคม พ.ศ.

ดู สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 18และตรี ด่านไพบูลย์

ฉลาด ขามช่วง

ฉลาด ขามช่วง ประธานกรรมาธิการแก้ไขปัญหาหนี้สินแห่งชาติ ในสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 24 สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จังหวัดร้อยเอ็ด สังกัดพรรคเพื่อไท.

ดู สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 18และฉลาด ขามช่วง

ฉัตรชัย เอียสกุล

ฉัตรชัย เอียสกุล อดีตรัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี และรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ในรัฐบาลของนายบรรหาร ศิลปอาชา รัฐมนตรีว่าการทบวงมหาวิทยาลัย รัฐมนตรีว่าการกระทรวงแรงงานและสวัสดิการสังคม และรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ในรัฐบาลของพลเอกชวลิต ยงใจยุทธ และอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จังหวัดหนอง.

ดู สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 18และฉัตรชัย เอียสกุล

ประพาส ลิมปะพันธุ์

ร้อยตรี ประพาส ลิมปะพันธุ์ อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร แบบบัญชีรายชื่อ สังกัดพรรคชาติพัฒนา อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ในรัฐบาลของนายชวน หลีกภัย และเป็นอดีตเลขาธิการพรรคชาติพัฒน.

ดู สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 18และประพาส ลิมปะพันธุ์

ประภัตร โพธสุธน

นายประภัตร โพธสุธน อดีตเลขาธิการพรรคชาติไทย อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จังหวัดสุพรรณบุรี เคยดำรงตำแหน่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ และดำรงตำแหน่งรัฐมนตรีช่วยว่าการในหลายกระทรวง หลายสมั.

ดู สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 18และประภัตร โพธสุธน

ประมวล สภาวสุ

นายประมวล สภาวสุ อดีตรองนายกรัฐมนตรี รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลังและกระทรวงอุตสาหกรรม เกิดวันที่ 29 พฤศจิกายน พ.ศ.

ดู สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 18และประมวล สภาวสุ

ประมาณ อดิเรกสาร

ลเอก พลตำรวจเอก ประมาณ อดิเรกสาร (31 ธันวาคม พ.ศ. 2456 - 20 สิงหาคม พ.ศ. 2553) นักการเมืองไทย อดีตรองนายกรัฐมนตรี รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย กระทรวงอุตสาหกรรม กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เคยเป็นสมาชิกพรรคเสรีมนังคศิลา เมื่อ..

ดู สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 18และประมาณ อดิเรกสาร

ประวัฒน์ อุตโมท

ร.ประวัฒน์ อุตโมท หรือ ดร.ประวัฒน์ อุตตะโมต บุคคลล้มละลาย อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร แบบบัญชีรายชื่อ สังกัดพรรคเพื่อไทย อดีตที่ปรึกษารัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรม และอดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ.

ดู สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 18และประวัฒน์ อุตโมท

ประศาสตร์ ทองปากน้ำ

นายประศาสตร์ ทองปากน้ำ อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จังหวัดสุโขทัย สมาชิกพรรคมัชฌิมาธิปไตย กลุ่มมัชฌิมา เป็นคนสนิทของนายสมศักดิ์ เทพสุทิน เกิดเมื่อวันที่ 20 มิถุนายน พ.ศ.

ดู สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 18และประศาสตร์ ทองปากน้ำ

ประสพ บุษราคัม

นายประสพ บุษราคัม (เกิด 26 พฤศจิกายน พ.ศ. 2484) อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ และ อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดอุดรธานี 6 สมั.

ดู สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 18และประสพ บุษราคัม

ประสาท ตันประเสริฐ

นายประสาท ตันประเสริฐ หรือที่รู้จักในนาม "กำนันอู๊ด" สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดนครสวรรค์ เขต 6 สังกัดพรรคชาติพัฒนาเพื่อแผ่นดิน.

ดู สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 18และประสาท ตันประเสริฐ

ประสงค์ บูรณ์พงศ์

นายแพทย์ประสงค์ บูรณ์พงศ์ อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงแรงงานและสวัสดิการสังคม อดีตรัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี และอดีตรองหัวหน้าพรรคพลังประชาชน.

ดู สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 18และประสงค์ บูรณ์พงศ์

ประสงค์ สุ่นศิริ

นาวาอากาศตรี ประสงค์ สุ่นศิริ อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ อดีตเลขาธิการนายกรัฐมนตรี (พลเอกเปรม ติณสูลานนท์) และผู้อำนวยการหนังสือพิมพ์แนวหน้.

ดู สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 18และประสงค์ สุ่นศิริ

ประจวบ ไชยสาส์น

นายประจวบ ไชยสาส์น นายกสภามหาวิทยาลัยรามคำแหง อดีตหัวหน้าพรรคเสรีธรรม อดีตเลขาธิการพรรคชาติพัฒนา อดีตรัฐมนตรีว่าการทบวงมหาวิทยาลัย ในรัฐบาลของนายชวน หลีกภัย และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงอื่นๆ อีกหลายกระทรวง และเป็นบิดาของนายต่อพงษ์ ไชยสาส์น และนายจักรพรรดิ ไชยสาส์น สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จังหวัดอุดรธานี พรรคเพื่อไทย นายประจวบ ไชยสาส์น เป็นที่รู้จักกันในฉายา "อีดี้อีสาน".

ดู สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 18และประจวบ ไชยสาส์น

ประเสริฐ มงคลศิริ

นายแพทย์ประเสริฐ มงคลศิริ (เกิด 8 กันยายน พ.ศ. 2502) อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดอุทัยธานี 2 สมั.

ดู สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 18และประเสริฐ มงคลศิริ

ประเทศไทย

ประเทศไทย มีชื่ออย่างเป็นทางราชการว่า ราชอาณาจักรไทย เป็นรัฐชาติอันตั้งอยู่ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เดิมมีชื่อว่า "สยาม" รัฐบาลประกาศเปลี่ยนชื่อเป็นประเทศไทยอย่างเป็นทางการตั้งแต่ปี 2482 ประเทศไทยมีขนาดใหญ่เป็นอันดับที่ 50 ของโลก มีเนื้อที่ 513,115 ตารางกิโลเมตร และมีประชากรมากเป็นอันดับที่ 20 ของโลก คือ ประมาณ 66 ล้านคน กรุงเทพมหานครเป็นศูนย์กลางการบริหารราชการแผ่นดินและนครใหญ่สุดของประเทศ และการปกครองส่วนภูมิภาค จัดระเบียบเป็น 76 จังหวัด แม้จะมีการสถาปนาระบอบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญและประชาธิปไตยระบบรัฐสภาในปี 2475 แต่กองทัพยังมีบทบาทในการเมืองไทยสูง ล่าสุด เกิดรัฐประหารเมื่อวันที่ 22 พฤษภาคม 2557 และมีการปกครองแบบเผด็จการทหารนับแต่นั้น พบหลักฐานการอยู่อาศัยอย่างต่อเนื่องในอาณาเขตประเทศไทยปัจจุบันตั้งแต่ 20,000 ปีก่อนคริสตกาล ชาวไทเริ่มอพยพเข้าสู่บริเวณนี้ในคริสต์ศตวรรษที่ 11 แล้วเข้ามาตั้งแว่นแคว้นต่าง ๆ ที่สำคัญได้แก่ อาณาจักรสุโขทัย อาณาจักรล้านนาและอาณาจักรอยุธยา นักประวัติศาสตร์มักถือว่าอาณาจักรสุโขทัยเป็นจุดเริ่มต้นของประวัติศาสตร์ไทย ต่อมาอาณาจักรอยุธยาค่อย ๆ เรืองอำนาจมากขึ้นจนเป็นมหาอำนาจในภูมิภาคในปลายคริสต์ศตวรรษที่ 14 การติดต่อกับชาติตะวันตกเริ่มด้วยผู้แทนทางทูตชาวโปรตุเกสในปี 2054 อาณาจักรรุ่งเรืองอย่างมากในรัชกาลสมเด็จพระนารายณ์มหาราช (ครองราชย์ปี 2199–2231) แต่หลังจากนั้นค่อย ๆ เสื่อมอำนาจโดยมีสาเหตุส่วนหนึ่งจากการผลัดแผ่นดินที่มีการนองเลือดหลายรัชกาล จนสุดท้ายกรุงศรีอยุธยาถูกทำลายสิ้นเชิงในปี 2310 สมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรีทรงรวบรวมแผ่นดินที่แตกออกเป็นก๊กต่าง ๆ และสถาปนาอาณาจักรธนบุรีที่มีอายุ 15 ปี ความวุ่นวายในช่วงปลายอาณาจักรนำไปสู่การสำเร็จโทษพระองค์โดยพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช ปฐมราชวงศ์จักรีแห่งกรุงรัตนโกสินทร์ ช่วงต้นกรุงรัตนโกสินทร์ ประเทศเผชิญภัยคุกคามจากชาติใกล้เคียง แต่หลังรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวเป็นต้นมา ชาติตะวันตกเริ่มมีอิทธิพลในภูมิภาคเป็นอย่างมาก นำไปสู่การเข้าเป็นภาคีแห่งสนธิสัญญาไม่เป็นธรรมหลายฉบับ กระนั้น สยามไม่ตกเป็นอาณานิคมของตะวันตกชาติใด มีการปรับให้สยามทันสมัยและรวมอำนาจปกครองในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (ครองราชย์ปี 2411–53) สยามเข้าร่วมกับฝ่ายสัมพันธมิตรในสงครามโลกครั้งที่หนึ่งในปี 2460; ในปี 2475 เกิดการปฏิวัติเปลี่ยนแปลงการปกครองสู่ระบอบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญโดยไม่เสียเลือดเนื้อ คณะราษฎรมีบทบาทนำทางการเมือง และในพุทธทศวรรษ 2480 นายกรัฐมนตรี จอมพล แปลก พิบูลสงคราม ดำเนินนโยบายชาตินิยมเข้มข้น ระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง ไทยเข้ากับฝ่ายอักษะ แต่ฝ่ายสัมพันธมิตรส่วนใหญ่ไม่ยอมรับการประกาศสงคราม ในช่วงสงครามเย็น ประเทศไทยเป็นพันธมิตรกับสหรัฐซึ่งสนับสนุนรัฐบาลทหารมาก รัฐประหารที่มีจอมพล สฤษดิ์ ธนะรัชต์เป็นหัวหน้าคณะในปี 2500 ทำให้คณะราษฎรหมดอำนาจ รัฐบาลฟื้นฟูพระราชอำนาจและมีมาตรการต่อต้านคอมมิวนิสต์ในภูมิภาค ผลของเหตุการณ์ 14 ตุลา 2516 ทำให้เกิดประชาธิปไตยระบบรัฐสภาช่วงสั้น ๆ ประเทศไทยมีนายกรัฐมนตรีจากการเลือกตั้งครั้งแรกในปี 2531 หลังพุทธทศวรรษ 2540 มีวิกฤตการเมืองระหว่างฝ่ายที่สนับสนุนและต่อต้านอดีตนายกรัฐมนตรีทักษิณ ชินวัตรมาจนปัจจุบัน รวมทั้งเกิดรัฐประหารสองครั้ง โดยครั้งล่าสุดเกิดในปี 2557 รัฐธรรมนูญฉบับปัจจุบันเป็นฉบับที่ 20 ประกาศใช้เมื่อวันที่ 6 เมษายน 2560 หลังมีการลงประชามติรับร่างเมื่อหนึ่งปีก่อน ประเทศไทยเป็นสมาชิกสหประชาชาติ เอเปก อีกทั้งเป็นร่วมผู้ก่อตั้งอาเซียน ประเทศไทยเป็นพันธมิตรของสหรัฐตั้งแต่สนธิสัญญาซีโต้ในปี 2497 ถือเป็นประเทศอำนาจนำภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และประเทศอำนาจปานกลางในเวทีโลก ประเทศไทยเป็นประเทศที่มีรายได้ปานกลาง-สูงและประเทศอุตสาหกรรมใหม่ มีรายได้หลักจากภาคอุตสาหกรรมและบริการ การเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจทำให้มีการอพยพเข้าสู่เมืองในคริสต์ศตวรรษที่ 20 ตามประมาณการในปี 2560 จีดีพีของประเทศไทยมีมูลค่าราว 432,898 ล้านดอลลาร์สหรัฐ นับว่าเศรษฐกิจไทยเป็นเศรษฐกิจใหญ่สุดเป็นอันดับ 2 ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และใหญ่เป็นอันดับที่ 26 ของโลก.

ดู สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 18และประเทศไทย

ประเทือง วิจารณ์ปรีชา

นายประเทือง วิจารณ์ปรีชา (เกิด 31 กรกฎาคม พ.ศ. 2478) อดีตรองโฆษกประจำสำนักนายกรัฐมนตรี อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดพิษณุโลก และ อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดสิงห์บุรี รวม 8 สมั.

ดู สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 18และประเทือง วิจารณ์ปรีชา

ประเทือง คำประกอบ

นายประเทือง คำประกอบ เป็นอดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงพาณิชย์ ในรัฐบาลหม่อมราชวงศ์เสนีย์ ปราโมช เป็นอดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงการต่างประเทศ ในรัฐบาลหม่อมราชวงศ์คึกฤทธิ์ ปราโมช และเป็นอดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงอุตสาหกรรม ในรัฐบาลนายชวน หลีกภัย และเป็นอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดนครสวรรค์ 8 สมั.

ดู สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 18และประเทือง คำประกอบ

ประเทือง ปานลักษณ์

นายประเทือง ปานลักษณ์ เป็นอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดลำพูน 3 สมัย ได้รับเลือกตั้งครั้งแรกในปี..

ดู สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 18และประเทือง ปานลักษณ์

ปราโมทย์ สุขุม

ปราโมทย์ สุขุม (เกิด 9 ตุลาคม พ.ศ. 2483 - 23 มีนาคม พ.ศ. 2550) อดีตกรรมการบริหารพรรคประชาธิปัตย์ อดีตสมาชิกผู้แทนราษฎรเขตคลองสาน อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงศึกษาธิการ เป็นนักการเมืองที่ได้รับฉายาว่า “สุภาพบุรุษนักการเมือง” จากสื่อมวลชน.

ดู สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 18และปราโมทย์ สุขุม

ปรีชา มุสิกุล

นายแพทย์ปรีชา มุสิกุล อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดกำแพงเพชร สังกัดพรรคประชาธิปัตย์ อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงสาธารณสุข ในรัฐบาลของหม่อมราชวงศ์เสนีย์ ปราโมช และรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม ในรัฐบาลของนายชวน หลีกภั.

ดู สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 18และปรีชา มุสิกุล

ปรีชา เร่งสมบูรณ์สุข

ปรีชา เร่งสมบูรณ์สุข อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ในรัฐบาลของนางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร เป็นอดีต สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จังหวัดเลย พรรคเพื่อไทย และเป็นอดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงมหาดไทย ในรัฐบาลของนายสมชาย วงศ์สวัสดิ์ พรรคพลังประชาชน.

ดู สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 18และปรีชา เร่งสมบูรณ์สุข

ปวีณา หงสกุล

นางปวีณา หงสกุล (5 กรกฎาคม พ.ศ. 2492 -) อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ ในรัฐบาลนางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร นักการเมืองสตรีชาวไทย เคยดำรงตำแหน่งรัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี และ รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงแรงงานและสวัสดิการสังคม ในรัฐบาลนายชวน หลีกภัย อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกรุงเทพมหานครหลายสมัย เป็นที่รู้จักในบทบาทของนักสังคมสงเคราะห์และผู้ดำเนินงานในนามมูลนิธิปวีณ.

ดู สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 18และปวีณา หงสกุล

ปัญญวัฒน์ บุญมี

ปัญญวัฒน์ บุญมี (ชื่อเดิม: ประสานต์ บุญมี) เป็นอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร ระบบบัญชีรายชื่อ สังกัดพรรคประชาธิปัตย์ และอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดนครปฐม (ส.ส.นครปฐม) ได้รับเลือกตั้งครั้งแรกในปี..

ดู สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 18และปัญญวัฒน์ บุญมี

ปัญญา ศรีปัญญา

นายปัญญา ศรีปัญญา เป็นอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดขอนแก่น และอดีตประธานคณะกรรมาธิการคมนาคม ในสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 23.

ดู สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 18และปัญญา ศรีปัญญา

ปัญญา จีนาคำ

นายปัญญา จีนาคำ เป็นอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดแม่ฮ่องสอน ได้รับเลือกตั้งครั้งแรกในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป กันยายน พ.ศ.

ดู สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 18และปัญญา จีนาคำ

ปัญจะ เกสรทอง

นายปัญจะ เกสรทอง อดีตประธานสภาผู้แทนราษฎร อดีตรองนายกรัฐมนตรี อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ และ อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดเพชรบูรณ.

ดู สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 18และปัญจะ เกสรทอง

ปิยะณัฐ วัชราภรณ์

ปิยะณัฐ วัชราภรณ์ เป็นอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดศรีสะเกษ อดีตรัฐมนตรีหลายสมัย และอดีตรองหัวหน้าพรรคเอกภาพ เจ้าของวลีทางการเมือง "เก็บอุดมการณ์ใส่ลิ้นชัก" และเป็นนักการเมืองที่ได้รับการยอมรับในเรื่องการพูด จนได้รับฉายา "ดาวสภา" และเคยทำหน้าที่โฆษกพรรคกิจสังคม.

ดู สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 18และปิยะณัฐ วัชราภรณ์

ปณวัตร เลี้ยงผ่องพันธุ์

นายปณวัตร เลี้ยงผ่องพันธุ์ (เกิด 9 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2501) อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดบุรีรัมย์ 8 สมั.

ดู สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 18และปณวัตร เลี้ยงผ่องพันธุ์

นิพิฏฐ์ อินทรสมบัติ

นิพิฏฐ์ อินทรสมบัติ รองหัวหน้าพรรคประชาธิปัตย์ ดูแลพื้นที่ภาคใต้ อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงวัฒนธรรม ในรัฐบาลอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ และสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดพัทลุงพรรคประชาธิปัตย์หลายสมัย เกิดวันที่ 30 เมษายน..

ดู สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 18และนิพิฏฐ์ อินทรสมบัติ

นิพนธ์ บุญญามณี

นายนิพนธ์ บุญญามณี นายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดสงขลา อดีตรองเลขาธิการพรรคประชาธิปัตย์, อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร แบบบัญชีรายชื่อพรรคประชาธิปัตย์และอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดสงขลา 5 สมัย เกิดวันที่ 22 กรกฎาคม พ.ศ.

ดู สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 18และนิพนธ์ บุญญามณี

นิพนธ์ พร้อมพันธุ์

นายนิพนธ์ พร้อมพันธุ์ เป็นอดีตเลขาธิการนายกรัฐมนตรี (ชวน หลีกภัย และอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ) อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ รองหัวหน้าพรรคประชาธิปัตย์ และ สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดนครราชสีมา 6 สมัย นายนิพนธ์ เป็นเจ้าของธุรกิจอสังหาริมทรัพย์และโรงเลื่อย เช่น โรงเลื่อยจักรไทยพูนสิน.ไทยประสิทธิ์ทำไม้ แล.ชนาพันธ์ นับเป็นแหล่งทุนเก่าแก่รายหนึ่งของพรรคประชาธิปัตย์ และยังเป็นพี่ชายของศรีสกุล พร้อมพันธุ์ ภรรยาสุเทพ เทือกสุบรรณ เลขาธิการพรรคประชาธิปัตย์อีกด้ว.

ดู สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 18และนิพนธ์ พร้อมพันธุ์

นิพนธ์ วิสิษฐยุทธศาสตร์

นิพนธ์ วิสิษฐยุทธศาสตร์ สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร แบบบัญชีรายชื่อ พรรคประชาธิปัตย์ อดีตรองประธานวุฒิสภา คนที่ 1 และอดีตสมาชิกวุฒิสภา จังหวัดอ่างทอง.

ดู สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 18และนิพนธ์ วิสิษฐยุทธศาสตร์

นิภา พริ้งศุลกะ

นางนิภา พริ้งศุลกะ (เกิด 4 มกราคม พ.ศ. 2479) อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดสุราษฎร์ธานี 7 สมั.

ดู สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 18และนิภา พริ้งศุลกะ

นิยม วรปัญญา

นิยม วรปัญญา อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร สังกัดพรรคเพื่อไทย ได้รับเลือกตั้งเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรครั้งแรกในการเลือกตั้ง..

ดู สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 18และนิยม วรปัญญา

นุกูล ธนิกุล

ร้อยตรีนุกูล ธนิกุล (เกิด 7 สิงหาคม พ.ศ. 2501) อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดสมุทรสงคราม 4 สมัย และ อดีตสมาชิกวุฒิสภาจังหวัดสมุทรสงคราม.

ดู สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 18และนุกูล ธนิกุล

โรช วิภัติภูมิประเทศ

ลเรือโท โรช วิภัติภูมิประเทศ เป็นอดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงกลาโหม ในรัฐบาลนายชวน หลีกภัย (ชวน 1) เป็นอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกรุงเทพมหานคร และสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดชลบุรี.

ดู สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 18และโรช วิภัติภูมิประเทศ

โสภณ เพชรสว่าง

ณ เพชรสว่าง อดีตรองประธานสภาผู้แทนราษฎร คนที่ 1 อดีตเลขาธิการพรรคมวลชน ปัจจุบันสังกัดพรรคพลังพลเมืองไท.

ดู สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 18และโสภณ เพชรสว่าง

ไชยยศ สะสมทรัพย์

นายไชยยศ สะสมทรัพย์ อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงพาณิชย์ อดีตรัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี ในรัฐบาลของนายชวน หลีกภัย และอดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงการคลัง ในรัฐบาล พ.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร.

ดู สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 18และไชยยศ สะสมทรัพย์

ไชยยศ จิรเมธากร

นายไชยยศ จิรเมธากร อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงศึกษาธิการ ในรัฐบาลของนายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ (ครม.อภิสิทธิ์ 5) และอดีตเลขาธิการพรรคเพื่อแผ่นดิน ปัจจุบันสังกัดพรรคประชาธิปัต.

ดู สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 18และไชยยศ จิรเมธากร

ไชยา พรหมา

นายไชยา พรหมา สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดหนองบัวลำภู เป็นประธานคณะกรรมาธิการการเงิน การคลัง การธนาคารและสถาบันการเงิน สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 24.

ดู สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 18และไชยา พรหมา

ไพศาล ยิ่งสมาน

ล ยิ่งสมาน (2 เมษายน พ.ศ. 2482 - 16 มกราคม พ.ศ. 2556) อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดยะลา 4 สมั.

ดู สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 18และไพศาล ยิ่งสมาน

ไพศาล จันทรภักดี

นายไพศาล จันทรภักดี (เกิด 25 มีนาคม พ.ศ. 2492) อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดเพชรบูรณ์ 7 สมั.

ดู สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 18และไพศาล จันทรภักดี

ไพจิต ศรีวรขาน

นายไพจิต ศรีวรขาน สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จังหวัดนครพนม สังกัดพรรคเพื่อไทย เป็นแกนนำกลุ่มอีสานพัฒนา และได้รับแต่งตั้งเป็นประธานคณะกรรมาธิการกิจการสภาผู้แทนราษฎร สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 24.

ดู สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 18และไพจิต ศรีวรขาน

ไพฑูรย์ แก้วทอง

นายไพฑูรย์ แก้วทอง (18 สิงหาคม 2479 -) กรรมการที่ปรึกษาพรรคประชาธิปัตย์ อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงแรงงาน และอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดพิจิตร.

ดู สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 18และไพฑูรย์ แก้วทอง

ไพโรจน์ สุวรรณฉวี

ว่าที่ร้อยตรีไพโรจน์ สุวรรณฉวี (24 พฤศจิกายน พ.ศ. 2492 - 7 พฤษภาคม พ.ศ. 2554) อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงพาณิชย์ ในรัฐบาลของนายบรรหาร ศิลปอาชา และแกนนำกลุ่มโคราช พรรคเพื่อแผ่นดิน.

ดู สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 18และไพโรจน์ สุวรรณฉวี

ไพโรจน์ โล่ห์สุนทร

นายไพโรจน์ โล่สุนทร อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงศึกษาธิการ ในรัฐบาลนายชวน หลีกภัย (2) อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงมหาดไทย ในรัฐบาลพลเอกชวลิต ยงใจยุทธ และในรัฐบาลนายชวน หลีกภัย (1) และเป็นอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดลำปางหลายสมั.

ดู สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 18และไพโรจน์ โล่ห์สุนทร

ไสว พัฒโน

ว พัฒโน อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรม อดีตรองประธานสภาผู้แทนราษฎรไทย อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงมหาดไทย และกระทรวงคมนาคม และเป็นอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดสงขลา 8 สมั.

ดู สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 18และไสว พัฒโน

ไตรรงค์ สุวรรณคีรี

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ไตรรงค์ สุวรรณคีรี รองนายกรัฐมนตรีด้านเศรษฐกิจ ในรัฐบาลนายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ รองหัวหน้าพรรคประชาธิปัตย์ และอดีต..

ดู สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 18และไตรรงค์ สุวรรณคีรี

เชาวรินธร์ ลัทธศักดิ์ศิริ

ร้อยตำรวจโทเชาวรินธร์ ลัทธศักย์ศิริ อดีตที่ปรึกษารองนายกรัฐมนตรี (พลตำรวจเอก โกวิท วัฒนะ) อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร ระบบสัดส่วน พรรคเพื่อไทย อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงศึกษาธิการ และอดีตสมาชิกวุฒิสภา จังหวัดราชบุรี.

ดู สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 18และเชาวรินธร์ ลัทธศักดิ์ศิริ

เชาวน์วัศ สุดลาภา

นายเชาวน์วัศ สุดลาภา อดีตเลขานุการรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย (จอมพลประภาส จารุเสถียร) ในรัฐบาลจอมพล ถนอม กิตติขจร นายกรัฐมนตรี อดีตรองประธานสภาผู้แทนราษฎร อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงมหาดไทย 2 สมัย ในรัฐบาลของพลเอกเกรียงศักดิ์ ชมะนันท์เป็นนายกรัฐมนตรี และในสมัยนายชวน หลีกภัย 1 เป็นนายกรัฐมนตรีเป็นผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครคนที่7 ที่มาจากการแต่งตั้ง สมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ ประธานคณะกรรมการที่ปรึกษานายกรัฐมนตรีฝ่ายการต่างประเทศ (ฯพณฯ ท่าน พลเอกชาติชาย ชุณหะวัณเป็นนายกรัฐมนตรี ที่ปรึกษานายกรัฐมนตรีด้านการบริหาร พณฯ ท่าน บรรหาร ศิลปอาชานายกรัฐมนตรีเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร รองปลัดกระทรวงมหาดไทย ประธานคณะกรรมการการศึกษาสภาผู้แทนราษฎร เลขาธิการสันนิบาตเสรีชนแห่งประเทศไทย เป็นเลขานุการคณะกรรมการปราบปรามอาชญากรรมแห่งชาติ ผู้ตรวจราชการกระทรวงมหาดไทย ผู้อำนวยการกองการเจ้าหน้าที่ สำนักงานปลัดกระทรวงมหาดไทย รองหัวหน้าพรรคกิจสังคมและผู้ว่าราชการในอีกหลายจังหวั.

ดู สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 18และเชาวน์วัศ สุดลาภา

เกษม รุ่งธนเกียรติ

กษม รุ่งธนเกียรติ (19 พฤษภาคม พ.ศ. 2501 —) เป็นอดีตกรรมการบริหารพรรคไทยรักไทย อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดสุรินทร์ เขาเป็นที่รู้จักสำหรับวงการมวยไทย ในฐานะผู้จัดการส่วนตัวของนักมวยไทยที่มีชื่อว่า อิกคิวซัง ก.รุ่งธนเกียรต.

ดู สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 18และเกษม รุ่งธนเกียรติ

เกียรติชัย ชัยเชาวรัตน์

นายกองเอก เกียรติชัย ชัยเชาวรัตน์ (เกิด 11 ธันวาคม พ.ศ. 2481) อดีตรัฐมนตรี และอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดอุดรธานี 6 สมั.

ดู สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 18และเกียรติชัย ชัยเชาวรัตน์

เรวัต สิรินุกุล

นายเรวัต สิรินุกุล (เกิด 25 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2479) อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดกาญจนบุรี 9 สมัย และ อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบสัดส่วน.

ดู สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 18และเรวัต สิรินุกุล

เรืองวิทย์ ลิกค์

นายกองเอก เรืองวิทย์ ลิกค์ อดีตรัฐมนตรีหลายกระทรวง สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จังหวัดกำแพงเพชร 9 สมัย ชาวกำแพงเพชรรู้จักกันในนามผู้แทนฯ "ใจถึง พึ่งได้ พบง่าย ใช้คล่อง".

ดู สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 18และเรืองวิทย์ ลิกค์

เสริมศักดิ์ การุญ

นายเสริมศักดิ์ การุญ (เกิด 23 กันยายน พ.ศ. 2486) อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงแรงงานและสวัสดิการสังคม และอดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงการคลัง และอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดระยอง 7 สมั.

ดู สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 18และเสริมศักดิ์ การุญ

เสนาะ เทียนทอง

นายกองใหญ่ เสนาะ เทียนทอง (1 เมษายน พ.ศ. 2477 —) อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร แบบบัญชีรายชื่อ สังกัดพรรคเพื่อไทย อดีตหัวหน้าพรรคประชาราช ผู้นำ..

ดู สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 18และเสนาะ เทียนทอง

เอกพร รักความสุข

รองศาสตราจารย์ เอกพร รักความสุข เป็นอดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงแรงงานและสวัสดิการสังคม ในรัฐบาลพลเอกชวลิต ยงใจยุทธ และเป็นอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดสกลนคร.

ดู สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 18และเอกพร รักความสุข

เอกภาพ พลซื่อ

อกภาพ พลซื่อ อดีตเลขาธิการพรรคเสรีธรรม อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จังหวัดร้อยเอ็ด และอดีตกรรมการบริหารพรรคไทยรักไทย (เป็นหนึ่งในสมาชิกบ้านเลขที่ 111).

ดู สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 18และเอกภาพ พลซื่อ

เอี่ยม ทองใจสด

นายเอี่ยม ทองใจสด (เกิด 8 กรกฎาคม พ.ศ. 2484) สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดเพชรบูรณ์ เขต 6 ได้รับการเลือกตั้งเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรครั้งแรกในปี พ.ศ.

ดู สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 18และเอี่ยม ทองใจสด

เอนก ทับสุวรรณ

นายเอนก ทับสุวรรณ กรรมการที่ปรึกษาพรรคประชาธิปัตย์ เป็นอดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงคมนาคม และรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงสาธารณสุข เป็นอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดสมุทรสาคร.

ดู สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 18และเอนก ทับสุวรรณ

เผดิมชัย สะสมทรัพย์

ผดิมชัย สะสมทรัพย์ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงแรงงาน ในรัฐบาลของนางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงคมนาคม ในรัฐบาลของนายชวน หลีกภัย (2) และสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จังหวัดนครปฐมหลายสมั.

ดู สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 18และเผดิมชัย สะสมทรัพย์

เจริญ จรรย์โกมล

นายเจริญ จรรย์โกมล รองประธานสภาผู้แทนราษฎร และสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดชัยภูมิ สังกัดพรรคเพื่อไท.

ดู สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 18และเจริญ จรรย์โกมล

เจริญ คันธวงศ์

ริญ คันธวงศ์ (ร้อยตรี เจริญ คันธวงศ์) กรรมการที่ปรึกษาพรรคประชาธิปัตย์ อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร แบบบัญชีรายชื่อ สังกัดพรรคประชาธิปัตย์ เป็นอดีตประธาน..

ดู สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 18และเจริญ คันธวงศ์

เจริญ เชาวน์ประยูร

นายเจริญ เชาวน์ประยูร อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงคมนาคม อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดเชียงใหม่ 7 สมัย ได้รับเลือกตั้งครั้งแรกในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ.

ดู สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 18และเจริญ เชาวน์ประยูร

เทอดพงษ์ ไชยนันทน์

ทอดพงษ์ ไชยนันทน์ (25 มีนาคม 2487 -) กรรมการที่ปรึกษาพรรคประชาธิปัตย์ อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข และรัฐมนตรีว่าการประจำสำนักนายกรัฐมนตรี เป็นบุตรของ นายเทียม ไชยนันทน์ หนึ่งในผู้ก่อตั้งพรรคประชาธิปัต.

ดู สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 18และเทอดพงษ์ ไชยนันทน์

เดช บุญ-หลง

ตราจารย์พิเศษเดช บุญ-หลง อดีตรองนายกรัฐมนตรี อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงแรงงานและสวัสดิการสังคม อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงคมนาคม อดีตเลขาธิการนายกรัฐมนตรี (นายบรรหาร ศิลปอาชา).

ดู สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 18และเดช บุญ-หลง

เดชา สุขารมณ์

นาวาโท นายแพทย์ เดชา สุขารมณ์ ร.น. (21 กันยายน พ.ศ. 2478 -) อดีตรัฐมนตรีว่าการทบวงมหาวิทยาลัย และรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงสาธารณสุข ในรัฐบาลนายชวน หลีกภัย อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดกาญจนบุรี นายแพทย์เดชา สุขารมณ์ สมรสกับ ทิพย์สุดา สุขารมณ์ มีบุตรชายเป็นนักร้องในสังกัดเครือแกรมมี่ คือ นายแพทย์พรเดชา สุขารมณ.

ดู สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 18และเดชา สุขารมณ์

เด่น โต๊ะมีนา

น โต๊ะมีนา นักการเมือง ชาวปัตตานี อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงสาธารณสุข รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงมหาดไทย เลขาธิการคณะกรรมการกลางอิสลามแห่งประเทศไทย สมาชิกวุฒิสภา จังหวัดปัตตานี และสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร หลายสมั.

ดู สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 18และเด่น โต๊ะมีนา

เงิน บุญสุภา

นายเงิน บุญสุภา เป็นอดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงศึกษาธิการ ในรัฐบาลพลเอก สุจินดา คราประยูร และเป็นอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดสระบุรี 7 สมั.

ดู สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 18และเงิน บุญสุภา

เตือนใจ นุอุปละ

นางเตือนใจ นุอุปละ เป็นอดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงสาธารณสุข ในรัฐบาลนายชวน หลีกภัย เป็นอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดอุดรธานี และเป็นกรรมการที่ปรึกษาพรรคประชาธิปัต.

ดู สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 18และเตือนใจ นุอุปละ

เฉลิม อยู่บำรุง

ร้อยตำรวจเอก เฉลิม อยู่บำรุง นักการเมืองไทย สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรฝั่งธนบุรีหลายสมัย อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงแรงงาน อดีตรองนายกรัฐมนตรีและสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบบัญชีรายชื่อ สังกัดพรรคเพื่อไทย อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย รัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรม รัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี และหัวหน้าพรรคมวลชน ระหว่างวันที่ 21 มกราคม 2557 ถึง 18 มีนาคม 2557 เขาเป็นผู้อำนวยการศูนย์รักษาความสงบ ตามคำสั่งคำสั่งที่ พิเศษ 1/2557 เรื่องจัดตั้งศูนย์รักษาความสงบ โดย ยิ่งลักษณ์ ชินวัตร.

ดู สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 18และเฉลิม อยู่บำรุง

เฉลิมชัย เอียสกุล

นายเฉลิมชัย เอียสกุล (เกิด 13 ตุลาคม พ.ศ. 2500) อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดหนองคาย 4 สมั.

ดู สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 18และเฉลิมชัย เอียสกุล

เฉลิมพล สนิทวงศ์ชัย

นายเฉลิมพล สนิทวงศ์ชัย (21 มกราคม พ.ศ. 2481 - 10 กรกฎาคม พ.ศ. 2554) อดีตรองประธานสภาผู้แทนราษฎรไทย อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงพาณิชย์ และ อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดอุดรธานี 7 สมั.

ดู สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 18และเฉลิมพล สนิทวงศ์ชัย

เฉลิมยศ แสนวิเศษ

นายเฉลิมยศ แสนวิเศษ (เกิด 24 กรกฎาคม พ.ศ. 2472) อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดมุกดาหาร 4 สมั.

ดู สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 18และเฉลิมยศ แสนวิเศษ

เนวิน ชิดชอบ

นวิน ชิดชอบ ปัจจุบันเป็นประธานบริหารสโมสรฟุตบอลบุรีรัมย์ ยูไนเต็ด อดีตเคยเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรและรัฐมนตรีหลายสมัย และเคยเป็นหนึ่งในบุคคลใกล้ชิดคนสำคัญของอดีตนายกรัฐมนตรี ทักษิณ ชินวัตร และเป็นบุคคลสำคัญ ที่ทำให้นายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ ได้ดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรี ในปี..

ดู สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 18และเนวิน ชิดชอบ

13 กันยายน

วันที่ 13 กันยายน เป็นวันที่ 256 ของปี (วันที่ 257 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 109 วันในปีนั้น.

ดู สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 18และ13 กันยายน

19 พฤษภาคม

วันที่ 19 พฤษภาคม เป็นวันที่ 139 ของปี (วันที่ 140 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 226 วันในปีนั้น.

ดู สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 18และ19 พฤษภาคม

หรือที่รู้จักกันในชื่อ สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรชุดที่ 18 ของไทย

กร ทัพพะรังสีกระบี่กระแส ชนะวงศ์กริช กงเพชรกรุงเทพมหานครกอร์ปศักดิ์ สภาวสุการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป กันยายน พ.ศ. 2535กำชัย เรืองกาญจนเศรษฐ์กิตติศักดิ์ หัตถสงเคราะห์กุเทพ ใสกระจ่างกนก ลิ้มตระกูลภิญโญ นิโรจน์ภูมิ สาระผลภูมินทร์ ลีธีระประเสริฐมอนอินทร์ รินคำมั่น พัธโนทัยมารุต บุนนาคมานะ มหาสุวีระชัยมาโนชญ์ วิชัยกุลมุข สุไลมานมณฑล ไกรวัตนุสสรณ์มงคล จงสุทธนามณีมนตรี พงษ์พานิชยิ่งพันธ์ มนะสิการยุทธ อังกินันทน์ยงยศ อรุณเวสสะเศรษฐระวี กิ่งคำวงศ์ระวี หิรัญโชติรักเกียรติ สุขธนะรำรี มามะลลิตา ฤกษ์สำราญลาภศักดิ์ ลาภาโรจน์กิจลดาวัลลิ์ วงศ์ศรีวงศ์วรรณรัตน์ ชาญนุกูลวราเทพ รัตนากรวัชรินทร์ เกตะวันดีวัฒนา อัศวเหมวันมูหะมัดนอร์ มะทาวาสิต พยัคฆบุตรวิชัย ชัยจิตวณิชกุลวิชัย วงศ์ไชยวิรัช รัตนเศรษฐวิรัช ร่มเย็นวิลาศ จันทร์พิทักษ์วิวรรธนไชย ณ กาฬสินธุ์วิสาร เตชะธีราวัฒน์วิจิตร สุวิทย์วิทยา คุณปลื้มวิทยา แก้วภราดัยวิทยา เทียนทองวิฑูรย์ วงษ์ไกรวิฑูรย์ นามบุตรวินัย สมพงษ์วินัย เสนเนียมวิเชียร ขาวขำวิเชียร คันฉ่องวิเศษ ใจใหญ่วุฒิ สุโกศลวุฒิชัย สงวนวงศ์ชัยวีระกร คำประกอบศิริศักดิ์ อ่อนละมัยสมบัติ รอดโพธิ์ทองสมชาย สุนทรวัฒน์สมชาย เพศประเสริฐสมพร อัศวเหมสมพงษ์ อมรวิวัฒน์สมศักดิ์ ปริศนานันทกุลสมศักดิ์ เกียรติสุรนนท์สมศักดิ์ เทพสุทินสมัคร สุนทรเวชสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรสมาน ภุมมะกาญจนะสมานฉันท์ ชมภูเทพสมุทร มงคลกิติสมคิด นวลเปียนสรอรรถ กลิ่นประทุมสฤต สันติเมทนีดลสวัสดิ์ สืบสายพรหมสวัสดิ์ คำประกอบสัมพันธ์ ทองสมัครสัมพันธ์ เลิศนุวัฒน์สังข์ทอง ศรีธเรศสันติ ชัยวิรัตนะสาวิตต์ โพธิวิหคสำเภา ประจวบเหมาะสุชาติ ตันเจริญสุชาติ แก้วนาโพธิ์สุชาติ โชคชัยวัฒนากรสุชน ชามพูนทสุพัฒน์ ธรรมเพชรสุรพร ดนัยตั้งตระกูลสุรพล เกียรติไชยากรสุรวิทย์ คนสมบูรณ์สุรศักดิ์ เทียมประเสริฐสุรินทร์ พิศสุวรรณสุรเชษฐ์ มาศดิตถ์สุรเชษฐ์ แวอาแซสุวัจน์ ลิปตพัลลภสุวิทย์ คุณกิตติสุวโรช พะลังสุธรรม แสงประทุมสุทัศน์ เงินหมื่นสุดารัตน์ เกยุราพันธุ์สุดิน ภูยุทธานนท์สุนทร วิลาวัลย์สุเมธ พรมพันห่าวสุเทพ อัตถากรสุเทพ เทือกสุบรรณสนั่น ขจรประศาสน์สนธยา คุณปลื้มส่งสุข ภัคเกษมอภิชาติ ตีรสวัสดิชัยอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะอรรถสิทธิ์ (คันคาย) ทรัพยสิทธิ์อรรคพล สรสุชาติอร่ามอาชว์วัต โล่ห์วีระอลงกรณ์ พลบุตรอัญชลี วานิช เทพบุตรอากร ฮุนตระกูลอารยะ ชุมดวงอารีเพ็ญ อุตรสินธุ์อาจอง ชุมสาย ณ อยุธยาอาทิตย์ กำลังเอกอาทิตย์ อุไรรัตน์อาคม เอ่งฉ้วนอานันท์ ปันยารชุนอำนวย สุวรรณคีรีอำนวย ปะติเสอำนาจ ชนะวงศ์อิสสระ สมชัยอิทธิ ศิริลัทธยากรอุทัย พิมพ์ใจชนอุดมศักดิ์ ทั่งทองอุดมศิลป์ ศรีแสงนามอุดมเดช รัตนเสถียรอุดร ตันติสุนทรอดิศร เพียงเกษอดิศักดิ์ โภคกุลกานนท์อนุรักษ์ จุรีมาศอนุวรรตน์ วัฒนพงศ์ศิริจรัส พั้วช่วยจองชัย เที่ยงธรรมจักรพันธุ์ ยมจินดาจังหวัดชลบุรีจังหวัดชัยนาทจังหวัดชุมพรจังหวัดบุรีรัมย์จังหวัดพระนครศรีอยุธยาจังหวัดพะเยาจังหวัดพัทลุงจังหวัดพังงาจังหวัดพิษณุโลกจังหวัดพิจิตรจังหวัดกาญจนบุรีจังหวัดกาฬสินธุ์จังหวัดกำแพงเพชรจังหวัดภูเก็ตจังหวัดมหาสารคามจังหวัดมุกดาหารจังหวัดยะลาจังหวัดยโสธรจังหวัดระยองจังหวัดระนองจังหวัดราชบุรีจังหวัดร้อยเอ็ดจังหวัดลพบุรีจังหวัดลำพูนจังหวัดลำปางจังหวัดศรีสะเกษจังหวัดสกลนครจังหวัดสมุทรสาครจังหวัดสมุทรสงครามจังหวัดสมุทรปราการจังหวัดสระบุรีจังหวัดสิงห์บุรีจังหวัดสุพรรณบุรีจังหวัดสุราษฎร์ธานีจังหวัดสุรินทร์จังหวัดสุโขทัยจังหวัดสงขลาจังหวัดสตูลจังหวัดหนองคายจังหวัดอุบลราชธานีจังหวัดอุทัยธานีจังหวัดอุตรดิตถ์จังหวัดอ่างทองจังหวัดจันทบุรีจังหวัดขอนแก่นจังหวัดตรังจังหวัดตราดจังหวัดตากจังหวัดประจวบคีรีขันธ์จังหวัดปราจีนบุรีจังหวัดปัตตานีจังหวัดปทุมธานีจังหวัดนราธิวาสจังหวัดนครพนมจังหวัดนครราชสีมาจังหวัดนครศรีธรรมราชจังหวัดนครสวรรค์จังหวัดนครปฐมจังหวัดนครนายกจังหวัดนนทบุรีจังหวัดน่านจังหวัดแพร่จังหวัดแม่ฮ่องสอนจังหวัดเชียงรายจังหวัดเชียงใหม่จังหวัดเพชรบุรีจังหวัดเพชรบูรณ์จำลอง ศรีเมืองจำลอง ครุฑขุนทดจำนงค์ โพธิสาโรธวัชวงศ์ ณ เชียงใหม่ธานินทร์ ใจสมุทรธีระวัฒน์ ศิริวันสาณฑ์ธนิต ไตรวุฒิถวิล ฤกษ์หร่ายถวิล จันทร์ประสงค์ถวิล ไพรสณฑ์ทรงศักดิ์ ทองศรีทวิช กลิ่นประทุมทวี สุระบาลทวี ไกรคุปต์ทศพล สังขทรัพย์ทินวัฒน์ มฤคพิทักษ์ขุนทอง ภูผิวเดือนณรงค์ วงศ์วรรณณรงค์ หนานโฮ๊ะ นิยมไทยณรงค์เลิศ สุรพลดุสิต รังคสิริคำรณ ณ ลำพูนตรี ด่านไพบูลย์ฉลาด ขามช่วงฉัตรชัย เอียสกุลประพาส ลิมปะพันธุ์ประภัตร โพธสุธนประมวล สภาวสุประมาณ อดิเรกสารประวัฒน์ อุตโมทประศาสตร์ ทองปากน้ำประสพ บุษราคัมประสาท ตันประเสริฐประสงค์ บูรณ์พงศ์ประสงค์ สุ่นศิริประจวบ ไชยสาส์นประเสริฐ มงคลศิริประเทศไทยประเทือง วิจารณ์ปรีชาประเทือง คำประกอบประเทือง ปานลักษณ์ปราโมทย์ สุขุมปรีชา มุสิกุลปรีชา เร่งสมบูรณ์สุขปวีณา หงสกุลปัญญวัฒน์ บุญมีปัญญา ศรีปัญญาปัญญา จีนาคำปัญจะ เกสรทองปิยะณัฐ วัชราภรณ์ปณวัตร เลี้ยงผ่องพันธุ์นิพิฏฐ์ อินทรสมบัตินิพนธ์ บุญญามณีนิพนธ์ พร้อมพันธุ์นิพนธ์ วิสิษฐยุทธศาสตร์นิภา พริ้งศุลกะนิยม วรปัญญานุกูล ธนิกุลโรช วิภัติภูมิประเทศโสภณ เพชรสว่างไชยยศ สะสมทรัพย์ไชยยศ จิรเมธากรไชยา พรหมาไพศาล ยิ่งสมานไพศาล จันทรภักดีไพจิต ศรีวรขานไพฑูรย์ แก้วทองไพโรจน์ สุวรรณฉวีไพโรจน์ โล่ห์สุนทรไสว พัฒโนไตรรงค์ สุวรรณคีรีเชาวรินธร์ ลัทธศักดิ์ศิริเชาวน์วัศ สุดลาภาเกษม รุ่งธนเกียรติเกียรติชัย ชัยเชาวรัตน์เรวัต สิรินุกุลเรืองวิทย์ ลิกค์เสริมศักดิ์ การุญเสนาะ เทียนทองเอกพร รักความสุขเอกภาพ พลซื่อเอี่ยม ทองใจสดเอนก ทับสุวรรณเผดิมชัย สะสมทรัพย์เจริญ จรรย์โกมลเจริญ คันธวงศ์เจริญ เชาวน์ประยูรเทอดพงษ์ ไชยนันทน์เดช บุญ-หลงเดชา สุขารมณ์เด่น โต๊ะมีนาเงิน บุญสุภาเตือนใจ นุอุปละเฉลิม อยู่บำรุงเฉลิมชัย เอียสกุลเฉลิมพล สนิทวงศ์ชัยเฉลิมยศ แสนวิเศษเนวิน ชิดชอบ13 กันยายน19 พฤษภาคม