ความคล้ายคลึงกันระหว่าง สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 18และสุเทพ เทือกสุบรรณ
สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 18และสุเทพ เทือกสุบรรณ มี 19 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย): ชวน หลีกภัยบัญญัติ บรรทัดฐานชุมพล ศิลปอาชาพรรคชาติไทยพรรคประชาธิปัตย์พรเทพ เตชะไพบูลย์กรุงเทพมหานครวันมูหะมัดนอร์ มะทาสมพงษ์ อมรวิวัฒน์สมุทร มงคลกิติสวัสดิ์ สืบสายพรหมสุวัจน์ ลิปตพัลลภสนั่น ขจรประศาสน์อภิสิทธิ์ เวชชาชีวะจังหวัดสุราษฎร์ธานีประสพ บุษราคัมประเทศไทยเสนาะ เทียนทองเฉลิม อยู่บำรุง
ชวน หลีกภัย
วน หลีกภัย (28 กรกฎาคม พ.ศ. 2481 —) เป็นนายกรัฐมนตรีไทยคนที่ 20 ดำรงตำแหน่งสองสมัย ปัจจุบันเป็นประธานสภาที่ปรึกษาพรรคประชาธิปัต.
ชวน หลีกภัยและสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 18 · ชวน หลีกภัยและสุเทพ เทือกสุบรรณ ·
บัญญัติ บรรทัดฐาน
ัญญัติ บรรทัดฐาน กรรมการที่ปรึกษาพรรคประชาธิปัตย์ อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบบัญชีรายชื่อ สังกัดพรรคประชาธิปัตย์ และอดีตหัวหน้าพรรคประชาธิปัต.
บัญญัติ บรรทัดฐานและสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 18 · บัญญัติ บรรทัดฐานและสุเทพ เทือกสุบรรณ ·
ชุมพล ศิลปอาชา
มพล ศิลปอาชา (6 มิถุนายน พ.ศ. 2483 — 21 มกราคม พ.ศ. 2556) เป็น รองนายกรัฐมนตรี และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา ในรัฐบาลยิ่งลักษณ์ ชินวัตร หัวหน้าพรรคชาติไทยพัฒนา และเคยดำรงตำแหน่งรัฐมนตรีหลายสมัย ตลอดจนตำแหน่งทางการเมืองอื่น ๆ และยังเคยดำรงตำแหน่งนายกสภามหาวิทยาลัยศิลปากร.
ชุมพล ศิลปอาชาและสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 18 · ชุมพล ศิลปอาชาและสุเทพ เทือกสุบรรณ ·
พรรคชาติไทย
รรคชาติไทย (Chart Thai Party) เป็นอดีตพรรคการเมืองในประเทศไทย เคยมีบทบาททางการเมืองระดับชาติช่วงปี..
พรรคชาติไทยและสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 18 · พรรคชาติไทยและสุเทพ เทือกสุบรรณ ·
พรรคประชาธิปัตย์
รรคประชาธิปัตย์ (Democrat Party - DP, ย่อ: ปชป.) ก่อตั้งเมื่อวันที่ 5 เมษายน พ.ศ. 2489 เป็นพรรคการเมืองจดทะเบียนที่เก่าแก่ที่สุดของไทยที่ยังดำเนินการอยู่ พรรคมีสมาชิกที่ได้แจ้งต่อนายทะเบียนพรรคการเมืองไว้ จำนวน 2,895,933 คน นับเป็นพรรคการเมืองที่มีสมาชิกมากที่สุดในประเทศไทย และมีสาขาพรรคจำนวน 175.
พรรคประชาธิปัตย์และสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 18 · พรรคประชาธิปัตย์และสุเทพ เทือกสุบรรณ ·
พรเทพ เตชะไพบูลย์
นายพรเทพ เตชะไพบูลย์ อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงอุตสาหกรรม ในรัฐบาลของนายชวน หลีกภัย (สมัยแรก) และอดีตรองผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร.
พรเทพ เตชะไพบูลย์และสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 18 · พรเทพ เตชะไพบูลย์และสุเทพ เทือกสุบรรณ ·
กรุงเทพมหานคร
กรุงเทพมหานคร เป็นเมืองหลวงและนครที่มีประชากรมากที่สุดของประเทศไทย เป็นศูนย์กลางการปกครอง การศึกษา การคมนาคมขนส่ง การเงินการธนาคาร การพาณิชย์ การสื่อสาร และความเจริญของประเทศ เป็นเมืองที่มีชื่อยาวที่สุดในโลก ตั้งอยู่บนสามเหลี่ยมปากแม่น้ำเจ้าพระยา มีแม่น้ำเจ้าพระยาไหลผ่านและแบ่งเมืองออกเป็น 2 ฝั่ง คือ ฝั่งพระนครและฝั่งธนบุรี กรุงเทพมหานครมีพื้นที่ทั้งหมด 1,568.737 ตร.กม.
กรุงเทพมหานครและสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 18 · กรุงเทพมหานครและสุเทพ เทือกสุบรรณ ·
วันมูหะมัดนอร์ มะทา
วันมูหะมัดนอร์ มะทา นักการเมืองมุสลิม แกนนำกลุ่มวาดะห์ อดีตประธานรัฐสภาและประธานสภาผู้แทนราษฎรคนแรกในประวัติศาสตร์ที่เป็นชาวไทยมุสลิม อดีตรองนายกรัฐมนตรี มีชื่อเรียกกันโดยทั่วไปว่า "วันนอร์" เคยดำรงตำแหน่งสำคัญ เช่น ประธานรัฐสภาและประธานสภาผู้แทนราษฎร รองนายกรัฐมนตรี รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย รัฐมนตรีว่าการกระทรวงคมนาคม (2 สมัย) และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ วันมูหะมัดนอร์ มะทา เป็น อดีต..
วันมูหะมัดนอร์ มะทาและสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 18 · วันมูหะมัดนอร์ มะทาและสุเทพ เทือกสุบรรณ ·
สมพงษ์ อมรวิวัฒน์
นายสมพงษ์ อมรวิวัฒน์ (3 กรกฎาคม พ.ศ. 2484 -) อดีตรองนายกรัฐมนตรี อดีตรัฐมนตรีหลายกระทรวง อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร ระบบสัดส่วน สังกัดพรรคพลังประชาชน อดีตรองหัวหน้าพรรคสามัคคีธรรม และอดีตแกนนำกลุ่ม 16.
สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 18และสมพงษ์ อมรวิวัฒน์ · สมพงษ์ อมรวิวัฒน์และสุเทพ เทือกสุบรรณ ·
สมุทร มงคลกิติ
ร.สมุทร มงคลกิติ เป็นอดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ในรัฐบาลนายชวน หลีกภัย (ชวน 1) อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกรุงเทพมหานคร 4 สมัย และอดีตรองหัวหน้าพรรคพลังธรรม.
สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 18และสมุทร มงคลกิติ · สมุทร มงคลกิติและสุเทพ เทือกสุบรรณ ·
สวัสดิ์ สืบสายพรหม
วัสดิ์ สืบสายพรหม (เกิด 8 มกราคม พ.ศ. 2490) อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ และอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดศรีสะเกษ 4 สมัย และอดีตนายกเทศมนตรีเทศบาลตำบลเมืองขุขัน.
สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 18และสวัสดิ์ สืบสายพรหม · สวัสดิ์ สืบสายพรหมและสุเทพ เทือกสุบรรณ ·
สุวัจน์ ลิปตพัลลภ
วัจน์ ลิปตพัลลภ นายกสภามหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา อดีตรองนายกรัฐมนตรี ในรัฐบาลของดร.ทักษิณ ชินวัตร อดีตรัฐมนตรีว่าการทบวงมหาวิทยาลัย และอดีตรัฐมนตรีว่าการหลายกระทรวง เป็นหนึ่งในแกนนำพรรครวมชาติพัฒนา (ปัจจุบันคือ พรรคชาติพัฒนาเพื่อแผ่นดิน) แต่ไม่ได้ลงสมัครรับเลือกตั้งทั่วไป 23 ธันวาคม พ.ศ. 2550 เนื่องจากถูกตัดสิทธิ์ทางการเมืองเป็นเวลา 5 ปี.
สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 18และสุวัจน์ ลิปตพัลลภ · สุวัจน์ ลิปตพัลลภและสุเทพ เทือกสุบรรณ ·
สนั่น ขจรประศาสน์
ลตรี สนั่น ขจรประศาสน์ (7 กันยายน พ.ศ. 2478 — 15 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2556) อดีตรองนายกรัฐมนตรี แกนนำพรรคชาติไทยพัฒนา และอดีตเลขาธิการพรรคประชาธิปัตย์ เป็นผู้ก่อตั้ง และเคยดำรงตำแหน่งหัวหน้าพรรคมหาชน เคยดำรงตำแหน่งสำคัญในรัฐบาลเป็น รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย กระทรวงอุตสาหกรรม และกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ มีชื่อที่นิยมเรียกกันทั่วไปว่า ".หนั่น".
สนั่น ขจรประศาสน์และสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 18 · สนั่น ขจรประศาสน์และสุเทพ เทือกสุบรรณ ·
อภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ
อภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ หรือชื่อเกิดว่า มาร์ค อภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ (ละติน: Mark Abhisit Vejjajiva) เกิด 3 สิงหาคม..
สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 18และอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ · สุเทพ เทือกสุบรรณและอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ ·
จังหวัดสุราษฎร์ธานี
ังหวัดสุราษฎร์ธานี มักจะเรียกกันด้วยชื่อสั้น ๆ ว่า สุราษฎร์ฯ ใช้อักษรย่อ สฎ เป็นจังหวัดในภาคใต้ตอนบน มีพื้นที่ขนาดใหญ่เป็นอันดับ 6 ของประเทศไทย และมีประชากรหนาแน่นอันดับ 59 ของประเทศ นับเป็นจังหวัดหนึ่งที่มีประวัติศาสตร์ยาวนาน มีหลักฐานทั้งประวัติศาสตร์และโบราณคดีเก่าแก่ และยังมีแหล่งท่องเที่ยวและอุทยานแห่งชาติหลายแห่ง จังหวัดสุราษฎร์ธานีตั้งอยู่ในฝั่งตะวันออกของภาคใต้ โดยมีสภาพภูมิประเทศที่หลากหลายทั้งที่ราบสูง ภูมิประเทศแบบภูเขา รวมทั้งที่ราบชายฝั่ง มีพื้นที่ครอบคลุมถึงในบริเวณอ่าวไทย ทั้งบริเวณที่เป็นทะเลและเป็นเกาะ เกาะในพื้นที่จังหวัดสุราษฎร์ธานีมีทั้งขนาดใหญ่และขนาดเล็กมากถึง 108 เกาะ นับว่ามากที่สุดเป็นอันดับ 3 ของประเทศ รองมาจากจังหวัดพังงาที่มี 155 เกาะ และจังหวัดภูเก็ตที่มี 154 เกาะ เกาะขนาดใหญ่เป็นที่รู้จักเช่น เกาะสมุย เกาะพะงัน เกาะเต่า และหมู่เกาะอ่างทอง เนื่องจากทำเลที่ตั้งจึงได้รับอิทธิพลจากมรสุมตะวันตกเฉียงใต้ ซึ่งเกิดบริเวณทะเลอันดามันบ้างเป็นครั้งคราวเนื่องจากจะมีแนวเทือกเขาตะนาวศรี เทือกเขาภูเก็ต และเทือกเขานครศรีธรรมราช แถบบริเวณจังหวัดระนอง จังหวัดชุมพร จังหวัดพังงา จังหวัดภูเก็ต และจังหวัดนครศรีธรรมราช เป็นแนวช่วยลดอิทธิพลของลมมรสุมดังกล่าว ในทางกลับกันพื้นที่จังหวัดสุราษฎร์ธานีจะได้รับอิทธิพลจากมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือเป็นส่วนใหญ่ มรสุมตะวันออกเฉียงเหนือปกติจะมีแหล่งกำเนิดบริเวณทะเลจีนใต้และอ่าวไทย ทำให้จังหวัดสุราษฎร์ธานีมีช่วงฤดูฝนกินระยะเวลาตั้งแต่เดือนตุลาคมจนถึงเดือนมกราคม ประชากรส่วนใหญ่นับถือศาสนาพุทธ โดยประกอบอาชีพทางด้านการเกษตรเป็นหลัก โดยใช้พิ้นที่ในการทำการเกษตรประมาณร้อยละ 45 ของพื้นที่ทั้งหมด นอกจากนี้ ยังประกอบอาชีพทางด้านปศุสัตว์ ประมง อุตสาหกรรม รวมทั้งมีการทำเหมืองแร่ด้วย ส่วนการเดินทางมายังจังหวัดสุราษฎร์ธานีสามารถใช้ได้หลายเส้นทาง ทั้งทางรถไฟ เครื่องบิน รถโดยสารประจำทาง เรือ และรถยนต์ส่วนบุคคล สถานที่สำคัญภายในจังหวัดนั้น มีทั้งแหล่งโบราณสถาน เช่น พระบรมธาตุไชยา พระธาตุศรีสุราษฎร์ พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ ไชยา ซากเมืองโบราณสมัยอาณาจักรศรีวิชัย แหล่งท่องเที่ยวทางธรรมชาติ ได้แก่ อุทยานแห่งชาติทั้งอุทยานแห่งชาติทางบก และอุทยานแห่งชาติทางทะเล น้ำตก เกาะ แม่น้ำ เขื่อน วัด และพระอารามหลวง เป็นต้นและยังเป็นแหล่งสืบสานประเพณีที่สำคัญของชาวใต้ คือประเพณีชักพระ ทอดผ้าป่าและแข่งขันเรือยาวชิงถ้วยพระราชทานอีกด้วย นอกจากนี้ ยังมีผลิตผลและผลิตภัณฑ์ทางการเกษตรที่เป็นที่รู้จัก เช่น ไข่เค็มไชยา หอยนางรม และเงาะโรงเรียน ดังที่ปรากฏในคำขวัญของจังหวั.
จังหวัดสุราษฎร์ธานีและสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 18 · จังหวัดสุราษฎร์ธานีและสุเทพ เทือกสุบรรณ ·
ประสพ บุษราคัม
นายประสพ บุษราคัม (เกิด 26 พฤศจิกายน พ.ศ. 2484) อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ และ อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดอุดรธานี 6 สมั.
ประสพ บุษราคัมและสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 18 · ประสพ บุษราคัมและสุเทพ เทือกสุบรรณ ·
ประเทศไทย
ประเทศไทย มีชื่ออย่างเป็นทางราชการว่า ราชอาณาจักรไทย เป็นรัฐชาติอันตั้งอยู่ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เดิมมีชื่อว่า "สยาม" รัฐบาลประกาศเปลี่ยนชื่อเป็นประเทศไทยอย่างเป็นทางการตั้งแต่ปี 2482 ประเทศไทยมีขนาดใหญ่เป็นอันดับที่ 50 ของโลก มีเนื้อที่ 513,115 ตารางกิโลเมตร และมีประชากรมากเป็นอันดับที่ 20 ของโลก คือ ประมาณ 66 ล้านคน กรุงเทพมหานครเป็นศูนย์กลางการบริหารราชการแผ่นดินและนครใหญ่สุดของประเทศ และการปกครองส่วนภูมิภาค จัดระเบียบเป็น 76 จังหวัด แม้จะมีการสถาปนาระบอบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญและประชาธิปไตยระบบรัฐสภาในปี 2475 แต่กองทัพยังมีบทบาทในการเมืองไทยสูง ล่าสุด เกิดรัฐประหารเมื่อวันที่ 22 พฤษภาคม 2557 และมีการปกครองแบบเผด็จการทหารนับแต่นั้น พบหลักฐานการอยู่อาศัยอย่างต่อเนื่องในอาณาเขตประเทศไทยปัจจุบันตั้งแต่ 20,000 ปีก่อนคริสตกาล ชาวไทเริ่มอพยพเข้าสู่บริเวณนี้ในคริสต์ศตวรรษที่ 11 แล้วเข้ามาตั้งแว่นแคว้นต่าง ๆ ที่สำคัญได้แก่ อาณาจักรสุโขทัย อาณาจักรล้านนาและอาณาจักรอยุธยา นักประวัติศาสตร์มักถือว่าอาณาจักรสุโขทัยเป็นจุดเริ่มต้นของประวัติศาสตร์ไทย ต่อมาอาณาจักรอยุธยาค่อย ๆ เรืองอำนาจมากขึ้นจนเป็นมหาอำนาจในภูมิภาคในปลายคริสต์ศตวรรษที่ 14 การติดต่อกับชาติตะวันตกเริ่มด้วยผู้แทนทางทูตชาวโปรตุเกสในปี 2054 อาณาจักรรุ่งเรืองอย่างมากในรัชกาลสมเด็จพระนารายณ์มหาราช (ครองราชย์ปี 2199–2231) แต่หลังจากนั้นค่อย ๆ เสื่อมอำนาจโดยมีสาเหตุส่วนหนึ่งจากการผลัดแผ่นดินที่มีการนองเลือดหลายรัชกาล จนสุดท้ายกรุงศรีอยุธยาถูกทำลายสิ้นเชิงในปี 2310 สมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรีทรงรวบรวมแผ่นดินที่แตกออกเป็นก๊กต่าง ๆ และสถาปนาอาณาจักรธนบุรีที่มีอายุ 15 ปี ความวุ่นวายในช่วงปลายอาณาจักรนำไปสู่การสำเร็จโทษพระองค์โดยพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช ปฐมราชวงศ์จักรีแห่งกรุงรัตนโกสินทร์ ช่วงต้นกรุงรัตนโกสินทร์ ประเทศเผชิญภัยคุกคามจากชาติใกล้เคียง แต่หลังรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวเป็นต้นมา ชาติตะวันตกเริ่มมีอิทธิพลในภูมิภาคเป็นอย่างมาก นำไปสู่การเข้าเป็นภาคีแห่งสนธิสัญญาไม่เป็นธรรมหลายฉบับ กระนั้น สยามไม่ตกเป็นอาณานิคมของตะวันตกชาติใด มีการปรับให้สยามทันสมัยและรวมอำนาจปกครองในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (ครองราชย์ปี 2411–53) สยามเข้าร่วมกับฝ่ายสัมพันธมิตรในสงครามโลกครั้งที่หนึ่งในปี 2460; ในปี 2475 เกิดการปฏิวัติเปลี่ยนแปลงการปกครองสู่ระบอบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญโดยไม่เสียเลือดเนื้อ คณะราษฎรมีบทบาทนำทางการเมือง และในพุทธทศวรรษ 2480 นายกรัฐมนตรี จอมพล แปลก พิบูลสงคราม ดำเนินนโยบายชาตินิยมเข้มข้น ระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง ไทยเข้ากับฝ่ายอักษะ แต่ฝ่ายสัมพันธมิตรส่วนใหญ่ไม่ยอมรับการประกาศสงคราม ในช่วงสงครามเย็น ประเทศไทยเป็นพันธมิตรกับสหรัฐซึ่งสนับสนุนรัฐบาลทหารมาก รัฐประหารที่มีจอมพล สฤษดิ์ ธนะรัชต์เป็นหัวหน้าคณะในปี 2500 ทำให้คณะราษฎรหมดอำนาจ รัฐบาลฟื้นฟูพระราชอำนาจและมีมาตรการต่อต้านคอมมิวนิสต์ในภูมิภาค ผลของเหตุการณ์ 14 ตุลา 2516 ทำให้เกิดประชาธิปไตยระบบรัฐสภาช่วงสั้น ๆ ประเทศไทยมีนายกรัฐมนตรีจากการเลือกตั้งครั้งแรกในปี 2531 หลังพุทธทศวรรษ 2540 มีวิกฤตการเมืองระหว่างฝ่ายที่สนับสนุนและต่อต้านอดีตนายกรัฐมนตรีทักษิณ ชินวัตรมาจนปัจจุบัน รวมทั้งเกิดรัฐประหารสองครั้ง โดยครั้งล่าสุดเกิดในปี 2557 รัฐธรรมนูญฉบับปัจจุบันเป็นฉบับที่ 20 ประกาศใช้เมื่อวันที่ 6 เมษายน 2560 หลังมีการลงประชามติรับร่างเมื่อหนึ่งปีก่อน ประเทศไทยเป็นสมาชิกสหประชาชาติ เอเปก อีกทั้งเป็นร่วมผู้ก่อตั้งอาเซียน ประเทศไทยเป็นพันธมิตรของสหรัฐตั้งแต่สนธิสัญญาซีโต้ในปี 2497 ถือเป็นประเทศอำนาจนำภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และประเทศอำนาจปานกลางในเวทีโลก ประเทศไทยเป็นประเทศที่มีรายได้ปานกลาง-สูงและประเทศอุตสาหกรรมใหม่ มีรายได้หลักจากภาคอุตสาหกรรมและบริการ การเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจทำให้มีการอพยพเข้าสู่เมืองในคริสต์ศตวรรษที่ 20 ตามประมาณการในปี 2560 จีดีพีของประเทศไทยมีมูลค่าราว 432,898 ล้านดอลลาร์สหรัฐ นับว่าเศรษฐกิจไทยเป็นเศรษฐกิจใหญ่สุดเป็นอันดับ 2 ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และใหญ่เป็นอันดับที่ 26 ของโลก.
ประเทศไทยและสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 18 · ประเทศไทยและสุเทพ เทือกสุบรรณ ·
เสนาะ เทียนทอง
นายกองใหญ่ เสนาะ เทียนทอง (1 เมษายน พ.ศ. 2477 —) อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร แบบบัญชีรายชื่อ สังกัดพรรคเพื่อไทย อดีตหัวหน้าพรรคประชาราช ผู้นำ..
สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 18และเสนาะ เทียนทอง · สุเทพ เทือกสุบรรณและเสนาะ เทียนทอง ·
เฉลิม อยู่บำรุง
ร้อยตำรวจเอก เฉลิม อยู่บำรุง นักการเมืองไทย สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรฝั่งธนบุรีหลายสมัย อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงแรงงาน อดีตรองนายกรัฐมนตรีและสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบบัญชีรายชื่อ สังกัดพรรคเพื่อไทย อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย รัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรม รัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี และหัวหน้าพรรคมวลชน ระหว่างวันที่ 21 มกราคม 2557 ถึง 18 มีนาคม 2557 เขาเป็นผู้อำนวยการศูนย์รักษาความสงบ ตามคำสั่งคำสั่งที่ พิเศษ 1/2557 เรื่องจัดตั้งศูนย์รักษาความสงบ โดย ยิ่งลักษณ์ ชินวัตร.
สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 18และเฉลิม อยู่บำรุง · สุเทพ เทือกสุบรรณและเฉลิม อยู่บำรุง ·
รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้
- สิ่งที่ สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 18และสุเทพ เทือกสุบรรณ มีเหมือนกัน
- อะไรคือความคล้ายคลึงกันระหว่าง สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 18และสุเทพ เทือกสุบรรณ
การเปรียบเทียบระหว่าง สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 18และสุเทพ เทือกสุบรรณ
สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 18 มี 364 ความสัมพันธ์ขณะที่ สุเทพ เทือกสุบรรณ มี 90 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 19, ดัชนี Jaccard คือ 4.19% = 19 / (364 + 90)
การอ้างอิง
บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 18และสุเทพ เทือกสุบรรณ หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่: