โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

จังหวัดแพร่

ดัชนี จังหวัดแพร่

ังหวัดแพร่ (25px) เป็นจังหวัดในภาคเหนือตอนบนของประเทศไทย อดีตนครรัฐอิสระขนาดเล็ก มีลักษณะภูมิประเทศเป็นที่ราบระหว่างภูเขา โดยมีทิวเขาล้อมรอบ และมีแม่น้ำสายสำคัญไหลผ่านคือแม่น้ำยม.

127 ความสัมพันธ์: บัวเขียว รังคสิริชูวิทย์ จิตรสกุลบ้านวงศ์พระถางบ้านขัติยะวราพ.ศ. 2549พญาพลพรรคไทยรักไทยพระมหาโพธิวงศาจารย์ (สุจี กตสาโร)พระมหาเมธังกร (พรหม พฺรหฺมเทโว)พระอารามหลวงพระอุบาลีคุณูปมาจารย์ (ฟู อตฺตสิโว)พระครูวิจิตรนวการโกศล (สมจิต จิตฺตคุตฺโต)พระเจ้าติโลกราชพฤษภาคมพิจักขณา วงศารัตนศิลป์พ่อขุนรามคำแหงมหาราชกระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬากรุงเทพกรุงเทพมหานครกรุงเทพธุรกิจภาษาบาลีภาคเหนือ (ประเทศไทย)ม.3 ปี 4 เรารักนายมหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ เฉลิมพระเกียรติมานิต นพอมรบดีมณเฑียร บุญตันยมหินยิ่งลักษณ์ ชินวัตรรัญญา ศิยานนท์รายชื่อวัดในจังหวัดแพร่รายชื่อคำขวัญประจำจังหวัดรายชื่อโรงเรียนในจังหวัดแพร่รายพระนามเจ้าผู้ครองนครแพร่วรวัจน์ เอื้ออภิญญกุลวราพรรณ หงุ่ยตระกูลวัดพระบาทมิ่งเมืองวรวิหารวัดพระหลวงธาตุเนิ้งวัดพระธาตุช่อแฮวัดพระธาตุสุโทนมงคลคีรีสามัคคีธรรมวัดพระธาตุจอมแจ้งวัดพระนอนวัดพงษ์สุนันท์วัดศรีชุมวัดสะแล่งวัดหัวข่วงวัดจอมสวรรค์วิภาต บุญศรี วังซ้ายวิทยาลัยชุมชนแพร่วุฒิสภาศรีวิไจย (โข้)...ศักราช ฤกษ์ธำรงค์ศักดิ์ เตชาชาญศิริวรรณ ปราศจากศัตรูสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรสามโทนสิงห์หนุ่ม ชูวัฒนะสีแดงสีเขียวสถานีรถไฟเด่นชัยหมู่บ้านหลวงพระบางอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะอักษรธรรมล้านนาอาณาจักรล้านนาอำเภออำเภอร้องกวางอำเภอลองอำเภอวังชิ้นอำเภอสองอำเภอสูงเม่นอำเภอหนองม่วงไข่อำเภอปงอำเภอเมืองแพร่อำเภอเด่นชัยอุทยานแห่งชาติแม่ยมอุทยานแห่งชาติเวียงโกศัยอดิศร อรรถกฤษณ์อนุสรณ์ ธรรมใจจังหวัดจังหวัดพะเยาจังหวัดลำพูนจังหวัดลำปางจังหวัดสุโขทัยจังหวัดอุตรดิตถ์จังหวัดของประเทศไทยจังหวัดน่านจังหวัดแพร่จังหวัดเชียงรายจังหวัดเชียงใหม่ทรู อะคาเดมี่ แฟนเทเชียทรู อะคาเดมี่ แฟนเทเชีย ซีซั่นที่ 6ทรู อะคาเดมี่ แฟนเทเชีย ซีซั่นที่ 9ทศพร เสรีรักษ์ท่าอากาศยานดอนเมืองณรงค์ วงศ์วรรณดุสิต รังคสิริครูบากัญจนอรัญญวาสีมหาเถรคุ้มวิชัยราชาคุ้มวงศ์บุรีคุ้มเจ้าหลวง (นครแพร่)คุ้มเจ้าหนานไชยวงศ์คณิน บัดติยาตารางกิโลเมตรตำบลประนอม ทาแปงประเสริฐ ณ นครประเทศไทยปานหทัย เสรีรักษ์นกแอร์นิยม วิวรรธนดิฐกุลนิคม จันทรวิทุรนครรัฐแพร่แม่น้ำยมโชติ แพร่พันธุ์โรงเรียนพิริยาลัยจังหวัดแพร่โรงเรียนพุทธโกศัยวิทยาโรงเรียนมารดาอุปถัมภ์โรงเรียนร้องกวางอนุสรณ์โรงเรียนวังชิ้นวิทยาโรงเรียนวิไลเกียรติอุปถัมภ์โรงเรียนนารีรัตน์จังหวัดแพร่โอฬาร ไชยประวัติเอเอสทีวีผู้จัดการเจ้าพิริยเทพวงษ์เจ้าวงศ์ แสนศิริพันธุ์เทศบาลเมืองแพร่19 ขยายดัชนี (77 มากกว่า) »

บัวเขียว รังคสิริ

ณหญิงบัวเขียว รังคสิริ อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดแพร่ 2 สมั.

ใหม่!!: จังหวัดแพร่และบัวเขียว รังคสิริ · ดูเพิ่มเติม »

ชูวิทย์ จิตรสกุล

นายชูวิทย์ จิตรสกุล อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดแพร่ 2 สมั.

ใหม่!!: จังหวัดแพร่และชูวิทย์ จิตรสกุล · ดูเพิ่มเติม »

บ้านวงศ์พระถาง

้านวงศ์พระถาง ตั้งอยู่ที่ถนนเจริญเมือง ตำบลในเวียง อำเภอเมือง จังหวัดแพร่ ซึ่งเป็นแหล่งการค้าที่สำคัญของเมืองแพร่ในอดีต เป็นบ้านของเจ้าเสาร์ วงศ์พระถาง อดีตข้าราชการกรมป่าไม้ (น้องชายของหลวงพงษ์พิบูลย์ (เจ้าพรหม วงศ์พระถาง) อดีตกรมการพิเศษจังหวัดแพร่ และเป็นบุตรเขยแม่เจ้าบัวถา มหายศปัญญา ชายาองค์แรกในเจ้าหลวงพิริยเทพวงศ์) ผู้สืบเชื้อสายมาจากอดีตเจ้าผู้ครองนครแพร.

ใหม่!!: จังหวัดแพร่และบ้านวงศ์พระถาง · ดูเพิ่มเติม »

บ้านขัติยะวรา

้านขัติยะวรา ตั้งอยู่เขตกำแพงเมืองเกำแพร่ (ถนนหลังเรือนจำจังหวัดแพร่) อำเภอเมือง จังหวัดแพร่ เป็นบ้านของเจ้าน้อยโข้ และเจ้าอ่อน ขัติยะวรา ผู้สืบเชื้อสายมาจากอดีตเจ้าผู้ครองนครแพร.

ใหม่!!: จังหวัดแพร่และบ้านขัติยะวรา · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2549

ทธศักราช 2549 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2006 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ใหม่!!: จังหวัดแพร่และพ.ศ. 2549 · ดูเพิ่มเติม »

พญาพล

ญาพล หรือ พ่อขุนหลวงพล ทรงเป็นปฐมกษัตริย์แห่งนครรัฐแพร่ และทรงเป็นราชนัดดาแห่งกษัตริย์น่านเจ้.

ใหม่!!: จังหวัดแพร่และพญาพล · ดูเพิ่มเติม »

พรรคไทยรักไทย

รรคไทยรักไทย จดทะเบียนก่อตั้งเมื่อวันที่ 14 กรกฎาคม พ.ศ. 2541 เป็นพรรคการเมืองแรกที่ก่อตั้งขึ้นภายใต้ รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540 โดยมีผู้ร่วมก่อตั้ง 23 คน นำโดย ดร.ทักษิณ ชินวัตร ปัจจุบันพรรคไทยรักไทย ถูกยุบตามคำวินิจฉัยใน คดียุบพรรค มีหัวหน้าพรรคคนสุดท้ายคือ จาตุรนต์ ฉายแสง พรรคไทยรักไทยมีสมาชิกพรรคที่แจ้งต่อนายทะเบียนพรรคการเมือง ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2548 ถึงประมาณ 14 ล้านคน (14,394,404 คน) พรรคไทยรักไทย เป็นพรรคการเมืองแรก ที่ผู้สมัครได้รับเลือกตั้ง เป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เกินกึ่งหนึ่งของจำนวน..ทั้งหมด ในการเลือกตั้งทั่วไป พ.ศ. 2548 โดยได้รับการเลือกตั้งถึง 376 ที่นั่ง จากจำนวนที่นั่งในสภาผู้แทนราษฎร 500 ที่นั่ง เอาชนะพรรคคู่แข่งคือ พรรคประชาธิปัตย์ที่ได้เพียง 96 ที่นั่ง ทำให้เป็นพรรคการเมืองแรก ที่สามารถจัดตั้งรัฐบาลพรรคเดียวได้สำเร็จ การบริหารงานของ พรรคไทยรักไทย เป็นที่รับทราบโดยทั่วไป ในการเน้นนโยบายประชานิยมผ่านโครงการต่างๆ ที่เคยหาเสียงไว้ เช่น โครงการกองทุนหมู่บ้าน โครงการ 30 บาทรักษาทุกโรค โครงการพักชำระหนี้เกษตรกร โครงการหนึ่งตำบลหนึ่งผลิตภัณฑ์ และ บ้านเอื้ออาทร แต่หลายโครงการมีปัญหาในการดำเนินการ และมีคำถามเรื่องความโปร่งใส และความพร้อมตรวจสอบ พรรคไทยรักไทย ถูกตุลาการรัฐธรรมนูญวินิจฉัยให้ยุบพรรค ด้วยมติเอกฉันท์ 9 ต่อ 0 เสียง เมื่อวันที่ 30 พฤษภาคม พ.ศ. 2550 และ กรรมการบริหารพรรคไทยรักไทย ถูกวินิจฉัยเพิกถอนสิทธิ์ทางการเมือง เป็นเวลา 5 ปี ด้วยมติ 6 ต่อ 3 เสียง.

ใหม่!!: จังหวัดแพร่และพรรคไทยรักไทย · ดูเพิ่มเติม »

พระมหาโพธิวงศาจารย์ (สุจี กตสาโร)

ระมหาโพธิวงศาจารย์ นามเดิม สุจี ขรวงค์ ฉายา กตสาโร หรือ ตุ๊ปู่จี๋ อดีตที่ปรึกษาเจ้าคณะภาค 6 อดีตประธานสภาวิทยาเขตแพร่ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย และอดีตเจ้าอาวาสวัดพระบาทมิ่งเมืองวรวิหาร พระนักการศึกษาแห่งแผ่นดินล้านน.

ใหม่!!: จังหวัดแพร่และพระมหาโพธิวงศาจารย์ (สุจี กตสาโร) · ดูเพิ่มเติม »

พระมหาเมธังกร (พรหม พฺรหฺมเทโว)

ระมหาเมธังกร นามเดิม พรหม เกศทับทิม ฉายา พฺรหฺมเทโว อดีตเจ้าอาวาสวัดเมธังกราวาส (วัดน้ำคือ) และอดีตเจ้าคณะจังหวัดแพร่ เป็นพระสงฆ์ที่นำระบบการปกครองคณะสงฆ์ตามพระราชบัญญัติคณะสงฆ์ พ.ศ. 2446 มาเผยแพร่ในจังหวัดแพร่ เจ้าคุณพระมหาเมธังกรนับว่าเป็นพระเถระผู้ทรงคุณสมบัติยิ่งของชาวจังหวัดแพร่ที่ลูกหลานชาวแพร่และชาวล้านนา ทุกคนจะรำลึกถึงความดีของท่านที่ได้กระทำไว้และประพฤติปฏิบัติสืบทอดเจตนารมณ์ของท่าน สืบไป.

ใหม่!!: จังหวัดแพร่และพระมหาเมธังกร (พรหม พฺรหฺมเทโว) · ดูเพิ่มเติม »

พระอารามหลวง

ระอารามหลวง หรือ วัดหลวง คือ วัดที่พระมหากษัตริย์หรือพระบรมวงศานุวงศ์ทรงสร้างหรือทรงบูรณปฏิสังขรณ์ หรือมีผู้สร้างน้อมเกล้าน้อมกระหม่อมถวายเป็นวัดหลวง และวัดที่ราษฎรสร้าง หรือบูรณปฏิสังขรณ์ แล้วทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้เข้าจำนวนในบัญชีเป็นพระอารามหลวง.

ใหม่!!: จังหวัดแพร่และพระอารามหลวง · ดูเพิ่มเติม »

พระอุบาลีคุณูปมาจารย์ (ฟู อตฺตสิโว)

ระอุบาลีคุณูปมาจารย์ นามเดิม ฟู บรรเลง ฉายา อตฺตสิโว เป็นรองสมเด็จพระราชาคณะ ฝ่ายมหานิกาย อดีตเจ้าอาวาสวัดพระบาทมิ่งเมืองวรวิหาร จังหวัดแพร่ และวัดพระสิงห์วรมหาวิหาร จังหวัดเชียงใหม่ และเจ้าคณะตรวจการภาค 4 และ 5 พระอุบาลีคุณูปมาจารย์ ได้ขึ้นไปจัดการศึกษาพระปริยัตรธรรมที่จังหวัดเชียงใหม่ ระหว่าง..

ใหม่!!: จังหวัดแพร่และพระอุบาลีคุณูปมาจารย์ (ฟู อตฺตสิโว) · ดูเพิ่มเติม »

พระครูวิจิตรนวการโกศล (สมจิต จิตฺตคุตฺโต)

ระครูวิจิตรนวการโกศล (สมจิต จิตฺตคุตฺโต) หรือ ครูบาสมจิต อดีตเจ้าอาวาสวัดสะแล่ง อดีตเจ้าคณะตำบลหัวยอ้อ เขต 1 และอดีตที่ปรึกษาเจ้าคณะอำเภอลอง พระสงฆ์นักปฏิบัติ นักพัฒนาแห่งจังหวัดแพร.

ใหม่!!: จังหวัดแพร่และพระครูวิจิตรนวการโกศล (สมจิต จิตฺตคุตฺโต) · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าติโลกราช

ระเจ้าติโลกราช (120px) (พ.ศ. 1952 – พ.ศ. 2030) พระมหากษัตริย์ล้านนาแห่งราชวงศ์มังรายพระองค์ที่ 9 ครองราชย์ พ.ศ. 1985 – พ.ศ. 2030 พระนามเดิมคือ "เจ้าลก" เนื่องจากเป็นพระโอรสองค์ที่ 6 ในพญาสามฝั่งแกน (ลก ในภาษาไทเดิม มีความหมายว่า ลำดับที่ 6) ร่วมรัชสมัยสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถแห่งกรุงศรีอ.

ใหม่!!: จังหวัดแพร่และพระเจ้าติโลกราช · ดูเพิ่มเติม »

พฤษภาคม

ษภาคม เป็นเดือนที่ 5 ของปี ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็นหนึ่งในเดือน 7 เดือนที่มี 31 วัน ตามหลักโหราศาสตร์ เดือนพฤษภาคมเริ่มต้นขึ้นเมื่อดวงอาทิตย์ยกเข้าสู่ราศีพฤษภ และสิ้นสุดเมื่อยกเข้าสู่ราศีเมถุน แต่ในทางดาราศาสตร์ ต้นเดือนพฤษภาคมดวงอาทิตย์อยู่ในกลุ่มดาวแกะและปลายเดือนไปอยู่ในกลุ่มดาววัว ชื่อในภาษาอังกฤษ "May" อาจมีที่มาจากเทพเจ้ากรีกนามว่า ไมอา (Maia) ซึ่งโรมันถือเป็นเทพเจ้าแห่งความอุดมสมบูรณ์ ส่วนในประเทศไทยเริ่มใช้ชื่อเดือนพฤษภาคมในปี พ.ศ. 2432 ตรงกับสมัยรัชกาลที่ 5 โดยสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอกรมพระยาเทววงศ์วโรปการ เป็นผู้เสนอให้ใช้ราศีกำหนดชื่อเดือน.

ใหม่!!: จังหวัดแพร่และพฤษภาคม · ดูเพิ่มเติม »

พิจักขณา วงศารัตนศิลป์

ักขณา วงศารัตนศิลป์ (เกิด 30 สิงหาคม 2534) ชื่อเล่น น้ำตาล เป็นนักแสดงและนางแบบชาวไทย มีชื่อเสียงจากการเป็นเน็ตไอดอล และการแสดงนำในละครเรื่อง มัจจุราชสีน้ำผึ้ง เมื่อปี 2556 ซึ่งเป็นผลงานละครเรื่องแรกของเธอ.

ใหม่!!: จังหวัดแพร่และพิจักขณา วงศารัตนศิลป์ · ดูเพิ่มเติม »

พ่อขุนรามคำแหงมหาราช

อขุนรามคำแหงมหาราช หรือ พญาร่วง หรือ พระบาทกมรเตงอัญศรีรามราช เป็นพระมหากษัตริย์พระองค์ที่ 3 ในราชวงศ์พระร่วงแห่งราชอาณาจักรสุโขทัย เสวยราชย์ประมาณ พ.ศ. 1822 ถึงประมาณ พ.ศ. 1841 พระองค์ทรงเป็นกษัตริย์พระองค์แรกของไทยที่ได้รับการยกย่องเป็น "มหาราช" ด้วยทรงบำเพ็ญพระราชกรณียกิจอันทรงคุณประโยชน์แก่แผ่นดิน ทรงรวบรวมอาณาจักรไทยจนเป็นปึกแผ่นกว้างขวาง ทั้งยังได้ทรงประดิษฐ์ตัวอักษรไทยขึ้น ทำให้ชาติไทยได้สะสมความรู้ทางศิลปะ วัฒนธรรม และวิชาการต่าง ๆ สืบทอดกันมากว่าเจ็ดร้อยปี:3.

ใหม่!!: จังหวัดแพร่และพ่อขุนรามคำแหงมหาราช · ดูเพิ่มเติม »

กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา

กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา (Ministry of Tourism and Sports) เป็นหน่วยงานราชการไทยประเภทกระทรวง มีอำนาจหน้าที่เกี่ยวกับการส่งเสริมสนับสนุน และพัฒนาอุตสาหกรรมการท่องเที่ยว การกีฬา การศึกษาด้านกีฬา นันทนาการ และราชการอื่นตามที่กฎหมายกำหนด ให้อำนาจหน้าที่ของกระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬ.

ใหม่!!: จังหวัดแพร่และกระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา · ดูเพิ่มเติม »

กรุงเทพ

กรุงเทพ อาจหมายถึง; ดินแดนและการปกครอง.

ใหม่!!: จังหวัดแพร่และกรุงเทพ · ดูเพิ่มเติม »

กรุงเทพมหานคร

กรุงเทพมหานคร เป็นเมืองหลวงและนครที่มีประชากรมากที่สุดของประเทศไทย เป็นศูนย์กลางการปกครอง การศึกษา การคมนาคมขนส่ง การเงินการธนาคาร การพาณิชย์ การสื่อสาร และความเจริญของประเทศ เป็นเมืองที่มีชื่อยาวที่สุดในโลก ตั้งอยู่บนสามเหลี่ยมปากแม่น้ำเจ้าพระยา มีแม่น้ำเจ้าพระยาไหลผ่านและแบ่งเมืองออกเป็น 2 ฝั่ง คือ ฝั่งพระนครและฝั่งธนบุรี กรุงเทพมหานครมีพื้นที่ทั้งหมด 1,568.737 ตร.กม.

ใหม่!!: จังหวัดแพร่และกรุงเทพมหานคร · ดูเพิ่มเติม »

กรุงเทพธุรกิจ

กรุงเทพธุรกิจ ก่อตั้งเมื่อวันที่ 6 ตุลาคม พ.ศ. 2530 ในเครือเนชั่น มัลติมีเดีย กรุ๊ป เป็นหนังสือพิมพ์ธุรกิจรายวันฉบับแรกของไทย ที่นำเสนอข้อมูล ข่าวสาร การวิเคราะห์ ทั้งด้านธุรกิจ การเงิน การค้า การลงทุน ประกอบด้วยเนื้อหาด้านการบริหารจัดการ ความรู้ วิทยาการและเทคโนโลยีใหม่ ๆ ตลอดจนแนวทางการจัดการธุรกิจในโลกยุคใหม.

ใหม่!!: จังหวัดแพร่และกรุงเทพธุรกิจ · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาบาลี

ษาบาลี (ปาลิ; पाऴि); (Pali) เป็นภาษาที่เก่าแก่ภาษาหนึ่ง ในตระกูลอินเดีย-ยุโรป (อินโด-ยูโรเปียน) ในสาขาย่อย อินเดีย-อิหร่าน (อินโด-อิเรเนียน) ซึ่งจัดเป็นภาษาปรากฤตภาษาหนึ่ง เป็นที่รู้จักกันดีในฐานะเป็นภาษาที่ใช้บันทึกคัมภีร์ในพระพุทธศาสนานิกายเถรวาท (มี พระไตรปิฎก เป็นต้น) โดยมีลักษณะทางไวยากรณ์ และคำศัพท์ที่คล้ายคลึงกับภาษาสันสกฤต ไม่มีอักษรชนิดใดสำหรับใช้เขียนภาษาบาลีโดยเฉพาะ มีหลักฐานจารึกภาษาบาลีด้วยอักษรต่าง ๆ มากมายในตระกูลอักษรอินเดีย เช่น อักษรพราหมี อักษรเทวนาครี จนถึง อักษรล้านนา อักษรขอม อักษรไทย อักษรมอญ แม้กระทั่งอักษรโรมัน (โดยมีการเพิ่มเครื่องหมายเล็กน้อย) ก็สามารถใช้เขียนภาษาบาลีได้ อนึ่ง บางตำราสะกด “บาลี” ว่า “ปาฬิ” หรือ “ปาฬี” ก็มี.

ใหม่!!: จังหวัดแพร่และภาษาบาลี · ดูเพิ่มเติม »

ภาคเหนือ (ประเทศไทย)

หนือ เป็นภูมิภาคที่อยู่ด้านบนสุดของไทย มีลักษณะภูมิประเทศอันประกอบไปด้วยเทือกเขาสลับซับซ้อน ต่อเนื่องมาจากทิวเขาฉานโยมาในประเทศพม่าและประเทศลาว ภาคเหนือมีภูมิอากาศแบบทุ่งหญ้าสะวันนา เหมือนกับพื้นที่ส่วนใหญ่ของประเทศ การที่มีพื้นที่อยู่เหนือระดับน้ำทะเลและมีเส้นละติจูดอยู่ตอนบนทำให้สภาพอากาศของภาคเหนือเปลี่ยนแปลงตามฤดูกาลอย่างเห็นได้ชัด เช่น มีฤดูหนาวที่หนาวเย็นกว่าภูมิภาคอื่น ๆ ทางด้านประวัติศาสตร์ของภาคเหนือมีความสัมพันธ์ทางวัฒนธรรมกับอาณาจักรล้านน.

ใหม่!!: จังหวัดแพร่และภาคเหนือ (ประเทศไทย) · ดูเพิ่มเติม »

ม.3 ปี 4 เรารักนาย

ม.3 ปี 4 เรารักนาย เป็นภาพยนตร์ไทย ออกฉายวันที่ 30 เมษายน พ.ศ. 2552 กำกับโดยเหมันต์ เชตมี นำแสดงโดย บัว - สโรชา ตันจรารักษ์, คูณ - คณิน บัดติยา, แจม - ชลธร ปรัชญารุ่งโรจน์ จากวง ซิสก้า (Siska), ป๊อป - ศุภสิทธิ์ ชินวินิจกุล, จุรี โอศิริ และเพ็ญพักตร์ ศิริกุล มีเรื่องราวเกี่ยวกับ "แรกรัก" และ "รักแรก" ที่สะท้อนการใช้ชีวิตของวัยรุ่นหนุ่มสาว และมีเอ็มเอสเอ็นที่มีอิทธิพลต่อชีวิต ในบรรยากาศของเมืองภูเก็ต และ แหลมพรหมเทพ นักแสดงนำจะเป็นหน้าใหม่ทั้งหมด ใช้เวลาคัดเลือกนานกว่า 6 เดือน ซึ่งถ้านับตั้งแต่เริ่มโครงการใช้เวลาทำงานร่วม 2 ปี แต่ถ่ายทำจริงเป็นเวลา 3 เดือน ภาพยนตร์ทำรายได้ 19.3 ล้านบาท.

ใหม่!!: จังหวัดแพร่และม.3 ปี 4 เรารักนาย · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ เฉลิมพระเกียรติ

มหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ เฉลิมพระเกียรติ เป็นสถานศึกษาในสังกัดมหาวิทยาลัยแม่โจ้ ก่อตั้งขึ้นในปี พ.ศ. 2542 ตั้งอยู่ที่ตำบลแม่ทราย อำเภอร้องกวาง จังหวัดแพร่ ในปีการศึกษา 2555 มีจำนวนนักศึกษาทั้งสิ้น 1,851 คน.

ใหม่!!: จังหวัดแพร่และมหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ เฉลิมพระเกียรติ · ดูเพิ่มเติม »

มานิต นพอมรบดี

นายมานิต นพอมรบดี รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงสาธารณสุขในรัฐบาลของนายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดราชบุรี เขต 1 พรรคภูมิใจไทย แต่ภูมิลำเนาเป็นคนจังหวัดราชบุรี เป็นสามีของนางกอบกุล นพอมรบดี อดีต..ราชบุรี พรรคไทยรักไทย ที่ถูกคนร้ายยิงเสียชีวิตเมื่อวันที่ 27 พฤษภาคม พ.ศ. 2549 นายมานิต และนางกอบกุล มีบุตร-ธิดา 3 คน คือ.

ใหม่!!: จังหวัดแพร่และมานิต นพอมรบดี · ดูเพิ่มเติม »

มณเฑียร บุญตัน

มณเฑียร บุญตัน (2 พฤษภาคม พ.ศ. 2508 -) สมาชิกคณะกรรมการว่าด้วยสิทธิของคนพิการ (Committee on the Rights of Persons with Disabilities – CRPD) วาระปี..

ใหม่!!: จังหวัดแพร่และมณเฑียร บุญตัน · ดูเพิ่มเติม »

ยมหิน

มหิน เป็นต้นไม้ประจำจังหวัดแพร่ที่สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ พระราชทานเพื่อปลูกเป็นต้นไม้ประจำจังหวัด ต้นยมหินมีความสูง 15-25 เมตร เปลือกมีสีน้ำตาลถึงน้ำตาลดำ เพื่อลำต้นมีอายุเพิ่มขึ้น เปลือกในสีแดงออกน้ำตาลชมพู แก่นไม้มีสีเหลืองเข้มถึงน้ำตาลแดง ใบของต้นยมหิน จะเป็นแบบขนนกปลายคี่ ยาวประมาณ 30-50 เซนติเมตร ใบแก่จะมีรูปร่างใบแบบรูปไข่ หรือรูปขอบขนาน ฐานใบกลมหรือมน ปลายใบแหลม ผลของต้นยมหิน เป็นแบบผลแห้งมีเปลือกแข็งสีน้ำตาลมีรูปทรงแบบไข่ ขนากยาวประมาณ 2.5-50 เซนติเมตร เมล็ดของต้นยมหิน มีลักษณะเป็นแผ่นบาง ๆ สีน้ำตาล มีความยาวเป็นสองเท่าของความกว้าง ในแต่ละช่วงของผลจะมีเมล็ดอยู่ประมาณ 60-100 เมล็ด การใช้ประโยชน์ เป็นไม้ที่เหมาะสำหรับงานที่ใช้ในที่ร่ม สามารถนำไปแปรรูปเป็นสินค้าได้ เช่น ทำเครื่องเรือน, ก่อสร้างบ้านเรือน.

ใหม่!!: จังหวัดแพร่และยมหิน · ดูเพิ่มเติม »

ยิ่งลักษณ์ ชินวัตร

งลักษณ์ ชินวัตร เกิดวันที่ 21 มิถุนายน..

ใหม่!!: จังหวัดแพร่และยิ่งลักษณ์ ชินวัตร · ดูเพิ่มเติม »

รัญญา ศิยานนท์

รัญญา ศิยานนท์ (ชื่อจริง: อรัญญา เอกโกศิยนนท์; ชื่อเล่น: บุ๋ม; เกิด 11 ตุลาคม พ.ศ. 2511) เป็นนักแสดงและผู้กำกับการแสดงชาวไท.

ใหม่!!: จังหวัดแพร่และรัญญา ศิยานนท์ · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อวัดในจังหวัดแพร่

รายชื่อวัดในจังหวัดแพร.

ใหม่!!: จังหวัดแพร่และรายชื่อวัดในจังหวัดแพร่ · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อคำขวัญประจำจังหวัด

ำขวัญประจำจังหวัด เป็นคำขวัญที่แต่ละจังหวัดในประเทศไทยแต่งขึ้น เพื่อบ่งบอกถึงเอกลักษณ์ ความภาคภูมิใจ และความโดดเด่นที่มีอยู่ในจังหวัดนั้น ๆ มักเป็นคำคล้องจองสั้น ๆ เพื่อให้จดจำง่าย นอกจากคำขวัญประจำจังหวัดแล้ว ปัจจุบันยังมีการแต่งคำขวัญประจำท้องถิ่นในส่วนย่อยลงไปอีก เช่น คำขวัญประจำอำเภอ คำขวัญประจำเขต (ในกรุงเทพมหานคร) เป็นต้น คำขวัญประจำจังหวัด แยกตามภาคได้ดังนี้.

ใหม่!!: จังหวัดแพร่และรายชื่อคำขวัญประจำจังหวัด · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อโรงเรียนในจังหวัดแพร่

ต่อไปนี้เป็นรายชื่อโรงเรียนในจังหวัดแพร.

ใหม่!!: จังหวัดแพร่และรายชื่อโรงเรียนในจังหวัดแพร่ · ดูเพิ่มเติม »

รายพระนามเจ้าผู้ครองนครแพร่

รายพระนามเจ้าผู้ครองนครแพร่ นับตั้งแต่ พ่อขุนหลวงพล พระราชนัดดาในพระมหากษัตริย์แห่งน่านเจ้าทรงก่อตั้งนครรัฐแพร.

ใหม่!!: จังหวัดแพร่และรายพระนามเจ้าผู้ครองนครแพร่ · ดูเพิ่มเติม »

วรวัจน์ เอื้ออภิญญกุล

นายวรวัจน์ เอื้ออภิญญกุล เป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดแพร่ สังกัดพรรคเพื่อไทย เป็นอดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี อดีตรัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ และอดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงวัฒนธรรม.

ใหม่!!: จังหวัดแพร่และวรวัจน์ เอื้ออภิญญกุล · ดูเพิ่มเติม »

วราพรรณ หงุ่ยตระกูล

วราพรรณ หงุ่ยตระกูล (ทรัพย์ธนะอุดม) (ชื่อเล่น แจง) เกิดเมื่อวันที่ 24 เมษายน พ.ศ. 2509 ที่ อ.เด่นชั.แพร่ เป็นนักแสดงชาวไทย จบการศึกษาระดับมัธยมต้นจากโรงเรียนสาธิตแห่งมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, ระดับมัธยมปลายจากโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา และระดับอุดมศึกษาจากคณะนิเทศศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มีผลงานการแสดงทั้งละครโทรทัศน์, ละครเวที และภาพยนตร์อย่างเช่น ละครเรื่องสงครามนางฟ้า, ละครเรื่องมหาชนชาวแฟลต, ละครเวทีลูกคุณหลวง, ละครเวทีทึนทึก, ละครเวทีเรื่องสามคนอลเวง, ละครเรื่องบุษบาเล่ห์รัก, ละครเรื่องเมื่อวันฟ้าเปลี่ยนสี ส่วนผลงานภาพยนตร์อย่างเช่น มหัศจรรย์แห่งรัก'(2538), ปิดเทอมใหญ่หัวใจว้าวุ่น(2551), Before Valentine ก่อนรัก...หมุนรอบตัวเรา (2552) นอกจากผลงานการแสดงแล้วยังเปิด บริษัทรับจัดงาน (Event Organizer) ชื่อ บริษัท พรีเซนเทีย จำกัด (Prezentia Co.,Ltd.) เคยได้รับรางวัลหน้ากากทองคำ มณเฑียรทองเธียเตอร์ นักแสดงสมทบฝ่ายหญิงยอดเยี่ยมจากละครเวทีเรื่อง คุณหญิงอมราภา และรางวัลตุ๊กตาทอง สาขานักแสดงสมทบฝ่ายหญิงยอดเยี่ยม จากมหัศจรรย์แห่งรัก.

ใหม่!!: จังหวัดแพร่และวราพรรณ หงุ่ยตระกูล · ดูเพิ่มเติม »

วัดพระบาทมิ่งเมืองวรวิหาร

วัดพระบาทมิ่งเมืองวรวิหาร ตั้งอยู่ถนนเจริญเมือง อำเภอเมืองแพร่ จังหวัดแพร่ แต่เดิมเป็นวัดราษฎร์ต่อมาในปี..

ใหม่!!: จังหวัดแพร่และวัดพระบาทมิ่งเมืองวรวิหาร · ดูเพิ่มเติม »

วัดพระหลวงธาตุเนิ้ง

วัดพระหลวงธาตุเนิ้ง วัดพระหลวง ตั้งอยู่เลขที่ 177 หมู่ที่ 5 ตำบลพระหลวง อำเภอสูงเม่น จังหวัดแพร่ นับเป็นโบราณสถานเก่าแก่ที่มีความสำคัญอย่างยิ่งต่อการตั้งถิ่นฐานของชาวบ้านพระหลวงในปัจจุบัน วัดนี้ไม่ปรากฏหลักฐานชัดเจนว่าสร้างขึ้นในสมัยใ.

ใหม่!!: จังหวัดแพร่และวัดพระหลวงธาตุเนิ้ง · ดูเพิ่มเติม »

วัดพระธาตุช่อแฮ

วัดพระธาตุช่อแฮ พระอารามหลวง เป็นวัดศักดิ์สิทธิ์เก่าแก่คู่บ้านคู่เมืองจังหวัดแพร่ และเป็นวัดพระธาตุประจำปีเกิดของผู้ที่เกิดปีขาล ตั้งอยู่เลขที่ 1 หมู่ที่ 11 ถนนช่อแฮ ตำบลช่อแฮ อำเภอเมืองแพร่ จังหวัดแพร่ บนเนื้อที่ 175 ไร่ บุคคลใดที่มาเที่ยวจังหวัดแพร่แล้วจะต้องมานมัสการพระธาตุช่อแฮ เพื่อเป็นสิริมงคลกับตนเอง จนมีคำกล่าวว่า ถ้ามาเที่ยวจังหวัดแพร่ แต่ไม่ได้มานมัสการพระธาตุช่อแฮเหมือนไม่ได้มาจังหวัดแพร่ การเดินทางมาเที่ยววัดพระธาตุช่อแฮ ถนนสายหลัก คือ ถนนช่อแฮ เริ่มตั้งแต่สี่แยกบ้านทุ่ง อำเภอเมืองแพร่ ซึ่งเป็นสี่แยกใจกลางเมืองแพร่ เข้าสู่ถนนช่อแฮ และตรงไปตามถนนช่อแฮ ผ่านโรงพยาบาลแพร่ สนามบินจังหวัดแพร่ หมู่บ้านเหล่า หมู่บ้านนาจักร หมู่บ้านแต (กวีรัตน์) หมู่บ้านมุ้ง สถานที่ตั้งของวัดพระธาตุช่อแฮอยู่ในบริเวณเขตเทศบาลตำบลช่อแฮ ด้วยระยะทาง 9 กิโลเมตร จากตัวเมืองจังหวัดแพร่ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ยกวัดพระธาตุช่อแฮ ตำบลช่อแฮ อำเภอเมือง จังหวัดแพร่ เป็นพระอารามหลวงชั้นตรี ชนิดสามัญ ตั้งแต่วันที่ 23 มิถุนายน พ.ศ. 2549 โดยได้ประกาศในราชกิจจานุเบกษา ฉบับทั่วไป เล่ม 123 ตอนที่ 96 ง วันที่ 19 กันยายน..

ใหม่!!: จังหวัดแพร่และวัดพระธาตุช่อแฮ · ดูเพิ่มเติม »

วัดพระธาตุสุโทนมงคลคีรีสามัคคีธรรม

วัดพระธาตุสุโทนมงคลคีรี หรือ วัดพระธาตุสุโทนมงคลคีรีสามัคคีธรรม เป็นวัดสร้างขึ้นใหม่ในปี พ.ศ. 2520 ตั้งอยู่บนถนนสายแพร่-ลำปาง ช่วงอำเภอเด่นชัย จังหวัดแพร่ มีจุดเด่นคือเป็นวัดที่รวบรวมศิลปกรรมล้านนาประยุกต์ที่สวยงามมากที่สุดแห่งหนึ่ง ภาพจิตรกรรมบนฝาผนังระเบียงคตเป็นเรื่องราวของชาดกพื้นบ้านและภาพพุทธประวัติ ในบริเวณวัดมีเจดีย์ทรงล้านนากว่า 30 องค์ ด้านหน้าบันไดทางขึ้นทิศตะวันออกมีรูปปั้นสิงห์ขนาดใหญ่ มีอาคารพิพิธภัณฑ์ไม้สักทรงล้านนา ที่เก็บรวบรวมเรื่องราวของล้านนาและเมืองแพร่ จัดแสดงเครื่องใช้ อาวุธของนักรบโบราณ รวมทั้งภาพถ่ายของเจ้านายฝ่ายเหนือและภาพเหตุการณ์ต่าง ๆ ในล้านนา ปัจจุบันวัดพระธาตุสุโทนมงคลคีรี มีครูบาน้อยหรือพระอธิการมนตรี ธมฺมเมธี (พระครูวิฑิตพิพัฒนาภรณ์) เป็นเจ้าอาว.

ใหม่!!: จังหวัดแพร่และวัดพระธาตุสุโทนมงคลคีรีสามัคคีธรรม · ดูเพิ่มเติม »

วัดพระธาตุจอมแจ้ง

ระธาตุจอมแจ้ง หรือ วัดพระธาตุจอมแจ้ง สามารถหมายถึง.

ใหม่!!: จังหวัดแพร่และวัดพระธาตุจอมแจ้ง · ดูเพิ่มเติม »

วัดพระนอน

วัดพระนอน ตั้งอยู่ในเขต ตำบลจองคำ อำเภอเมือง จังหวัดแม่ฮ่องสอน ตั้งอยู่ทางทิศตะวันตกของตัวเมืองแม่ฮ่องสอน ติดบริเวณเชิงเขาทางขึ้นวัดพระธาตุดอยกองมู ชื่อวัดพระนอน ได้ตั้งชื่ีอให้เหมาะสมกับการที่มีองค์พระนอนที่ใหญ่ที่สุดของจังหวัดแม่ฮ่องสอน ได้ประดิษฐานอยู่ในศาลาการเปรียญ(วิหาร)ของวัดพระนอน วัดนี้มีมาอยู่ก่อนแล้ว เดิมทีสถานที่ตั้งของวัดนี้เป็นป่าเขา และเป็นที่อาศัยของสัตว์ป่านานาชนิด ต่อมาเมื่อเมืองขยายขึ้นก็กลายเป็นวัดในเมือง วัดพระนอนเป็นวัดที่สำคัญเป็นที่ประดิษฐานองค์พระนอนองค์ใหญ่ ศิลปะแบบไทใหญ่ ขนาดยาว 11 เมตร 99 เซนติเมตร สร้างโดยศรัทธา "พญาสิงหนาทราชา" เจ้าเมืององค์แรกของเมืองแม่ฮ่องสอน ได้รับพระราชทานวิสูงคามสีมา พุทธศักราช 2469 วัดพระนอนแห่งนี้ได้รับการยกย่องและยอมรับนับถือให้เป็นสถานที่ศักดิ์สิทธิ์และเป็นปูชนียสถานคู่บ้านคู่เมืองแม่ฮ่องสอน และเป็นวัดที่มีเจ้าอาวาสอยู่ประจำมาตั้งแต่ พุทธศักราช 2430 จนถึงปัจจุบัน.

ใหม่!!: จังหวัดแพร่และวัดพระนอน · ดูเพิ่มเติม »

วัดพงษ์สุนันท์

วัดพงษ์สุนันท์ เป็นวัดในเขตกำแพงเมือง จังหวัดแพร่ อยู่ที่บ้านพงษ์สุนันท์ ตำบลในเวียง ชื่อเดิมว่าวัดปงสนุก เดิมเป็นวัดร้าง ทางทิศใต้ของวัดมีสระน้ำและมีรูปปั้นเต่า โดยมีตำนานเล่าว่า นางคำพวนชาวพม่าได้ลงไปในสระเพราะอยากได้เต่าและจมน้ำตาย เพื่อนของนางชื่อส่างตาดจึงสร้างเจดีย์และรูปเต่าสี่ตัวรอบเจดีย์เพื่อระลึกถึงเพื่อน ใน..

ใหม่!!: จังหวัดแพร่และวัดพงษ์สุนันท์ · ดูเพิ่มเติม »

วัดศรีชุม

วัดศรีชุม อาจหมายถึง.

ใหม่!!: จังหวัดแพร่และวัดศรีชุม · ดูเพิ่มเติม »

วัดสะแล่ง

วัดสะแล่ง หรือ วัดป่าสุคันธธรรมาราม ตั้งอยู่ที่ตำบลห้วยอ้อ อำเภอลอง จังหวัดแพร่ เป็นวัดเก่าแก่สมัยเดียวกับวัดพระธาตุศรีดอนคำ และเป็นที่บรรจุพระธาตุพระอุระพระพุทธเจ้า พระอุโบสถเป็นทรงล้านนาประยุกต์ ประวัติความเป็นมาของวัดมีว่า วัดนี้สร้างในสมัยพระนางจามเทวี เป็นที่ประดิษฐานพระบรมสารีริกธาตุ มีโบราณวัตถุเป็นพระพุทธรูปสมัยต่าง ๆ ตั้งแต่สมัยอาณาจักรทวารวดี จนถึงอยุธยาตอนปล.

ใหม่!!: จังหวัดแพร่และวัดสะแล่ง · ดูเพิ่มเติม »

วัดหัวข่วง

วัดหัวข่วง ตั้งอยู่บนถนนมหาพรหม ตำบลในเวียง อำเภอเมืองน่าน จังหวัดน่าน เป็นวัดที่มีความสำคัญในเขตหัวแหวนเมืองน่าน อยู่ติดหอคำ หรือพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติน่าน และคุ้มอดีตเจ้าเมืองน่าน ไม่ปรากฏว่าสร้างมาตั้งแต่สมัยใด สันนิษฐานว่าสร้างในสมัยล้านนาตอนปลาย พุทธศตวรรษที่ 20-22 มีจิตรกรรมฝาผนังที่สวยงามภายในพระวิหาร มีพระพุทธรูปปางมารวิชัย ลักษณะพุทธศิลป์แบบท้องถิ่นล้านนา สกุลช่างเมืองน่าน ฝีมือประณีตงดงาม โดยมีหลักฐานว่าเกี่ยวกับประวัติการบูรณะครั้งแรกใน..

ใหม่!!: จังหวัดแพร่และวัดหัวข่วง · ดูเพิ่มเติม »

วัดจอมสวรรค์

วัดจอมสวรรค์ หรือวัดจองเหนือ เป็นวัดโบราณในจังหวัดแพร่ สร้างโดยชาวพม่าและไทใหญ่ อยู่ในป่ารกครึ้ม ต่อมาพ่อเฒ่ากันตีและนายฮ้อยคำ พ่อค้าชาวไทใหญ่ได้เดินทางมาพบและเกิดความเลื่อมใสจึงได้บูรณะ โดยได้รับการสนับสนุนจากชาวไทใหญ่ในจังหวัดแพร่ และได้อพยพมาอยู่เป็นหมู่บ้านเรียกว่าหมู่บ้านใหม่ ในสมัยเจ้าหลวงพิมพิสารเมื่อ..

ใหม่!!: จังหวัดแพร่และวัดจอมสวรรค์ · ดูเพิ่มเติม »

วิภาต บุญศรี วังซ้าย

ตราจารย์ ดร.วิภาต บุญศรี วังซ้าย (12 มีนาคม 2459 - 30 ตุลาคม 2527) อดีตอธิการบดีสถาบันเทคโนโลยีการเกษตร และอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จังหวัดแพร.

ใหม่!!: จังหวัดแพร่และวิภาต บุญศรี วังซ้าย · ดูเพิ่มเติม »

วิทยาลัยชุมชนแพร่

วิทยาลัยชุมชนแพร่ เป็นสถาบันอุดมศึกษาของรัฐในกลุ่มสถาบันวิทยาลัยชุมชน ในสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ จัดตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 20 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2549 ตามนโยบายการกระจายการศึกษาสู่ท้องถิ่นในจังหวัดที่ไม่มีสถาบันอุดมศึกษา โดยยึดหลัก "การศึกษาสร้างชาติ สร้างคน สร้างงาน" และมุ่งเน้นการจัดการศึกษาหลากหลาย สนองตอบต่อความต้องการของท้องถิ่น พร้อมมั้งเน้นการมีส่วนร่วมของภาคประชาสังคม วิทยาลัยชุมชนแพร่ ตั้งอยู่ ณ โรงเรียนการป่าไม้ (เดิม) เลขที่ 33/13 ถนนคุ้มเดิม ตำบลในเวียง อำเภอเมืองแพร่ จังหวัดแพร.

ใหม่!!: จังหวัดแพร่และวิทยาลัยชุมชนแพร่ · ดูเพิ่มเติม »

วุฒิสภา

วุฒิสภา เป็นหน่วยหนึ่งในกระบวนการนิติบัญญัติ โดยทั่วไปมักเป็นสภาสูงในระบบสภาคู่ วุฒิสภาดั้งเดิมนั้นคือวุฒิสภาโรมัน.

ใหม่!!: จังหวัดแพร่และวุฒิสภา · ดูเพิ่มเติม »

ศรีวิไจย (โข้)

รีวิไจย โข้ หรือศรีวิชัย โข้ ผู้แต่งค่าวสำคัญๆ หลายสำนานเป็นกวีผู้มีชื่อเสียงของล้านนาและเมืองนครแพร่ เนื้อหาค่าวของศรีวิไจยโข้ผู้ร่วมสมัยกับเหตุการณ์เงี้ยวปล้นเมืองแพร่จึงเป็นเอกสารทางประวัติศาสตร์ที่สำคัญจากผลงานของกวีบอดผู้นี้“อนาถจิตคิดไปไม่ประจักษ์ ทรลักษณ์ตาทะเล้นไม่เห็นหน เดินก็ได้พูดก็ดังชั่งวิกล มามืดมนนัยน์ตาบ้าบรม” เพชรเม็ดงามของชาวแพร่ ด้วยความเป็นกวีที่มีพรสวรรค์มาตั้งแต่กำเนิด ศรีวิไจย (โข้).

ใหม่!!: จังหวัดแพร่และศรีวิไจย (โข้) · ดูเพิ่มเติม »

ศักราช ฤกษ์ธำรงค์

อากาศเอก สำราญ จำรัส เป็นที่รู้จักในชื่อ ศักราช ฤกษ์ธำรงค์ (ชื่อเล่น: เจี๊ยบ; 25 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2506) เกิดที่จังหวัดแพร่ มีชื่อเสียงเป็นที่รู้จักกันจากการเป็นนายแบบถ่ายโฆษณาในสินค้าหลายตัว เช่น เบียร์สิงห์, กางเกงยีนส์ฮาร่า, เบียร์ช้าง ก่อนจะเข้าสู่วงการการแสดง โดยมีผลงานเรื่องแรกคือภาพยนตร์เรื่อง พี่เลี้ยง ของไฟว์สตาร์ ที่มี สันติสุข พรหมศิริ และ จินตหรา สุขพัฒน์ แสดงนำ ก่อนจะมีผลงานตามมาอีกหลายเรื่องทั้งละครโทรทัศน์และภาพยนตร์ เช่น ลอดลายมังกร ในปี พ.ศ. 2535, วันนี้ที่รอคอย ในปี พ.ศ. 2536 สารวัตรใหญ่ ในปี พ.ศ. 2537, เลือดเข้าตา ในปี พ.ศ. 2538, หัวใจศิลา ในปี พ.ศ. 2550, อยากหยุดตะวันไว้ที่ปลายฟ้า ในปี พ.ศ. 2553, พระจันทร์ลายพยัคฆ์ ในปี พ.ศ. 2553, รักไม่มีวันตาย ในปี พ.ศ. 2554 และเคยมีบทบาทเป็นนักแสดงนำครั้งหนึ่งในภาพยนตร์เรื่อง เชอรี่ แอน ในปี พ.ศ. 2544 โดยแสดงคู่กับ แอนนี่ บรู๊ค และ ชฎาพร รัตนากร โดยถือเป็นนักแสดงประจำในภาพยนตร์จากการกำกับของ หม่อมหลวงพันธุ์เทวนพ เทวกุล (หม่อมน้อย) ชีวิตส่วนตัว จบการศึกษาจากโรงเรียนจ่าอากาศ และเป็นนักกีฬาบาสเก็ตบอลของทีมทหารอากาศ โดยเล่นในประเภทถ้ว.

ใหม่!!: จังหวัดแพร่และศักราช ฤกษ์ธำรงค์ · ดูเพิ่มเติม »

ศักดิ์ เตชาชาญ

นายศักดิ์ เตชาชาญ อดีตตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ เกิดเมื่อวันที่ 1 มกราคม 2484 เป็นตุลาการศาลรัฐธรรมนูญแต่งตั้งจากผู้ทรงคุณวุฒิสาขานิติศาสตร์ เดิมเป็นข้าราชการประจำในสังกัดกระทรวงมหาดไทย นายศักดิ์ เตชาชาญ ได้รับแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งตุลาการศาลรัฐธรรมนูญเมื่อวันที่ 3 มิถุนายน..

ใหม่!!: จังหวัดแพร่และศักดิ์ เตชาชาญ · ดูเพิ่มเติม »

ศิริวรรณ ปราศจากศัตรู

ริวรรณ ปราศจากศัตรู (สกุลเดิม ศุภศิริ) อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดแพร่ และแบบบัญชีรายชื่อหลายสมัย และเป็นอดีตรองหัวหน้าพรรคประชาธิปัตย์ ดูแลพื้นที่ภาคเหนือ.

ใหม่!!: จังหวัดแพร่และศิริวรรณ ปราศจากศัตรู · ดูเพิ่มเติม »

สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร

มาชิกสภาผู้แทนราษฎร หรือ..

ใหม่!!: จังหวัดแพร่และสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร · ดูเพิ่มเติม »

สามโทน

มโทน เป็นศิลปินวงชายล้วนวงแรกของค่ายคีตา เรคคอร์ดส (Kita Records) ซึ่งสมาชิกมีทั้งหมด 3 คน ประกอบด้วยสุธีรัชย์ ชาญนุกูล (บุ๋มบิ๋ม สามโทน), ธงชัย ประสงค์สันติ (ธง สามโทน) และ วิทยา เจตะภัย (ถนอม สามโทน) มีผลงานเพลงกับค่ายคีตาทั้งหมด 4 ชุด ก่อนย้ายไปมีผลงานกับค่ายต่างๆ และมีการทำงานด้านอื่น ๆ ในวงการบันเทิง เช่น แสดงภาพยนตร์, แสดงละคร, พิธีกร, กำกับการแสดง, เบื้องหลังการผลิตภาพยนตร์ ละคร และงานดนตรี ต่อมาสมาชิกทั้ง 3 วงสามโทนได้ออกอัลบั้มภายใต้สังกัดค่ายแกรมมี่โกลด์ หลังจากนั้นทำอัลบั้มพิเศษชุด "เทศกาลสามโทน" กับค่ายเวิร์คพอยท์ เอ็นเทอร์เทนเมนท.

ใหม่!!: จังหวัดแพร่และสามโทน · ดูเพิ่มเติม »

สิงห์หนุ่ม ชูวัฒนะ

งห์หนุ่ม ชูวัฒนะ หรือนายสัมพันธ์ ไชยาโอนเป็นชาวจังหวัดแพร่เกิดเมื่อ 10 มกราคม..

ใหม่!!: จังหวัดแพร่และสิงห์หนุ่ม ชูวัฒนะ · ดูเพิ่มเติม »

สีแดง

ีแดง คือสีมีความถี่ของแสงที่ต่ำที่สุด ที่ตามนุษย์สามารถแยกแยะได้ แสงสีแดงมีบริเวณช่วงคลื่นระหว่าง 630-760 นาโนเมตร สีแดงเป็นสีอย่างสีเลือดหรือสีชาด, ใช้ประกอบสิ่งต่าง ๆ บางอย่างโดยอนุโลมตามลักษณะสี เป็นชื่อเรียกเฉพาะ เช่น มดแดง ผ้าแดง จัดเป็น 1 ในแม่สี 3 สี ร่วมกับสีเขียว, สีน้ำเงิน.

ใหม่!!: จังหวัดแพร่และสีแดง · ดูเพิ่มเติม »

สีเขียว

ีเขียว เป็นสีสีหนึ่งบนคลื่นที่ตามองเห็น ตั้งอยู่ระหว่างสีน้ำเงินและสีเหลือง สีเขียวเกิดจากแสงที่ความยาวคลื่นประมาณ 495-570 นาโนเมตร สีเขียวในแม่สีเชิงลบที่ใช้สำหรับระบายสีและพิมพ์สีเกิดจากสีเหลืองผสมกับสีน้ำเงิน หรือสีเหลืองผสมกับสีน้ำเงินอมเขียว ในระบบสี RGB ที่พบในโทรทัศน์และจอคอมพิวเตอร์ เป็นสีที่มาจากแม่สีเชิงบวก ร่วมกับสีแดงและสีน้ำเงิน ซึ่งต่างก็ผสมกันจนกลายเป็นสีอื่น ๆ ได้ ในภาษาอังกฤษใหม่ คำว่า green (สีเขียว) มาจากคำภาษาอังกฤษกลางว่า grene จากรากศัพท์ภาษาเยอรมันเดียวกันกับคำว่าคำว่า "grass" และ "grow" สีเขียวเป็นสีของการปลูกหญ้าและใบไม้ ด้วยเหตุนี้สีเขียวจึงเป็นสีของฤดูใบไม้ผลิ ความเจริญเติบโต และธรรมชาติEva Heller, Psychologie de la couleur- effets et symboliques.

ใหม่!!: จังหวัดแพร่และสีเขียว · ดูเพิ่มเติม »

สถานีรถไฟเด่นชัย

นีรถไฟเด่นชัย เป็นสถานีรถไฟระดับ 1 เป็นเส้นทางรถไฟสายเหนือ อยู่ห่างจากสถานีรถไฟกรุงเทพ เป็นระยะทาง 533.94 กิโลเมตร ตั้งอยู่ที่ อำเภอเด่นชัย จังหวัดแพร่ เนื่องจากจังหวัดแพร่ ไม่มีเส้นทางรถไฟผ่าน อำเภอเมืองแพร่ และสถานีรถไฟเด่นชัยตั้งอยู่ใกล้ อำเภอเมืองแพร่ ประมาณ 24 กิโลเมตร จึงทำให้สถานีรถไฟเด่นชัยเป็นสถานีรถไฟประจำจังหวัดแพร่ และสถานีรถไฟเด่นชัยยังสามารถเดินทางไปจังหวัดน่าน ได้อีกด้วย สถานีรถไฟเด่นชัยก่อตั้งขึ้นเมื่อไรไม่เป็นที่แน่ชัด แต่ในอนาคตอาจจะถูกยกเป็นสถานีชุมทางรถไฟ เชื่อมระหว่างทางรถไฟสายเชียงใหม่ เชื่อมกับทางรถไฟสายเชียงราย และจะมีการตั้งสถานีรถไฟแพร่ ขึ้นเป็นสถานีประจำจังหวัดแทน และในอนาคต สถานีรถไฟเด่นชัย เป็นสถานีหนึ่งในโครงการรถไฟรางคู่ สถานีรถไฟปากน้ำโพ - สถานีรถไฟเด่นชั.

ใหม่!!: จังหวัดแพร่และสถานีรถไฟเด่นชัย · ดูเพิ่มเติม »

หมู่บ้าน

หมู่บ้าน (village) เป็นนิคมหรือชุมชนมนุษย์ ใหญ่กว่าหมู่บ้านขนาดเล็ก (hamlet) แต่เล็กกว่าเมือง มีประชากรตั้งแต่ไม่กี่ร้อยคนไปถึงหลายพันคน (บางแห่งถึงหมื่นคน) ในอดีต หมู่บ้านเป็นรูปแบบชุมชนปกติสำหรับสังคมที่ใช้เกษตรกรรมเพื่อยังชีพ และยังมีในบางสังคมที่มิใช่สังคมเกษตรบ้าง ในบริเตนใหญ่ หมู่บ้านขนาดเล็กได้รับสิทธิเรียกหมู่บ้านเมื่อสร้างโบสถ์ ในหลายวัฒนธรรม เมืองและนครมีน้อย โดยมีสัดส่วนประชากรอาศัยอยู่น้อย การปฏิวัติอุตสาหกรรมดึงดูดให้คนจำนวนมากทำงานในโรงสีและโรงงาน การกระจุกของคนทำให้หลายหมู่บ้านเติบโตเป็นเมืองและนคร นอกจากนี้ยังทำให้มีความชำนาญพิเศษของแรงงานและช่างฝีมือ และพัฒนาการของการค้าจำนวนมาก แนวโน้มการกลายเป็นเมืองดำเนินต่อ แม้ไม่เชื่อมโยงกับการปรับให้เป็นอุตสาหกรรมเสมอไป หมู่บ้านเสื่อมความสำคัญลงทั้งที่เป็นหน่วยสังคมและนิคมมนุษย์ แม้มีชีวิตหมู่บ้านหลากรูปแบบ แต่หมู่บ้านตรงแบบเล็ก บางทีประกอบด้วย 5 ถึง 30 ครอบครัว บ้านตั้งอยู่ด้วยกันเพื่อการเข้าสังคมและการป้องกัน และดินแดนโดยรอบพื้นที่อยู่อาศัยมีการทำไร่นา หมู่บ้านประมงเดิมยึดการประมงพื้นบ้าน (artisan fishing) และตั้งอยู่ติดพื้นที่จับปลา หมวดหมู่:หน่วยการปกครอง หมวดหมู่:หมู่บ้าน หมวดหมู่:ที่อยู่อาศัย.

ใหม่!!: จังหวัดแพร่และหมู่บ้าน · ดูเพิ่มเติม »

หลวงพระบาง

หลวงพระบาง (ຫຼວງພຣະບາງ) เป็นเมืองเอกของแขวงหลวงพระบาง ประเทศลาว อยู่ทางภาคเหนือของประเทศ ตัวเมืองตั้งอยู่ริมแม่น้ำโขงและแม่น้ำคาน ซึ่งไหลมาบรรจบกันบริเวณนั้นเรียกว่า ปากคาน เป็นเมืองที่องค์การยูเนสโกได้ยกย่องให้เป็นมรดกโลกด้ว.

ใหม่!!: จังหวัดแพร่และหลวงพระบาง · ดูเพิ่มเติม »

อภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ

อภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ หรือชื่อเกิดว่า มาร์ค อภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ (ละติน: Mark Abhisit Vejjajiva) เกิด 3 สิงหาคม..

ใหม่!!: จังหวัดแพร่และอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ · ดูเพิ่มเติม »

อักษรธรรมล้านนา

ป้ายชื่อวัดหม้อคำตวง ตำบลศรีภูมิ อำเภอเมืองเชียงใหม่ จังหวัดเชียงใหม่ เขียนด้วยอักษรธรรมล้านนา'''ถอดเป็นอักษรไทย:''' "วัดหฺมฺ้อฅำทฺวง์"'''คำอ่าน:''' "วัดหม้อคำตวง" อักษรธรรมล้านนา หรือ ตัวเมือง (210px อักขรธัมม์ล้านนา รฤ ตัวเมือง; ᦒᧄ, ธรรม, "คัมภีร์") หรือ อักษรยวน ภาษาไทยกลางในอดีตเรียกว่า ไทยเฉียง เป็นอักษรที่ใช้ในสามภาษา ได้แก่ ภาษาไทยถิ่นเหนือ, ภาษาไทลื้อและภาษาเขิน นอกเหนือจากนี้ อักษรล้านนายังใช้กับลาวธรรม (หรือลาวเก่า) และภาษาถิ่นอื่นในคัมภีร์ใบลานพุทธและสมุดบันทึก อักษรนี้ยังเรียก อักษรธรรมหรืออักษรยวน ภาษาไทยถิ่นเหนือเป็นภาษาใกล้ชิดกับภาษาไทยและเป็นสมาชิกของตระกูลภาษาเชียงแสน มีผู้พูดเกือบ 6,000,000 คนในภาคเหนือของประเทศไทย และหลายพันคนในประเทศลาว ซึ่งมีจำนวนน้อยที่รู้อักษรล้านนา อักษรนี้ยังใช้อยู่ในพระสงฆ์อายุมาก ภาษาไทยถิ่นเหนือมีหกวรรณยุกต์ ขณะที่ภาษาไทยมีห้าวรรณยุกต์ ทำให้การถอดเสียงเป็นอักษรไทยมีปัญหา มีความสนใจในอักษรล้านนาขึ้นมาอีกบ้างในหมู่คนหนุ่มสาว แต่ความยุ่งยากเพิ่มขึ้น คือ แบบภาษาพูดสมัยใหม่ ที่เรียก คำเมือง ออกเสียงต่างจากแบบเก.

ใหม่!!: จังหวัดแพร่และอักษรธรรมล้านนา · ดูเพิ่มเติม »

อาณาจักรล้านนา

อาณาจักรล้านนา (95px) คือ ราชอาณาจักรของชาวไทยวนในอดีตที่ตั้งอยู่บริเวณภาคเหนือตอนบนของประเทศไทย ตลอดจนสิบสองปันนา เช่น เมืองเชียงรุ่ง (จิ่งหง) มณฑลยูนนาน ภาคตะวันออกของพม่า ฝั่งตะวันออกของแม่น้ำสาละวิน ซึ่งมีเมืองเชียงตุงเป็นเมืองเอก ฝั่งตะวันตกแม่นำสาละวิน มีเมืองนายเป็นเมืองเอก และ 8 จังหวัด ได้แก่ จังหวัดเชียงใหม่ ลำพูน ลำปาง เชียงราย พะเยา แพร่ น่าน และแม่ฮ่องสอนสรัสวดี อ๋องสกุล.

ใหม่!!: จังหวัดแพร่และอาณาจักรล้านนา · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอ

อำเภอ เป็นหน่วยการปกครองระดับที่สองในประเทศไทย ลำดับรองมาจากจังหวัด จัดตั้งขึ้นโดยการตราเป็นพระราชกฤษฎีกา มีฐานะเป็นราชการบริหารส่วนภูมิภาค ตามกฎหมายว่าด้วยระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน มีนายอำเภอ เป็นหัวหน้าปกครอง โดยในแต่ละอำเภอจะแบ่งส่วนย่อยออกเป็น ตำบล ในปัจจุบันประเทศไทยมี 878 อำเภอใน 76 จังหวัด ซึ่งไม่รวม 50 เขตของกรุงเทพมหานคร ตั้งแต่การเปลี่ยนแปลงการบริหารกรุงเทพมหานครในปี..

ใหม่!!: จังหวัดแพร่และอำเภอ · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอร้องกวาง

อำเภอร้องกวาง (40px) เป็นอำเภอหนึ่งของจังหวัดแพร.

ใหม่!!: จังหวัดแพร่และอำเภอร้องกวาง · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอลอง

อำเภอลอง (25px) เป็นอำเภอหนึ่งของจังหวัดแพร.

ใหม่!!: จังหวัดแพร่และอำเภอลอง · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอวังชิ้น

อำเภอวังชิ้น (35px) เป็นอำเภอหนึ่งของจังหวัดแพร.

ใหม่!!: จังหวัดแพร่และอำเภอวังชิ้น · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอสอง

อำเภอสอง (30px) เป็นอำเภอหนึ่งของจังหวัดแพร.

ใหม่!!: จังหวัดแพร่และอำเภอสอง · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอสูงเม่น

อำเภอสูงเม่น (60px) เป็นอำเภอหนึ่งของจังหวัดแพร.

ใหม่!!: จังหวัดแพร่และอำเภอสูงเม่น · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอหนองม่วงไข่

อำเภอหนองม่วงไข่ (60px) เป็นอำเภอหนึ่งของจังหวัดแพร.

ใหม่!!: จังหวัดแพร่และอำเภอหนองม่วงไข่ · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอปง

อำเภอปง (15px) เป็นอำเภอหนึ่งในจังหวัดพะเยาอำเภอปงเป็นอำเภอที่มีเขตพื้นที่มากที่สุดในจังหวั.

ใหม่!!: จังหวัดแพร่และอำเภอปง · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอเมืองแพร่

อำเภอเมืองแพร่ (50px) เป็นศูนย์กลางการบริหารราชการ ศูนย์กลางธุรกิจ และวัฒนธรรมของจังหวัดแพร.

ใหม่!!: จังหวัดแพร่และอำเภอเมืองแพร่ · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอเด่นชัย

อำเภอเด่นชัย (38px) เป็นอำเภอหนึ่งของจังหวัดแพร่ เป็นศูนย์กลางการคมนาคมของจังหวัดแพร่ ทั้งทางถนน และ ทางรถไฟ มีสถานีรถไฟเด่นชัยเป็นสถานีประจำจังหวัดแพร่ และ ถนนที่เชื่อมไปยังจังหวัดต่างๆ ทั้งทางภาคเหนือตอนบนและกรุงเทพมหานคร.

ใหม่!!: จังหวัดแพร่และอำเภอเด่นชัย · ดูเพิ่มเติม »

อุทยานแห่งชาติแม่ยม

อุทยานแห่งชาติแม่ยม ตั้งอยู่ในพื้นที่ครอบคลุมของอำเภองาว จังหวัดลำปาง และอำเภอสอง จังหวัดแพร่ มีพื้นที่ประมาณ 284,218.75 ไร่ หรือ 454.75 ตารางกิโลเมตร มีลักษณะเป็นเทือกเขาสูงทั้งด้านทิศตะวันออกและทิศตะวันตกของพื้นที่ ลาดมายังแม่น้ำยมที่ไหลผ่านตอนกลางของพื้นที่ มีเทือกเขาอย่างดอยหลวง ดอยยาว ดอยขุนห้วยแปะ และดอยโตน เป็นต้น ซึ่งเป็นต้นกำเนิดแม่น้ำและลำห้วย อย่างเช่น น้ำแม่ปุง น้ำแม่ลำ น้ำแม่เต้น น้ำแม่สะกึ๋น น้ำแม่เป๋า ห้วยผาลาด ห้วยแม่ปง ห้วยแม่พุง ห้วยแม่แปง ห้วยเค็ด ห้วยปุย ห้วยเลิม และห้วยแม่ปุ๊ เป็นต้น และมีลำน้ำแม่งาว ไหลมารรจบกับแม่น้ำยมที่บริเวณอุทยาน ทางด้านทิศเหนือไปทิศใต้ เป็นบริเวณที่ราบลาดเอียง ระดับความสูงประมาณ 180 เมตรจากระดับน้ำทะเล บริเวณอำเภอสอง แล้วลดความสูงมาเป็น 157 เมตร ส่วนทางด้านแนวทิศตะวันออกและทิศตะวันตกนั้น มีพื้นที่ลาดเอียงสู่แม่น้ำยมทั้งสองด้าน ดินส่วนใหญ่เป็นดินลูกรังและดินร่วนปนทราย ชนิดหินเป็นหินชั้นและหินเชล กรมป่าไม้ได้นำเสนอคณะกรรมการอุทยานแห่งชาติเห็นสมควรให้ออกพระราชกฤษฎีกากำหนดพื้นที่ดังกล่าวเป็นอุทยานแห่งชาติ เมื่อ 23 มกราคม 2527 โดยใช้ชื่อว่า “อุทยานแห่งชาติแม่ปุง” ต่อมาได้เปลี่ยนชื่อเป็น “อุทยานแห่งชาติแม่ยม” โดยกำหนดพื้นที่บริเวณที่ดินป่าแม่ปุง ป่าแม่เป้าและป่าแม่สอง ในท้องที่ตำบลเตาปูน ตำบลสะเอียบ อำเภอสอง จังหวัดแพร่ และป่าแม่งาวฝั่งซ้าย ในท้องที่ตำบลแม่ตีบ อำเภองาว จังหวัดลำปาง ให้เป็นอุทยานแห่งชาติ เมื่อวันที่ 1 มีนาคม 2529 เป็นอุทยานแห่งชาติลำดับที่ 51 ของประเท.

ใหม่!!: จังหวัดแพร่และอุทยานแห่งชาติแม่ยม · ดูเพิ่มเติม »

อุทยานแห่งชาติเวียงโกศัย

อุทยานแห่งชาติเวียงโกศัย เป็นอุทยานแห่งชาติที่ตั้งอยู่ในเขตอำเภอลอง อำเภอวังชิ้น จังหวัดแพร่ และอำเภอเถิน อำเภอสบปราบ อำเภอแม่ทะ จังหวัดลำปาง มีลักษณะภูมิประเทศเป็นภูเขาสูงสลับซับซ้อน ประกอบด้วยป่าดงดิบเขา ป่าเบญจพรรณ และป่าเต็มรัง นอกจากนี้ยังมีป่าสนและทุ่งหญ้าในบริเวณยอดเขาสูง เป็นแหล่งกำเนิดแม่น้ำหลายสาย และมีสัตว์ป่าหลายชนิด เช่น หมูป่า หมี เสือโคร่ง เลียงผา เป็นต้น โดยมีจุดเด่นคือดงตะเคียนทองอายุกว่าร้อยปี ที่มีขนาด 3-4 คนโอ.

ใหม่!!: จังหวัดแพร่และอุทยานแห่งชาติเวียงโกศัย · ดูเพิ่มเติม »

อดิศร อรรถกฤษณ์

อดิศร อรรถกฤษณ์ เกิดเมื่อวันที่ 14 ธันวาคม พ.ศ. 2523 เป็นนักร้องนักแสดงชาวไทยและเป็นอดีตสมาชิกวงดราก้อน ไฟว์ ในค่ายจีเอ็มเอ็ม แกรมมี่ ชีวิตส่วนตัว ปัจจุบันสมรสกับ นิจชิตา จารุวัฒน์ (นาว) นักแสดงสาว หลังจากคบหาดูใจกันมาทั้งหมด 8 ปี,, ปัจจุบัน มีบุตรชาย 1 คน ชื่อ น้องทะเล.

ใหม่!!: จังหวัดแพร่และอดิศร อรรถกฤษณ์ · ดูเพิ่มเติม »

อนุสรณ์ ธรรมใจ

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ อนุสรณ์ ธรรมใจ รองอธิการบดี ฝ่ายวิจัยและบริการวิชาการ มหาวิทยาลัยรังสิตกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิด้านการบริการในคณะกรรมการสภาการศึกษ.

ใหม่!!: จังหวัดแพร่และอนุสรณ์ ธรรมใจ · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัด

ังหวัด หรือมณฑล (province) คือชื่อเรียกหน่วยการปกครองระดับหนึ่ง โดยปกติจะเป็นระดับใหญ่ที่สุดในประเทศ หรือรัฐ (ลำดับแรกในการแบ่งการปกครอง) คำว่าจังหวัดใช้เรียก province ในประเทศไทย ส่วนมณฑลใช้กับบางประเทศ เช่น มณฑลยูนนาน (Yunnan Province) ในประเทศจีน หรือ.

ใหม่!!: จังหวัดแพร่และจังหวัด · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดพะเยา

ังหวัดพะเยา (30px พ(ร)ะญาว) เป็นจังหวัดในภาคเหนือตอนบน บริเวณที่ตั้งของตัวเมืองพะเยาในปัจจุบันอยู่ติดกับกว๊านพะเยา เดิมเป็นที่ตั้งของเมือง ภูกามยาว หรือ พะยาว ที่ก่อตั้งขึ้นเมื่อพุทธศตวรรษที่ 16 โดยกษัตริย์องค์แรกคือ พญาจอมธรรม ซึ่งเป็นราชบุตรองค์หนึ่งจากเมืองหิรัญนครเงินยางเชียงแสน และเป็นบรรพบุรุษของกษัตริย์เมืองพะยาวอีกหลายองค์ เช่น พญาเจือง วีรบุรุษแห่งเผ่าไท-ลาวในพื้นที่ลุ่มแม่น้ำโขง และพญางำเมืองซึ่งได้กระทำสัตย์สาบานเป็นไมตรีต่อกันกับพญามังรายแห่งนครพิงค์เชียงใหม่ และพญาร่วงรามคำแหงแห่งสุโขทัย ภายหลังมีการเปลี่ยนแปลงอำนาจ และตกอยู่ภายใต้อิทธิพลของอาณาจักรล้านนา ในสมัยพญาคำฟู เมื่อถึงสมัยกรุงรัตนโกสินทร์ ใน..

ใหม่!!: จังหวัดแพร่และจังหวัดพะเยา · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดลำพูน

ังหวัดลำพูน (30px หละปูน) เป็นจังหวัดที่มีขนาดเล็กที่สุดในภาคเหนือ นับเป็นอีกจังหวัดหนึ่งที่มีประวัติศาสตร์เก่าแก่ ยาวนาน เคยเป็นที่ตั้งของนครหริภุญชัย ในสมัยพระนางจามเทวีเดิมชื่อเมืองหริภุญไชย เป็นเมืองโบราณ มีอายุประมาณ 1,343 ปี ตามพงศาวดารโยนกเล่าสืบต่อกันถึงการสร้างเมืองหริภุญไชย โดยฤๅษีวาสุเทพ เป็นผู้เกณฑ์พวกเม็งคบุตรหรือชนเชื้อชาติมอญมาสร้างเมืองนี้ขึ้น ในพื้นที่ระหว่างแม่น้ำสองสาย คือ แม่น้ำกวงและแม่น้ำปิง เมื่อมาสร้างเสร็จได้ส่งทูตไปเชิญราชธิดากษัตริย์เมืองละโว้พระนาม “จามเทวี” มาเป็นปฐมกษัตริย์ปกครองเมืองหริภุญไชยสืบราชวงศ์กษัตริย์ต่อมาหลายพระองค์ จนกระทั่งถึงสมัยพญายีบาจึงได้เสียการปกครองให้แก่พญามังราย ผู้รวบรวมแว่นแคว้นทางเหนือเข้าเป็นอาณาจักรล้านนา ถึงแม้ว่าเมืองลำพูนจะตกอยู่ภายใต้การปกครองของอาณาจักรล้านนา แต่ก็ได้เป็นผู้ถ่ายทอดมรดกทางศิลปะและวัฒนธรรมให้แก่ผู้ที่เข้ามาปกครอง ดังปรากฏหลักฐานทั่วไปในเวียงกุมกาม เชียงใหม่ และเชียงราย เมืองลำพูนจึงยังคงความสำคัญในทางศิลปะและวัฒนธรรมของอาณาจักรล้านนา จนกระทั่งสมัยสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช เมืองลำพูนจึงได้เข้ามาอยู่ในราชอาณาจักรไทย มีผู้ครองนครสืบต่อกันมาจนถึงสมัยกรุงรัตนโกสินทร์ ต่อมาภายหลังการเปลี่ยนแปลงการปกครอง..

ใหม่!!: จังหวัดแพร่และจังหวัดลำพูน · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดลำปาง

ังหวัดลำปาง (40px) เป็นจังหวัดหนึ่งในภาคเหนือตอนบน ตั้งอยู่ในแอ่งที่ราบล้อมรอบด้วยภูเขา มีประวัติศาสตร์เก่าแก่ยาวนาน มีชื่อเรียกอย่างหลากหลายตั้งแต่ เขลางค์นคร, เวียงละกอน, นครลำปาง ฯลฯ ในภายหลังเป็นที่รู้จักกันดีอีกชื่อหนึ่งว่า เมืองรถม้า ที่สัมพันธ์กับเอกลักษณ์ของลำปาง.

ใหม่!!: จังหวัดแพร่และจังหวัดลำปาง · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดสุโขทัย

ทัย (ᩈᩩᨠᩮ᩠ᨡᩣᨴᩱ᩠ᨿ, เดิมสะกดว่า ศุโขไทย) เป็นจังหวัดหนึ่งในภาคกลางของประเทศไทย มีอาณาเขตติดต่อกับจังหวัดแพร่ อุตรดิตถ์ พิษณุโลก กำแพงเพชร ตาก และลำปาง (เรียงตามเข็มนาฬิกาจากด้านเหนือ).

ใหม่!!: จังหวัดแพร่และจังหวัดสุโขทัย · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดอุตรดิตถ์

ังหวัดอุตรดิตถ์ เดิมสะกดว่า อุตรดิฐ เป็นจังหวัดหนึ่งตั้งอยู่ทางภาคเหนือของประเทศไทย ได้ชื่อว่าเมืองท่าแห่งทิศเหนือ ตำนานอันลึกลับของเมืองลับแล ดินแดนแห่งลางสาดหวานหอม อุตรดิตถ์เป็นเมืองที่มีความสำคัญทางประวัติศาสตร์มายาวนาน โดยมีการค้นพบหลักฐานการตั้งถิ่นฐานของชุมชนมาตั้งแต่สมัยก่อนประวัติศาสตร์ เดิมทีตัวเมืองอุตรดิตถ์ในปัจจุบันนี้เป็นเพียงตำบลชื่อ "บางโพธิ์ท่าอิฐ" แต่เพราะบางโพธิ์ท่าอิฐซึ่งอยู่ริมฝั่งขวาของแม่น้ำน่านมีความเจริญรวดเร็ว เพราะเป็นท่าเรือขนถ่ายสินค้าสำคัญในหัวเมืองฝ่ายเหนือ ดังนั้นในสมัยรัชกาลที่ 5 พระองค์จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ย้ายเมืองหลักมาจากเมืองพิชัยมายังตำบลบางโพธิ์ท่าอิฐ และยกฐานะขึ้นเป็นเมือง "อุตรดิตถ์" ซึ่งมีความหมายว่า ท่าน้ำแห่งทิศเหนือของสยามประเทศ ต่อมาในสมัยรัชกาลที่ 6 เมืองอุตรดิตถ์มีความเจริญขึ้น เมืองอุตรดิตถ์จึงได้รับการยกฐานะขึ้นเป็นจังหวัด จังหวัดอุตรดิตถ์ตั้งอยู่ทางใต้สุดของภาคเหนือตอนล่าง โดยสภาพภูมิศาสตร์จังหวัดอุตรดิตถ์เป็นจังหวัดที่มีภูมิประเทศส่วนใหญ่เป็นภูเขาและที่สูงสลับซับซ้อน ซึ่งจะอยู่ทางตอนเหนือและทางตะวันออกของจังหวัด เนื่องจากทำเลที่ตั้งดังกล่าวจึงทำให้จังหวัดอุตรดิตถ์มีอากาศค่อนข้างร้อนอบอ้าวในฤดูร้อน มีอากาศฝนเมืองร้อนเฉพาะฤดูฝน และมีช่วงฤดูแล้งคั่นอยู่อย่างชัดเจนตั้งแต่ประมาณกลางเดือนตุลาคมถึงเดือนพฤษภาคม เดือนที่ร้อนที่สุดคือเดือนเมษายน จังหวัดอุตรดิตถ์ได้รับอิทธิพลจากมรสุมตะวันออกเฉียงใต้เป็นส่วนใหญ่ มรสุมตะวันออกเฉียงใต้ปกติจะมีแหล่งกำเนิดบริเวณทะเลอันดามัน ทำให้จังหวัดอุตรดิตถ์มีช่วงฤดูฝนกินระยะเวลาตั้งแต่เดือนพฤษภาคมจนถึงเดือนกันยายน โดยเดือนกันยายนเป็นเดือนที่มีปริมาณน้ำฝนเฉลี่ยสูงที่สุด ประชากรส่วนใหญ่กว่าร้อยละ 99.66 นับถือศาสนาพุทธนิกายเถรวาท โดยประกอบอาชีพทางด้านการเกษตรกรรมเป็นหลัก โดยใช้พื้นที่ในการทำการเกษตรประมาณร้อยละ 26.70 ของพื้นที่ทั้งหมด นอกจากนี้ ยังประกอบอาชีพทางด้านปศุสัตว์ รวมทั้งมีการทำพืชไร่ปลูกผลไม้นานาชนิด โดยผลไม้ที่ขึ้นชื่อของจังหวัดอุตรดิตถ์คือลางสาด ส่วนการเดินทางมายังจังหวัดอุตรดิตถ์สามารถใช้เส้นทางได้หลายเส้นทาง ทั้งทางรถไฟ ทางรถโดยสารประจำทาง และทางรถยนต์ส่วนบุคคล สำหรับการเดินทางโดยเครื่องบิน จังหวัดอุตรดิตถ์เคยมีท่าอากาศยาน 1 แห่ง สำหรับการเดินทางพาณิชย์ แต่ปัจจุบันได้ยกเลิกไปแล้ว สถานที่สำคัญภายในจังหวัดนั้น มีทั้งแหล่งโบราณสถาน เช่น วัดพระแท่นศิลาอาสน์ วัดพระฝางสว่างคบุรีมุนีนาถ วัดพระยืนพุทธบาทยุคล วัดพระบรมธาตุทุ่งยั้ง ซากเมืองโบราณสมัยอาณาจักรสุโขทัย แหล่งโบราณคดีก่อนประวัติศาสตร์ แหล่งท่องเที่ยวทางธรรมชาติ เช่น อุทยานแห่งชาติภูสอยดาว อุทยานแห่งชาติต้นสักใหญ่ อุทยานแห่งชาติลำน้ำน่าน และแหล่งท่องเที่ยวอีกมากมาย ทั้งน้ำตก เขื่อนสิริกิติ์ วัด พระพุทธรูปสำคัญของจังหวัด เป็นต้น.

ใหม่!!: จังหวัดแพร่และจังหวัดอุตรดิตถ์ · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดของประเทศไทย

ังหวัด เป็นเขตบริหารราชการส่วนภูมิภาคของประเทศไทย ปัจจุบันมีทั้งสิ้น 76 จังหวัด (ทั้งนี้ กรุงเทพมหานครไม่เป็นจังหวัด) จังหวัดถือเป็นระดับการปกครองของรัฐบาลลำดับแรก โดยเป็นหน่วยการปกครองส่วนภูมิภาคที่รวมท้องที่หลาย ๆ อำเภอเข้าด้วยกันและมีฐานะเป็นนิติบุคคล ในแต่ละจังหวัดปกครองด้วยผู้ว่าราชการจังหวัด การจัดแบ่งกลุ่มจังหวัดออกเป็นภาคต่าง ๆ มีการใช้เกณฑ์ที่แตกต่างกัน โดยมีทั้งการแบ่งอย่างเป็นทางการโดยราชบัณฑิตยสถานสำหรับใช้ในแบบเรียน และการแบ่งขององค์กรต่าง ๆ ตามแต่การใช้ประโยชน์ ชื่อของจังหวัดนั้นจะเป็นชื่อเดียวกับชื่ออำเภอที่เป็นที่ตั้งของศูนย์กลางจังหวัด เช่น ศูนย์กลางการปกครองของจังหวัดเพชรบุรีอยู่ที่อำเภอเมืองเพชรบุรี เป็นต้น แต่ชื่ออำเภอเหล่านี้มักเรียกย่อแต่เพียงว่า "อำเภอเมือง" ยกเว้นจังหวัดพระนครศรีอยุธยา ที่ใช้ชื่อจังหวัดเป็นชื่ออำเภอที่ตั้งศูนย์กลางการปกครองโดยตรง (อำเภอพระนครศรีอยุธยา) หน่วยการปกครองย่อยรองไปจากจังหวัดคือ "อำเภอ" ซึ่งมีทั้งสิ้น 878 อำเภอ ซึ่งจำนวนอำเภอนั้นจะแตกต่างกันไปในแต่ละจังหวัด ส่วนเขตการปกครองย่อยของกรุงเทพมหานครมีทั้งหมด 50 เขต.

ใหม่!!: จังหวัดแพร่และจังหวัดของประเทศไทย · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดน่าน

ังหวัดน่าน (15px) เป็นจังหวัดหนึ่งในประเทศไทย ตั้งอยู่ทางทิศตะวันออกสุดของภาคเหนือ เป็นที่ตั้งของเมืองที่สำคัญในอดีต อาทิ เมืองวรนคร เวียงศีรษะเกษ อีกทั้งยังเป็นแหล่งกำเนิดต้นน้ำที่สำคัญของแม่น้ำน่าน.

ใหม่!!: จังหวัดแพร่และจังหวัดน่าน · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดแพร่

ังหวัดแพร่ (25px) เป็นจังหวัดในภาคเหนือตอนบนของประเทศไทย อดีตนครรัฐอิสระขนาดเล็ก มีลักษณะภูมิประเทศเป็นที่ราบระหว่างภูเขา โดยมีทิวเขาล้อมรอบ และมีแม่น้ำสายสำคัญไหลผ่านคือแม่น้ำยม.

ใหม่!!: จังหวัดแพร่และจังหวัดแพร่ · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดเชียงราย

ังหวัดเชียงราย (55px เจียงฮาย; 50px) เป็นจังหวัดที่ตั้งอยู่ในภาคเหนือตอนบนของประเทศไทย มีภูมิศาสตร์อยู่ทางเหนือสุดของประเทศ ที่ตั้งของเมืองมีความสำคัญทางประวัติศาสตร์ตั้งแต่ยุคก่อตั้งอาณาจักรล้านนา เช่น เมืองเงินยาง เมืองเชียงแสน เมืองเชียงราย เมืองเชียงรายเป็นพื้นที่ดั้งเดิมของชาวไทยวน ปัจจุบันจังหวัดเชียงรายแบ่งการปกครองออกเป็น 18 อำเภอ มีน้ำแม่กก น้ำแม่อิง แม่น้ำรวก และแม่น้ำโขง เป็นแม่น้ำสายสำคัญ ทำเลที่ตั้งของจังหวัดเชียงรายอยู่บริเวณรอยต่อระหว่าง 3 ประเทศ คือ ประเทศไทย ประเทศพม่า และประเทศลาว หรือรู้จักกันในนามของดินแดนสามเหลี่ยมทองคำ ซึ่งอดีตเป็นแหล่งผลิตฝิ่นที่สำคัญของโลก ปัจจุบัน จังหวัดเชียงรายได้รับความสนใจในฐานะประตูสู่พม่า ลาว และจีนตอนใต้ ผ่านทางหลวงเอเชียสาย 2 และทางหลวงเอเชียสาย 3 เมืองเชียงรายมีประวัติศาสตร์อันยาวนาน เป็นที่ตั้งของหิรัญนครเงินยางเชียงแสน ซึ่งเป็นนครหลวงก่อนการกำเนิดอาณาจักรล้านนา มี "คำเมือง" เป็นภาษาท้องถิ่น มีเอกลักษณ์เฉพาะตัวทั้งด้านศิลปะ ประเพณีวัฒนธรรมที่มีความหลากหลายทางชาติพันธุ์ในรูปแบบล้านนา ไทใหญ่ ไทเขิน และไทลื้อจากสิบสองปันนาผสมผสานกัน.

ใหม่!!: จังหวัดแพร่และจังหวัดเชียงราย · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดเชียงใหม่

ังหวัดเชียงใหม่ (40px เจียงใหม่) เป็นจังหวัดหนึ่งของไทย ตั้งอยู่ทางภาคเหนือของประเทศ ครอบคลุมพื้นที่ประมาณ 20,107 ตารางกิโลเมตร ซึ่งใหญ่เป็นอันดับ 2 ของประเทศ มีประชากร 1,746,840 คน มากเป็นอันดับ 5 ของประเทศ ในจำนวนนี้เป็นประชากรที่อาศัยอยู่ในเขตเมืองและชานเมือง 960,906 คน โดยจังหวัดเชียงใหม่ทิศเหนือติดต่อกับรัฐฉานของเมียนมา จังหวัดเชียงใหม่ จัดเป็นเมืองใหญ่อันดับที่สองของประเทศไทย รองจากกรุงเทพมหานคร โดยแบ่งการปกครองออกเป็น 25 อำเภอ โดยมีอำเภอเมืองเชียงใหม่เป็นศูนย์กลางของจังหวัด เมื่อ พ.ศ. 2552 มีการจัดตั้งอำเภอกัลยาณิวัฒนาเป็นอำเภอลำดับที่ 25 ของจังหวัด และลำดับที่ 878 ของประเทศ ซึ่งเป็นอำเภอล่าสุดของไทย จังหวัดเชียงใหม่มีประวัติศาสตร์อันยาวนาน เคยเป็นเมืองหลวงของอาณาจักรล้านนาแต่โบราณ มี "คำเมือง" เป็นภาษาท้องถิ่น มีเอกลักษณ์เฉพาะตัวทั้งด้านประเพณีวัฒนธรรม และมีแหล่งท่องเที่ยวจำนวนมาก โดยเริ่มวางตัวเป็นนครสร้างสรรค์ และได้รับการประกาศเป็นเมืองสร้างสรรค์ของโลกทางด้านหัตถกรรมและศิลปะพื้นบ้าน เมื่อปี พ.ศ. 2560 ปัจจุบันกำลังพิจารณาสมัครเมืองมรดกโลกจากองค์การยูเนสโก.

ใหม่!!: จังหวัดแพร่และจังหวัดเชียงใหม่ · ดูเพิ่มเติม »

ทรู อะคาเดมี่ แฟนเทเชีย

ทรู อะคาเดมี่ แฟนเทเชีย (True Academy Fantasia) (เดิมชื่อ ยูบีซี อะคาเดมี่ แฟนเทเชีย) (UBC Academy Fantasia) หรือ ปฏิบัติการล่าฝัน เป็นรายการเรียลลิตี้โชว์เพื่อค้นหานักล่าฝันที่ได้รับความนิยมสูงสุด บริษัท ทรู วิชั่นส์ จำกัด (มหาชน)ซื้อลิขสิทธิ์และรูปแบบของรายการ La Academia จากประเทศเม็กซิโก ซึ่งมีรูปแบบที่คล้ายคลึงกับรายการ Star Academy ที่แพร่หลายไปทั่วโลกแต่ปรับเปลี่ยนมาเป็นเรียลลิตี้ 24 ชั่วโมง เป็นลำดับที่ 3 ถัดจากมาเลเซียและอินโดนีเซี.

ใหม่!!: จังหวัดแพร่และทรู อะคาเดมี่ แฟนเทเชีย · ดูเพิ่มเติม »

ทรู อะคาเดมี่ แฟนเทเชีย ซีซั่นที่ 6

‎ ทรู อคาเดมี่ แฟนเทเชีย ซีซั่นที่ 6 เริ่มเข้าบ้านวันที่ 29 มิถุนายน 2552 มีจำนวนนักล่าฝัน 12 คน เป็น ชาย 5 คน หญิง 7 คน จากออดิชั่นสด 10 คนและจาก ออนไลน์ 2 คน ฤดูกาลนี้เป็นฤดูกาลแรกที่นักล่าฝันเริ่มต้นมีจำนวนเท่าเดิมคือ 12 คน หลังจากในซีซั่นที่ 3, 4 และ 5 มีนักล่าฝันเริ่มต้นมากกว่า 12 คน.

ใหม่!!: จังหวัดแพร่และทรู อะคาเดมี่ แฟนเทเชีย ซีซั่นที่ 6 · ดูเพิ่มเติม »

ทรู อะคาเดมี่ แฟนเทเชีย ซีซั่นที่ 9

‎ ทรู อคาเดมี่ แฟนเทเชีย ซีซั่นที่ 9 เป็นรายการเรียลลิตี้โชว์ อันดับ 1 ของประเทศไทย ซึ่งเป็นรายการที่ค้นหานักร้องนักแสดงเพื่อประดับวงการบันเทิง ในชุดทรู อะคาเดมี่ แฟนเทเชีย โดยในซีซั่นนี้เป็นครั้งที่ 3 ที่ทรูใช้เครือข่ายสังคมออนไลน์ (ทวิตเตอร์และเฟซบุ๊ก) ในการประชาสัมพันธ์รายการร่วมกับเว็บไซต์หลักและอายุของผู้เข้าสมัครยังคงเป็น 15-25 ปีและปีนี้ยังเป็นครั้งที่สองที่ทรูรับสมัครนักล่าฝันจากสถาบันต่าง ๆ อีกเช่นเดิม ซึ่งปีนี้มีการเข้าบ้าน True AF9 ก่อนล่วงหน้าแต่เป็นบ้านเล็กในวันที่ 2 มิถุนายน 2555 เพื่อเป็นการ Work Shop ของตัวแทนว่าที่นักล่าฝันทั้ง 24 คนและจะมีการแบ่งกลุ่มกับกรรมการเป็น 4 กลุ่มเพื่อที่จะโชว์ในวันเสาร์ของ 3 สัปดาห์ในบ้านหลังเล็ก โดยจะมีการแข่งขันของกรรมการด้วย เพื่อที่จะหา 12 นักล่าฝันตัวจริงและกรรมการจะคัดออกทีมละ 1 คนใน 3 สัปดาห์ที่อยู่ในบ้านหลังเล็กจนเหลือ 12 นักล่าฝันตัวจริง และ AF9 เป็นปีแรกที่ได้มีพิธีกร 2 คน คือ สุวิกรม อัมระนันทน์ (เปอร์) และ เศรษฐา ศิระฉายา (อาต้อย).

ใหม่!!: จังหวัดแพร่และทรู อะคาเดมี่ แฟนเทเชีย ซีซั่นที่ 9 · ดูเพิ่มเติม »

ทศพร เสรีรักษ์

นายแพทย์ทศพร เสรีรักษ์ อดีตรองเลขาธิการนายกรัฐมนตรี อดีตโฆษกประจำสำนักนายรัฐมนตรี ในรัฐบาลนางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร และเป็นอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดแพร.

ใหม่!!: จังหวัดแพร่และทศพร เสรีรักษ์ · ดูเพิ่มเติม »

ท่าอากาศยานดอนเมือง

แผนผังท่าอากาศยานดอนเมือง ท่าอากาศยานนานาชาติดอนเมือง (ชื่อเดิมคือ ท่าอากาศยานกรุงเทพ) หรือที่รู้จักกันโดยทั่วไปว่า สนามบินดอนเมือง ตั้งอยู่บนถนนวิภาวดีรังสิต แขวงสนามบิน เขตดอนเมือง ช่วงกิโลเมตรที่ 24 ทางตอนเหนือของกรุงเทพมหานคร เป็นจุดศูนย์กลางทางการบินในภาคพื้นเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ที่สามารถเชื่อมโยงการคมนาคมทางอากาศไปยังจุดต่างๆ ของโลกได้อย่างเหมาะสม ไม่ว่าจะเป็นการบินภายในภูมิภาคเอเชียด้วยกัน หรือระหว่างทวีปยุโรป ทวีปอเมริกา ทวีปออสเตรเลีย ซึ่งสามารถใช้เป็นจุดแวะลงและเชื่อมต่อในการเดินทางของผู้โดยสารตลอดจนพัสดุไปรษณียภัณฑ์ไปยังจุดอื่นๆ ได้อย่างดี เปิดดำเนินการครั้งแรกเมื่อวันที่ 27 มีนาคม พ.ศ. 2457 โดยปิดตัวลงวันที่ 28 กันยายน พ.ศ. 2549 วันเดียวกับที่ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิเปิดใช้งาน โดยสนามบินดอนเมืองถูกเปลี่ยนเป็นสถานที่ซ่อมเครื่องบิน ฝึกบิน และสำหรับจอดเครื่องบินส่วนตัวของบุคคลสำคัญ อย่างไรก็ตาม ตั้งแต่วันที่ 25 มีนาคม พ.ศ. 2550 เป็นต้นมา ท่าอากาศยานดอนเมืองได้กลับมาให้บริการเที่ยวบินแบบประจำ (scheduled flight) เที่ยวบินในประเทศอีกครั้งโดยมี สายการบินไทย นกแอร์ วันทูโก และพีบีแอร์มาเปิดให้บริการในลำดับแรก หลังจากพบปัญหาหลายอย่างที่ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ และในวันที่ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2555 ท่าอากาศยานดอนเมืองได้กลับมาเปิดให้บริการในฐานะสนามบินนานาชาติแห่งที่สองอีกครั้ง เนื่องด้วยนโยบายรัฐบาลนางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตรต้องการลดความแออัดของท่าอากาศยานสุวรรณภูมิลง ปัจจุบัน ท่าอากาศยานดอนเมือง รับเที่ยวบิน จาก ประเทศจีน ประเทศเกาหลีใต้ ประเทศญี่ปุ่น ประเทศสิงคโปร์ ประเทศกัมพูชา ประเทศมาเลเซีย ประเทศพม่า ประเทศเวียดนาม ประเทศไต้หวัน ประเทศอินโดนีเซีย ประเทศอินเดีย ประเทศมัลดีฟส์ ฮ่องกง ประเทศฟิลิปปินส์ มาเก๊า และล่าสุด ประเทศเนปาล รวม 14 ประเทศ ส่วนเที่ยวบินภายในประเทศสำหรับท่าอากาศยานดอนเมืองมีเที่ยวบินภายในประเทศบริการบินไปกลับ จาก ท่าอากาศยานแพร่ ท่าอากาศยานตรัง ท่าอากาศยานร้อยเอ็ด ท่าอากาศยานนครพนม ท่าอากาศยานนครศรีธรรมราช ท่าอากาศยานระนอง ท่าอากาศยานสกลนคร ท่าอากาศยานพิษณุโลก ท่าอากาศยานบุรีรัมย์ ท่าอากาศยานน่านนคร ท่าอากาศยานแม่ฮ่องสอน ท่าอากาศยานแม่สอด และ ท่าอากาศยานเพชรบูรณ์ ซึ่ง ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ ไม่มีบริการใน 13 จังหวัดดังกล่าว ใน 13 จังหวัดดังกล่าวมีเที่ยวบินให้บริการที่ ท่าอากาศยานดอนเมืองเท่านั้น.

ใหม่!!: จังหวัดแพร่และท่าอากาศยานดอนเมือง · ดูเพิ่มเติม »

ณรงค์ วงศ์วรรณ

ณรงค์ วงศ์วรรณ (25 ธันวาคม พ.ศ. 2468 -) หรือเป็นที่รู้จักว่า "พ่อเลี้ยงเมืองแพร่" อดีตรองนายกรัฐมนตรี อดีตรัฐมนตรีหลายกระทรวง และอดีตหัวหน้าพรรคสามัคคีธรรม เป็นหัวหน้าพรรคการเมืองที่เคยได้รับเลือกตั้ง..มากที่สุดในสภาผู้แทนราษฎร แต่หัวหน้าพรรคไม่ได้รับตำแหน่งนายกรัฐมนตรี.

ใหม่!!: จังหวัดแพร่และณรงค์ วงศ์วรรณ · ดูเพิ่มเติม »

ดุสิต รังคสิริ

นายดุสิต รังคสิริ (เกิด 4 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2484) อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงอุตสาหกรรม และ อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดแพร่ 7 สมั.

ใหม่!!: จังหวัดแพร่และดุสิต รังคสิริ · ดูเพิ่มเติม »

ครูบากัญจนอรัญญวาสีมหาเถร

รูบากัญจนอรัญญวาสีมหาเถร หรือ ครูบามหาเถร เป็นมหาเถระที่เป็นที่รู้จักโดยทั่วไปในภาคเหนือ (ล้านนา) และเป็นผู้แตกฉานในภาษาบาลีและภาษาล้านนา เจ้าหลวงเชียงใหม่ทรงตั้งฉายาให้ท่านว่าครูบากัญจนอรัญญวาสีมหาเถร ถือเป็นปฐมครูบาเจ้าแห่งล้านน.

ใหม่!!: จังหวัดแพร่และครูบากัญจนอรัญญวาสีมหาเถร · ดูเพิ่มเติม »

คุ้มวิชัยราชา

้มวิไชยราชา หรือ บ้านวิชัยราชา เป็นคุ้มของพระวิไชยราชา (เจ้าหนานขัติ แสนศิริพันธุ์) พระวิไชยราชานครแพร่องค์สุดท้าย และอดีตเสนาคลังเมืองนครแพร่ บุตรในเจ้าแสนเสมอใจเครือญาติเจ้าหลวงเทพวงศ์ลิ้นตอง เจ้าผู้ครองนครแพร่ องค์ที่ 19 ตั้งอยู่ในเขตกำแพงเมืองเก่าแพร่ ตำบลในเวียง อำเภอเมืองแพร่ จังหวัดแพร.

ใหม่!!: จังหวัดแพร่และคุ้มวิชัยราชา · ดูเพิ่มเติม »

คุ้มวงศ์บุรี

้มวงศ์บุรี หรือ บ้านวงศ์บุรี ตั้งอยู่เลขที่ 50 ถนนคำลือ (ถนนหลังจวนผู้ว่า สี่แยกพระนอนเหนือ ใกล้กับวัดพงษ์สุนันท์) อำเภอเมือง จังหวัดแพร่ เป็นคุ้มของเจ้าพรหม วงศ์พระถาง หรือ หลวงพงษ์พิบูลย์ ผู้สืบเชื้อสายมาจากอดีตเจ้าหลวงนครแพร่ และเจ้าสุนันทา วงศ์บุรี (บุตรีบุญธรรมในแม่เจ้าบัวถา มหายศปัญญา) ได้รับรางวัลอนุรักษ์ดีเด่น ปี พ.ศ. 2536 ของสมาคมสถาปนิกสยามในพระบรมราชูปถัม.

ใหม่!!: จังหวัดแพร่และคุ้มวงศ์บุรี · ดูเพิ่มเติม »

คุ้มเจ้าหลวง (นครแพร่)

้มเจ้าหลวง หรือ คุ้มหลวงนครแพร่ เป็นที่ประทับของเจ้าพิริยเทพวงษ์ เจ้าผู้ครองนครแพร่ องค์ที่ 22 และเป็นคุ้มเจ้าหลวงเพียงไม่กี่แห่งในแผ่นดินล้านนาที่เหลืออยู่ในปัจจุบัน ตั้งอยู่ที่ในเขตกำแพงเมืองเก่าแพร่ ตำบลในเวียง อำเภอเมืองแพร่ จังหวัดแพร.

ใหม่!!: จังหวัดแพร่และคุ้มเจ้าหลวง (นครแพร่) · ดูเพิ่มเติม »

คุ้มเจ้าหนานไชยวงศ์

้มเจ้าหนานไชยวงศ์ หรือ บ้านเจ้าหนานไชยวงศ์ ตั้งอยู่เลขที่ 6 ถนนพระร่วง ตำบลในเวียง อำเภอเมือง จังหวัดแพร่ เป็นคุ้มของเจ้าหนานไชยวงศ์ หรือ เจ้าหนานตึ หัวเมืองแก้ว และเจ้าสุธรรมมา มหายศปัญญา ธิดาในเจ้าบุรีรัตน์ (น้อยหนู มหายศปัญญา เจ้าบุรีรัตน์องค์สุดท้ายแห่งนครแพร.

ใหม่!!: จังหวัดแพร่และคุ้มเจ้าหนานไชยวงศ์ · ดูเพิ่มเติม »

คณิน บัดติยา

ณิน บัดติยา (ชื่อเล่น: คูณ; เกิด: 10 พฤษภาคม พ.ศ. 2529) เป็นนักแสดงและพิธีกรชาวไทย นำแสดงในภาพยนตร์ไทยเรื่อง ม.3 ปี 4 เรารักนาย โดยรับบทธีร์ พระเอกรุ่นพี่ของเรื่อง ซึ่งแสดงคู่กับสโรชา ตันจรารักษ์ ที่รับบท จูน.

ใหม่!!: จังหวัดแพร่และคณิน บัดติยา · ดูเพิ่มเติม »

ตารางกิโลเมตร

ตารางกิโลเมตร คือหน่วยของพื้นที่ มักย่อว่า ตร.กม.

ใหม่!!: จังหวัดแพร่และตารางกิโลเมตร · ดูเพิ่มเติม »

ตำบล

ตำบลหรือ เขตที่ตั้งเมือง (township) เป็นนิคมมนุษย์ที่มีขนาดใหญ่กว่าหมู่บ้าน แต่เล็กกว่าเมือง ขนาดของเมืองขนาดเล็กอาจแตกต่างกันอย่างมากในทุกภูมิภาคของโลก เมืองขนาดเล็กในประเทศไทยยังหมายถึงเทศบาลตำบล.

ใหม่!!: จังหวัดแพร่และตำบล · ดูเพิ่มเติม »

ประนอม ทาแปง

ประนอม ทาแปง ศิลปินแห่งชาติ สาขาประณีตศิลป์-ศิลปะการทอผ้..

ใหม่!!: จังหวัดแพร่และประนอม ทาแปง · ดูเพิ่มเติม »

ประเสริฐ ณ นคร

ตราจารย์ ประเสริฐ ณ นคร อดีตนายกราชบัณฑิตยสถาน และนักวิจัยดีเด่นแห่งชาติปี พ.ศ. 2531 เป็นผู้ประพันธ์คำร้องภาษาไทยของเพลงพระราชนิพนธ์ชะตาชีวิต ใกล้รุ่ง ในดวงใจนิรันดร์ แว่ว เพลงประจำมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ศาสตราจารย์ ประเสริฐ ณ นคร หรือ ศาสตราจารย์ ดร.ประเสริฐ ณ นคร สนใจงานด้านคณิตศาสตร์ สถิติ การคำนวณปฏิทิน การแต่งเพลง พันธุศาสตร์ ประวัติศาสตร์ ภาษาไทยโบราณ มีผลงานวิจัยที่ได้รับการตีพิมพ์เผยแพร่ทั้งในประเทศและต่างประเทศ เป็นที่ยอมรับและอ้างถึงในวงวิชาการอย่างกว้างขวาง ที่เป็นที่รู้จัก ได้แก่ การชำระประวัติศาสตร์สุโขทัย ถิ่นเดิมและตระกูลภาษาไทย หลักการสอบค้นเมืองสมัยสุโขทัย การแบ่งกลุ่มไทยตามตัวหนังสือ พจนานุกรมไทยอาหม ตัวอักษรไทยในล้านนา ที่มาของอักษรไทยล้านนาและไทยลื้อ นอกจากนี้ ยังมีผลงานวิจัยที่ตีพิมพ์ในวารสารทั้งภายในและต่างประเทศ ไม่ต่ำกว่า 100 บทความ ศาสตราจารย์ ดร.ประเสริฐ ณ นคร เกิดในวันวสันตวิษุวัต ของปี..

ใหม่!!: จังหวัดแพร่และประเสริฐ ณ นคร · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศไทย

ประเทศไทย มีชื่ออย่างเป็นทางราชการว่า ราชอาณาจักรไทย เป็นรัฐชาติอันตั้งอยู่ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เดิมมีชื่อว่า "สยาม" รัฐบาลประกาศเปลี่ยนชื่อเป็นประเทศไทยอย่างเป็นทางการตั้งแต่ปี 2482 ประเทศไทยมีขนาดใหญ่เป็นอันดับที่ 50 ของโลก มีเนื้อที่ 513,115 ตารางกิโลเมตร และมีประชากรมากเป็นอันดับที่ 20 ของโลก คือ ประมาณ 66 ล้านคน กรุงเทพมหานครเป็นศูนย์กลางการบริหารราชการแผ่นดินและนครใหญ่สุดของประเทศ และการปกครองส่วนภูมิภาค จัดระเบียบเป็น 76 จังหวัด แม้จะมีการสถาปนาระบอบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญและประชาธิปไตยระบบรัฐสภาในปี 2475 แต่กองทัพยังมีบทบาทในการเมืองไทยสูง ล่าสุด เกิดรัฐประหารเมื่อวันที่ 22 พฤษภาคม 2557 และมีการปกครองแบบเผด็จการทหารนับแต่นั้น พบหลักฐานการอยู่อาศัยอย่างต่อเนื่องในอาณาเขตประเทศไทยปัจจุบันตั้งแต่ 20,000 ปีก่อนคริสตกาล ชาวไทเริ่มอพยพเข้าสู่บริเวณนี้ในคริสต์ศตวรรษที่ 11 แล้วเข้ามาตั้งแว่นแคว้นต่าง ๆ ที่สำคัญได้แก่ อาณาจักรสุโขทัย อาณาจักรล้านนาและอาณาจักรอยุธยา นักประวัติศาสตร์มักถือว่าอาณาจักรสุโขทัยเป็นจุดเริ่มต้นของประวัติศาสตร์ไทย ต่อมาอาณาจักรอยุธยาค่อย ๆ เรืองอำนาจมากขึ้นจนเป็นมหาอำนาจในภูมิภาคในปลายคริสต์ศตวรรษที่ 14 การติดต่อกับชาติตะวันตกเริ่มด้วยผู้แทนทางทูตชาวโปรตุเกสในปี 2054 อาณาจักรรุ่งเรืองอย่างมากในรัชกาลสมเด็จพระนารายณ์มหาราช (ครองราชย์ปี 2199–2231) แต่หลังจากนั้นค่อย ๆ เสื่อมอำนาจโดยมีสาเหตุส่วนหนึ่งจากการผลัดแผ่นดินที่มีการนองเลือดหลายรัชกาล จนสุดท้ายกรุงศรีอยุธยาถูกทำลายสิ้นเชิงในปี 2310 สมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรีทรงรวบรวมแผ่นดินที่แตกออกเป็นก๊กต่าง ๆ และสถาปนาอาณาจักรธนบุรีที่มีอายุ 15 ปี ความวุ่นวายในช่วงปลายอาณาจักรนำไปสู่การสำเร็จโทษพระองค์โดยพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช ปฐมราชวงศ์จักรีแห่งกรุงรัตนโกสินทร์ ช่วงต้นกรุงรัตนโกสินทร์ ประเทศเผชิญภัยคุกคามจากชาติใกล้เคียง แต่หลังรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวเป็นต้นมา ชาติตะวันตกเริ่มมีอิทธิพลในภูมิภาคเป็นอย่างมาก นำไปสู่การเข้าเป็นภาคีแห่งสนธิสัญญาไม่เป็นธรรมหลายฉบับ กระนั้น สยามไม่ตกเป็นอาณานิคมของตะวันตกชาติใด มีการปรับให้สยามทันสมัยและรวมอำนาจปกครองในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (ครองราชย์ปี 2411–53) สยามเข้าร่วมกับฝ่ายสัมพันธมิตรในสงครามโลกครั้งที่หนึ่งในปี 2460; ในปี 2475 เกิดการปฏิวัติเปลี่ยนแปลงการปกครองสู่ระบอบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญโดยไม่เสียเลือดเนื้อ คณะราษฎรมีบทบาทนำทางการเมือง และในพุทธทศวรรษ 2480 นายกรัฐมนตรี จอมพล แปลก พิบูลสงคราม ดำเนินนโยบายชาตินิยมเข้มข้น ระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง ไทยเข้ากับฝ่ายอักษะ แต่ฝ่ายสัมพันธมิตรส่วนใหญ่ไม่ยอมรับการประกาศสงคราม ในช่วงสงครามเย็น ประเทศไทยเป็นพันธมิตรกับสหรัฐซึ่งสนับสนุนรัฐบาลทหารมาก รัฐประหารที่มีจอมพล สฤษดิ์ ธนะรัชต์เป็นหัวหน้าคณะในปี 2500 ทำให้คณะราษฎรหมดอำนาจ รัฐบาลฟื้นฟูพระราชอำนาจและมีมาตรการต่อต้านคอมมิวนิสต์ในภูมิภาค ผลของเหตุการณ์ 14 ตุลา 2516 ทำให้เกิดประชาธิปไตยระบบรัฐสภาช่วงสั้น ๆ ประเทศไทยมีนายกรัฐมนตรีจากการเลือกตั้งครั้งแรกในปี 2531 หลังพุทธทศวรรษ 2540 มีวิกฤตการเมืองระหว่างฝ่ายที่สนับสนุนและต่อต้านอดีตนายกรัฐมนตรีทักษิณ ชินวัตรมาจนปัจจุบัน รวมทั้งเกิดรัฐประหารสองครั้ง โดยครั้งล่าสุดเกิดในปี 2557 รัฐธรรมนูญฉบับปัจจุบันเป็นฉบับที่ 20 ประกาศใช้เมื่อวันที่ 6 เมษายน 2560 หลังมีการลงประชามติรับร่างเมื่อหนึ่งปีก่อน ประเทศไทยเป็นสมาชิกสหประชาชาติ เอเปก อีกทั้งเป็นร่วมผู้ก่อตั้งอาเซียน ประเทศไทยเป็นพันธมิตรของสหรัฐตั้งแต่สนธิสัญญาซีโต้ในปี 2497 ถือเป็นประเทศอำนาจนำภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และประเทศอำนาจปานกลางในเวทีโลก ประเทศไทยเป็นประเทศที่มีรายได้ปานกลาง-สูงและประเทศอุตสาหกรรมใหม่ มีรายได้หลักจากภาคอุตสาหกรรมและบริการ การเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจทำให้มีการอพยพเข้าสู่เมืองในคริสต์ศตวรรษที่ 20 ตามประมาณการในปี 2560 จีดีพีของประเทศไทยมีมูลค่าราว 432,898 ล้านดอลลาร์สหรัฐ นับว่าเศรษฐกิจไทยเป็นเศรษฐกิจใหญ่สุดเป็นอันดับ 2 ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และใหญ่เป็นอันดับที่ 26 ของโลก.

ใหม่!!: จังหวัดแพร่และประเทศไทย · ดูเพิ่มเติม »

ปานหทัย เสรีรักษ์

นางปานหทัย เสรีรักษ์ (เกิด 11 มกราคม พ.ศ. 2498) สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดแพร่ เขต 1 ได้รับการเลือกตั้งเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรครั้งแรกในปี พ.ศ. 2550 ในสังกัดพรรคพลังประชาชน ปัจจุบันสังกัดพรรคเพื่อไท.

ใหม่!!: จังหวัดแพร่และปานหทัย เสรีรักษ์ · ดูเพิ่มเติม »

นกแอร์

นกแอร์ (อังกฤษ: Nok Air) เป็นสายการบินราคาประหยัดของประเทศไทย เปิดตัวอย่างเป็นทางการเมื่อวันที่ 10 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2547 ภายใต้ชื่อบริษัท สกายเอเชีย จำกัด (Sky Asia Ltd.) เริ่มทำการบินครั้งแรกวันที่ 23 กรกฎาคม 2547 และเมื่อวันที่ 16 มกราคม 2549 ได้เปลี่ยนชื่อเป็น บริษัท สายการบินนกแอร์ จำกัด (Nok Airlines Co., Ltd.) ต่อมาได้เปลี่ยนชื่ออีกครั้งเป็น บริษัทสายการบินนกแอร์ จำกัด (มหาชน) (Nok Airlines Public Company Limited) เมื่อวันที่ 18 มกราคม 2556 เพื่อเตรียมนำบริษัทเข้าสู่ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย และเริ่มซื้อขายบนกระดานหลักทรัพย์ได้ในวันที่ 20 มิถุนายนปีเดียวกัน สายการบินนกแอร์ ก่อตั้งขึ้นโดยมีบริษัทร่วมทุนดังนี้ บริษัท การบินไทย จำกัด (มหาชน) (ถือหุ้น 49%) บริษัท นกแอร์แมนเนจเม้นท์ฮ่องกง จำกัด (25%) บริษัท ทุนลดาวัลย์ จำกัด (สำนักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์) (6%) ธนาคารไทยพาณิชย์ จำกัด (มหาชน) (5%) บริษัท คิง เพาเวอร์ อินเตอร์เนชั่นแนลจำกัด (5%) ผู้ถือหุ้นรายอื่น ๆ (10%) โดยมีนายพาที สารสิน เป็นประธานเจ้าหน้าที่บริหาร ตั้งแต่ก่อตั้งสายการบิน จนกระทั่งนายพาทีลาออกจากตำแหน่งเมื่อวันที่ 14 กันยายน 2560 ที่ประชุมคณะกรรมการบริษัทจึงได้แต่งตั้งนายปิยะ ยอดมณี รองประธานเจ้าหน้าที่บริหาร เป็นประธานเจ้าหน้าที่บริหารแทน.

ใหม่!!: จังหวัดแพร่และนกแอร์ · ดูเพิ่มเติม »

นิยม วิวรรธนดิฐกุล

นายนิยม วิวรรธนดิฐกุล (เกิด 2 พฤษภาคม พ.ศ. 2499) สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดแพร่ เขต 2 ได้รับการเลือกตั้งเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรครั้งแรกในปี พ.ศ. 2550 ในสังกัดพรรคพลังประชาชน ปัจจุบันสังกัดพรรคเพื่อไท.

ใหม่!!: จังหวัดแพร่และนิยม วิวรรธนดิฐกุล · ดูเพิ่มเติม »

นิคม จันทรวิทุร

180px ศาสตราจารย์นิคม จันทรวิทุร (6 สิงหาคม พ.ศ. 2468 - 31 ตุลาคม พ.ศ. 2544) นักรณรงค์เคลื่อนไหวเพื่อสิทธิของแรงงานและคนยากจนด้อยโอกาส และนักวิชาการด้านแรงงานคนสำคัญคนหนึ่งของไทย เกิดที่บ้านท่าล้อ ตำบลสูงเม่น อำเภอสูงเม่น จังหวัดแพร่ ในครอบครัวไทย-จีน บิดาชื่อจันทร์ หรือ “พ่อเลี้ยงจันทร์” อพยพมาจากเมืองจีนตั้งแต่เล็ก ส่วนมารดาเป็นไทยชื่อ บัวจีน ศาสตราจารย์นิคม จันทรวิทุรเป็นบุตรคนที่ 9 จากพี่น้อง 11 คน บิดามีอาชีพทำนาและทำไม้.

ใหม่!!: จังหวัดแพร่และนิคม จันทรวิทุร · ดูเพิ่มเติม »

นครรัฐแพร่

นครรัฐแพร่ หรือ นครแพร่ เป็นนครรัฐอิสระขนาดเล็กในอดีตรัฐหนึ่ง ซึ่งตั้งอยู่บนที่ราบลุ่มแม่น้ำยม เดิมเรียกว่า “เมืองพล” นครพล, หรือพลนคร, “เวียงโกศัย” หรือโกศัยนคร, “เมืองแพล” มีชื่อเต็มว่า โกเสยุยธชุชพลวิชยแพร่แก้วเมืองมุร จนกระทั่ง..

ใหม่!!: จังหวัดแพร่และนครรัฐแพร่ · ดูเพิ่มเติม »

แม่น้ำยม

แม่น้ำยมในจังหวัดแพร่ แม่น้ำยม (20px) เป็นแม่น้ำที่มีต้นกำเนิดอยู่ในป่าดงดิบสูงชันสลับซับซ้อนบนเทือกเขาผีปันน้ำและเทือกเขาแดนลาว ซึ่งอยู่ในเขต พะเยา และแพร่ โดยมีแม่น้ำงิม และ แม่น้ำควร ไหลมาบรรจบกันที่บ้านบุญยืน ตำบลนาปรัง อำเภอปง จังหวัดพะเยา มีความยาวประมาณ 735 กิโลเมตร กระแสน้ำไหลผ่านที่ราบสูงของอำเภอปง อำเภอเชียงม่วน จังหวัดพะเยา ผ่านจังหวัดแพร่ สุโขทัย พิษณุโลก และพิจิตร ไปบรรจบกับแม่น้ำน่านที่ตำบลเกยไชย อำเภอชุมแสง จังหวัดนครสวรรค์ ก่อนแม่น้ำน่านจะไปรวมกับแม่น้ำปิง ที่ตำบลปากน้ำโพ อำเภอเมือง จังหวัดนครสวรรค์ เกิดเป็นแม่น้ำเจ้าพระยา แม่น้ำสายสำคัญของพื้นที่ราบลุ่มภาคกลางของประเทศไทย สภาพโครงสร้างทางน้ำของแม่น้ำยมมีลักษณะแบบกิ่งไม้ ประกอบด้วยลำน้ำสาขา 77 สาย ระดับน้ำสูงสุดในฤดูฝน ลดลงเมื่อถึงฤดูหนาว และต่ำสุดในฤดูร้อน ภูมิอากาศเปลี่ยนแปลงตามอิทธิพลของลมมรสุมตะวันตกเฉียงใต้และลมมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือ.

ใหม่!!: จังหวัดแพร่และแม่น้ำยม · ดูเพิ่มเติม »

โชติ แพร่พันธุ์

ติ แพร่พันธุ์ หรือเจ้าของนามปากกา “ยาขอบ” ที่มีผลงานเด่นคือ ผู้ชนะสิบทิศ และอีกหลากหลายเรื่องไม่ว่าจะเป็นผลงานเรื่องสั้นชื่อ “เพื่อนแพง” วรรณกรรมเรื่องยาวอย่าง สามก๊ก (ฉบับวณิพก) ความเรียงปกิณกะเรื่องสินในหมึก เป็นต้น.

ใหม่!!: จังหวัดแพร่และโชติ แพร่พันธุ์ · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนพิริยาลัยจังหวัดแพร่

รงเรียนพิริยาลัยจังหวัดแพร่ แต่เดิมชื่อว่าโรงเรียนเทพวงศ์ ตั้งอยู่ระหว่างวัดพระบาทและวัดมิ่งเมือง (ในสมัยนั้น) ก่อตั้งเมื่อ..

ใหม่!!: จังหวัดแพร่และโรงเรียนพิริยาลัยจังหวัดแพร่ · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนพุทธโกศัยวิทยา

รงเรียนพุทธโกศัยวิทยา วัดพระบาทมิ่งเมืองวรวิหาร จังหวัดแพร่ โรงเรียนพระปริยัติธรรมแผนกสามัญศึกษา ต้นแบบในโครงการตามพระราชดำริสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี สังกัด มหาเถรสมาคม กองพุทธศาสนศึกษา สำนักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ เขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา ที่ ๓๗ ก่อตั้งเมื่อปีพุทธศักราช ๒๕๐๐ ตั้งอยู่เลขที่ ๑๖ ถนนเจริญเมือง ตำบลในเวียง อำเภอเมืองแพร่ จังหวัดแพร่ ภาพพระมหาโพธิวงศาจารย์ (สุจี กตสาโร) หรือหลวงปู่จี๋ ผู้ก่อตั้งโรงเรียนพุทธโกศัยวิทยา จังหวัดแพร.

ใหม่!!: จังหวัดแพร่และโรงเรียนพุทธโกศัยวิทยา · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนมารดาอุปถัมภ์

รงเรียนมารดาอุปถัมภ์จังหวัดแพร่ เป็นโรงเรียนประถมศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน ตั้งอยู่ ณ เลขที่ 175/2.ยันตรกิจโกศล ต.ในเวียง อ.เมืองแพร.แพร่ 54000 โทรสาร.

ใหม่!!: จังหวัดแพร่และโรงเรียนมารดาอุปถัมภ์ · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนร้องกวางอนุสรณ์

รงเรียนร้องกวางอนุสรณ์ (Rongkwang Anusorn School) เป็นโรงเรียนระดับมัธยมศึกษาขนาดใหญ่ ประจำอำเภอร้องกวาง จังหวัดแพร่ ปัจจุบันเปิดการเรียนการสอนแบบสหศึกษา เปิดสอนระดับมัธยมศึกษาตอนต้น และชั้นมัธยมศึกษาตอนปล.

ใหม่!!: จังหวัดแพร่และโรงเรียนร้องกวางอนุสรณ์ · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนวังชิ้นวิทยา

รงเรียนวังชิ้นวิทยา ตั้งอยู่เลขที่ 508 หมู่ 8 ตำบลวังชิ้น อำเภอวังชิ้น จังหวัดแพร่ เป็นโรงเรียนมัธยมศึกษาประจำอำเภอวังชิ้น จังหวัดแพร.

ใหม่!!: จังหวัดแพร่และโรงเรียนวังชิ้นวิทยา · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนวิไลเกียรติอุปถัมภ์

รงเรียนวิไลเกียรติฯ เป็นโรงเรียนในจังหวัดแพร.

ใหม่!!: จังหวัดแพร่และโรงเรียนวิไลเกียรติอุปถัมภ์ · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนนารีรัตน์จังหวัดแพร่

ป้ายโรงเรียนนารีรัตน์จังหวัดแพร่ โรงเรียนนารีรัตน์จังหวัดแพร่ เป็นโรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดใหญ่พิเศษ สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ ตั้งอยู่ ณ เลขที่ 1 ถนนคุ้มเดิม ตำบลในเวียง อำเภอเมืองแพร่ จังหวัดแพร่ เปิดสอนเมื่อ พ.ศ. 2464 โดยกระทรวงธรรมการ ได้มี ตราบุษบก ตามประทีปน้อย ที่ 13/1148 ลงวันที่ 27 พฤษภาคม 2464 อนุญาตให้จัดตั้งโรงเรียนรัฐบาลประจำมลฑลมหาราษฎร์ฝ่ายสตรี และให้นางสาวอนงค์ ภูมิรัตน์ เป็นครูใหญ่ มหาเสวกตรี พระยาเพชรรัตน์สงคราม อนุญาตให้ใช้สโมสรเสือป่าเก่า 2 หลัง เป็นสถานที่เล่าเรียนและได้จัดทำพิธีเปิดป้ายโรงเรียนขึ้น ในวันที่ 15 และ 16 มิถุนายน 2464 เปิดสอนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 ถึงชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 มีนักเรียน 47 คน ปัจจุบัน เปิดสอนระดับชั้น ม.1 - ม.6 และในปีการศึกษา 2553 มีนักเรียนจำนวนทั้งหมด 3,700คน.

ใหม่!!: จังหวัดแพร่และโรงเรียนนารีรัตน์จังหวัดแพร่ · ดูเพิ่มเติม »

โอฬาร ไชยประวัติ

อฬาร ไชยประวัติ อดีตประธานผู้แทนการค้าไทย และอดีตที่ปรึกษานายกรัฐมนตรี (ยิ่งลักษณ์ ชินวัตร) อดีตรองนายกรัฐมนตรี เป็นนักการเมืองสังกัดพรรคเพื่อไทย ในสมัยรัฐบาลสมชาย วงศ์สวัสดิ์ ดร.โอฬารเป็นเหตุสำคัญในคำพิพากษาของศาลปกครองสูงสุดเพราะมีผลประโยชน์ทับซ้อนกรณีการแปรรูป บม.

ใหม่!!: จังหวัดแพร่และโอฬาร ไชยประวัติ · ดูเพิ่มเติม »

เอเอสทีวีผู้จัดการ

ผู้จัดการ 360° เป็นหนังสือพิมพ์ธุรกิจรายวันภาษาไทย ในเครือผู้จัดการ วางแผง(วันจันทร์-วันเสาร์)โดยฉบับ(วันเสาร์จะควบวันอาทิตย์) วางจำหน่ายฉบับปฐมฤกษ์ (ในชื่อเอเอสทีวีผู้จัดการ) เมื่อวันศุกร์ที่ 21 พฤศจิกายน..

ใหม่!!: จังหวัดแพร่และเอเอสทีวีผู้จัดการ · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าพิริยเทพวงษ์

้าพิริยเทพวงษ์ หรือ เจ้าหลวงพิริยเทพวงศ์ ทรงเป็นเจ้าผู้ครองนครแพร่ องค์ที่ 22 (องค์ที่ 4 แห่งราชวงศ์เทพวงศ์) ตรงกับรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว และเป็นต้นราชตระกูลเทพวง.

ใหม่!!: จังหวัดแพร่และเจ้าพิริยเทพวงษ์ · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าวงศ์ แสนศิริพันธุ์

้าวงศ์ แสนศิริพันธุ์ หรือ เจ้าโว้ง แสนศิริพันธุ์องค์การบริหารส่วนจังหวัดแพร.

ใหม่!!: จังหวัดแพร่และเจ้าวงศ์ แสนศิริพันธุ์ · ดูเพิ่มเติม »

เทศบาลเมืองแพร่

ทศบาลเมืองแพร่ เป็นองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นประเภทเทศบาลเมือง ตั้งอยู่ในเขตอำเภอเมืองแพร่ จังหวัดแพร่ มีพื้นที่ 9 ตารางกิโลเมตร ครอบคลุมตำบลในเวียงทั้งตำบล มีประชากรในปี..

ใหม่!!: จังหวัดแพร่และเทศบาลเมืองแพร่ · ดูเพิ่มเติม »

19

19 (สิบเก้า) เป็นจำนวนธรรมชาติที่อยู่ถัดจาก 18 (สิบแปด) และอยู่ก่อนหน้า 20 (ยี่สิบ).

ใหม่!!: จังหวัดแพร่และ19 · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

จ.แพร่แพร่เมืองแพร่

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »