โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ติดตั้ง
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

สมศักดิ์ ปริศนานันทกุล

ดัชนี สมศักดิ์ ปริศนานันทกุล

นายสมศักดิ์ ปริศนานันทกุล (27 เมษายน 2494 -) อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ อดีตรองหัวหน้าพรรคชาติไทย และอดีต..อ่างทอง หลายสมัย เคยดำรงตำแหน่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ และรองประธานสภาผู้แทนราษฎร.

48 ความสัมพันธ์: ชวน หลีกภัยพ.ศ. 2494พ.ศ. 2529พ.ศ. 2538พ.ศ. 2539พ.ศ. 2540พ.ศ. 2542พ.ศ. 2543พ.ศ. 2551พรรคชาติไทยพรรคชาติไทยพัฒนากรวีร์ ปริศนานันทกุลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2557ภราดร ปริศนานันทกุลภคิน ปริศนานันทกุลมหาวิทยาลัยรามคำแหงมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการของไทยรัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ของไทยรายนามโฆษกประจำสำนักนายกรัฐมนตรีของประเทศไทยวราเทพ รัตนากรศาสนาพุทธสมชาย วงศ์สวัสดิ์สมศักดิ์ เทพสุทินสมัคร สุนทรเวชสมคิด จาตุศรีพิทักษ์สรอรรถ กลิ่นประทุมสุรนันทน์ เวชชาชีวะสุวัจน์ ลิปตพัลลภสุวิทย์ คุณกิตติสุดารัตน์ เกยุราพันธุ์สนธยา คุณปลื้มอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะธีระ วงศ์สมุทรธีระ สูตะบุตรคณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 53ปัญจะ เกสรทองเกษม วัฒนชัยเหตุการณ์ 14 ตุลา2 ธันวาคม24 กรกฎาคม24 กันยายน25 พฤศจิกายน27 เมษายน6 กุมภาพันธ์9 พฤศจิกายน9 กรกฎาคม9 กันยายน

ชวน หลีกภัย

วน หลีกภัย (28 กรกฎาคม พ.ศ. 2481 —) เป็นนายกรัฐมนตรีไทยคนที่ 20 ดำรงตำแหน่งสองสมัย ปัจจุบันเป็นประธานสภาที่ปรึกษาพรรคประชาธิปัต.

ใหม่!!: สมศักดิ์ ปริศนานันทกุลและชวน หลีกภัย · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2494

ทธศักราช 2494 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1951.

ใหม่!!: สมศักดิ์ ปริศนานันทกุลและพ.ศ. 2494 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2529

ทธศักราช 2529 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1986 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพุธตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: สมศักดิ์ ปริศนานันทกุลและพ.ศ. 2529 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2538

ทธศักราช 2538 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1995 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: สมศักดิ์ ปริศนานันทกุลและพ.ศ. 2538 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2539

ทธศักราช 2539 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1996 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: สมศักดิ์ ปริศนานันทกุลและพ.ศ. 2539 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2540

ทธศักราช 2540 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1997 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพุธตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: สมศักดิ์ ปริศนานันทกุลและพ.ศ. 2540 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2542

ทธศักราช 2542 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1999 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันศุกร์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน และสหประชาชาติกำหนดให้เป็น ปีสากลแห่งผู้สูงอายุและเป็นปีมหามงคลในโอกาสที่ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมีพระชนมพรรษาครบ 6 รอบ (พระราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนม์พรรรษา ๖ รอบ ๕ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๔๒).

ใหม่!!: สมศักดิ์ ปริศนานันทกุลและพ.ศ. 2542 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2543

ทธศักราช 2543 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2000 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ใหม่!!: สมศักดิ์ ปริศนานันทกุลและพ.ศ. 2543 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2551

ทธศักราช 2551 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2008 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคารตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ใหม่!!: สมศักดิ์ ปริศนานันทกุลและพ.ศ. 2551 · ดูเพิ่มเติม »

พรรคชาติไทย

รรคชาติไทย (Chart Thai Party) เป็นอดีตพรรคการเมืองในประเทศไทย เคยมีบทบาททางการเมืองระดับชาติช่วงปี..

ใหม่!!: สมศักดิ์ ปริศนานันทกุลและพรรคชาติไทย · ดูเพิ่มเติม »

พรรคชาติไทยพัฒนา

รรคชาติไทยพัฒนา (Chartthaipattana Party) ก่อตั้งเมื่อ 18 เมษายน พ.ศ. 2551 โดยมีนายกฤต รัตนคามินี เป็นหัวหน้าพรรคคนแรก ต่อมานายชุมพล ศิลปอาชา ได้รับเลือกเป็นหัวหน้าพรรค นายพันธุ์เทพ สุลีสถิร เป็นเลขาธิการพรรค และนายวัชระ กรรณิการ์ เป็นโฆษกพรรค กระทั่งในปี..

ใหม่!!: สมศักดิ์ ปริศนานันทกุลและพรรคชาติไทยพัฒนา · ดูเพิ่มเติม »

กรวีร์ ปริศนานันทกุล

กรวีร์ ปริศนานันทกุล เป็นอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดอ่างทอง สังกัดพรรคชาติไทยพัฒนา และเป็นบุตรชายของนายสมศักดิ์ ปริศนานันทกุล ปัจจุบันเป็นประธานบริษัท ลีกภูมิภาค จำกั.

ใหม่!!: สมศักดิ์ ปริศนานันทกุลและกรวีร์ ปริศนานันทกุล · ดูเพิ่มเติม »

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2557

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป..

ใหม่!!: สมศักดิ์ ปริศนานันทกุลและการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2557 · ดูเพิ่มเติม »

ภราดร ปริศนานันทกุล

ราดร ปริศนานันทกุล เป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดอ่างทอง สังกัดพรรคชาติไทยพัฒนา และเป็นบุตรชายของนายสมศักดิ์ ปริศนานันทกุล.

ใหม่!!: สมศักดิ์ ปริศนานันทกุลและภราดร ปริศนานันทกุล · ดูเพิ่มเติม »

ภคิน ปริศนานันทกุล

น ปริศนานันทกุล เป็นอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดอ่างทอง และเป็นบุตรชายของนายสมศักดิ์ ปริศนานันทกุล.

ใหม่!!: สมศักดิ์ ปริศนานันทกุลและภคิน ปริศนานันทกุล · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิทยาลัยรามคำแหง

มหาวิทยาลัยรามคำแหง (Ramkhamhaeng University; ชื่อย่อ: ม.ร. - RU) เป็นมหาวิทยาลัยรัฐและมหาวิทยาลัยตลาดวิชาแห่งเดียวในประเทศไทย ซึ่งรับบุคคลเข้าศึกษาโดยไม่สอบคัดเลือกและไม่จำกัดจำนวน ทำการเรียนการสอนแบบตลาดวิชา คือมีการเรียนการสอนในชั้นเรียนเช่นเดียวกับมหาวิทยาลัยปกติ แต่ไม่บังคับเข้าชั้นเรียน อันเป็นระบบเดียวกันกับมหาวิทยาลัยวิชาธรรมศาสตร์และการเมืองในอดีต มหาวิทยาลัยรามคำแหงเป็นหนึ่งในสถาบันการศึกษาชั้นนำของประเทศไทย และมีชื่อเสียงในด้านนิติศาสตร์และรัฐศาสตร์อย่างมาก.

ใหม่!!: สมศักดิ์ ปริศนานันทกุลและมหาวิทยาลัยรามคำแหง · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (Thammasat University) หรือเรียกโดยย่อว่า ม. (TU) เป็นมหาวิทยาลัยแห่งที่สองของประเทศไทย ก่อตั้งในชื่อ "มหาวิทยาลัยวิชาธรรมศาสตร์และการเมือง" หรือ "ม..ก." (The University of Moral and Political Sciences หรือ UMPS) เมื่อวันที่ 27 มิถุนายน..

ใหม่!!: สมศักดิ์ ปริศนานันทกุลและมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ · ดูเพิ่มเติม »

รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการของไทย

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: สมศักดิ์ ปริศนานันทกุลและรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการของไทย · ดูเพิ่มเติม »

รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ของไทย

รายพระนาม รายนาม เสนาบดี และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ.

ใหม่!!: สมศักดิ์ ปริศนานันทกุลและรัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ของไทย · ดูเพิ่มเติม »

รายนามโฆษกประจำสำนักนายกรัฐมนตรีของประเทศไทย

รายนามโฆษกประจำสำนักนายกรัฐมนตรีของประเทศไท.

ใหม่!!: สมศักดิ์ ปริศนานันทกุลและรายนามโฆษกประจำสำนักนายกรัฐมนตรีของประเทศไทย · ดูเพิ่มเติม »

วราเทพ รัตนากร

ร.วราเทพ รัตนากร อดีตรัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี และอดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ อดีตที่ปรึกษาศูนย์รักษาความสงบ ในรัฐบาลนางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงการคลัง ในรัฐบาลพันตำรวจโท ทักษิณ ชินวัตร อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร 7 สมัยจากจังหวัดกำแพงเพชรและแบบบัญชีรายชื่อตามลำดับ อดีตแกนนำ..

ใหม่!!: สมศักดิ์ ปริศนานันทกุลและวราเทพ รัตนากร · ดูเพิ่มเติม »

ศาสนาพุทธ

ระพุทธศาสนา หรือ ศาสนาพุทธ (buddhasāsana พุทฺธสาสนา, buddhaśāsana พุทธศาสนา) เป็นศาสนาที่มีพระพุทธเจ้าเป็นศาสดา มีพระธรรมที่พระองค์ตรัสรู้ชอบด้วยพระองค์เอง และตรัสสอนไว้เป็นหลักคำสอนสำคัญ มีพระสงฆ์ (ภิกษุ ภิกษุณี) สาวกผู้ตัดสินใจออกบวชเพื่อศึกษาปฏิบัติตนตามคำสั่งสอน ธรรม-วินัย ของพระบรมศาสดา เพื่อบรรลุสู่จุดหมายคือพระนิพพาน และสร้างสังฆะ เป็นชุมชนเพื่อสืบทอดคำสอนของพระบรมศาสดา รวมเรียกว่า พระรัตนตรัย นอกจากนี้ในพระพุทธศาสนา ยังประกอบคำสอนสำหรับการดำรงชีวิตที่ดีงาม สำหรับผู้ที่ยังไม่ออกบวช (คฤหัสถ์ - อุบาสก และอุบาสิกา) ซึ่งหากรวมประเภทบุคคลที่ที่นับถือและศึกษาปฏิบัติตนตามคำสั่งสอนของพระบรมศาสดา แล้วจะจำแนกได้เป็น 4 ประเภท คือ ภิกษุ ภิกษุณี อุบาสก อุบาสิกา หรือที่เรียกว่า พุทธบริษัท 4 ศาสนาพุทธเป็นศาสนาอเทวนิยม ปฏิเสธการมีอยู่ของพระเป็นเจ้าหรือพระผู้สร้าง และเชื่อในศักยภาพของมนุษย์ ว่าทุกคนสามารถพัฒนาจิตใจ ไปสู่ความเป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ได้ ด้วยความเพียรของตน กล่าวคือ ศาสนาพุทธ สอนให้มนุษย์บันดาลชีวิตของตนเอง ด้วยผลแห่งการกระทำของตน ตาม กฎแห่งกรรม มิได้มาจากการอ้อนวอนขอจากพระเป็นเจ้าและสิ่งศักดิ์สิทธิ์นอกกายพระไตรปิฎก เล่มที่ ๒๕ พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๑๗ ขุททกนิกาย ขุททกปาฐะ-ธรรมบท-อุทาน-อิติวุตตกะ-สุตตนิบาต คาถาธรรมบท อัตตวรรคที่ ๑. พระไตรปิฎกฉบับสยามรั.

ใหม่!!: สมศักดิ์ ปริศนานันทกุลและศาสนาพุทธ · ดูเพิ่มเติม »

สมชาย วงศ์สวัสดิ์

มชาย วงศ์สวัสดิ์ (31 สิงหาคม พ.ศ. 2490 —) เป็นนายกรัฐมนตรีคนที่ 26 ของประเทศไทย เป็นอดีตรองนายกรัฐมนตรี อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม อดีตผู้พิพากษา อดีตปลัดกระทรวงยุติธรรม อดีตปลัดกระทรวงแรงงาน ในขณะที่สมชายดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีนั้นเขาไม่ได้ปฏิบัติหน้าที่ในทำเนียบรัฐบาล เพราะพันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตยยังคงยึดพื้นที่ไว้ตั้งแต่ในสมัยรัฐบาลนายสมัคร สุนทรเวช โดยใช้สนามบินดอนเมืองเป็นที่ทำการแทน.

ใหม่!!: สมศักดิ์ ปริศนานันทกุลและสมชาย วงศ์สวัสดิ์ · ดูเพิ่มเติม »

สมศักดิ์ เทพสุทิน

นายสมศักดิ์ เทพสุทิน แกนนำกลุ่มสามมิตร หรือ กลุ่มวังน้ำยม และ กลุ่มมัชฌิมาเดิม กลุ่มอดีต..

ใหม่!!: สมศักดิ์ ปริศนานันทกุลและสมศักดิ์ เทพสุทิน · ดูเพิ่มเติม »

สมัคร สุนทรเวช

มัคร สุนทรเวช (ชื่อจีน: 李沙馬 Lǐ Shāmǎ; 13 มิถุนายน พ.ศ. 2478 – 24 พฤศจิกายน พ.ศ. 2552) เป็นนายกรัฐมนตรีไทยคนที่ 25 และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม หัวหน้าพรรคพลังประชาชน อดีตผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร และผู้ก่อตั้งพรรคประชากรไทย เกิดที่กรุงเทพมหานคร เป็นนักการเมืองเก่าแก่ ที่มีเสียงพูดและลีลาการพูดเป็นเอกลักษณ์ เคยดำรงตำแหน่งสำคัญมากมาย เช่น รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย รัฐมนตรีว่าการกระทรวงคมนาคม (2 สมัย) ได้ฉายาจากสื่อมวลชนทั่วไปว่า "น้าหมัก" "ออหมัก" หรือ "ชมพู่" (มาจากลักษณะจมูกของสมัคร) "ชาวนา" (จากกรณีกลุ่มงูเห่า) เป็นต้น สมัครเริ่มทำงานหลังจบนิติศาสตร์ ธรรมศาสตร์ เป็นสื่อมวลชนสายการเมือง โดยเขียนบทความ และความคิดเห็น ทางการเมืองแบบไม่ประจำใน หนังสือพิมพ์สยามรัฐ, สยามรัฐสัปดาห์วิจารณ์ และชาวกรุง ตั้งแต..

ใหม่!!: สมศักดิ์ ปริศนานันทกุลและสมัคร สุนทรเวช · ดูเพิ่มเติม »

สมคิด จาตุศรีพิทักษ์

รองศาสตราจารย์ สมคิด จาตุศรีพิทักษ์ ปัจจุบันเป็นรองนายกรัฐมนตรี ในรัฐบาล พล.อ.ประยุทธ์ จันทร์โอชา ประธานกรรมการนโยบายการให้เอกชนร่วมลงทุนในกิจการของรัฐ รองประธานกรรมการในคณะกรรมการส่งเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม (เฉพาะกิจ) กรรมการในคณะกรรมการบริหารราชการแผ่นดินตามกรอบการปฏิรูปประเทศยุทธศาสตร์ชาติ และการสร้างความสามัคคีปรองดอง อดีตรองนายกรัฐมนตรี ดูแลด้านเศรษฐกิจ และอดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงพาณิชย์ ในรัฐบาลของนายกรัฐมนตรี ทักษิณ ชินวัตร และเคยดำรงตำแหน่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลังหลายสมัย และยังเป็นที่ปรึกษาคณะรักษาความสงบแห่งชาติและอดีตสมาชิกคณะรักษาความสงบแห่งชาติตามประกาศคณะรักษาความสงบแห่งชาติที่ 122/2557.

ใหม่!!: สมศักดิ์ ปริศนานันทกุลและสมคิด จาตุศรีพิทักษ์ · ดูเพิ่มเติม »

สรอรรถ กลิ่นประทุม

นายสรอรรถ กลิ่นประทุม นายกสมาคมแห่งสถาบันพัฒนาการเมืองและการเลือกตั้ง นักการเมืองแกนนำกลุ่มราชบุรี อดีตรองหัวหน้าพรรคไทยรักไทย อดีตรัฐมนตรีหลายกระทรวง และอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จังหวัดราชบุรี ปัจจุบันดำรงตำแหน่งเป็นประธานคณะกรรมการที่ปรึกษาพรรคภูมิใจไท.

ใหม่!!: สมศักดิ์ ปริศนานันทกุลและสรอรรถ กลิ่นประทุม · ดูเพิ่มเติม »

สุรนันทน์ เวชชาชีวะ

รนันทน์ เวชชาชีวะ เป็นอดีตเลขาธิการนายกรัฐมนตรี ในรัฐบาลของนางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร อดีตรัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี ในรัฐบาลของ พ.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร สังกัดพรรคไทยรักไทย และเป็นหนึ่งในกรรมการบริหารพรรคไทยรักไทยที่ถูกตัดสิทธิ์ทางการเมือง.

ใหม่!!: สมศักดิ์ ปริศนานันทกุลและสุรนันทน์ เวชชาชีวะ · ดูเพิ่มเติม »

สุวัจน์ ลิปตพัลลภ

วัจน์ ลิปตพัลลภ นายกสภามหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา อดีตรองนายกรัฐมนตรี ในรัฐบาลของดร.ทักษิณ ชินวัตร อดีตรัฐมนตรีว่าการทบวงมหาวิทยาลัย และอดีตรัฐมนตรีว่าการหลายกระทรวง เป็นหนึ่งในแกนนำพรรครวมชาติพัฒนา (ปัจจุบันคือ พรรคชาติพัฒนาเพื่อแผ่นดิน) แต่ไม่ได้ลงสมัครรับเลือกตั้งทั่วไป 23 ธันวาคม พ.ศ. 2550 เนื่องจากถูกตัดสิทธิ์ทางการเมืองเป็นเวลา 5 ปี.

ใหม่!!: สมศักดิ์ ปริศนานันทกุลและสุวัจน์ ลิปตพัลลภ · ดูเพิ่มเติม »

สุวิทย์ คุณกิตติ

นายสุวิทย์ คุณกิตติ (17 ตุลาคม 2500 -) ประธานที่ปรึกษาพรรคกิจสังคม อดีตหัวหน้าพรรคเพื่อแผ่นดิน..ขอนแก่น 7 สมัย อดีตรองนายกรัฐมนตรี เคยดำรงตำแหน่งเป็นรัฐมนตรีในหลายกระทรวงทั้งกระทรวงยุติธรรม กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ กระทรวงวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม กระทรวงศึกษาธิการ กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร กระทรวงอุตสาหกรรม และกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม.

ใหม่!!: สมศักดิ์ ปริศนานันทกุลและสุวิทย์ คุณกิตติ · ดูเพิ่มเติม »

สุดารัตน์ เกยุราพันธุ์

ร.คุณหญิง สุดารัตน์ เกยุราพันธุ์ (1 พฤษภาคม 2504 -) เป็นนักการเมือง เคยร่วมประท้วงในเหตุการณ์พฤษภาทมิฬ อดีตรัฐมนตรีเคยดำรงตำแหน่งที่สำคัญในรัฐบาล พันตำรวจโท ทักษิณ ชินวัตร ปัจจุบันเป็นประธานมูลนิธิไทยพึ่งไท.

ใหม่!!: สมศักดิ์ ปริศนานันทกุลและสุดารัตน์ เกยุราพันธุ์ · ดูเพิ่มเติม »

สนธยา คุณปลื้ม

นธยา คุณปลื้ม ที่ปรึกษานายกรัฐมนตรีฝ่ายการเมือง (พลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา) อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงวัฒนธรรม อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬาคนแรก อดีตที่ปรึกษานายกรัฐมนตรี(ทักษิณ ชินวัตร) และอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดชลบุรีหลายสมั.

ใหม่!!: สมศักดิ์ ปริศนานันทกุลและสนธยา คุณปลื้ม · ดูเพิ่มเติม »

อภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ

อภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ หรือชื่อเกิดว่า มาร์ค อภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ (ละติน: Mark Abhisit Vejjajiva) เกิด 3 สิงหาคม..

ใหม่!!: สมศักดิ์ ปริศนานันทกุลและอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ · ดูเพิ่มเติม »

ธีระ วงศ์สมุทร

นายธีระ วงศ์สมุทร หัวหน้าพรรคชาติไทยพัฒนา อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ในรัฐบาลนายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ และรัฐบาลของนางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร และเป็นอดีตอธิบดีกรมชลประทาน กระทรวงเกษตรและสหกรณ.

ใหม่!!: สมศักดิ์ ปริศนานันทกุลและธีระ วงศ์สมุทร · ดูเพิ่มเติม »

ธีระ สูตะบุตร

ตราจารย์ ธีระ สูตะบุตร อดีตอธิการบดีมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ในรัฐบาล พล.อ.สุรยุทธ์ จุลานนท์เป็นเจ้าของกิจการโรงเรียนพิชญศึกษา เกิดวันที่ 21 ธันวาคม พ.ศ. 2484 สมรสกับ นางสุนงนาท สูตะบุตร มีบุตรชื่อ ธีร์ภัทร สูตะบุตร โดยบุตรชายเสียชีวิตในวันที่ 9 กุมภาพัน..

ใหม่!!: สมศักดิ์ ปริศนานันทกุลและธีระ สูตะบุตร · ดูเพิ่มเติม »

คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 53

นายชวน หลีกภัย นายกรัฐมนตรีคนที่ 20 หัวหน้าคณะรัฐมนตรีคณะที่ 53 คณะรัฐมนตรีคณะที่ 53 (14 พฤศจิกายน 2540 - 9 พฤศจิกายน 2543) นายชวน หลีกภัย เป็นนายกรัฐมนตรี ประกาศพระบรมราชโองการ เมื่อวันที่ 9 พฤศจิกายน 2540 พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ทรงลงพระปรมาภิไธยในประกาศ นายวันมูหะมัดนอร์ มะทา ประธานสภาผู้แทนราษฎรเป็นผู้ลงนามรับสนองพระบรมราชโองการ.

ใหม่!!: สมศักดิ์ ปริศนานันทกุลและคณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 53 · ดูเพิ่มเติม »

ปัญจะ เกสรทอง

นายปัญจะ เกสรทอง อดีตประธานสภาผู้แทนราษฎร อดีตรองนายกรัฐมนตรี อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ และ อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดเพชรบูรณ.

ใหม่!!: สมศักดิ์ ปริศนานันทกุลและปัญจะ เกสรทอง · ดูเพิ่มเติม »

เกษม วัฒนชัย

ตราจารย์เกียรติคุณ นายแพทย์ เกษม วัฒนชัย องคมนตรี,ประธานคณะกรรมการมูลนิธิโรงพยาบาลสมเด็จพระยุพราช, นายกสภามหาวิทยาลัยมหิดล นายกสภามหาวิทยาลัยเชียงใหม่ และดำรงตำแหน่งนายกสภามหาวิทยาลัยศิลปากร ในอดีตได้รับตำแหน่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ ในรัฐบาลพันตำรวจโททักษิณ ชินวัตร สมรสกับคุณหญิง รัชนีวรรณ วัฒนชั.

ใหม่!!: สมศักดิ์ ปริศนานันทกุลและเกษม วัฒนชัย · ดูเพิ่มเติม »

เหตุการณ์ 14 ตุลา

หตุการณ์ 14 ตุลา หรือ วันมหาวิปโยค เป็นเหตุการณ์การก่อการกำเริบโดยประชาชนครั้งสำคัญในประวัติศาสตร์การเมืองไทย เป็นเหตุการณ์ที่มีนักศึกษาและประชาชนมากกว่า 5 แสนคนชุมนุมเพื่อเรียกร้องรัฐธรรมนูญจากรัฐบาลเผด็จการจอมพลถนอม กิตติขจร นำไปสู่คำสั่งของรัฐบาลให้ใช้กำลังทหารเข้าปราบปราม ระหว่างวันที่ 14 ถึง 15 ตุลาคม พ.ศ. 2516 จนมีผู้เสียชีวิตกว่า 77 ราย บาดเจ็บ 857 ราย และสูญหายอีกจำนวนมาก เหตุการณ์ครั้งนี้ได้เกิดขึ้นด้วยสาเหตุที่สะสมก่อนหน้านี้หลายประการทั้ง ข่าวการทุจริตในรัฐบาล การพบซากสัตว์ป่าจากอุทยานในเฮลิคอปเตอร์ทหาร การถ่ายโอนอำนาจของจอมพลถนอม กิตติขจรต่อจากจอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต์ ซึ่งเป็นช่วงเวลาที่รัฐบาลทหารเข้าปกครองประเทศนานเกือบ 15 ปี และรวมถึงการรัฐประหารตัวเอง พ.ศ. 2514 ซึ่งเป็นชนวนเหตุที่ทำให้ประชาชนเบื่อหน่ายการปกครองในระบอบเผด็จการทหารและต้องการเรียกร้องรัฐธรรมนูญที่เป็นประชาธิปไตยขึ้น การประท้วงเริ่มขึ้นอย่างเด่นชัดเมื่อมีการตีพิมพ์ "บันทึกลับจากทุ่งใหญ่" ออกเผยแพร่ทำให้เกิดความสนใจในหมู่ประชาชน สู่การเดินแจกใบปลิวเรียกร้องรัฐธรรมนูญของนิสิตนักศึกษาในสถานที่ต่างๆในกรุงเทพฯ จนถูกทหารควบคุมตัว ภายหลังเป็นที่รู้จักกันในฐานะ "13 ขบถรัฐธรรมนูญ" ทำให้เกิดความไม่พอใจครั้งใหญ่แก่มวลนักศึกษาและประชาชนเป็นอย่างมาก เกิดการประท้วงเริ่มต้นที่มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ สู่การเดินประท้วงในถนนราชดำเนิน โดยมีประชาชนทยอยเข้าร่วมจำนวนมาก ทำให้รัฐบาลได้ทำการสลายการชุมนุมจนมีผู้เสียชีวิตและบาดเจ็บเป็นจำนวนมาก จนเมื่อพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช และสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี ได้มีพระราชดำรัสทางโทรทัศน์รวมการเฉพาะกิจแห่งประเทศไทยต่อเหตุการณ์ครั้งนี้ ในเวลาต่อมาจอมพลถนอม กิตติขจรก็ได้ประกาศลาออกและได้เดินทางออกต่างประเทศรวมถึง.อ.ณรงค์ กิตติขจร และจอมพลประภาส จารุเสถียร กลุ่มบุคคลที่ประชาชนในสมัยนั้นเรียกว่า "3 ทรราช" เหตุการณ์ 14 ตุลา เป็นการลุกฮือของประชาชนครั้งแรกที่เรียกร้องประชาธิปไตยไทยสำเร็จและยังถือเป็นการรวมตัวของประชาชนมากที่สุดครั้งหนึ่งในประวัติศาสตร์ไทย จนกลายเป็นแรงบันดาลใจให้แก่ภาคประชาชนในประเทศอื่น ๆ ทำตามในเวลาต่อมา เช่น ที่ เกาหลีใต้ในเหตุการณ์จลาจลที่เมืองกวางจู เป็นต้นหนังสือ มาร์ค เขาชื่อ...

ใหม่!!: สมศักดิ์ ปริศนานันทกุลและเหตุการณ์ 14 ตุลา · ดูเพิ่มเติม »

2 ธันวาคม

วันที่ 2 ธันวาคม เป็นวันที่ 336 ของปี (วันที่ 337 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 29 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: สมศักดิ์ ปริศนานันทกุลและ2 ธันวาคม · ดูเพิ่มเติม »

24 กรกฎาคม

วันที่ 24 กรกฎาคม เป็นวันที่ 205 ของปี (วันที่ 206 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 160 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: สมศักดิ์ ปริศนานันทกุลและ24 กรกฎาคม · ดูเพิ่มเติม »

24 กันยายน

วันที่ 24 กันยายน เป็นวันที่ 267 ของปี (วันที่ 268 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 98 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: สมศักดิ์ ปริศนานันทกุลและ24 กันยายน · ดูเพิ่มเติม »

25 พฤศจิกายน

วันที่ 25 พฤศจิกายน เป็นวันที่ 329 ของปี (วันที่ 330 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 36 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: สมศักดิ์ ปริศนานันทกุลและ25 พฤศจิกายน · ดูเพิ่มเติม »

27 เมษายน

วันที่ 27 เมษายน เป็นวันที่ 117 ของปี (วันที่ 118 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 248 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: สมศักดิ์ ปริศนานันทกุลและ27 เมษายน · ดูเพิ่มเติม »

6 กุมภาพันธ์

วันที่ 6 กุมภาพันธ์ เป็นวันที่ 37 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 328 วันในปีนั้น (329 วันในปีอธิกสุรทิน).

ใหม่!!: สมศักดิ์ ปริศนานันทกุลและ6 กุมภาพันธ์ · ดูเพิ่มเติม »

9 พฤศจิกายน

วันที่ 9 พฤศจิกายน เป็นวันที่ 313 ของปี (วันที่ 314 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 52 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: สมศักดิ์ ปริศนานันทกุลและ9 พฤศจิกายน · ดูเพิ่มเติม »

9 กรกฎาคม

วันที่ 9 กรกฎาคม เป็นวันที่ 190 ของปี (วันที่ 191 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 175 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: สมศักดิ์ ปริศนานันทกุลและ9 กรกฎาคม · ดูเพิ่มเติม »

9 กันยายน

วันที่ 9 กันยายน เป็นวันที่ 252 ของปี (วันที่ 253 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 113 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: สมศักดิ์ ปริศนานันทกุลและ9 กันยายน · ดูเพิ่มเติม »

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »