โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ติดตั้ง
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

จังหวัดปัตตานี

ดัชนี จังหวัดปัตตานี

ปัตตานี เป็นจังหวัดในภาคใต้ ติดต่อกับจังหวัดนราธิวาส จังหวัดยะลา และจังหวัดสงขล.

50 ความสัมพันธ์: ชบาพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชพระราชวังไพลินกรมชลประทาน (ประเทศไทย)กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ (ประเทศไทย)ภาคใต้ (ประเทศไทย)มหาวิทยาลัยฟาฏอนีมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานีมัสยิดมัสยิดกรือเซะมัสยิดกลางจังหวัดปัตตานีรายชื่อมัสยิดในจังหวัดปัตตานีรายชื่อวัดในจังหวัดปัตตานีรายชื่อคำขวัญประจำจังหวัดรายชื่อโรงเรียนในจังหวัดปัตตานีวิทยาลัยชุมชนปัตตานีศาลปกครอง (ประเทศไทย)สภาเด็กและเยาวชนจังหวัดปัตตานีสวัสดิ์ วัฒนายากรสวนสมเด็จพระศรีนครินทร์ ปัตตานีสโมสรฟุตบอลจังหวัดปัตตานีหมู่บ้านอำเภออำเภอกะพ้ออำเภอมายออำเภอยะรังอำเภอยะหริ่งอำเภอสายบุรีอำเภอหนองจิกอำเภอทุ่งยางแดงอำเภอปะนาเระอำเภอแม่ลานอำเภอโคกโพธิ์อำเภอไม้แก่นอำเภอเมืองปัตตานีอุทยานแห่งชาติน้ำตกทรายขาวจังหวัดจังหวัดยะลาจังหวัดสงขลาจังหวัดนราธิวาสทะเลจีนใต้ความไม่สงบในชายแดนภาคใต้ของประเทศไทยคาบสมุทรมลายูคณะองคมนตรีตะเคียนตารางกิโลเมตรตำบลฉัตรชัย วิเศษสุวรรณภูมิแม่น้ำปัตตานีเทือกเขาสันกาลาคีรี

ชบา

() เป็นพืชมีดอกในสกุล Hibisceae วงศ์ Malvaceae เป็นพืชพื้นเมืองในเอเชียตะวันออก ชาวโอรังอัสลีในรัฐเประก์ มาเลเซีย ใช้เปลือกรากแช่ในน้ำข้ามคืนและดื่มขณะท้องว่างเพื่อรักษาฝี.

ใหม่!!: จังหวัดปัตตานีและชบา · ดูเพิ่มเติม »

พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช

ระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช (5 ธันวาคม พ.ศ. 2470 — 13 ตุลาคม พ.ศ. 2559) เป็นพระมหากษัตริย์ไทย รัชกาลที่ 9 แห่งราชวงศ์จักรี เสด็จสู่พระราชสมบัติตั้งแต่วันที่ 9 มิถุนายน..

ใหม่!!: จังหวัดปัตตานีและพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช · ดูเพิ่มเติม »

พระราชวังไพลิน

ระราชวังไพลิน หรือ อิสตานาลีลัม เป็นสถานที่ประทับของกษัตริย์และราชินีแห่งอาณาจักรปัตตานี (ปัตตานี) ตั้งอยู่ที่กรีเซะ อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี ในปัจจุบันไม่มีพระราชวังหลงเหลืออีกต่อไปแล้ว เพราะเนื่องจากเมืองปัตตานีแพ้ศึก พระราชวังจึงถูกกองทัพสยามเผาจนสูญหายหม.

ใหม่!!: จังหวัดปัตตานีและพระราชวังไพลิน · ดูเพิ่มเติม »

กรมชลประทาน (ประเทศไทย)

กรมชลประทาน เป็นหน่วยงานในกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ มีหน้าที่จัดให้ได้มาซึ่งน้ำเพื่อกักเก็บรักษา ควบคุม ส่ง ระบาย หรือ แบ่งน้ำเพื่อการเกษตร การพลังงาน การสาธารณูปโภค หรือการอุตสาหกรรม และหมายรวมถึงการป้องกันความเสียหายอันเกิดจากน้ำ กับการคมนาคมทางน้ำซึ่งอยู่ในเขตชลประทาน.

ใหม่!!: จังหวัดปัตตานีและกรมชลประทาน (ประเทศไทย) · ดูเพิ่มเติม »

กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ (ประเทศไทย)

กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ (Ministry of Agriculture and Cooperatives) เป็นหน่วยงานราชการไทยประเภทกระทรวง ได้รับการสถาปนาเมื่อวันที่ 1 เมษายน พ.ศ. 2435 ในรัชสมัยของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ในชื่อ กระทรวงเกษตรพานิชการ มี เจ้าพระยาภาสกรวงศ์ (พร บุนนาค) ขณะมีบรรดาศักดิ์ที่พระยาภาสกรวงศ์เป็นเสนาบดีคนแรก ต่อมาในปี พ.ศ. 2439 ได้ยุบรวมกระทรวงเกษตรพานิชการเข้ากับ กระทรวงพระคลังมหาสมบัติ พร้อมกับลดฐานะลงเป็นกรม ๆ หนึ่ง ในวันที่ 3 กันยายน พ.ศ. 2442 มีพระบรมราชโองการแยกกรมเกษตรพานิชการออกมาตั้งเป็นกระทรวงใหม่ใช้ชื่อว่า กระทรวงเกษตราธิการ มี เจ้าพระยาเทเวศร์วงศ์วิวัฒน์ (หม่อมราชวงศ์หลาน กุญชร) ขณะมีบรรดาศักดิ์ที่พระยาเทเวศร์วงศ์วิวัฒน์เป็นเสนาบดีคนแรก โดยใช้ หอรัษฎากรพิพัฒน์ เป็นที่ทำการชั่วคราว ในปี พ.ศ. 2475 ได้มีการยุบรวมกระทรวงเกษตราธิการเข้ากับ กระทรวงพาณิชย์และคมนาคม ใช้ชื่อว่า กระทรวงเกษตรพาณิชยการ ต่อมาวันที่ 12 พฤษภาคม พ.ศ. 2476 ได้มีการเปลี่ยนแปลงชื่อและอำนาจหน้าที่จากกระทรวงเกษตรพาณิชยการเป็น กระทรวงเศรษฐการ ในวันที่ 1 ตุลาคม..

ใหม่!!: จังหวัดปัตตานีและกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ (ประเทศไทย) · ดูเพิ่มเติม »

ภาคใต้ (ประเทศไทย)

ใต้ เป็นภูมิภาคหนึ่งของไทย ตั้งอยู่บนคาบสมุทรมลายู ขนาบด้วยอ่าวไทยทางฝั่งตะวันออก และทะเลอันดามันทางฝั่งตะวันตก มีเนื้อที่รวม 70,715.2 ตารางกิโลเมตร ความยาวจากเหนือจรดใต้ประมาณ 750 กิโลเมตร ทุกจังหวัดของภาคมีพื้นที่ติดชายฝั่งทะเล ยกเว้นจังหวัดยะลาและจังหวัดพัทลุง.

ใหม่!!: จังหวัดปัตตานีและภาคใต้ (ประเทศไทย) · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิทยาลัยฟาฏอนี

มหาวิทยาลัยฟาฏอนี เป็นสถาบันอุดมศึกษาเอกชนอิสลามแห่งแรกในประเทศไทย จัดตั้งขึ้นโดยนักวิชาการอิสลามและผู้ทรงคุณวุฒิด้านอิสลามศึกษาในภูมิภาค ซึ่งมีเจตนารมณ์ในการส่งเสริมและพัฒนาด้านอิสลามศึกษาและศาสตร์อื่นๆ สอนตามแนวทางกิตาบุ้ลลอฮฺและซุนนะห์ มหาวิทยาลัยฟาฏอนี จัดตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 3 เมษายน พ.ศ. 2541 มีชื่อว่า "วิทยาลัยอิสลามยะลา" ภายหลังเป็น "มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา" โดยมูลนิธิเพื่อการอุดมศึกษาอิสลามภาคใต้ เปิดรับนักศึกษารุ่นแรก ระดับปริญญาตรี จำนวน 200 คน ใน 2 สาขาวิชา คือ สาขาวิชาชะรีอะฮุ (กฎหมายอิสลาม) และสาขาวิชาอุศูลุดดีน (หลักการศาสนาอิสลาม) ซึ่งมหาวิทยาลัยฟาฏอนี ได้รับการสนับสนุนงบประมาณด้านอาคาร และสิ่งก่อสร้างจากธนาคารอิสลามเพื่อการพัฒนา (LDB) ต่อมาได้เปลี่ยนสถานะเป็นมหาวิทยาลัย เมื่อวันที่ 14 มิถุนายน พ.ศ. 2550 และเปลี่ยนชื่อเป็น "มหาวิทยาลัยฟาฏอนี" ในวันที่ 3 ตุลาคม พ.ศ. 2556.

ใหม่!!: จังหวัดปัตตานีและมหาวิทยาลัยฟาฏอนี · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี

มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี (เดิมชื่อ ศูนย์ปัตตานี หรือ ศูนย์รูสะมิแล) ดำเนินการมาตั้งแต่ปีงบประมาณ..

ใหม่!!: จังหวัดปัตตานีและมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี · ดูเพิ่มเติม »

มัสยิด

มืองโกเบ ประเทศญี่ปุ่น มัสยิด (مسجد มัสญิด) หรือ สุเหร่า (Surau) เป็นศาสนสถานของชาวมุสลิม คำว่า มัสญิด เป็นคำภาษาอาหรับแปลว่า สถานที่กราบ ชาวมุสลิมในแต่ละชุมชนจะสร้างมัสยิดขึ้นเพื่อเป็นสถานที่ปฏิบัติพิธีกรรมทางศาสนา อันได้แก่การนมาซ และการวิงวอน การปลีกตนเพื่อบำเพ็ญตบะ หาความสันโดษ (อิอฺติกาฟ และ คอลวะหฺ) นอกจากนี้มัสยิดยังเป็นโรงเรียนสอนอัลกุรอาน และศาสนา สถานที่ชุมนุมพบปะ ประชุม เฉลิมฉลอง ทำบุญเลี้ยง สถานที่ทำพิธีสมรส และสถานที่พักพิงของผู้สัญจรผู้ไร้ที่พำนัก โดยที่จะต้องรักษามารยาทของมัสยิด เช่นการไม่คละเคล้าระหว่างเพศชายและหญิง การกระทำที่ขัดกับบทบัญญัติห้ามของอิสลาม (ฮะรอม) ทั้งมวล.

ใหม่!!: จังหวัดปัตตานีและมัสยิด · ดูเพิ่มเติม »

มัสยิดกรือเซะ

มัสยิดกรือเซะ (Masjid Kerisek) หรือ มัสยิดสุลต่านมูซัฟฟาร์ชาห์ เป็นมัสยิดเก่าแก่อายุกว่า 200 ปีในจังหวัดปัตตานี สันนิษฐานได้ว่าเป็นศาสนสถานที่สร้างขึ้นในพุทธศตวรรษที่ 22 ร่วมสมัยกรุงศรีอยุธยา มีชื่อเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า มัสยิดปิตูกรือบัน ชื่อนี้เรียกตามรูปทรงของประตูมัสยิด ซึ่งมีลักษณะเป็นวงโค้งแหลมแบบกอทิกของชาวยุโรป และแบบสถาปัตยกรรมของชาวตะวันออกกลาง (คำว่า ปิตู แปลว่า ประตู กรือบัน แปลว่า ช่องประตูที่มีรูปโค้ง) ช่วงเวลาที่มัสยิดกรือเซะถูกสร้างนั้นยังเป็นที่ถกเถียง บ้างว่าสร้างในรัชสมัยสุลต่านมูซัฟฟาร์ชาห์ บ้างก็ว่าสร้างในรัชสมัยรายาบีรู ส่วนกรณีที่มัสยิดสร้างไม่สำเร็จนั้น ก็มีการยึดโยงกับตำนานเจ้าแม่ลิ้มกอเหนี่ยวซึ่งมีสุสานอยู่ใกล้กับมัสยิดกรือเซะ ที่ถูกเล่าต่อเติมภายหลังว่าเจ้าแม่ได้สาปให้มัสยิดนี้สร้างไม่สำเร็จ จนกลายเป็นปัญหากินแหนงแคลงใจระหว่างชาวไทยเชื้อสายมลายูและชาวไทยเชื้อสายจีนในพื้นที่ แต่จากการสำรวจและบูรณะของกรมศิลปากร พบว่าโครงสร้างโดมนั้นมีลักษณะไม่แข็งแรงและขาดความสมดุลจึงทำให้พังทลาย ทั้งยังไม่พบร่องรอยถูกเผาหรือถูกฟ้าผ่าตามตำนานที่กล่าวอ้างแต่อย่างใด เพราะหลังราชวงศ์กลันตันปกครองปัตตานีถัดจากราชวงศ์ศรีวังสา ได้ย้ายศูนย์กลางเมืองไปยังบานาและจะบังติกอตามลำดับ มัสยิดกรือเซะจึงถูกทิ้งให้โรยราไป.

ใหม่!!: จังหวัดปัตตานีและมัสยิดกรือเซะ · ดูเพิ่มเติม »

มัสยิดกลางจังหวัดปัตตานี

มัสยิดกลางจังหวัดปัตตานี (ภาษามลายูปัตตานี: مسجد الجامع الفطاني, มัสยิด อัลญามีอะฮฺ อัลปะตานี) ตั้งอยู่ที่ตำบลอาเนาะรู อำเภอเมือง จังหวัดปัตตานี ออกแบบด้วยสถาปัตยกรรมที่สวยงามมีความโดดเด่น และยังเป็นศาสนสถานศูนย์รวมจิตใจของผู้นับถือศาสนาอิสลามในภาคใต้ที่สำคัญที่สุดแห่งหนึ่ง.

ใหม่!!: จังหวัดปัตตานีและมัสยิดกลางจังหวัดปัตตานี · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อมัสยิดในจังหวัดปัตตานี

มัสยิดกลางปัตตานี รายชื่อมัสยิดในจังหวัดปัตตานี.

ใหม่!!: จังหวัดปัตตานีและรายชื่อมัสยิดในจังหวัดปัตตานี · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อวัดในจังหวัดปัตตานี

รายชื่อวัดในจังหวัดปัตตานี รวมทั้งหมด 83 วัด ในปี 2558.

ใหม่!!: จังหวัดปัตตานีและรายชื่อวัดในจังหวัดปัตตานี · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อคำขวัญประจำจังหวัด

ำขวัญประจำจังหวัด เป็นคำขวัญที่แต่ละจังหวัดในประเทศไทยแต่งขึ้น เพื่อบ่งบอกถึงเอกลักษณ์ ความภาคภูมิใจ และความโดดเด่นที่มีอยู่ในจังหวัดนั้น ๆ มักเป็นคำคล้องจองสั้น ๆ เพื่อให้จดจำง่าย นอกจากคำขวัญประจำจังหวัดแล้ว ปัจจุบันยังมีการแต่งคำขวัญประจำท้องถิ่นในส่วนย่อยลงไปอีก เช่น คำขวัญประจำอำเภอ คำขวัญประจำเขต (ในกรุงเทพมหานคร) เป็นต้น คำขวัญประจำจังหวัด แยกตามภาคได้ดังนี้.

ใหม่!!: จังหวัดปัตตานีและรายชื่อคำขวัญประจำจังหวัด · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อโรงเรียนในจังหวัดปัตตานี

ต่อไปนี้เป็นรายชื่อโรงเรียนในจังหวัดปัตตานี.

ใหม่!!: จังหวัดปัตตานีและรายชื่อโรงเรียนในจังหวัดปัตตานี · ดูเพิ่มเติม »

วิทยาลัยชุมชนปัตตานี

วิทยาลัยชุมชนปัตตานี เป็นสถาบันอุดมศึกษาของรัฐในกลุ่มสถาบันวิทยาลัยชุมชน ในสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ จัดตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 29 กรกฎาคม พ.ศ. 2547 ตามนโยบายการแก้ไขปัญหาพื้นที่พิเศษภาคใต้ (3 จังหวัดชายแดนภาคใต้ และจังหวัดสงขลา 5 อำเภอ) ของศูนย์อำนวยการบริหารจังหวัดชายแดนภาคใต้ (ศอ.บต.).

ใหม่!!: จังหวัดปัตตานีและวิทยาลัยชุมชนปัตตานี · ดูเพิ่มเติม »

ศาลปกครอง (ประเทศไทย)

ตราสัญลักษณ์ศาลปกครอง http://www.admincourt.go.th/admincourt/site/01sign.html ตราสัญลักษณ์ศาลปกครอง ศาลปกครอง (Administrative Court) เป็นศาลที่จัดตั้งขึ้นใหม่ตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540 มาตรา 276 และมีการจัดตั้งขึ้นตามพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดีปกครอง พ.ศ. 2542 มีฐานะเทียบเท่าศาลยุติธรรมและมีอำนาจหน้าที่พิจารณาพิพากษา “คดีปกครอง” ซึ่งเป็นคดีพิพาทระหว่างหน่วยราชการ หน่วยงานของรัฐ รัฐวิสาหกิจ หรือราชการส่วนท้องถิ่น หรือเจ้าหน้าที่ของรัฐกับเอกชนกรณีหนึ่ง และข้อพิพาทระหว่างหน่วยงานต่าง ๆ ของรัฐหรือเจ้าหน้าที่ของรัฐด้วยกันอีกกรณีหนึ่ง ทั้งนี้ เพื่อปกป้องคุ้มครองสิทธิเสรีภาพของประชาชนและเพื่อสร้างบรรทัดฐานที่ถูกต้องในการปฏิบัติราชการ ศาลปกครอง เป็นศาลที่ใช้ระบบไต่สวน โดยในแต่ละคดีจะมีการพิจารณาโดยองค์คณะของตุลาการ ต่างจากศาลยุติธรรมซึ่งใช้ระบบกล่าวหา ศาลปกครองแบ่งออกเป็น "ศาลปกครองชั้นต้น" และ "ศาลปกครองสูงสุด".

ใหม่!!: จังหวัดปัตตานีและศาลปกครอง (ประเทศไทย) · ดูเพิ่มเติม »

สภาเด็กและเยาวชนจังหวัดปัตตานี

สภาเด็กและเยาวชนจังหวัดปัตตานี ก่อตั้งขึ้นเมื่อเดือนเมษายน พ.ศ. 2549 พร้อมๆ กับสภาเด็กและเยาวชนทุกจังหวัดทั่วประเทศ ตามมติคณะรัฐมนตรี มีนายมะซายา บือราเฮง เยาวชนจากอำเภอสายบุรีได้รับเลือกจากสภาฯให้เป็นประธานสภาเด็กและเยาวชนจังหวัดปัตตานีคนแรกและมีนายสุไฮมี มะและ เยาวชนจากอำเภอหนองจิกได้รับเลือกจากเยาวชนในสภาฯให้เป็นประธานสภาเด็กและเยาวชนจังหวัดปัตตานี คนที่สอง ภายหลังได้มีการประกาศใช้กฎหมายพระราชบัญญัติส่งเสริมพัฒนาเด็กและเยาวชนแห่งชาติ พุทธศักราช 2549 มีผลให้สมาชิกภาพของสมาชิกสภาเด็กและเยาวชนทุกจังหวัดสิ้นสภาพไปโดยปริยาย และได้มีการจัดตั้งสภาเด็กและเยาวชนชุดใหม่ขึ้นมา ในส่วนของจังหวัดปัตตานีก็ได้มีการสรรหาเด็กและเยาวชนจากทุกภาคส่วนทุกอำเภอในจังหวัดปัตตานี มีนายรุสดี เป็นประธานสภาเด็กและเยาวชนจังหวัดปัตตานีคนปัจจุบัน ปัตตานี หมวดหมู่:จังหวัดปัตตานี.

ใหม่!!: จังหวัดปัตตานีและสภาเด็กและเยาวชนจังหวัดปัตตานี · ดูเพิ่มเติม »

สวัสดิ์ วัฒนายากร

นายสวัสดิ์ วัฒนายากร (8 ตุลาคม พ.ศ. 2477 — 13 มีนาคม พ.ศ. 2555) เป็นอดีตองคมนตรี อดีตตุลาการศาลปกครองสูงสุด และอธิบดีกรมชลประทาน กระทรวงเกษตรและสหกรณ.

ใหม่!!: จังหวัดปัตตานีและสวัสดิ์ วัฒนายากร · ดูเพิ่มเติม »

สวนสมเด็จพระศรีนครินทร์ ปัตตานี

วนสมเด็จพระศรีนครินทร์ ปัตตานี คือ สวนสาธารณะเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี 80 พรรษา ลำดับที่ 12 ตั้งอยู่ที่ชายหาดทะเล ตำบลรูสะมิแล อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี มีเนื้อที่เดิม 155 ไร่ ปัจจุบันสืบเนื่องจากการเจริญงอกงามของป่าชายเลนทำให้ชายหาดงอกได้เนื้อที่เพิ่มขึ้นเรื่อยๆ ที่ละน้อย สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ เสด็จเป็นประธานเปิดสวนเมื่อวันที่ 21 สิงหาคม พ.ศ. 2537 หน่วยงานรับผิดชอบในการดูแลรักษา คือ เทศบาลเมืองปัตตานี ต้นไม้ประจำสวน คือ สารภีทะเล.

ใหม่!!: จังหวัดปัตตานีและสวนสมเด็จพระศรีนครินทร์ ปัตตานี · ดูเพิ่มเติม »

สโมสรฟุตบอลจังหวัดปัตตานี

มสรฟุตบอลจังหวัดปัตตานี เป็นสโมสรฟุตบอลอาชีพในประเทศไทยโดยเป็นทีมจากจังหวัดปัตตานี เป็นสโมสรฟุตบอลในประเทศไทย โดยเป็นทีมจากปัตตานี ปัจจุบันเล่นอยู่ในไทยลีก 4 มีชุดทีมเหย้าขาว และชุดทีมเยือน สีเขียว.

ใหม่!!: จังหวัดปัตตานีและสโมสรฟุตบอลจังหวัดปัตตานี · ดูเพิ่มเติม »

หมู่บ้าน

หมู่บ้าน (village) เป็นนิคมหรือชุมชนมนุษย์ ใหญ่กว่าหมู่บ้านขนาดเล็ก (hamlet) แต่เล็กกว่าเมือง มีประชากรตั้งแต่ไม่กี่ร้อยคนไปถึงหลายพันคน (บางแห่งถึงหมื่นคน) ในอดีต หมู่บ้านเป็นรูปแบบชุมชนปกติสำหรับสังคมที่ใช้เกษตรกรรมเพื่อยังชีพ และยังมีในบางสังคมที่มิใช่สังคมเกษตรบ้าง ในบริเตนใหญ่ หมู่บ้านขนาดเล็กได้รับสิทธิเรียกหมู่บ้านเมื่อสร้างโบสถ์ ในหลายวัฒนธรรม เมืองและนครมีน้อย โดยมีสัดส่วนประชากรอาศัยอยู่น้อย การปฏิวัติอุตสาหกรรมดึงดูดให้คนจำนวนมากทำงานในโรงสีและโรงงาน การกระจุกของคนทำให้หลายหมู่บ้านเติบโตเป็นเมืองและนคร นอกจากนี้ยังทำให้มีความชำนาญพิเศษของแรงงานและช่างฝีมือ และพัฒนาการของการค้าจำนวนมาก แนวโน้มการกลายเป็นเมืองดำเนินต่อ แม้ไม่เชื่อมโยงกับการปรับให้เป็นอุตสาหกรรมเสมอไป หมู่บ้านเสื่อมความสำคัญลงทั้งที่เป็นหน่วยสังคมและนิคมมนุษย์ แม้มีชีวิตหมู่บ้านหลากรูปแบบ แต่หมู่บ้านตรงแบบเล็ก บางทีประกอบด้วย 5 ถึง 30 ครอบครัว บ้านตั้งอยู่ด้วยกันเพื่อการเข้าสังคมและการป้องกัน และดินแดนโดยรอบพื้นที่อยู่อาศัยมีการทำไร่นา หมู่บ้านประมงเดิมยึดการประมงพื้นบ้าน (artisan fishing) และตั้งอยู่ติดพื้นที่จับปลา หมวดหมู่:หน่วยการปกครอง หมวดหมู่:หมู่บ้าน หมวดหมู่:ที่อยู่อาศัย.

ใหม่!!: จังหวัดปัตตานีและหมู่บ้าน · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอ

อำเภอ เป็นหน่วยการปกครองระดับที่สองในประเทศไทย ลำดับรองมาจากจังหวัด จัดตั้งขึ้นโดยการตราเป็นพระราชกฤษฎีกา มีฐานะเป็นราชการบริหารส่วนภูมิภาค ตามกฎหมายว่าด้วยระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน มีนายอำเภอ เป็นหัวหน้าปกครอง โดยในแต่ละอำเภอจะแบ่งส่วนย่อยออกเป็น ตำบล ในปัจจุบันประเทศไทยมี 878 อำเภอใน 76 จังหวัด ซึ่งไม่รวม 50 เขตของกรุงเทพมหานคร ตั้งแต่การเปลี่ยนแปลงการบริหารกรุงเทพมหานครในปี..

ใหม่!!: จังหวัดปัตตานีและอำเภอ · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอกะพ้อ

กะพ้อ เป็นอำเภอหนึ่งในจังหวัดปัตตานี.

ใหม่!!: จังหวัดปัตตานีและอำเภอกะพ้อ · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอมายอ

อำเภอมายอ เป็นอำเภอหนึ่งของจังหวัดปัตตานี.

ใหม่!!: จังหวัดปัตตานีและอำเภอมายอ · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอยะรัง

อำเภอยะรัง เป็นอำเภอหนึ่งของจังหวัดปัตตานี.

ใหม่!!: จังหวัดปัตตานีและอำเภอยะรัง · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอยะหริ่ง

อำเภอยะรัง เป็นอำเภอหนึ่งของจังหวัดปัตตานี.

ใหม่!!: จังหวัดปัตตานีและอำเภอยะหริ่ง · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอสายบุรี

อำเภอสายบุรี เป็นอำเภอหนึ่งในจังหวัดปัตตานี ชาวไทยเชื้อสายมลายูจะเรียกว่า ตะลุแบ (تلوبن Taluban; Telubae) หรือในภาษามลายู-สันสกฤตเรียกว่า สลินดงบายู หรือ ซือลินดงบายู (سليندوڠ بايو. Selindung Bayu) แปลว่า ที่กำบังลมพายุ ประชากรส่วนใหญ่เป็นชาวไทยมุสลิม มีขนบธรรมเนียมประเพณีเป็นของตนเอง มีความหลากหลายทางด้านภาษ.

ใหม่!!: จังหวัดปัตตานีและอำเภอสายบุรี · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอหนองจิก

อำเภอหนองจิก เป็นอำเภอหนึ่งในจังหวัดปัตตานี.

ใหม่!!: จังหวัดปัตตานีและอำเภอหนองจิก · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอทุ่งยางแดง

ทุ่งยางแดง เป็นอำเภอหนึ่งในจังหวัดปัตตานี.

ใหม่!!: จังหวัดปัตตานีและอำเภอทุ่งยางแดง · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอปะนาเระ

อำเภอปะนาเระ เป็นอำเภอหนึ่งในจังหวัดปัตตานี ประชากรแต่งกายตามแบบของประชากรมลายู มีประเพณี วัฒนธรรมตามแบบอิสลาม พูดภาษามลายูและภาษาถิ่นใต้เจ๊ะเห (ตากใบ).

ใหม่!!: จังหวัดปัตตานีและอำเภอปะนาเระ · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอแม่ลาน

อำเภอแม่ลาน เป็นอำเภอหนึ่งในจังหวัดปัตตานี.

ใหม่!!: จังหวัดปัตตานีและอำเภอแม่ลาน · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอโคกโพธิ์

อำเภอโคกโพธิ์ เป็นอำเภอหนึ่งในจังหวัดปัตตานี.

ใหม่!!: จังหวัดปัตตานีและอำเภอโคกโพธิ์ · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอไม้แก่น

อำเภอไม้แก่น เป็นอำเภอหนึ่งในจังหวัดปัตตานี.

ใหม่!!: จังหวัดปัตตานีและอำเภอไม้แก่น · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอเมืองปัตตานี

อำเภอเมืองปัตตานี เป็นอำเภอหนึ่งของจังหวัดปัตตานี.

ใหม่!!: จังหวัดปัตตานีและอำเภอเมืองปัตตานี · ดูเพิ่มเติม »

อุทยานแห่งชาติน้ำตกทรายขาว

อุทยานแห่งชาติน้ำตกทรายขาว ตั้งอยู่ในพื้นที่จังหวัดปัตตานี จังหวัดยะลา และจังหวัดสงขล.

ใหม่!!: จังหวัดปัตตานีและอุทยานแห่งชาติน้ำตกทรายขาว · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัด

ังหวัด หรือมณฑล (province) คือชื่อเรียกหน่วยการปกครองระดับหนึ่ง โดยปกติจะเป็นระดับใหญ่ที่สุดในประเทศ หรือรัฐ (ลำดับแรกในการแบ่งการปกครอง) คำว่าจังหวัดใช้เรียก province ในประเทศไทย ส่วนมณฑลใช้กับบางประเทศ เช่น มณฑลยูนนาน (Yunnan Province) ในประเทศจีน หรือ.

ใหม่!!: จังหวัดปัตตานีและจังหวัด · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดยะลา

ลา เป็นจังหวัดในภาคใต้ของประเทศไทย มีอาณาเขตติดต่อกับประเทศมาเลเซี.

ใหม่!!: จังหวัดปัตตานีและจังหวัดยะลา · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดสงขลา

งขลา เป็นจังหวัดหนึ่งในภาคใต้ตอนล่าง.

ใหม่!!: จังหวัดปัตตานีและจังหวัดสงขลา · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดนราธิวาส

นราธิวาส เป็นจังหวัดหนึ่งในภาคใต้ของประเทศไทย เป็นจังหวัดชายแดนใต้สุดของประเทศไทย มีอาณาเขตติดต่อกับประเทศมาเลเซีย ตั้งอยู่บนชายฝั่งทะเลตะวันออกของแหลมมลายู ห่างจากกรุงเทพฯ ทางรถยนต์ประมาณ 1,149 กิโลเมตร โดยมีเนื้อที่ประมาณ 4,475.43 ตารางกิโลเมตร หรือ 2,797,143.75 ไร่ ทิศเหนือติดต่อกับจังหวัดปัตตานีในเขตอำเภอสายบุรี อำเภอไม้แก่น และอ่าวไทย ทิศตะวันออกติดต่อกับอ่าวไทยและรัฐกลันตัน ประเทศมาเลเซีย ทิศใต้ติดต่อกับรัฐกลันตัน ประเทศมาเลเซีย ทิศตะวันตกติดต่อกับจังหวัดยะลาในเขตอำเภอบันนังสตา พื้นที่ส่วนใหญ่เป็นป่าไม้และภูเขา 2 ใน 3 ของพื้นที่ทั้งหมด มีป่าพรุประมาณ 361,860 ไร่ ทางแถบทิศตะวันตกเฉียงใต้จรดทิวเขาสันกาลาคีรีซึ่งเป็นแนวกั้นพรมแดนไทย-มาเลเซีย ลักษณะพื้นที่จะมีความลาดเอียงจากทิศตะวันตกไปสู่ทิศตะวันออก พื้นที่ราบส่วนใหญ่อยู่บริเวณติดกับอ่าวไทยและที่ราบลุ่มบริเวณแม่น้ำ 4 สาย คือ แม่น้ำบางนรา แม่น้ำสายบุรี แม่น้ำตากใบ และแม่น้ำโก-ลก มีประชากรจำนวน 796,239 คน แยกเป็นชาย 393,837 คน หญิง 402,402 คน โดยจังหวัดนราธิวาสมีศูนย์กลางทางเศรษฐกิจ การค้า การลงทุน และการอุตสาหกรรมอยู่ที่อำเภอสุไหงโก-ลก ซึ่งเป็นอำเภอที่มีขนาดใหญ่และมีความเจริญกว่าตัวจังหวัดมาก.

ใหม่!!: จังหวัดปัตตานีและจังหวัดนราธิวาส · ดูเพิ่มเติม »

ทะเลจีนใต้

แผนที่ทะเลจีนใต้ ทะเลจีนใต้ (South China Sea) เป็นทะเลปิดที่เป็นส่วนหนึ่งของมหาสมุทรแปซิฟิก ครอบคลุมอาณาบริเวณตั้งแต่ประเทศสิงคโปร์ไปจนถึงช่องแคบไต้หวัน รวมทั้งอ่าวตังเกี๋ยและอ่าวไทย มีเนื้อที่ประมาณ 3,500,000 ตารางกิโลเมตร พื้นที่ดังกล่าวมีความสำคัญเพราะมีเส้นทางขนส่งทางเรือผ่านคิดเป็นหนึ่งในสามของโลก นอกจากนี้ยังเชื่อกันว่า ใต้พื้นทะเลมีน้ำมันและแก๊สธรรมชาติสำรองขนาดใหญ่ด้วย อาณาเขตของทะเลจีนใต้ อยู่ทางใต้ของจีนแผ่นดินใหญ่และเกาะไต้หวัน, ตะวันตกของฟิลิปปินส์, ตะวันตกเฉียงเหนือของรัฐซาบะฮ์และรัฐซาราวะก์ของมาเลเซียและบรูไน, เหนือของอินโดนีเซีย, ตะวันออกเฉียงเหนือของคาบสมุทรมลายูและสิงคโปร์ และตะวันออกของเวียดนาม หมู่เกาะทะเลจีนใต้ ซึ่งส่วนใหญ่เป็นกลุ่มเกาะ มีจำนวนหลายร้อยเกาะ ทะเลและเกาะที่ไม่มีผู้คนอยู่อาศัยส่วนใหญ่นี้เป็นหัวข้อพิพาทอธิปไตยโดยหลายประเทศ ข้อพิพาทเหล่านี้ยังได้สะท้อนในชื่ออันหลากหลายที่ตั้งให้เกาะและทะเล.

ใหม่!!: จังหวัดปัตตานีและทะเลจีนใต้ · ดูเพิ่มเติม »

ความไม่สงบในชายแดนภาคใต้ของประเทศไทย

นการณ์ความไม่สงบในชายแดนภาคใต้ของประเทศไทย หรือ ไฟใต้ เป็นความขัดแย้งที่กำลังดำเนินอยู่ในภาคใต้ของประเทศไทย ความขัดแย้งนี้กำเนิดในปี..

ใหม่!!: จังหวัดปัตตานีและความไม่สงบในชายแดนภาคใต้ของประเทศไทย · ดูเพิ่มเติม »

คาบสมุทรมลายู

มุทรมลายู คาบสมุทรมลายู หรือ แหลมมลายู (Semenanjung Tanah Melayu; Malay Peninsula) เป็นคาบสมุทรขนาดใหญ่ ตั้งอยู่ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ วางตัวเกือบอยู่ในแนวเหนือ-ใต้ และเป็นจุดที่อยู่ใต้สุดของทวีปเอเชีย ส่วนที่แคบที่สุดของคาบสมุทรมลายู คือ คอคอดกระ ชายฝั่งด้านตะวันตกเฉียงใต้แยกออกจากเกาะสุมาตราด้วยช่องแคบมะละกา มีเกาะบอร์เนียวอยู่ทางตะวันออกในทะเลจีนใต้.

ใหม่!!: จังหวัดปัตตานีและคาบสมุทรมลายู · ดูเพิ่มเติม »

คณะองคมนตรี

ณะองคมนตรี (privy council) คือ กลุ่มบุคคลที่ให้คำปรึกษาแก่ประมุขแห่งรัฐ โดยทั่วไปในประเทศที่ปกครองแบบราชาธิปไตย ในภาษาอังกฤษ คำว่า "privy" หมายถึง "ส่วนตัว" หรือ "ลับ" ดังนั้นแรกเริ่มเดิมที privy council คือคณะที่ปรึกษาที่ใกล้ชิดที่สุดของกษัตริย์ที่ให้คำปรึกษาที่รักษาเป็นความลับในเรื่องกิจการรัฐ ประเทศที่มีสภาองคมนตรีหรือองค์กรเทียบเท่าในปัจจุบัน เช่น สหราชอาณาจักรบริเตนใหญ่และไอร์แลนด์เหนือ, ประเทศแคนาดา, ราชอาณาจักรเดนมาร์ก, ราชอาณาจักรตองกา และ ราชอาณาจักรไท.

ใหม่!!: จังหวัดปัตตานีและคณะองคมนตรี · ดูเพิ่มเติม »

ตะเคียน

ตะเคียน หรือ ตะเคียนทอง เป็นไม้ยืนต้นในวงศ์ไม้ตะเคียน สามารถพบในประเทศบังกลาเทศ, ประเทศกัมพูชา, ประเทศอินเดีย, ประเทศลาว, ประเทศมาเลเซีย, ประเทศพม่า, ประเทศไทย และประเทศเวียดนาม ตะเคียนยังมีชื่อพื้นเมืองอื่น ๆ อีกดังนี้: กะกี้ โกกี้ (กะเหรี่ยง เชียงใหม่) แคน (ตะวันออกเฉียงเหนือ, เลย) จะเคียน (เหนือ) จืองา (มลายู นราธิวาส) จูเค้ โซเก (กะเหรี่ยง กาญจนบุรี) ตะเคียนใหญ่ (กลาง) ตะเคียนทอง (กลาง, ประจวบคีรีขันธ์) ไพร (ละว้า เชียงใหม่).

ใหม่!!: จังหวัดปัตตานีและตะเคียน · ดูเพิ่มเติม »

ตารางกิโลเมตร

ตารางกิโลเมตร คือหน่วยของพื้นที่ มักย่อว่า ตร.กม.

ใหม่!!: จังหวัดปัตตานีและตารางกิโลเมตร · ดูเพิ่มเติม »

ตำบล

ตำบลหรือ เขตที่ตั้งเมือง (township) เป็นนิคมมนุษย์ที่มีขนาดใหญ่กว่าหมู่บ้าน แต่เล็กกว่าเมือง ขนาดของเมืองขนาดเล็กอาจแตกต่างกันอย่างมากในทุกภูมิภาคของโลก เมืองขนาดเล็กในประเทศไทยยังหมายถึงเทศบาลตำบล.

ใหม่!!: จังหวัดปัตตานีและตำบล · ดูเพิ่มเติม »

ฉัตรชัย วิเศษสุวรรณภูมิ

ฉัตรชัย วิเศษสุวรรณภูมิ (23 พฤศจิกายน 2474 -) นักเขียนนวนิยายที่มีชื่อเสียงมากที่สุดคนหนึ่งของไทย ศิลปินแห่งชาติ สาขาวรรณศิลป์ ประจำปี พ.ศ. 2540 เป็นเจ้าของนามปากกา พนมเทียน ผู้แต่ง เพชรพระอุมา ฉัตรชัย วิเศษสุวรรณภูมิ เกิดที่จังหวัดปัตตานี เป็นบุตรคนสุดท้องของขุนวิเศษสุวรรณภูมิ กับนางสะอาด รัตนกุล เริ่มเขียนนวนิยายเรื่องแรกตั้งแต่สมัยเรียนมัธยมที่โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย เรื่อง “เห่าดง” ลงในสมุดอ่านกันเล่น เมื่อ พ.ศ. 2484 นอกจากเขียนนวนิยายแล้ว ฉัตรชัยยังเป็นคอลัมนิสต์เขียนบทความเกี่ยวกับอาวุธปืน ในหนังสือพิมพ์และนิตยสารบางฉบับด้วย โดยใช้ชื่อจริง และนามปากกา "ก้อง สุรกานต์".

ใหม่!!: จังหวัดปัตตานีและฉัตรชัย วิเศษสุวรรณภูมิ · ดูเพิ่มเติม »

แม่น้ำปัตตานี

แม่น้ำปัตตานี คือแม่น้ำที่มีต้นน้ำอยู่ในเทือกเขาสันกาลาคีรี อำเภอเบตง จังหวัดยะลา ไหลผ่านเขื่อนบางลาง ผ่านจังหวัดปัตตานีและสิ้นสุดที่อำเภอเมืองปัตตานี ไหลออกสู่ทะเลอ่าวไทย แม่น้ำมีความยาวทั้งสิ้น 214 กิโลเมตร แม่น้ำปัตตานี.

ใหม่!!: จังหวัดปัตตานีและแม่น้ำปัตตานี · ดูเพิ่มเติม »

เทือกเขาสันกาลาคีรี

ทือกเขาสันกาลาคีรี หรือภาษามลายูเรียกว่า บันจารันตีตีวังซา (Banjaran Titiwangsa, بنجرن تيتيوڠسا) หรือ บันจารันเบอซาร์ (Banjaran Besar) เป็นเทือกเขาที่กั้นพรมแดนประเทศไทยกับประเทศมาเลเซียเกือบตลอดทั้งแนว ทอดตัวในแนวตะวันตกเฉียงเหนือ-ตะวันออกเฉียงใต้ โดยเริ่มต้นจากเขตแดนจังหวัดสตูลกับมาเลเซีย ทอดตัวไปทางตะวันออกเฉียงใต้ เป็นเส้นกั้นเขตแดนระหว่างจังหวัดสงขลา จังหวัดยะลา และจังหวัดนราธิวาส กับมาเลเซีย เทือกเขานี้ยังมีแนวเข้าไปในประเทศมาเลเซียด้วย ยอดเขาที่สูงที่สุดในเทือกเขาสันกาลาคีรี คือ กูนุงโกร์บู (Gunung Korbu) อยู่ในเขตรัฐเประก์ของมาเลเซี.

ใหม่!!: จังหวัดปัตตานีและเทือกเขาสันกาลาคีรี · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

จ.ปัตตานีปัตตานีปาตานี

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »