สารบัญ
5 ความสัมพันธ์: กลุ่มภาษามาลาโย-โพลีเนเซียกลุ่มภาษามาเลย์อิกภาษามลายูประเทศมาเลเซียประเทศสิงคโปร์
- คาบสมุทรมลายู
- ภาษาในประเทศมาเลเซีย
- ภาษาในประเทศสิงคโปร์
กลุ่มภาษามาลาโย-โพลีเนเซีย
กลุ่มภาษามาลาโย-โพลีเนเซีย เป็นกลุ่มย่อยของภาษาตระกูลออสโตรนีเซียน มีผู้พูดทั้งหมดราว 351 ล้านคน แพร่กระจายในบริเวณหมู่เกาะตั้งแต่เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ไปจนถึงหมู่เกาะแปซิฟิก และมีจำนวนเล็กน้อยในผืนแผ่นดินของทวีปเอเชีย ภาษามาลากาซีเป็นภาษาในกลุ่มนี้ที่อยู่ห่างไกลที่สุดใช้พูดบนเกาะมาดากัสการ์ในมหาสมุทรอินเดีย ลักษณะเฉพาะของกลุ่มภาษานี้คือมีแนวโน้มใช้การซ้ำคำทั้งหมดหรือบางส่วนเพื่อแสดงรูปพหูพจน์ การออกเสียงเป็นแบบง่ายๆ ไม่ค่อยพบกลุ่มของพยัญชนะ เช่น str หรือ mpt ในภาษาอังกฤษ มีเสียงสระใช้น้อย ส่วนมากมีห้าเสียง.
ดู ภาษาโอรังเซอเลตาร์และกลุ่มภาษามาลาโย-โพลีเนเซีย
กลุ่มภาษามาเลย์อิก
กลุ่มภาษามาเลย์อิก เป็นภาษาที่จัดอยู่ในกลุ่มภาษาซุนดา-ซูลาเวซี มีสมาชิก 25 ภาษา แพร่กระจายในเขตสุมาตราตอนกลางรวมทั้งภาษามลายูและภาษาอินโดนีเซีย, ภาษามีนังกาเบาในสุมาตรากลาง, ภาษาอาเจะฮ์ในอาเจะฮ์, ภาษาจามในเวียดนามและกัมพูชา, ภาษามอเก็นในประเทศไทย และภาษาอีบันในบอร์เนียวเหนือ หมวดหมู่:ตระกูลภาษาออสโตรนีเซียน.
ดู ภาษาโอรังเซอเลตาร์และกลุ่มภาษามาเลย์อิก
ภาษามลายู
ษามลายู (Bahasa Melayu) เป็นภาษาหลักภาษาหนึ่งในตระกูลภาษาออสโตรนีเซียน มีสถานะเป็นภาษาราชการในบรูไน, มาเลเซีย, สิงคโปร์ และอินโดนีเซีย มีผู้พูดประมาณ 200–250 ล้านคน (ณ ปี พ.ศ.
ดู ภาษาโอรังเซอเลตาร์และภาษามลายู
ประเทศมาเลเซีย
มาเลเซีย (มาเลเซีย: Malaysia) เป็นประเทศสหพันธรัฐราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญ ตั้งอยู่ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ประกอบด้วยรัฐ 13 รัฐ และดินแดนสหพันธ์ 3 ดินแดน และมีเนื้อที่รวม 330,803 ตารางกิโลเมตร (127,720 ตารางไมล์) โดยมีทะเลจีนใต้แบ่งพื้นที่ออกเป็น 2 ส่วนซึ่งมีขนาดใกล้เคียงกัน ได้แก่ มาเลเซียตะวันตกและมาเลเซียตะวันออก มาเลเซียตะวันตกมีพรมแดนทางบกและทางทะเลร่วมกับไทย และมีพรมแดนทางทะเลร่วมกับสิงคโปร์ เวียดนาม และอินโดนีเซีย มาเลเซียตะวันออกมีพรมแดนทางบกและทางทะเลร่วมกับบรูไนและอินโดนีเซีย และมีพรมแดนทางทะเลกับร่วมฟิลิปปินส์และเวียดนาม เมืองหลวงของประเทศคือกัวลาลัมเปอร์ ในขณะที่ปูตราจายาเป็นที่ตั้งของรัฐบาลกลาง ด้วยประชากรจำนวนกว่า 30 ล้านคน มาเลเซียจึงเป็นประเทศที่มีประชากรมากที่สุดเป็นอันดับที่ 42 ของโลก ตันจุงปีไอ (Tanjung Piai) จุดใต้สุดของแผ่นดินใหญ่ทวีปยูเรเชียอยู่ในมาเลเซีย มาเลเซียเป็นประเทศในเขตร้อน และเป็นหนึ่งใน 17 ประเทศของโลกที่มีความหลากหลายทางชีวภาพอย่างยิ่ง (megadiverse country) โดยมีชนิดพันธุ์เฉพาะถิ่นเป็นจำนวนมาก มาเลเซียมีต้นกำเนิดมาจากอาณาจักรมลายูหลายอาณาจักรที่ปรากฏในพื้นที่ แต่ตั้งแต่พุทธศตวรรษที่ 24 เป็นต้นมา อาณาจักรเหล่านั้นก็ทยอยขึ้นตรงต่อจักรวรรดิบริเตน โดยอาณานิคมกลุ่มแรกของบริเตนมีชื่อเรียกรวมกันว่านิคมช่องแคบ ส่วนอาณาจักรมลายูที่เหลือกลายเป็นรัฐในอารักขาของบริเตนในเวลาต่อมา ดินแดนทั้งหมดในมาเลเซียตะวันตกรวมตัวกันเป็นครั้งแรกในฐานะสหภาพมาลายาในปี..
ดู ภาษาโอรังเซอเลตาร์และประเทศมาเลเซีย
ประเทศสิงคโปร์
ประเทศสิงคโปร์ มีชื่ออย่างเป็นทางการว่า สาธารณรัฐสิงคโปร์ เป็นนครรัฐสมัยใหม่และประเทศเกาะที่มีขนาดเล็กที่สุดในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ตั้งอยู่นอกปลายทิศใต้ของคาบสมุทรมลายูและอยู่เหนือเส้นศูนย์สูตร 137 กิโลเมตร ดินแดนของประเทศประกอบด้วยเกาะหลักรูปสี่เหลี่ยมขนมเปียกปูน ซึ่งมักเรียกว่าเกาะสิงคโปร์ในภาษาอังกฤษ และเกาะอูจง (Pulau Ujong) ในภาษามลายู และเกาะที่เล็กกว่ามากอีกกว่า 60 เกาะ ประเทศสิงคโปร์แยกจากคาบสมุทรมลายูโดยช่องแคบยะฮอร์ทางทิศเหนือ และจากหมู่เกาะเรียวของประเทศอินโดนีเซียโดยช่องแคบสิงคโปร์ทางทิศใต้ ประเทศมีลักษณะแบบเมืองอย่างสูง และคงเหลือพืชพรรณดั้งเดิมเล็กน้อย ดินแดนของประเทศขยายอย่างต่อเนื่องโดยการแปรสภาพที่ดิน หมู่เกาะมีการตั้งถิ่นฐานในคริสต์ศตวรรษที่ 2 และต่อมาเป็นของจักรวรรดิท้องถิ่นต่าง ๆ สิงคโปร์สมัยใหม่ก่อตั้งใน..
ดู ภาษาโอรังเซอเลตาร์และประเทศสิงคโปร์
ดูเพิ่มเติม
คาบสมุทรมลายู
- ความไม่สงบในชายแดนภาคใต้ของประเทศไทย
- คอคอดกระ
- คาบสมุทรมลายู
- ค่างแว่นถิ่นใต้
- ช่องแคบมะละกา
- ทะเลอันดามัน
- ทิวเขานครศรีธรรมราช
- ทิวเขาภูเก็ต
- ภาคใต้ (ประเทศไทย)
- ภาษามลายูปัตตานี
- ภาษาโอรังเซอเลตาร์
- ภาษาไทยถิ่นใต้
- มาเลเซียตะวันตก
- มโนราห์ (รำ)
- อาณาจักรลังกาสุกะ
- เทือกเขาตะนาวศรี
ภาษาในประเทศมาเลเซีย
- กลุ่มภาษามาเลย์อิก
- ภาษากวางตุ้งมาตรฐาน
- ภาษาจาม
- ภาษาจีนกลาง
- ภาษาชวา
- ภาษาซาไก
- ภาษาดัวโน
- ภาษาทมิฬ
- ภาษาบาเตก
- ภาษาบาเฮา
- ภาษามลายู
- ภาษามลายูบรูไน
- ภาษามลายูปัตตานี
- ภาษามลายูลูกผสมมะละกา
- ภาษามลายูเกอดะฮ์
- ภาษามลายูเนอเกอรีเซิมบีลัน
- ภาษามาดูรา
- ภาษามาราเนา
- ภาษามีนังกาเบา
- ภาษายากุน
- ภาษาลุนบาวัง
- ภาษาสัญลักษณ์มาเลเซีย
- ภาษาหมิ่นตะวันออก
- ภาษาหมิ่นผูเซียน
- ภาษาหมิ่นใต้
- ภาษาหมิ่นใต้มาตรฐาน
- ภาษาอีบัน
- ภาษาเชก-วอง
- ภาษาเตมวน
- ภาษาเตลูกู
- ภาษาเตอเมียร์
- ภาษาเตาซุก
- ภาษาเบอไลต์
- ภาษาแคะ
- ภาษาโอรังเซอเลตาร์
- ภาษาไทยถิ่นใต้
- แต็นแอ็น
ภาษาในประเทศสิงคโปร์
- กลุ่มภาษาจีน
- ภาษากวางตุ้งมาตรฐาน
- ภาษาจีนกลาง
- ภาษาทมิฬ
- ภาษามาดูรา
- ภาษาหมิ่นผูเซียน
- ภาษาหมิ่นใต้
- ภาษาหมิ่นใต้มาตรฐาน
- ภาษาแคะ
- ภาษาแต้จิ๋ว
- ภาษาโอรังเซอเลตาร์
หรือที่รู้จักกันในชื่อ ภาษาโอรัง เซเลอตัร