สารบัญ
9 ความสัมพันธ์: กลุ่มภาษามาลาโย-โพลีเนเซียกลุ่มภาษามาลาโย-โพลีเนเซียศูนย์กลางกลุ่มภาษามาเลย์อิกรัฐซาราวักอักษรละตินประเทศบรูไนประเทศมาเลเซียประเทศอินโดนีเซียเกาะบอร์เนียว
- ภาษาในประเทศบรูไน
- ภาษาในประเทศมาเลเซีย
- ภาษาในประเทศอินโดนีเซีย
กลุ่มภาษามาลาโย-โพลีเนเซีย
กลุ่มภาษามาลาโย-โพลีเนเซีย เป็นกลุ่มย่อยของภาษาตระกูลออสโตรนีเซียน มีผู้พูดทั้งหมดราว 351 ล้านคน แพร่กระจายในบริเวณหมู่เกาะตั้งแต่เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ไปจนถึงหมู่เกาะแปซิฟิก และมีจำนวนเล็กน้อยในผืนแผ่นดินของทวีปเอเชีย ภาษามาลากาซีเป็นภาษาในกลุ่มนี้ที่อยู่ห่างไกลที่สุดใช้พูดบนเกาะมาดากัสการ์ในมหาสมุทรอินเดีย ลักษณะเฉพาะของกลุ่มภาษานี้คือมีแนวโน้มใช้การซ้ำคำทั้งหมดหรือบางส่วนเพื่อแสดงรูปพหูพจน์ การออกเสียงเป็นแบบง่ายๆ ไม่ค่อยพบกลุ่มของพยัญชนะ เช่น str หรือ mpt ในภาษาอังกฤษ มีเสียงสระใช้น้อย ส่วนมากมีห้าเสียง.
ดู ภาษาอีบันและกลุ่มภาษามาลาโย-โพลีเนเซีย
กลุ่มภาษามาลาโย-โพลีเนเซียศูนย์กลาง
กลุ่มภาษามาลาโย-โพลีเนเซียศูนย์กลาง หรือ กลุ่มภาษานิวเคลียร์มาลาโย-โพลีเนเซีย เป็นสาขาของตระกูลภาษาออสโตรนีเซียนซึ่งคาดว่ามีแหล่งกำเนิดอยู่ที่เกาะซูลาเวซี แยกเป็น 2 สาขาคือ.
ดู ภาษาอีบันและกลุ่มภาษามาลาโย-โพลีเนเซียศูนย์กลาง
กลุ่มภาษามาเลย์อิก
กลุ่มภาษามาเลย์อิก เป็นภาษาที่จัดอยู่ในกลุ่มภาษาซุนดา-ซูลาเวซี มีสมาชิก 25 ภาษา แพร่กระจายในเขตสุมาตราตอนกลางรวมทั้งภาษามลายูและภาษาอินโดนีเซีย, ภาษามีนังกาเบาในสุมาตรากลาง, ภาษาอาเจะฮ์ในอาเจะฮ์, ภาษาจามในเวียดนามและกัมพูชา, ภาษามอเก็นในประเทศไทย และภาษาอีบันในบอร์เนียวเหนือ หมวดหมู่:ตระกูลภาษาออสโตรนีเซียน.
ดู ภาษาอีบันและกลุ่มภาษามาเลย์อิก
รัฐซาราวัก
ซาราวัก หรือ ซาราวะก์ (Sarawak, อักษรยาวี: سراواك) เป็นหนึ่งในสองรัฐของประเทศมาเลเซียบนเกาะบอร์เนียว เป็นที่รู้จักกันในชื่อ บูมีเกอญาลัง (Bumi kenyalang, "ดินแดนแห่งนกเงือก") ตั้งอยู่ทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือของเกาะ และเป็นรัฐที่มีขนาดพื้นที่ใหญ่ที่สุดในประเทศ ส่วนอันดับสอง คือ รัฐซาบะฮ์ นั้น ตั้งอยู่ทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือ เมืองศูนย์กลางการบริหารของรัฐนี้ คือ กูชิง (ประชากร 600,300 คน ใน ปี พ.ศ.
อักษรละติน
อักษรละติน หรือ อักษรโรมัน เป็นระบบตัวเขียนแบบตัวอักษร สันนิษฐานว่าอักษรละตินมีที่มาจากอักษรคิวมี (Cumae alphabet) ซึ่งดัดแปลงมาจากอักษรกรีกอีกทอดหนึ่ง ที่ใช้กันแพร่หลายที่สุดในโลก โดยเฉพาะประเทศในยุโรปและอเมริกา และประเทศในเอเชียที่นำอักษรละตินมาใช้ในภายหลังเช่น ประเทศอินโดนีเซีย ประเทศเวียดนาม ประเทศมาเลเซีย ประเทศเติร์กเมนิสถาน ประเทศทาจิกิสถาน ประเทศอาเซอร์ไบจาน ประเทศตุรกี และประเทศฟิลิปปินส์ รวมถึงการเขียนภาษาด้วยอักษรโรมัน (romanization) ในภาษาต่างๆ เช่น พินอิน (ภาษาจีน) หรือ โรมะจิ (ภาษาญี่ปุ่น).
ประเทศบรูไน
รูไน (Brunei) หรือ เนอการาบรูไนดารุซซาลาม (Negara Brunei Darussalam) เป็นรัฐเอกราชบนเกาะบอร์เนียวในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ชายฝั่งทางด้านเหนือจรดทะเลจีนใต้ พรมแดนทางบกที่เหลือจากนั้นถูกล้อมรอบด้วยรัฐซาราวะก์ของมาเลเซียตะวันออก บรูไนเป็นประเทศเดียวที่มีพื้นที่ทั้งหมดอยู่บนเกาะบอร์เนียว ส่วนพื้นที่ ๆ เหลือของเกาะถูกแบ่งเป็นของประเทศมาเลเซียและอินโดนีเซีย ประทศบรูไนมีประชากรประมาณ 423,196 คนใน..
ประเทศมาเลเซีย
มาเลเซีย (มาเลเซีย: Malaysia) เป็นประเทศสหพันธรัฐราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญ ตั้งอยู่ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ประกอบด้วยรัฐ 13 รัฐ และดินแดนสหพันธ์ 3 ดินแดน และมีเนื้อที่รวม 330,803 ตารางกิโลเมตร (127,720 ตารางไมล์) โดยมีทะเลจีนใต้แบ่งพื้นที่ออกเป็น 2 ส่วนซึ่งมีขนาดใกล้เคียงกัน ได้แก่ มาเลเซียตะวันตกและมาเลเซียตะวันออก มาเลเซียตะวันตกมีพรมแดนทางบกและทางทะเลร่วมกับไทย และมีพรมแดนทางทะเลร่วมกับสิงคโปร์ เวียดนาม และอินโดนีเซีย มาเลเซียตะวันออกมีพรมแดนทางบกและทางทะเลร่วมกับบรูไนและอินโดนีเซีย และมีพรมแดนทางทะเลกับร่วมฟิลิปปินส์และเวียดนาม เมืองหลวงของประเทศคือกัวลาลัมเปอร์ ในขณะที่ปูตราจายาเป็นที่ตั้งของรัฐบาลกลาง ด้วยประชากรจำนวนกว่า 30 ล้านคน มาเลเซียจึงเป็นประเทศที่มีประชากรมากที่สุดเป็นอันดับที่ 42 ของโลก ตันจุงปีไอ (Tanjung Piai) จุดใต้สุดของแผ่นดินใหญ่ทวีปยูเรเชียอยู่ในมาเลเซีย มาเลเซียเป็นประเทศในเขตร้อน และเป็นหนึ่งใน 17 ประเทศของโลกที่มีความหลากหลายทางชีวภาพอย่างยิ่ง (megadiverse country) โดยมีชนิดพันธุ์เฉพาะถิ่นเป็นจำนวนมาก มาเลเซียมีต้นกำเนิดมาจากอาณาจักรมลายูหลายอาณาจักรที่ปรากฏในพื้นที่ แต่ตั้งแต่พุทธศตวรรษที่ 24 เป็นต้นมา อาณาจักรเหล่านั้นก็ทยอยขึ้นตรงต่อจักรวรรดิบริเตน โดยอาณานิคมกลุ่มแรกของบริเตนมีชื่อเรียกรวมกันว่านิคมช่องแคบ ส่วนอาณาจักรมลายูที่เหลือกลายเป็นรัฐในอารักขาของบริเตนในเวลาต่อมา ดินแดนทั้งหมดในมาเลเซียตะวันตกรวมตัวกันเป็นครั้งแรกในฐานะสหภาพมาลายาในปี..
ประเทศอินโดนีเซีย
อินโดนีเซีย (Indonesia) หรือชื่อทางการคือ สาธารณรัฐอินโดนีเซีย (Republik Indonesia) เป็นหมู่เกาะที่ใหญ่ที่สุดในโลก ตั้งอยู่ระหว่างคาบสมุทรอินโดจีนกับทวีปออสเตรเลีย และระหว่างมหาสมุทรอินเดียกับมหาสมุทรแปซิฟิก มีพรมแดนติดกับประเทศมาเลเซียบนเกาะบอร์เนียวหรือกาลีมันตัน (Kalimantan), ประเทศปาปัวนิวกินีบนเกาะนิวกินีหรืออีเรียน (Irian) และประเทศติมอร์-เลสเตบนเกาะติมอร์ (Timor).
ดู ภาษาอีบันและประเทศอินโดนีเซีย
เกาะบอร์เนียว
อร์เนียว (Borneo) หรือ กาลีมันตัน (Kalimantan) เป็นเกาะที่มีขนาดใหญ่เป็นอันดับ 3 ของโลก รองจากเกาะกรีนแลนด์ (อันดับ 1) และเกาะนิวกินี (อันดับ 2) มีประเทศ 3 ประเทศอยู่ในเกาะบอร์เนียว คือ มาเลเซีย บรูไน อินโดนีเซีย อยู่บริเวณใจกลางกลุ่มเกาะมลายูและประเทศอินโดนีเซีย ในทางภูมิศาสตร์ เกาะบอร์เนียวเป็นส่วนหนึ่งของเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ มีทรัพยากรน้ำมันและก๊าซธรรมชาติมากที่สุดในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้.
ดูเพิ่มเติม
ภาษาในประเทศบรูไน
ภาษาในประเทศมาเลเซีย
- กลุ่มภาษามาเลย์อิก
- ภาษากวางตุ้งมาตรฐาน
- ภาษาจาม
- ภาษาจีนกลาง
- ภาษาชวา
- ภาษาซาไก
- ภาษาดัวโน
- ภาษาทมิฬ
- ภาษาบาเตก
- ภาษาบาเฮา
- ภาษามลายู
- ภาษามลายูบรูไน
- ภาษามลายูปัตตานี
- ภาษามลายูลูกผสมมะละกา
- ภาษามลายูเกอดะฮ์
- ภาษามลายูเนอเกอรีเซิมบีลัน
- ภาษามาดูรา
- ภาษามาราเนา
- ภาษามีนังกาเบา
- ภาษายากุน
- ภาษาลุนบาวัง
- ภาษาสัญลักษณ์มาเลเซีย
- ภาษาหมิ่นตะวันออก
- ภาษาหมิ่นผูเซียน
- ภาษาหมิ่นใต้
- ภาษาหมิ่นใต้มาตรฐาน
- ภาษาอีบัน
- ภาษาเชก-วอง
- ภาษาเตมวน
- ภาษาเตลูกู
- ภาษาเตอเมียร์
- ภาษาเตาซุก
- ภาษาเบอไลต์
- ภาษาแคะ
- ภาษาโอรังเซอเลตาร์
- ภาษาไทยถิ่นใต้
- แต็นแอ็น
ภาษาในประเทศอินโดนีเซีย
- กลุ่มภาษาทรานส์-นิวกินี
- กลุ่มภาษาบอร์เนียว-ฟิลิปปินส์
- กลุ่มภาษาปาปัว
- กลุ่มภาษามาเลย์อิก
- ภาษากัมเบอรา
- ภาษากาโย
- ภาษางายู
- ภาษาชวา
- ภาษาซาซัก
- ภาษาดัวโน
- ภาษาทมิฬ
- ภาษาบากุมไป
- ภาษาบาซับ
- ภาษาบาเฮา
- ภาษาบูกัต
- ภาษาบูนัก
- ภาษาปันตาร์ตะวันตก
- ภาษามลายู
- ภาษามลายูจัมบี
- ภาษามาดูรา
- ภาษามีนังกาเบา
- ภาษาลาวางัน
- ภาษาลุนบาวัง
- ภาษาหมิ่นใต้มาตรฐาน
- ภาษาอัมปานัง
- ภาษาอาดัง
- ภาษาอาบุย
- ภาษาอาเจะฮ์
- ภาษาอินโดนีเซีย
- ภาษาอีบัน
- ภาษาเตาซุก
- ภาษาเนเดบัง
- ภาษาเบอตาวี
- ภาษาเม็นตาไว
- ภาษาแคะ
- ภาษาโกฮิน
- ภาษาโตเบโล
- ภาษาโอซิง
- ภาษาโฮโวงัน
- ภาษาในประเทศอินโดนีเซีย